Mon Jul 10 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมศุลกากร ที่ 94/2566 เรื่อง พิธีการศุลกากรว่าด้วยการถ่ายลำทางอากาศยานโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์


ประกาศกรมศุลกากร ที่ 94/2566 เรื่อง พิธีการศุลกากรว่าด้วยการถ่ายลำทางอากาศยานโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

ประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 256 6 เรื่อง พิธีการศุลกากรว่าด้วยการถ่ายลาทางอากาศยานโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้พิธีการศุลกากรว่าด้วยการถ่ายลำทางอากาศยานเป็นไปตามมาตรฐานสากลและ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพิธีการศุลกากรที่เรียบง่ายและสอดคล้องกัน ( The International Convention on the Simplification and Harmonization of Customs Procedures ) ประกอบกับเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการ อันเป็นกา รพัฒนา ขีดความสามารถของประเทศในการขนส่งสินค้าทางอากาศยานให้มีศักยภาพสูง อาศัยอานาจตามความในมาตรา 51 มาตรา 102 และมาตรา 10 4 แห่งพระราชบัญญัติ ศุลกากร พ.ศ. 2560 อธิบดีกรมศุลกากร ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิก ( 1 ) ข้อ 3.9 แห่งประกาศกรมศุลกากร ที่ 140/2560 เรื่อง พิธีการศุลกากรว่าด้วยการถ่ายลำ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 60 ( 2 ) หมวด 2 ส่วนที่ 1 บทที่ 6 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรสาหรับของถ่ายลาทางสนามบิน แห่งประกาศกรมศุลกากร ที่ 65/2561 เรื่อง การปฏิบัติพิธีการศุลกากรตรวจสินค้า ณ สนามบิน ที่เป็นด่านศุลกากร ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 61 ( 3 ) ข้อ 29 แห่งประกาศกรมศุลกากร ที่ 66/2561 เรื่อง การปฏิบัติพิธีการศุลกากร ตรวจสินค้า ณ เขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 61 ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ การถ่ายลา ” หมายความว่า การถ่ายของจากยานพาหนะหนึ่งที่ขนส่งของเข้ามาในราชอาณาจักร ไปยังอีกยานพาหนะหนึ่งที่ขนส่งของออ กไปนอกราชอาณาจักร ภายใต้การควบคุมของศุลกากร ในด่านศุลกากรแห่งเดียวกัน โดยมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการขนส่งอยู่นอกราชอาณาจักร “ ผู้ขอถ่ายลา ” หมายความว่า ผู้ขอถ่ายลาตามประกาศกรมศุลกากรว่าด้วยพิธีการศุลกากร ว่าด้วยการถ่ายลำทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนที่ 1 บททั่วไป ข้อ 4 ของที่นำเข้ามาเพื่อทาการถ่ายลาออกไปนอกราชอาณาจักรทางอากาศยานต้องอยู่ ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

( 1 ) ต้องมีบัญชีสินค้าสำหรับอากาศยาน หรือเอกสารการขนส่งระหว่างประเทศ หรือ ใบตราส่งสินค้าทางอากาศยาน ( Air Waybill ) ที่แจ้งสนามบินต้นทางแล ะสนามบินปลายทางอยู่นอก ราชอาณาจักร และต้องระบุสนามบินถ่ายลาที่อยู่ในราชอาณาจักร และจะต้องแยกบัญชีสินค้าสาหรับ อากาศยานของของถ่ายลำไว้ต่างหากออกจากบัญชีสินค้าสำหรับอากาศยานของของนำเข้าหรือของผ่านแดน ( 2 ) กรณีที่ผู้ขอถ่ายลำไม่ใช่ตัวแทนอากาศยาน ต้องมีชื่อผู้ข อถ่ายลำในบัญชีสินค้าสำหรับอากาศยาน ข้อ 5 ให้นาของถ่ายลาออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน 30 วัน นับแต่วันที่นาของถ่ายลา เข้ามาในราชอาณาจักร กรณีที่ผู้ขอถ่ายลาไม่นาของออกไปนอกราชอาณาจักรภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่งของนั้น จะตกเป็นของแผ่นดินตามกฎหมาย ข้อ 6 ผู้ขอถ่ายลาต้องปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งกาหนดข้อห้ามหรือ ข้อจำกัดสำหรับการนำผ่านตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ และที่ออกในภายหลัง ข้อ 7 ให้เก็บของถ่ายลาในสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลา ( Transshipment Area ) ภายใน เขตด่านศุลกากรให้เป็นสัดส่วนเหมาะส ม ไม่ปะปนกับของนาเข้าอื่น ๆ เพื่อให้พนักงานศุลกากรสามารถ ควบคุมและตรวจสอบได้โดยง่าย ส่วนที่ 2 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรถ่ายลำทางอากาศยาน ข้อ 8 การจัดทำใบขนสินค้าถ่ายลำทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ใบขนสินค้าถ่ายลาแต่ละฉบับ ให้ใช้กับของถ่ายลำที่นำเข้ามาโดยอากาศยานเดียวกัน และให้ใช้ได้กับใบตราส่งสินค้าสาหรับอากาศยาน ( Air Waybill ) ที่ระบุเมืองปลายทางต่างประเทศเดียวกัน ได้หลายฉบับ ( 2 ) ให้ผู้ขอถ่ายลาจัดทาข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาตามโครงสร้างใบขนสินค้าถ่ายลาแนบท้าย ประกาศนี้ โดยระบุรายละเอียดแห่งของให้ชัดเจน และไม่อนุญาตให้ระบุชนิดของเป็น Consolidated Cargo และส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร ( 3 ) ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตรวจสอบความถูกต้องกับแฟ้มข้อมูลอ้างอิง และข้อมูล บัญชีสินค้าสำหรับอากาศยาน ดังนี้ ( 3.1 ) ประเภทของกระบวนการ ( Processing Indicator ) มีค่าเป็น 28 = Transshipment (ถ่ายลำ) ( 3.2 ) ประเภทการถ่ายลา ( Transshipment Type ) มีค่าเป็น 1 = การถ่ายลาในด่าน ศุลกากรเดียวกัน ( 3.3 ) เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ขอถ่ายลำ ( Transshipment Applicant ) ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

( 3.4 ) ประเภทการขนถ่าย ( Cargo Movement ) มีค่าเป็น 3 = Transshipment (ขนถ่ายของถ่ายลำ) ( 3.5 ) ชื่อผู้ขาย/ชื่อผู้ส่งสินค้าในต่างประเทศ ( Shipper Name ) ( 3.6 ) ประเทศของผู้ส่งสินค้าในต่างประเทศ ( Shipper Country Code ) ( 3.7 ) ชื่อผู้ซื้อ/ชื่อผู้รับสินค้าในต่างประเทศ ( Consignee Name ) ( 3.8 ) ประเทศผู้รับสินค้าในต่างประเทศ ( Consignee Country ) ( 3.9 ) เลขที่ใบตราส่งสินค้าขาเข้า ( Air Waybill ) ( 3.10 ) จำนวนหีบห่อของสินค้า ( Total Package Amount ) ( 3.11 ) หน่วยของหีบห่อ ( Total Package Unit Code ) ( 3.12 ) รหัสโกดังหรือสถานที่เก็บของ ( Shed Number )/สถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำ หรือสถานที่ตรวจปล่อยของ ( Release Port ) ( 3.13 ) รหัสสนามบินที่ทำการขนถ่ายของถ่ายลำเข้ามาในราชอาณาจักร ( Port of Discharge )/ รหัสสนามบินที่จะทำการขนถ่ายของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร ( Port of Loading ) ( 4 ) กรณีตรวจพบข้อผิดพลาดในการตรวจสอบความถูกต้องกับแฟ้มข้อมูลอ้างอิง ระบบ คอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตอบรหัสข้อผิดพลาดกลับไปให้ ผู้ขอถ่ายลำต้องทำการแก้ไขข้อมูล และส่งข้อมูลที่แก้ไ ขแล้วเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร ( 5 ) กรณีไม่พบข้อผิดพลาด ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะกำหนดเลขที่ใบขนสินค้า ถ่ายลาทางอิเล็กทรอนิกส์จานวน 14 หลัก โดยหลักที่ 5 ของเลขที่ใบขนสินค้าถ่ายลา มีค่าเป็น “ 8 ” Transshipment และแจ้งเลขที่ใบขนสินค้าถ่ายลำทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ตอบกลับไปยังผู้ขอถ่ายลำ เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรตอบกลับเลขที่ใบขนสินค้าถ่ายลาทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ขอถ่ายลาทราบ ถือเป็นการยื่นใบขนสินค้าถ่ายลาตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรและกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้องกั บการศุลกากรแล้ว ข้อ 9 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรสำหรับของถ่ายลำทางอากาศยานภายในสถานที่ตรวจปล่อยของ ( Release Port ) เดียวกัน ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้ผู้ขอถ่ายลำแจ้งเลขที่ใบขนสินค้าถ่ายลำทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อพนักงานศุลกากร เพื่อทำการตรวจสอบของถ่ายลำ ( 2 ) เมื่อพนักงานศุลกากรตรวจสอบข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร และตรวจสอบเครื่องหมาย เลขหมาย จานวนและลักษณะหีบห่อแล้วพบว่า ถูกต้องครบถ้วนตรงกันแล้ว จะบันทึกผลการตรวจสอบในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร และอนุญา ตให้ทาการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำ ไปยังอากาศยานที่จะส่งของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร กรณีผู้ขอถ่ายลาเป็นตัวแทนอากาศยานหรือผู้ประกอบการระดับมาตรฐานเออีโอ จะได้รับ การยกเว้นการตรวจ เว้นแต่มีเหตุอันควรสงสัย ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

( 3 ) ให้ผู้ขอถ่ายลำเป็นผู้รับผิดชอบในการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำไปยังอากาศยานที่จะส่งของถ่ายลา ออกไปนอกราชอาณาจักร ( 4 ) การรับบรรทุกของถ่ายลา ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลบัญชีสินค้า สาหรับอากาศยานขาออกสาหรับของถ่ายลากับข้อมูลรายงานอากาศยานออกและข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำ ในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร หากพบว่าถูกต้องตรงกัน ระบบจะปรับสถานะการรับบรรทุกใน ใบขนสินค้าถ่ายลา และแจ้งกลับผู้ส่งข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาให้ทราบว่า “ Goods Loaded ” ถือเป็น การรับบรรทุกของถ่ายลำแล้ว ข้อ 10 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรสาหรับของถ่ายลาทางอากาศยาน กรณีสถานที่เก็บรักษา ของถ่ายลำที่ขนส่งของถ่ายลำเข้ามากับที่ขนส่งของถ่ายลำออกไปต่างกัน ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้ผู้ขอถ่ายลำแจ้งเลขที่ใบขนสินค้าถ่ายลำทางอิเ ล็กทรอนิกส์ต่อพนักงานศุลกากร เพื่อทำการตรวจสอบของถ่ายลำ ( 2 ) พนักงานศุลกากรประจาสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาต้นทางจะตรวจสอบข้อมูลใบขนสินค้า ถ่ายลาในระบบคอมพิวเตอร์ศุลกากร และตรวจสอบเครื่องหมาย เลขหมาย จานวนและลักษณะหีบห่อ หากพบว่าถูกต้องครบถ้วนตรงกันแล้ว จะบันทึกผลการตรวจสอบในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร แล้วอนุญาตให้ทำการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำไปยังสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำปลายทาง ( 3 ) ให้ผู้ขอถ่ายลำมีหน้าที่รับผิดชอบและกำกับของถ่ายลำที่ทำการขนย้าย ดังนี้ ( 3.1 ) การเคลื่อนย้ายของถ่ายลำออกจากสถานที่เก็บรักษาขอ งถ่ายลำต้นทาง ให้ผู้ประกอบการ สถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาต้นทางทาการตรวจสอบและบันทึกการเคลื่อนย้ายของถ่ายลาออกจากสถานที่ เก็บรักษาของถ่ายลำต้นทาง ( 3.2 ) เมื่อของถ่ายลาเคลื่อนย้ายมาถึงสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาปลายทางที่จะขนถ่าย ของถ่ายลาออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ผู้ประกอบการสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำปลายทางทำการตรวจสอบ และบันทึกการรับของถ่ายลำ ( 3.3 ) ให้ผู้ขอถ่ายลำนำของถ่ายลำนั้นไปยังหน่วยงานศุลกากรประจาสถานที่เก็บรักษาของ ถ่ายลาปลายทาง เพื่อให้พนักงานศุลกากรประจาสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาปลายทางตรวจสอบเครื่อง หมาย เลขหมาย จานวนและลักษณะหีบห่อ หากพบว่า ถูกต้องครบถ้วนตรงกัน พนักงานศุลกากรจะบันทึก ผลการตรวจสอบในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร แล้วอนุญาตให้ทาการเคลื่อนย้ายของถ่ายลาไปยัง อากาศยานที่จะส่งของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร ( 4 ) การรับบรรทุกของถ่ายลา ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลบัญชีสินค้า สาหรับอากาศยานขาออกสาหรับของถ่ายลำกับข้อมูลรายงานอากาศยานออกและข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำ ในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร หากพบว่าถูกต้องตรงกัน ระบบจะปรับสถานการณ์รับบรรทุก ใน ใบขนสินค้าถ่ายลา และแจ้งกลับผู้ส่งข้ อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาให้ทราบว่า “ Goods Loaded ” ถือเป็น การรับบรรทุกของถ่ายลำแล้ว ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

ข้อ 11 กรณีข้อมูลรายงานยานพาหนะออกจริงกับข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาในระบบคอมพิวเตอร์ ของศุลกากรไม่ถูกต้องตรงกัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงเที่ยวบิน โดยไม่เปลี่ยนสถานที่เก็บรักษาของ ถ่ายลำให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้ตัวแทนอากาศยานผู้ส่งข้อมูลรายงานยานพาหนะออกมีหน้าที่จัดทาข้อมูลการเปลี่ยนแปลง แก้ไขเที่ยวบิน ( Change vessel schedule message ) โดยระบุเลขที่ใบตราส่งสินค้าสำหรับอากาศยาน ( Master Air Waybill + House Air Waybill ) และแจ้งว่าเที่ยวบิน/วันที่เที่ยวบินเดิม ( Flight NO ./ Departure Date ) ได้ขอแก้ไขเป็นเที่ยวบิน/วันที่เที่ยวบินใด และเป็นผู้ส่งข้อมูลการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว พร้อมลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร (2) ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตรวจสอบประมวลผลกับข้อมูลรายงานอากาศยานออก และข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร เมื่อพบว่าถูกต้องตรงกัน ระบบจะปรับสถานะ การรับบรรทุกในใบขนสินค้าถ่ายลา และแจ้งกลับผู้ส่งข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลา ให้ทราบว่า “ Goods Loaded ” ถือเป็นการรับบรรทุกของถ่ายลำแล้ว ข้อ 12 กรณีข้อมูลรายงานยานพาหนะออกจริงกับข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำในระบบคอมพิวเตอร์ ของศุลกากรไม่ถูกต้องตรงกัน เนื่องจากมีกา รเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินและเปลี่ยนสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลา ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้ผู้ขอถ่ายลายื่นคาร้องขอเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินต่อหน่วยบริการศุลกากรที่กำกับดูแล สถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาต้นทางก่อนทาการเปลี่ยนแปลง โดยให้แจ้งขอยกเลิกเลขที่ใบตราส่งสิ นค้า ทางอากาศยาน ( Master Air Waybill / House Air Waybill ) และเที่ยวบิน/วันที่เที่ยวบินเดิม ( Flight NO ./ Departure Date ) เพื่อให้พนักงานศุลกากรตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลในใบขนสินค้าถ่ายลาให้ถูกต้อง แล้วอนุญาตให้ทำการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำไปยังสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำปลายทาง (2) ให้ผู้ขอถ่ายลำมีหน้าที่รับผิดชอบและกำกับของถ่ายลำที่ทำการขนย้าย ดังนี้ (2. 1 ) การเคลื่อนย้ายของถ่ายลำออกจากสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำต้นทาง ให้ผู้ประกอบการสถานที่เก็บรักษำของถ่ายลำต้นทางทำการตรวจสอบและบันทึกการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำ ออกจากสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำ (2. 2 ) เมื่อของถ่ายลาเคลื่อนย้ายมาถึงสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาปลายทางที่จะขนถ่าย ของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ผู้ประกอบการสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลำปลายทาง ทำการตรวจสอบและบันทึกการรับของถ่ายลำ (2. 3 ) ให้ผู้ขอถ่ายลานาของถ่ายลานั้นไปยังหน่วยบริการศุลกากรประจาสถานที่เก็บรักษา ของถ่ายลาปลายทาง เพื่อให้พนักงานศุลกากรประจาสถานที่เก็บรักษาของถ่ายลาปลายทางตรวจสอบ เครื่องหมาย เลขหมาย จานวนและลักษณะหีบห่อ หากพบว่าถูก ต้องครบถ้วนตรงกัน พนักงานศุลกากร จะบันทึกผลการตรวจสอบในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร แล้วอนุญาตให้ทาการเคลื่อนย้ายของถ่ายลำ ไปยังอากาศยานที่จะส่งของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

(3) ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตรวจสอบประมวลผลกับข้อมูลรายงานอากาศยานออก และข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร เมื่อพบว่าถูกต้องตรงกัน ระบบจะปรับ สถานะการรับบรรทุกในใบขนสินค้าถ่ายลำ และแจ้งกลับผู้ส่งข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำให้ทราบว่า “ Goods Loaded ” ถือเป็นการรับบรรทุกของถ่ายลำแล้ว ข้อ 13 การขนถ่ายของถ่ายลำไปเ พียงบางส่วน ( Partial Shipment ) ให้ผู้ขอถ่ายลำยื่นคาร้อง ขอแก้ไขข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลา ณ หน่วยบริการศุลกากรที่ส่งของถ่ายลาออกไปนอกราชอาณาจักร ภายในกำหนด 3 วัน นับแต่วันที่ทำการขนถ่ายของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักรครบจำนวน ตามข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลำ ข้อ 14 ให้ผู้ขอถ่ายลำติดตามสถานะของใบขนสินค้าถ่ายลำให้ปรับสถานะเป็นรับบรรทุก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ส่งของถ่ายลำออกไปนอกราชอาณาจักร หากพบว่า สถานะของใบขนสินค้า ถ่ายลำยังไม่ปรับสถานะเป็นรับบรรทุก ให้ติดต่อพนักงานศุลกากรเพื่อตรวจสอบและแก้ไขให้ระบบคอ มพิวเตอร์ ของศุลกากรปรับสถานะของใบขนสินค้าถ่ายลำให้ถูกต้องต่อไป ส่วนที่ 3 การตรวจสอบของถ่ายลำ ข้อ 15 การตรวจสอบของถ่ายลา พนักงานศุลกากรจะตรวจสอบเฉพาะเครื่องหมาย เลขหมาย จำนวนและลักษณะหีบห่อ ข้อ 16 พนักงานศุลกากรสามารถตรวจค้นของถ่ายลำได้ โดยไม่ต้องมีหมายค้น เมื่อมีเหตุอันควร เชื่อว่า ( 1 ) ของนั้นมีไว้เพื่อใช้ในการก่อการร้ายหรือเกี่ยวเนื่องกับการก่อการร้าย ( 2 ) ชนิดแห่งของหรือการขนส่งหรือการขนถ่ายของดังกล่าว อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคง สันติภาพ และความปลอดภัยระหว่างประเทศ ( 3 ) มีการแสดงถิ่นกำเนิดเป็นเท็จ ( 4 ) เป็นของผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับการถ่ายลำ พนักงานศุลกากรจะแจ้งต่อผู้ขอถ่ายลำให้มาร่วมตรวจสอบของถ่ายลำ กรณีผู้ขอถ่ายลำ ไม่มาร่วมกันตรวจสอบของถ่ายลา กรมศุลกากรจะเก็บของถ่ายลาไว้ในอารักขา เมื่อพ้นกาหนด 30 วัน นับแต่วันที่ของ ถ่ายลำเข้ามาในราชอาณาจักร ของถ่ายลำนั้นจะตกเป็นของแผ่นดินตามกฎหมาย ส่วนที่ 4 พิธีการศุลกากรเฉพาะเรื่อง ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

ข้อ 17 ในกรณีหีบห่อภาชนะบรรจุของถ่ายลำแตกหรือชำรุด เพื่อความสะดวกหรือความเหมาะสม ในการขนส่ง ให้ผู้ขอถ่ายลายื่นคาร้องขอแก้ไขข้อมูลต่อหน่วยบริการศุลกากร เพื่อพิจารณาให้เปลี่ยน ภาชนะบรรจุของเพื่อประโยชน์ในการขนส่ง โดยให้พนักงานศุลกากรควบคุมการตรวจนับจานวนของ ในหีบห่อ ควบคุม การซ่อมแซม หรือเปลี่ยนหีบห่อภาชนะบรรจุใหม่ และเมื่อได้ดำเนินการแล้ว พนักงานศุลกากรจะบันทึกแก้ไขข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร ข้อ 18 กรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุสุดวิสัยอย่างใด ๆ ที่มีความจาเป็นต้องเปลี่ยนยานพาหนะ หรือภาชนะที่บรรจุของระหว่างการขนส่งของถ่ายลา ให้ผู้ขอถ่ายลายื่นคาร้องขอแก้ไขข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลา ต่อหน่วยบริการศุลกากร เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ดาเนินการตามที่เห็นสมควร ข้อ 19 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรกรณีระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้อง ให้ผู้ขอถ่ายลาปฏิบัติตาม ประกาศกรมศุลกากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติพิธีการกรณีเครื่องคอมพิวเตอร์ขัดข้อง ข้อ 20 กรณีผู้ขอถ่ายลาป ระสงค์จะส่งของถ่ายลากลับไปยังต้นทางหรือประเทศที่สาม ให้ผู้ขอ ถ่ายลำยื่นคำร้องขอแก้ไขข้อมูลใบขนสินค้าถ่ายลาต่อต่อหน่วยบริการศุลกากรเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ส่งออก ไปนอกราชอาณาจักรตามที่ร้องขอต่อไปได้ โดยให้ใช้ใบขนสินค้าถ่ายลำฉบับเดิม ข้อ 2 1 กรณีที่ผู้ขอถ่ายลำ ประสงค์จะเปลี่ยนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรจากการถ่ายลำ เป็นการนาเข้า ให้ผู้ขอถ่ายลาดาเนินการขอแก้ไขข้อมูลบัญชีสินค้าสาหรับอากาศยานและใบตราส่งสินค้า ทางอากาศยาน ( Air Waybill ) ณ หน่วยบริการศุลกากรที่รับผิดชอบ โดยปฏิบัติพิธีการศุลกากรนาเข้า รวมถึงต้องปฏิ บัติตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากร เสียอากร (ถ้ามี) และนาของออกจาก อารักขาของศุลกากร ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่นำของถ่ายลำเข้ามาในราชอาณาจักร ผู้ขอถ่ายลาต้องเสียอากร (ถ้ามี) โดยให้คานวณตามสภาพแห่งของ ราคาศุลกากร และพิกัด อัตราศุลกากรที่เป็นอยู่ในเวลาที่นำของนั้นเข้ามาในราชอาณาจักร และไม่สามารถใช้สิทธิประโยชน์ ตามกฎหมายศุลกากรหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่มีสิทธิขอคืนอากรขาเข้าตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 กรณีที่ผู้ขอถ่ายลำไม่ดาเนิ นการให้ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนดในวรรคหนึ่ง ของนั้นจะตกเป็น ของแผ่นดินตามกฎหมาย ข้อ 22 กรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถปฏิบัติตามพิธีการศุลกากรตามประกาศนี้ได้ ให้ผู้ขอถ่ายลา ยื่นคำร้องต่อผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรหรือนายด่านศุลกากรเพื่อพิจารณาอนุมัติตามอำนาจ หน้าที่หรือ เสนออธิบดีกรมศุลกากรพิจารณาแล้วแต่กรณี ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

บทเฉพาะกาล ข้อ 2 3 ในระหว่างที่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรยังไม่สามารถดาเนินการได้ตามข้อ 11 (1) ให้ผู้ขอถ่ายลำยื่นคำร้องขอเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินต่อหน่วยบริการศุลกากรที่ส่งของถ่ายลำออกไป นอกราชอาณาจักร เพื่อให้พนักงานศุลกากรตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลในใบขนสินค้าถ่ายลำให้ถูกต้อง ประกาศ ณ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 256 6 พชร อนันตศิลป์ อธิบดีกรมศุลกากร ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 165 ง ราชกิจจานุเบกษา 10 กรกฎาคม 2566

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 บัญชีกฎหมายที่กาหนดข้อห้ามหรือข้อจำ กัดสำหรับการนำผ่าน 1. ประมวลกฎหมายยาเสพติด 2 . พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 3 . พระราชบัญญัติควบคุมการส่งออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์และสิ่งที่ใช้ใ นการสงคราม พ.ศ. 2495 4 . พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 5 . พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 6 . พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 7 . พระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 8. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 9. พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 10. พร ะราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 11. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558 12. พระราชบัญญัติงาช้ำง พ.ศ. 2558 13. พระราชกำ หนดการประมง พ.ศ. 2558 14 . พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 15 . พระราชบัญญัติการควบคุมสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง พ.ศ. 2562 16 . พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 โครงสร้างใบขนสินค้าถ่ายลา (ใบแนบ 9) ( Tran s shipment Message) ส่วนควบคุม ( Control ) รายละเอียดของ ผู้ ที่จะขอถ่ายลา SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิยํายเพิ่มเติม เหตุ 1. M Reference Number an13 เลขที่อ้ํางอิง xxxxnnnnnnnnn xxxx (4) = Profile Name nnnnnnnnn (9) = Running Number / 2. M Processing Indicator n2 ประเภทของกระบวนกําร มีค่ําดังนี้ 24 = Transit ( ผ่ํานแดน) 28 = Tran s shipment (ถ่ํายล ํา)  28 = Transshipment (ถ่ํายล ํา) 3. M Tran s shipment Type an..4 ประเภทกํารถ่ํายลํา / ผ่ํานแดน ที่ส่งข้อมู ล ใบ ขนสินค้ํา ถ่ํายล ํา (ใบแนบ 9) / ใบขนสินค้ําผ่ํานแดน ได้ดังนี้ 1= กํารถ่ํายล ําในด่ํานศุลกํากรเดียวกัน (Mode of Transport เดียวกันหรือต่ํางกัน) 2 = กํารผ่ํานแดน ต่ําง ด่ํานศุลกํากร (Mode of Transport เดียวกันหรือต่ํางกัน) 3 = กําร ผ่ํานแดน ต่ําง ด่ํานศุลกํากร ( มีข้อตกลง MOU) 4 = กําร ผ่ํานแดนโดยกําร ขนส่งต่อเนื่อง เปลี่ยนถ่ํายยํานพําหนะ  1= กํารถ่ําย ล ําในด่ําน ศุลกํากรเดียวกัน (Mode of Transport เดียวกันหรือ ต่ํางกัน) 4. M Transshipment Applicant Tax Number an..17 เล ข ประจ ําตัวผู้เสียภําษีอํากรของ ผู้ขนถ่ํายสินค้ําถ่ํายล ํา/ผ่ํานแดน /  ตรวจสอบกับ ระบบท ะเบียน ผู้มําติดต่อ ต้องจด ทะเบียนประเภท บริษัท เป็น ผู้ประกอบกํารขน ถ่ํายสินค้ําถ่ํายลํา 5. M Transshipment Applicant Company Branch n..6 สําขําที่อยู่ของผู้ขนถ่ํายสินค้ํา ถ่ํายล ํา/ผ่ํานแด น  ไม่มีสําขํา ให้บันทึก “0” 6. M Transshipment Applicant Company English Name an. .70 ชื่อผู้ขนถ่ํายสินค้ําถ่ํายลํา/ผ่ํานแดน ( ภําษําอังกฤษ )

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิยํายเพิ่มเติม เหตุ 7. M Transshipment Applicant Company Thai Name an..120 ชื่อผู้ขนถ่ํายสินค้ําถ่ํายลํา/ผ่ํานแดน ( ภําษําไทย ) 8. M Street and Number an..70 ที่อยู่บริษัท 9. O District an..35 ตําบล 10. O Sub Province an..35 อําเภอ 11. O Province an..35 ชื่อจังหวัด 12. M Postcode an..9 รหัสไปรษณีย์ 13. M ISO Country Code a2 รหัสประเทศผู้ขนถ่ํายสินค้ําถ่ํายลํา/ผ่ํานแดน  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 3 : ISO 3166 (RFICC) 14. O Broker Tax Number an..17 เลขประจําตัว ผู้เสียภําษีอํากรของบริษัท ตัวแทนออกของ  ตรวจสอบกับ แฟ้มข้อมูล ทะเบียนผู้มํา ติดต่อ ต้องจด ทะเบียนประเภท บริษัท เป็น ตัวแทนออกของ 15. C Broker Branch n..6 สําขําที่อยู่ของบริษัทตัวแทนออกของ  บันทึกค่ํา กรณี Broker Tax Number มีค่ํา  ไม่มีสําขําให้บันทึก “0” 16. O G uarantee Method ( รองรับ ACTS) a1 วิธีกํารวํางประกัน มีค่ําได้ดังต่อไปนี้ A – วํางประกัน ที่กรมศุลกํากร H – วํางประกัน ผ่ํานธนําคําร L – ไม่มีกําร วํางประกัน ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน 17. C Guarantee Type ( รองรับ ACTS) a1 ประเภทกํารวํางประกัน มีค่ําได้ดังต่อไปนี้ C – เ งินสด B – หนังสือธนําคํารค ้ําประกัน E – e - Guarantee Deposit O – RGS ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน  บันทึกค่ํา กรณี Guarantee Method มีค่ํามํา

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิยํายเพิ่มเติม เหตุ M – หนังสือรําชกําร  ระบุค่ํา Guarantee Type เมื่อ Guarantee Method = A หรือ H เท่ํานั้น  ถ้ํา Guarantee Method = A ค่ํา ข อง Guarantee Type จะต้องเป็น C หรือ B หรือ M  ถ้ํา Guarantee Method = H ค่ํา ของ Guarantee Type จะต้องเป็น C หรือ E หรือ O 18. C Guarantee Bank Code ( รองรับ ACTS) n..3 รหัสธนําคํารค ้ําประกัน ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน  บันทึกค่ํา เมื่อ Guarantee Type = E นํา G uarantee Bank Code, Guarantee Bank Branch Code ไป ตรวจสอบกับ แฟ้มข้อมูล ธนําคําร

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิยํายเพิ่มเติม เหตุ 19. C Guarantee Bank Branch Code ( รองรับ ACTS) n..6 รหัสสําขําธนําคํารค ้ําประกัน ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน  บันทึกค่ํา เมื่อ Guarantee Type = E 20. O Guarantee Bank Account Number ( รองรั บ ACTS) an..35 เลขสัญญํา หนังสือธนําคํารค ้ําประกัน ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน 21. C Total Deposit Amount ( รองรับ ACTS) n..16,2 ยอดวํางประกันเงินรวมที่ต้องกํารให้ กรม ศุลกํากร ตั้งภําระธนําคําร ค ้ําประกัน ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน  กําร ตรวจสอบขึ้นอยู่ กับ Guarantee Method = H และ Guarantee Type = E 22. C Tax Incentives ID an..17 เลขทะเบียนผู้ใช้สิทธิ ประโยชน์ ทํางภําษีอํากร คลังสินค้ําทัณฑ์บน ทั่วไปประเภทถ่ํายลํา/ ผ่ํานแดน ที่นําสินค้ํา เข้ําเก็บ  บันทึก ค่ํากรณี Transshipment Type = ‘4’ ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน  ตรวจสอบกับ ระบบทะเบี ยน ผู้ประกอบกํารที่ ได้รับสิทธิ ประโยชน์ทําง ภําษีอํากร 23. C Bonded Port n..4 รหัส สถํานที่ตรวจปล่อยของคลังสินค้ําฑัณท์ บนทั่วไปประเภทถ่ํายลํา/ผ่ํานแดน  บันทึกค่ํากรณี Tax Incentives ID มีค่ํา  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสสถํานที่ (RFARS)

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิยํายเพิ่มเติม เหตุ 24. M Sender Registration ID an..3 5 รหัสเลขประจ ําตัวของผู้ส่งข้อมูล  ตรวจสอบกํารเป็นเจ้ําของข้อมูลต้อง สัมพันธ์กับ Reference Number กับแฟ้มข้อมูล XML User / * M Detail Section Control Item ส่วน Control รํายกําร สินค้ําถ่ํายล ํา / ใบขนสินค้ําผ่ํานแดน มีจํานวนตั้งแต่ 1 – 9,999 รํายกําร หมํายเหตุ เงื่ อนไขกํารตรวจสอบลํายเซ็น กํารตรวจสอบ Digital Signature มีเงื่อนไขดังนี้ - TAX ID ของ Digital Signature = เลขประจําตัวผู้เสียภําษีอํากรของ ผู้ขอ ถ่ํายลํา ( Tran s shipment Applicants Tax Number) หํากไม่ถูกต้องระบบจะแจ้ง Error Message ‘INVALID CERTIFICATE’ หมํายถึง “ ลํายเซ็ นต์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ใช่ ลํายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้ขอ ถ่ํายลํา ( Tran s shipment Applicants Tax Number) ส่วน Control รายการ สินค้าถ่ายลา (Control Item) SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 1. M Item Number n..4 ล ําดับรํายกํารในใบ ขน สินค้ําถ่ํายล ํา (ใบแนบ 9 ) / 2. M Tariff Code n..12 รหัส พิกัดศุลกํากร  ให้ใช้สินค้ําที่มีรําคําหรือปริมําณสูงสุดใน บัญชีรําคําสินค้ําหรือเอกสํารกํากับหีบห่อ แต่ละฉบับ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสพิกัด ศุลกํากร (RFTRC) / ให้ระบุค่ําเป็น ศูนย์ ( 0 ) 3. M Tariff Sequence n5 ล ําดับอัตรําอํากรขอ งพิกัดศุลกํากร  นํา Tariff Code + Tariff Sequence ไป ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลอัตรําอํากรขําเข้ํา (RFDRT) เพื่อหําอัตรําอํากรนําเข้ํา / ให้ระบุค่ําเป็น 00000

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 4. M Statistical Code n..3 รหัสสถิติสินค้ํา  นํา Tariff Code + Statistical Code ไป ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสสถิติสิ นค้ํา (RFTRS) / ให้ระบุค่ําเป็น 0 5. M English Description of Goods an..512 รํายละเอียดของสินค้ํา ( ภําษําอังกฤษ ) / 6. M Thai Description of Goods an..512 รํายละเอียดของสินค้ํา ( ภําษําไทย ) / 7. O Invoice Value Foreign ( รองรับ ACTS) n..16,2 รําคํา สินค้ํา สกุล เงินต่ํางประเทศ ตํามบัญชี รําคํา ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน 8. C Invoice Currency Code ( รองรับ ACTS) a3 รหัสสกุลเงินตรํา ของบัญชีรําคําสินค้ํา ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 9 : ISO 4217  ต้องระบุค่ํากรณี Invoice Value Foreign มีค่ํา  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสสกุลเงินตรํา (RFCU C) ปัจจุบันยังไม่มี การใช้งาน 9. O Remark an..256 หมํายเหตุ ให้ระบุเส้นทําง ในกํารขนส่ง 10. M Last Entry a1 เป็นข้อมูลของรํายกํารสุดท้ํายของเอกสําร ฉบับนี้หรือไม่มีค่ําเท่ํากับ Y หรือ N เท่ํานั้น (Y = Yes, N = No) / * O Detail Permit ส่วนรํายกํารใบอนุญําต (Permit) มี จํานวนตั้งแต่ 0 – 99 รํายกําร * M Detail Item ส่วน Detail รํายกําร ในใบขนสินค้ําถ่ํายลํา / ใบขนสินค้ําผ่ํานแดน มีจํานวนตั้งแต่ 1 – 9 ,999 รํายกําร

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 ส่วนรายการใบอนุญาต (Detail Permit) SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 1. M Permit Number an ..35 เลขที่ใบอนุญําต / ใบรับรอง  กรณีมีใบอนุญําตมํากกว่ํา 1 ฉบับ ให้แยกบันทึกข้อมูลตํามรํายใบอนุญําต  กรณีสินค้ํามีกํารรับรองถิ่นกําเนิดสินค้ํา ด้วยตนเอง ( Self Certification ) ให้ระบุเลขที่ Invoice Declaration  ตรวจสอบ กับแฟ้ม ข้อมูลเลข ประจ ําตัวผู้เสีย ภําษีของ หน่วยงําน ผู้ออก ใบอนุญําต / ใบรับรอง 2. M Issue Date n8 วันที่ออกใบอนุญําต / ใบรับรองระบุ เป็น ปี ค.ศ. เดือน วัน (CCYYMMDD)  กรณีสินค้ํามีกํารรับรองถิ่นกําเนิดสินค้ํา ด้วยตนเอง ( Self Certification ) ให้ระบุ วัน ที่ Invoice Declaration 3. M Permit Issue Authority an..17 เลข ประจ ําตัวผู้เสียภําษีอํากรของหน่วยงําน ผู้ออกใบอนุญําต/ใบรับรอง  กรณีสินค้ํามีกํารรับรองถิ่นกําเนิดสินค้ํา ด้วยตนเอง ( Self Certification ) ให้ระบุ ชื่อ ย่อประเทศของผู้ออก Invoice Declaration เช่น TH 4. M Last Entry a1 เป็นข้อมูลของรํายกํารสุดท้ํายของเอกสําร ฉบับนี้หรือไม่ มี ค่ําเท่ํากับ Y หรือ N เท่ํานั้น (Y = Yes, N = No)

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 ส่วน Detail ใน รายการ สินค้าถ่ายลา (Detail Item) SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม ส่วน Import – แสดงรํายละเอียดของสินค้ําถ่ํายลําขําเข้ํา ( ตรวจสอบกับ Manifest ขําเข้ําด้วย) 1. M Mode of Tra nsport an1 นําเข้ําโดยทําง มีค่ําตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 19 ดังนี้ 1 – ทํางเรือ 2 – ทํางรถไฟ 3 – ทํางรถยนต์ 4 – ทํางเครื่องบิน / 2. M Vessel Name an..35 ชื่อยํานพําหนะ  บันทึกค่ําขึ้นอยู่กับ Mode of Transport ดังนี้ 1 - ทํางเรือ ระบุ ชื่อเรือ 2 - ทําง รถไฟ ระ บุ ชื่อ ขบวนรถไฟ 3 - ทํางรถยนต์ ระบุ “ BY TRUCK ” 4 - ทําง เครื่องบิน ระบุ ชื่อ เที่ยวบิน  กรณี Mode of Transport มีค่ํา 1 หรือ 2 หรือ 4 นํา Vessel Name ตรวจสอบกับ แฟ้มข้อมูล พําหนะ / 3. M Port of Discharge an..5 รหัส ท่ําที่ทํากํารขนถ่ําย ( ยื่นรํายงําน พําหนะเข้ํา ) ตรวจสอบกั บแฟ้มข้อมูล ISO Port Code ตํามมําตรฐําน ISO 3166 _ 1 (RFIPC) / 4. M Arrival Date n8 วันที่รํายงําน พําหนะ เข้ ํา ระบุเป็น ปี ค.ศ. เดือน วัน (CCYYMMDD) / 5. C Master Bill of Lading an..35 เลขที่ใบตรําส่งสินค้ํา (Master)  บันทึกค่ํากรณี Mode of Transport มีค่ํา 4 ทํางเครื่ องบิน หรือ 3 ทํางรถยนต์ / 6. M House Bill of Lading an..35 เลขที่ใบตรําส่งสินค้ํา (House) /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 7. M Consignee Name an..70 ชื่อ ผู้รับสินค้ํา /  ของ Consignee 8. O Street and Number an..70 ที่อยู่บริษัท 9. O District an..35 ตําบล 10. O Sub Province an..35 อําเภอ 11. O Province an..35 จังหวัด 12. O Postcode an..9 รหัสไปรษณีย์ 13. O Phone Number an..15 หมํายเลขโทรศัพท์ 14. M ISO Country Code a2 รหัสประเทศ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 3 : ISO 3166 ( RFICC) 15. M Shipping Marks an..512 เครื่องหมํายและเลขหมํายหีบห่อ / หมํายเลข ตู้คอนเทนเนอร์ (ถ้ํามี)  ถ้ําไม่มีให้ระบุคําว่ํา “ NO SHIPPING MARK”  ถ้ําเป็นรูปภําพให้ระบุคําว่ํา “PICTURE”  ถ้ําเป็นข้อควํามให้บันทึกเป็นข้อควําม ตํามจริง  ถ้ําเป็นข้อควํามที่เป็น ภําษําต่ํางประเทศ แต่ไม่สํามํารถบันทึก ข้อควํามนั้นได้ เ ช่น ภําษําจีน ให้ระบุคําว่ํา “PICTURE”  ถ้ํามีควํามยําวเกิน 512 ตัวอักษร ให้บันทึกเพียง 512 ตัวอักษรได้ / 16. M Package Amount n..8 จํานวนหีบห่อ /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 17. M Package Unit Code an2 ลักษณะหีบห่อ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลลักษณะหีบห่อ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 21 (RF PKG) / 18. O Net Weight ( รองรับ ACTS) n..11,3 น ้ําหนักสุทธิ ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 19. C Net Weight Unit Code ( รองรับ ACTS) an..3 หน่วยของน ้ําหนักสุทธิ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 20 มีค่ําได้ ดังต่อไปนี้ KGM – Kilogram TNE – Metric Ton GRM – Gram CT M – Carat  ต้องบันทึกค่ํา เมื่อ Net Weight มีค่ํา ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 20. M Gross Weight n ..11,3 น ้ําหนักรวม สิ่งห่อหุ้ม / 21. M Gross Weight Unit Code an..3 หน่วยของน ้ําหนักรวม สิ่งห่อหุ้ม ตําม มําตรฐําน UNECE Recommendation 20 มีค่ําได้ดังต่อไปนี้ KGM – Kilo gram TNE – Metric Ton GRM – Gram CTM – Carat / 22. O Quantity ( รองรับ ACTS) n..14,3 ปริมําณ ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 23. C Quantity Unit Code ( รองรับ ACTS) an..3 หน่วยของปริมําณ  ต้องบันทึกค่ํา เมื่อ Quantity มีค่ํา  ถ้ําหน่วยรหัสสถิติสินค้ําไม่เท่ํากับ K GM,TNE, GRM , CTM หน่วยของปริมําณ ที่บันทึกต้องเป็นไปตํามหน่วยของรหัสสถิติ สินค้ํา ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลหน่วยของ สินค้ําตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 20 (RFUNT) 24. M Origin Country Code a2 รหัสประเทศกําเนิด  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสป ระเทศ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 3 : ISO 3166 (RFICC) / ถ้ําไม่มีให้ระบุมํา เหมือนกันกับ ประเทศต้นทําง 25. M Consignment Country Code a2 รหัสประเทศต้นทํางของสินค้ํา  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 3 : ISO 3166 (RFICC) / 26. M Port of Loading an .. 5 รหัสท่ําต้นทํางของสินค้ํา (เมืองท่ําต้นทําง)  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูล ISO Port Code ตํามมําตรฐําน ISO 3166_1 (RFIPC) / 27. M Shed Number / Release Port n..4 รหัสโกดัง / รหัส สถํานที่เก็บของ/ รหัสสถํานที่ตรวจปล่อย  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสสถํานที่ (RFARS) / ส่วน Export - แสดงรํายละเอีย ดของสินค้ําถ่ํายลําขําออก ( ตรวจสอบกับ Manifest ขําออก ตอนรับ บรรทุก) 28. M Mode of Transport an1 ส่งออกโดยทําง มีค่ําตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 19 ดังนี้ 1 – ทํางเรือ 2 – ทํางรถไฟ 3 – ทํางรถยนต์ 4 – ทํางเครื่องบิน / 29. M Ves sel Name an..35 ชื่อยํานพําหนะ  บันทึกค่ําขึ้นอยู่กับ Mode of Transport ดังนี้ 1 - ทํางเรือ ระบุ ชื่อเรือ /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 2 - ทําง รถไฟ ระบุ ชื่อ ขบวนรถไฟ 3 - ทํางรถยนต์ ระบุ “ BY TRUCK ” 4 - ทําง เครื่องบิน ระบุ ชื่อ เที่ยวบิน  กรณี Mode of Transport มีค่ํา 1 หรือ 2 หรือ 4 นํา Ve ssel Name ตรวจสอบ กับแฟ้มข้อมูล พําหนะ 30. C Voyage Number an..17 เที่ยวเรือ - ส ําหรับทํางเรือ บันทึกเที่ยวเรือ - ส ําหรับทํางรถไฟ บันทึกเที่ยวขบวนรถไฟ  ต้องบันทึกค่ํา กรณี Mode of Transport มีค่ํา 1 - ทํางเรือ หรือ 2 - ท ํางรถไฟ  กํารบันทึกให้ตัดช่องว่ํางและอักขระ พิเศษออก ทั้งหมดเหลือเฉพําะตัวอักษร ภําษําอังกฤษ (ตัวใหญ่) และตัวเลข เช่น N165, 045W และไม่ต้องใส่ V หรือ V. นําหน้ํา / 31. M Port of Loading an..5 รหัส ท่ําที่ทํากําร รับบรรทุกสินค้ํา ( ยื่นรํายงําน พําหนะออก)  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูล ISO Port Code ตํามมําตรฐําน ISO 3166_1 (RFIPC) / 32. M Departure Date n8 วันที่รํายงํานพําหนะออก ระบุเป็น ปี ค.ศ. เดือน วัน (CCYYMMDD) / 33. C Master Bill of Lading an..35 เลขที่ใบตรําส่งสินค้ํา (Master)  บันทึกค่ํากรณี Mode of Transport มีค่ํา 4 ทํางเครื่องบิน หรือ 3 ทํางรถยนต์ / 34. M House Bill of Lading an..35 เลขที่ ใบตรําส่งสินค้ํา (House) /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 35. M Consignor Name an..70 ชื่อผู้ ขําย/ผู้ส่ง สินค้ําในต่ํางประเทศ /  ของ Consignor 36. O Street and Number an..70 ที่อยู่บริษัท 37. O District an..35 ตําบล 38. O Sub Province an..35 อําเภอ 39. O Province an..35 จังหวัด 40. O P ostcode an..9 รหัสไปรษณีย์ 41. O Phone Number an..15 หมํายเลขโทรศัพท์ 42. M ISO Country Code a2 รหัสประเทศ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 3 : ISO 3166 ( RFICC) 43. M Package Amount n..8 จํานวนหีบห่อ / 44. M Package Unit Code an2 ลักษณะหีบห่อ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลลักษณะหีบห่อ ตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 21 (RFPKG) / 45. O Net Weight ( รองรับ ACTS) n..11,3 น ้ําหนักสุทธิ ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 46. C Net Weight Unit Code ( รองรับ ACTS) an..3 หน่วยของน ้ําหนักสุทธิ ตํามมําตรฐําน U NECE Recommendation 20 มีค่ําได้ ดังต่อไปนี้ KGM – Kilogram TNE – Metric Ton GRM – Gram CTM – Carat  ต้องบันทึกค่ํา เมื่อ Net Weight มีค่ํา ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 47. M Gross Weight n ..11,3 น ้ําหนักรวม สิ่งห่อหุ้ม /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 48. M Gross Weight Unit Code an..3 หน่ วยของน ้ําหนักรวม สิ่งห่อหุ้ม ตําม มําตรฐําน UNECE Recommendation 20 มีค่ําได้ดังต่อไปนี้ KGM – Kilogram TNE – Metric Ton GRM – Gram CTM – Carat / 49. O Quantity ( รองรับ ACTS) n..14,3 ปริมําณ ปัจจุบันยังไม่ มีการใช้งาน 50. C Quantity Unit Code ( รองรับ ACTS) an.. 3 หน่วยของปริมําณ  ต้องบันทึกค่ํา เมื่อ Quantity มีค่ํา  ถ้ําหน่วยรหัสสถิติสินค้ําไม่เท่ํากับ KGM,TNE, GRM , CTM หน่วยของปริมําณ ที่บันทึกต้องเป็นไปตํามหน่วยของรหัสสถิติ สินค้ํา  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลหน่วยของ สินค้ําตํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 20 (RFUNT) ปัจจุบั นยังไม่ มีการใช้งาน 51. M Purchase Country Code a2 รหัสประเทศที่สั่งซื้อ  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ต ํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 6 : ISO 3166 (RFICC) / ถ้ําไม่มีให้ระบุมํา เหมือนกันกับ ประเทศ ปลํายทําง 52. M Destination Country Code a2 รหัสประเทศปลํายทําง  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสประเทศ ต ํามมําตรฐําน UNECE Recommendation 6 : ISO 3166 (RFICC) / 53. M Shed Number / Release Port n..4 รหัสโกดัง / รหัส สถํานที่เก็บของ/ รหัสสถํานที่ตรวจปล่อย  ตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรหัสสถํานที่ (RFARS) /

แนบท้ายประกาศกรมศุลกากร ที่ 94 / 2566 SEQ CAT Field Name Format Definition คําอธิบํายเพิ่มเติม 54. M Last Entry a1 เป็นข้อมูลของรํา ยกํารสุดท้ํายของเอกสําร ฉบับนี้หรือไม่ มีค่ําเท่ํากับ Y หรือ N เท่ํานั้น (Y = Yes, N = No) / คําอธิบํายเพิ่มเติม 1. ค่ําในช่อง CAT (Category) - M หมํายถึง Mandatory คือ ต้องบันทึกค่ํา - O หมํายถึง Optional คือ ต้องบันทึกค่ํา (ถ้ํามีข้อมูล) หรือ ไม่ต้องบันทึกค่ํา (ถ้ําไม่มีข้ อมูล) - C หมํายถึง Condition คือ ต้องบันทึกค่ํา เมื่อเข้ําเงื่อนไขที่กําหนด 2. ค่ําในช่อง Format คือ อักษรย่อ ที่ใช้ในกํารอธิบํายรูปแบบชนิดของข้อมูล อักษรย่อ คําอธิบําย n3 ข้อมูลชนิดตัวเลข ( Numeric Characters) คงที่ คือ 3 ตัวอักษร a3 ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Alphabetic Ch aracters) คงที่ คือ 3 ตัวอักษร an3 ข้อมูลชนิดตัวอักษรหรือตัวเลข คงที่ คือ 3 ตัวอักษร n..3 ข้อมูลชนิดตัวเลขควํามยําวข้อมูลแปรผันตํามควํามยําวสูงสุด 3 ตัวอักษร a..3 ข้อมูลชนิดตัวอักษรควํามยําวข้อมูลแปรผันตํามควํามยําวสูงสุด 3 ตัวอักษร an..3 ข้อมูลชนิดตัวอักษรหรือตั วเลขควํามยําวข้อมูลแปรผันตํามควํามยําวสูงสุด 3 ตัวอักษร n..16,2 ข้อมูลชนิดตัวเลขควํามยําวข้อมูลแปรผันตํามควํามยําวสูงสุด 16 ตัวอักษรรวมควําม ยําวทศนิยมสูงสุด 2 ตัวอักษร (อนุญําตให้ตัวคั่นเป็นจุดทศนิยม “.”)