ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงบัญชียาหลักแห่งชาติ ตามสภาพของปัญหาสุขภาพ วิทยาการ และข้อมูลเกี่ยวกับยาที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่องทันสถานการณ์ อาศัยอานาจตามความในข้อ 8 (4) ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในลาดั บที่ 3 ของ 1.5 Drugs used in chronic bowel disorders ของกลุ่มยา 1 Gastro - intestinal system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนา ระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 3 . Infliximab sterile pwdr (เฉพาะ 100 mg ) จ ( 2 ) เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับผู้ป่วย Crohn ’ s disease ( CD ) ในผู้ใหญ่หรือเด็กอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป ที่รักษาด้วยยาพื้นฐานไม่ได้ โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 2 . ใช้สาหรับผู้ป่วย Ulcerative colitis ( UC ) ในเด็กอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป ที่รักษาด้วย ยาพื้นฐานไม่ได้ โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 หมายเหตุ ยาฉีด Infliximab ขนาด 100 mg มีราคาต่า สุดที่ต่อรองได้ไวแอลละ 3,142 บาท (ราคารวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม) กำหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ 25 ธันวาคม 2565 เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 4 ถึงลาดับที่ 6 ของ 2.11 Hemostatics ของกลุ่มยา 2 Cardiovascular system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการ สาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 4 . activated prothrombin complex concentrate sterile pwdr (เฉพาะ 500 IU ) จ (2) ( APCC ) ( factor VIII inhibitor bypassing activity ) ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
เงื่อนไข ใช้สาหรับภาวะ spontaneous bleeding ในผู้ป่วยฮีโมฟีเลียที่มี high - titer inhibitor โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดที่สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน และกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ประกาศกำหนด หมายเหตุ 1. ยาฉีด activated prothrombin complex concentrate ( APCC ) ( factor VIII inhibitor bypassing activity ) ความแรง 500 IU มีราคาต่า สุดที่ต่อรองได้ไวแอลละ 9,230 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / 2. การจัดหายารายการนี้เป็นไปตามที่กองทุนในระบบประกันสุขภาพกำหนด 5 . Factor VIII concentrate, dried sterile preparation for intravenous use จ (2) เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ป่วยกลุ่มโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตาม รายละเอียดในภาคผนวก 3 6 . Factor IX concentrate, dried sterile preparation for intravenous use จ (2) เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ป่วยกลุ่มโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย โดยมีแ นวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตาม รายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 7 ของ 2.11 Hemostatics ของกลุ่มยา 2 Cardiovascular system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการ สาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 7 . Factor IX complex ( Coagulation factors II, sterile preparation for intravenous use จ (2) VII, IX, X ) concentrate, dried เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ป่วยกลุ่มโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตาม รายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลำดับที่ 7 ของ 2.12 Lipid - regulating drugs ของกลุ่มยา 2 Cardiovascular system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนา ระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
“ 7 . Ezetimibe tab (เฉพาะ 10 mg ) ง เงื่อนไข ใช้เป็นยาขนานแรกของการรักษา ( first - line treatment ) สำหรับผู้ป่วยโรค sitosterolemia ” ข้อ 5 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 2 ของ 3.8 Other respiratory preparations ของกลุ่มยา 3 Respiratory system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและ สถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยา แห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 2 . Caffeine citrate oral sol ( hosp ) ก เงื่อนไข ใช้รักษาอาการหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ ( primary apnea ) ในทารกแรกเกิดก่อนกำหนด ( premature newborns )” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 1 1 ของ 4.2.1 Antipsychotic drugs 4.2 Drugs used in psychoses and related disorders ของกลุ่มยา 4 Central nervous system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไ ปนี้แทน “ 11 . Quetiapine fumarate immediate release tab ง (เฉพาะ 200 mg ) เงื่อนไข 1. ใช้สำหรับ schizophrenia ที่ไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถใช้ยา risperidone หรือ clozapine ได้ 2. ใช้สำหรับ bipolar disorder ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาอื่น หมายเหตุ ยาเม็ด Quetiapine fumarate ขนาด 200 mg มีราคาต่า สุดที่ต่อรองได้เม็ดละ 12.84 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 12 ของ 5.2 Antifungal drugs ของกลุ่มยา 5 Infections ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 12 . Posaconazole tab (เฉพาะ 100 mg ) จ (2) เงื่อนไข ใช้รักษา invasive mucormycosis ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถทนต่อยา amphotericin B ได้ โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
หมายเหตุ ยาเม็ด Posaconazole ขนาด 100 mg มีราคาต่ำ สุดที่ต่อรองได้เม็ดละ 801.85 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กำหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ 4 กันยายน 2565 เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 5 ของ 6.2.2 Antithyroid drugs 6.2 Thyroid and antithyroid drugs ของกลุ่มยา 6 Endocrine system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสำหรับ โรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 5 . Octreotide acetate sterile pwdr (ชนิดออกฤทธิ์นาน จ (2) เฉพาะ 20 และ 30 mg / vial ) เงื่อนไข สำหรับผู้ป่วย thyrotropin secreting pituitary adenoma โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. การใช้ยาก่อนการผ่าตัดเพื่อให้ฮอร์โมนไทรอยด์เข้าสู่ภาวะปกติก่อนการผ่าตัด หรือกรณี มีแนวโน้มที่ก้อนจะไม่สามารถผ่าออกได้หมด เช่น มีการลามเข้า cavernous sinus โดยมีระยะการให้ยา 1 - 3 เดือน 2. การให้ยาระหว่างรอการตอบสนองต่อการรักษาด้วยการฉายแสงหลังผ่าตั ดในกรณีที่ก้อน ไม่สามารถผ่าตัดออกได้หมด โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 9 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 4 ของ 6.5.1 Hypothalamic and anterior pituitary hormones 6.5 Hypothalamic and pituitary hormones ของกลุ่มยา 6 Endocrine system ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชี ยาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แ ทน “ 4 . Somatropin sterile sol, sterile pwdr จ (2) เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ป่วย growth hormone deficiency ในทารกแรกเกิดหรือเด็กเล็ก อายุน้อยกว่า 2 ปี ร่วมกับมีภาวะน้าตาลในเลือดต่า โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดที่สานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน และกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ประกาศกำหนด หมายเหตุ การจัดหายารายการนี้เป็นไปตามที่กองทุนในระบบประกันสุขภาพกำหนด ” ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
ข้อ 10 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 5 ของ 6.5.1 Hypothalamic and anterior pituitary hormones 6.5 Hypothalamic and pituitary hormones ในภาคผนวก 1 รายการยา ในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้าย ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 5 . Thyrotropin alfa sterile pwdr จ (2) เงื่อนไข ใช้สำหรับ differentiated thyroid cancer ( papillary and / or follicular thyroid carcinoma ) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 1 1 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 18 ของ 8.1.5 Other antineoplastic drugs 8.1 Cytotoxic drugs ของกลุ่มยา 8 Malignant disease and immunosuppression ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 18 . Rituximab sterile sol จ (2) เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับ non - Hodgkin lymphoma ชนิด Diffused Large B - Cell Lymphoma ( DLBCL ) ในเด็กและผู้ใหญ่ โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 2 . ใช้สาหรับ neuromyelitis optica spectrum disorder ( NMOSD ) ที่ไม่ตอบสนองต่อ การรักษาด้วยยา Prednisolone + Azathioprine หรือมีข้อห้ามในการใช้ยา Prednisolone หรือ Azathioprine โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 12 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 8 ของ 8.2 Drugs affecting the immune response ของกลุ่มยา 8 Malignant disease and immunosuppression ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียา สำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 8 . Mycophenolate mofetil cap, tab ง เงื่อนไข 1 . ใช้กับผู้ป่วยปลูกถ่ายตับในระยะ maintenance therapy 2 . กรณีผู้ป่วยไตมีเงื่อนไข คือ 2.1 ใช้เป็น alternative drug ในกรณีผู้ป่วยปลูกถ่ายไตในระยะ maintenance therapy ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
2.2 ใช้เป็น alternative drug ในกรณีผู้ป่วย severe lupus nephritis ( class III - IV ) ในกรณี ดังนี้ 2.2.1 ระยะ induction therapy * ในกรณี ดังนี้ 2.2.1.1 กรณีที่ใช้ Intravenous cyclophosphamide ( IVCY ) อย่างน้อย 6 เดือนแล้วไม่ได้ผล และไม่สามารถทำให้เกิด remission ** ได้ หรือ 2.2.1.2 กรณีที่เคยได้รับ Intravenous cyclophosphamide ( IVCY ) ครบ 1 course แล้ว และมี active lupus nephritis ซ้าอีก หรือ 2.2.1.3 กรณีผู้ป่วยไม่สามารถรับ Intravenous cyclophosphamide ( IVCY ) ได้ 2.2.2 ในระยะ maintenance therapy ที่ใช้ Azathioprine ไม่ได้หรือใช้แล้ว ไม่ได้ผล 3 . ใช้กับผู้ป่วยปลูกถ่ายหัวใจในระยะ maintenance therapy 4 . ใช้สำหรับผู้ป่วย Neuromyelitis optica spectrum disorder ( NMOSD ) ในกรณีดังนี้ 4.1 ใช้ยา prednisolone ร่วมกับยา azathioprine แล้วยังไม่สามารถป้องกันการกลับ เป็นซ้าของโรคได้หลังจากได้ยาในปริมาณที่เหมาะสม Prednisolone (10 - 20 mg / day ) ร่วมกับ Azathioprine (2 - 3 mg / kg / day ) เป็นเวลา 6 เดือน 4.2 ผู้ป่วยมีข้อห้ามใช้ยา Prednis olone หรือ Azathioprine เพียงข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 4.2.1 มีภาวะตับอักเสบที่มีค่าเอนไซม์ของตับ ( AST และ ALT ) เพิ่มมากกว่า ค่าปกติ 5 เท่า 4.2.2 มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ากว่า 3,000 cells / μl หรือ มีปริมาณนิวโทรฟิล น้อยกว่า 1,000 cells / μl 4.2.3 มีอาการแพ้ยา เช่น มีผื่นแพ้ยาจากยา Azathioprine หรือมีภาวะอื่น ๆ ที่ไม่สามารถใช้ยา Prednisolone ได้ เช่น มีภาวะน้าตาลสูงที่ไม่สามารถควบคุมได้ หรือกระดูกพรุนอย่างรุนแรง หรือภาวะ avascular necrosis หรือภาวะต้อหินจากยา หรือมีความผิดปกติทาง เมตาบอลิซึมอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อภาวะทุพพลภาพของผู้ป่วยได้ 5 . ใช้สาหรับรักษาภาวะ systemic sclerosis - associated interstitial lung disease ( SSc - ILD ) ที่ไม่ตอบสนองหลังได้รับยา Cyclophosphamide ภายในระยะเวลา 6 เดือน หรือมีข้อห้ามหรือ ไม่สามารถทนต่ออาการข้างเคียงจากการใช้ยา Cyclophosphamide โดยมีการติดตามประเมินผลนาน 1 ปีหลังได้รับยา หมายเหตุ 1 . *ระยะ induction therapy ควรทำ kidney biopsy เพื่อยืนยันการวินิจฉัย ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
2 . ** remission ของ severe lupus nephritis ( class III - IV ) หมายถึง การมีระดับ serum creatinine ลดลงและมีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะน้อยกว่า 1 กรัมต่อวันร่วมกับไม่มีการกำเริบนอกไต 3 . ผู้ป่วยไม่ตอบสนองหลังได้รับยา Cyclophosphamide ต้องมีลักษณะทางคลินิกแย่ลง โดยไม่มีสาเ หตุ/ภาวะอื่น ร่วมกับการตรวจพบต่อไปนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 3.1 FVC ลดลงจากเดิม ≥ 10% (ที่ไม่ได้เกิดจาก severe myositis ) หรือ 3.2 FVC ลดลง 5 - 10% ร่วมกับ DLco ลดลง > 15% หรือ oxygen desaturation ลดลงจาก baseline ≥3% หรือ HRCT มีลักษณะที่บ่งบอกว่ามีการอักเสบเพิ่มขึ้น 4 . ผู้ป่วยมีข้อห้ามต่อการใช้ยา Cyclophosphamide ดังนี้ 4.1 มีภาวะ hypersensitivity ต่อยา Cyclophosphamide หรือ 4.2 ผู้ป่วยตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร หรือ 4.3 ผู้ป่วยมีการติดเชื้อรุนแรงหรือเรื้อรังที่ยังไม่ได้รั บการรักษา หรือ 4.4 ผู้ป่วยมีการกีดขวางหรือการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ ( urinary outflow obstruction ) หรือ 4.5 ขนาดยา Cyclophosphamide ที่ได้รับสะสมมากกว่า 36 กรัม 5 . ผู้ป่วยไม่สามารถทนต่ออาการข้างเคียงจากการใช้ยา Cyclophosphamide ดังนี้ 5.1 ภาวะติดเชื้อรุนแรง ( severe infection ) หรือ 5.2 คลื่นไส้อาเจียนรุนแรง แม้ว่าจะได้รับยาลดอาการอาเจียนอย่างเต็มที่แล้ว หรือ 5.3 มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ( bladder cancer ) หรือ 5.4 absolute neutrophil count < 1500/ mm 3 หรือ 5.5 severe hemorrhagic cystitis 6 . ยาเม็ด Mycophenolate mofetil ขนาด 250 mg มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้เม็ดละ 12 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และยาเม็ด Mycophenolate mofetil ขนาด 500 mg มีราคาต่าสุด ที่ต่อรองได้เม็ดละ 20 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ 4 กันยายน 25 65 เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 13 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 10 ของ 8.2 Drugs affecting the immune response ของกลุ่มยา 8 Malignant disease and immunosuppression ในภาคผนวก 1 รายการ ยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้าย ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิ ถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 10 . Sirolimus ( Rapamycin ) oral sol (เฉพาะ 1 mg / ml ) , ง tab (เฉพาะ 1 mg ) ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
เงื่อนไข 1 . ใช้กับผู้ป่วยปลูกถ่ายไตในระยะ maintenance therapy ที่มีเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1.1 . ต้องการหลีกเลี่ย งพิษต่อไต หรือผลข้างเคียงอื่น ๆ จากยา cyclosporin หรือ tacrolimus 1.2 . ติดเชื้อ เช่น CMV ( Cytomegalovirus ) หรือ BKV ( BK virus ) ภายหลังจาก การปลูกถ่ายไต 1.3 . ตรวจพบ หรือมีความเสี่ยงสูงในการเกิดมะเร็งภายหลังจากการปลูกถ่ายไต ” 2 . ใช้กับผู้ป่วยปลูกถ่ายหัวใจที่มีภาวะไตวายที่มีค่า eGFR ( CKD - EPI formula ) ในช่วง 30 - 50 ml / min / 1.73 m 2 3 . ใช้กับผู้ป่วยปลูกถ่ายตับที่เคยได้รับยา sirolimus มาก่อนและไม่มีปัญหาการตอบสนองต่อยา ” ข้อ 14 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 20 ของ 9.3 Vitamins ของกลุ่มยา 9 Nutrition and blood ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการ บัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ ความต่อไปนี้แทน “ 20 . Vitamin E cap ง เงื่อนไข 1 . ใช้กับทารกและเด็กที่มีโรคตับชนิดน้ำดีคั่ง ( chronic cholestasis ) 2 . ใช้ป้องกันและรักษาภาวะขาดวิตามินอีในเด็ก และเด็กที่มีปัญหาการย่อยไขมัน และ/หรือ การดูดซึมไขมันบกพร่อง 3 . สั่งจ่ายยาโดยกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโภชนาการ หรือกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน โรคระบบทางเดินอาหารและตับเท่านั้น ” ข้อ 15 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 2 ถึงลำดับที่ 5 ของ 9.7 Metabolic disorders ของกลุ่มยา 9 Nutrition and blood ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนา ระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ ความต่อไปนี้แทน “ 2 . Carglumic acid oral form จ (2) ยากำพร้า เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับผู้ป่วย N - acetylglutamate synthase ( NAGS ) deficiency ที่มีภาวะ hyperammonemia ทั้งใน acute hyperammonemia และ maintenance for chronic hyperammonemia ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
2 . ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะ acute hyperammonemia crisis ที่สงสัยว่าเป็น organic acidemia ชนิด propionic acidemia ( PA ) และ methylmalonic acidemia ( MMA ) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดที่สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน และกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ประกาศกำหนด 3 . Imiglucerase sterile pwdr จ (2) เงื่อนไข ใช้สาหรับ Gaucher ’ s disease type 1 โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียด ในภาคผนวก 3 4 . Mercaptamine ( Cysteamine bitartrate ) immediate - release cap จ (2) ยากำพร้า เงื่อนไข ใช้สำหรับ nephropathic cystinosis โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียด ในภาคผนวก 3 5 . Nitisinone ยากำพร้า oral form จ (2) เงื่อนไข ใช้สำหรับรักษาโรคไทโรซีนีเมียชนิดที่ 1 ( hereditary tyrosinemia type 1) โดยใช้เฉพาะ การรักษาผู้ป่วยก่อนได้รับการปลูกถ่ายตับ ( liver transplant ) โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไป ตามรายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 16 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 6 ของ 9.7 Metabolic disorders ของกลุ่มยา 9 Nutrition and blood ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 6 . Sapropterin ( BH 4 ) oral form จ (2) ยากำพร้า เงื่อนไข 1 . ใช้เพื่อทาการทดสอบ BH 4 loading test สาหรับวินิจฉัยแยกผู้ป่วยโรค BH 4 deficiencies จากโรค phenylketonuria ( PKU ) และประเมินการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา sapropterin ( BH 4) 2 . ใช้สำหรับโรค tetrahydrobiopterin ( BH 4) deficiencies 3 . ใช้สาหรับโรค phenylketonuria ( PKU ) ที่ได้รับการรักษาด้วยการควบคุมอาหารแล้ว ยังมีระดับ phenylalanine ในเลือดเกินกว่า 360 μmol / L 4 . สั่งจ่ายโดยแพทย์อนุสาขาเวชพันธุศาสตร์เท่านั้น โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
หมายเหตุ กรณีใช้สำหรับโรค tetrahydrobiopterin ( BH 4) deficiencies ต้องใช้ร่วมกับการรักษา มาตรฐานอื่น (เช่น 5 - hydroxytryptophan (5 - HTP ) , folinic acid, levodopa ( L - dopa ) เป็นต้น) ” ข้อ 17 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 8 ถึงลาดับที่ 9 ของ 10.1.2 Disease - modifying antirheumatic drugs ( DMARDs ) 10.1 Drugs used in rheumatic diseases and gout ของกลุ่มยา 10 Musculoskeletal and joint diseases ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียา สาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 8 . Adalimumab sterile sol (เฉพาะ 40 mg / 0.8 ml ) จ (2) เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ( psoriatic arthritis ) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยา เป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 2 . ใช้สาหรับรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ( rheumatoid arthritis ) โดยมีแนวทางกากับ การใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 หมายเหตุ ยาฉีด Adalimumab ความแรง 40 mg / 0.8 ml มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้เข็มละ 1,780 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กำหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ 25 ธันวาคม 256 5 เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / 9 . Infliximab sterile pwdr (เฉพาะ 100 mg ) จ (2) เงื่อนไข ใช้สำหรับรักษาโรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบชนิดยึดติด ( ankylosing spondylitis ) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 หมายเหตุ ยาฉีด Infliximab ขนาด 100 mg มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้ไวแอลละ 3,142 บาท (ราคารวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม) กำหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ 25 ธันวาคม 256 5 เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 18 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 5 ของ 10.1 .3 Drugs for treatment of gout and hyperuricaemia 10.1 Drugs used in rheumatic diseases and gout ของกลุ่มยา 10 Musculoskeletal and joint diseases ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนา ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
ระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 และให้ใช้ความ ต่อไปนี้แทน “ 5 . Febuxostat tab (เฉพาะ 80 mg ) ง เงื่อนไข ใช้สำหรับภาวะกรดยูริกในเลือดสูงที่มีเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 1 . ผู้ป่วยโรคเกาต์ที่แพ้ยา allopurinol ชนิดรุนแรง และมีข้อห้ามในการใช้ยากลุ่ม uricosuric 2 . ผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มียีน HLA - B *58:01 และมีข้อห้ามในการใช้ยากลุ่ม uricosuric 3 . ผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีระดับกรดยูริกมากกว่า 6 mg / dL ภายหลังจากการใช้ยากลุ่ม uricosuric ร่วมกับ allopurinol ในขนาดที่เหมาะสม 4 . ผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีระดับกรดยูริกมากกว่า 6 mg / dL ภายหลังจากการใช้ยากลุ่ม uricosuric ในกรณีผู้ป่วยที่แพ้ยา allopurinol ชนิดรุนแรง หรือมียีน HLA - B *58:01 5 . เป็นยาทางเลือกในกรณีที่ใช้ allopurinol แล้วมีเอนไซม์ตับสูงเกิน 3 เท่าของค่าปกติ หรือเพิ่มขึ้นเกิน 2 เท่าของระดับก่อนให้ยา และมีข้อห้าม ใช้ยากลุ่ม uricosuric คำเตือนและข้อควรระวัง ควรระมัดระวังการใช้ febuxostat ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือความเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือดสูง ” ข้อ 19 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 8 ถึงลาดับที่ 9 ของ 11.1.1 Antibacterials and eye wash solution 11.1. Anti - infective eye preparations ของกลุ่มยา 11 Eye ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชี ยาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 8 . Levofloxacin eye drop (เฉพาะ 0.5%) (5 ml ) ง เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับรักษาเยื่อบุตาอักเสบ ( Bacterial conjunctivitis ) 2 . ใช้สำหรับการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณลูกตาส่วนนอกอื่น ๆ ( other external ocular bacterial infections ) หมายเหตุ ยาหยอดตา Levofloxacin ความแรง 0.5% ขนาด 5 ml มีราคาต่ำ สุดที่ต่อรองได้ขวดละ 77.04 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใ ช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
9 . Levofloxacin eye drop (เฉพาะ 1.5%) (5 ml ) ง เงื่อนไข 1 . ใช้สำหรับรักษากระจกตาอักเสบ ( Bacterial Keratitis ) 2 . ใช้สำหรับรักษาแผลที่กระจกตา ( Corneal ulcer ) หมายเหตุ ยาหยอดตา Levofloxacin ความแรง 1.5% ขนาด 5 ml มีราคาต่ำ สุดที่ต่อรองได้ขวดละ 133.70 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใ ช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 20 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็นลาดับที่ 5 ของ 11.3 Mydriatics and cycloplegics ของกลุ่มยา 11 Eye ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 “ 5 . Phenylephrine hydrochloride + eye drop (เฉพาะ 5% + 0.8%) (5 ml ) ค Tropicamide หมายเหตุ ยาหยอดตา Phenylephrine hydrochloride + Tropicamide ความแรง 5% + 0.8% ขนาด 5 ml มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้ขวดละ 128.40 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยา ใ นเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 21 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 7 ถึงลำดับที่ 8 ของ 11. 4 Drugs for treatment of glaucoma ของกลุ่มยา 11 Eye ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและ สถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 7 . Brinzolamide eye susp (เฉพาะ 1%) (5 ml ) ค เงื่อนไข 1 . ใช้รักษาต้อหินในกรณีที่มีข้อห้ามใช้ topical beta - blockers หรือ 2 . ใช้เฉพาะกรณีที่ใช้ยาชนิดอื่นรักษาต้อหินแล้วความดันในลูกตายังไม่ลดลงอยู่ในขั้นที่ปลอดภัย หมายเหตุ ยาหยอดตา Brinzolamide ความแรง 1% ขนาด 5 ml มีราคาต่ำสุดที่ต่อรองได้ขวดละ 192.60 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
8 . Brinzolamide + Timolol maleate eye susp (เฉพาะ 1% + 0.5% ) (5 ml ) ง เงื่อนไข ใช้เฉพาะกรณีที่ใช้ยารักษาต้อหินชนิดอื่นแล้วความดันในลูกตายังไม่ลดลงอยู่ในขั้นที่ปลอดภัย หมายเหตุ ยาหยอดตา Brinzolamide + Timolol maleate ความแรง 1% + 0.5% ขนาด 5 ml มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้ขวดละ 192.60 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กาหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใ ช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยาในเว็บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 22 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 4 ของ 11. 6 Tear deficiency, ocular lubricants and astringents ของกลุ่มยา 11 Eye ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและ สถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิ ถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 4 . Hypromellose + Dextran 70 ( preservative free ) eye drop ( เฉพาะ 0.3% + 0.1%) (0.8 ml ) ง เงื่อนไข ใช้เฉพาะกับผู้ป่วยตาแห้งมาก ที่ใช้น้ำตาเทียมที่มี preservative ไม่ได้ หมายเหตุ น้ำตาเทียม Hypromellose + Dextran 70 ( preservative free ) ความแรง 0.3% + 0.1% ขนาด 0.8 ml มีราคาต่าสุดที่ต่อรองได้หลอดละ 4.50 บาท (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) กำหนดยืนราคา 730 วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ดูตามแบบเสนอยา ในเว็ บไซต์ http :// ndi . fda . moph . go . th / drug_national / ” ข้อ 23 ให้ยกเลิกความในลำดับที่ 7 ของ 11.7 Ocular diagnostic and peri - operative preparations and photodynamic treatment ของกลุ่มยา 11 Eye ในภาคผนวก 1 รายการยา ในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้าย ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 7 . Bevacizumab sterile sol จ (2) เงื่อนไข 1 . ใช้สาหรับ age - related macular degeneration ( AMD ) โดยมีแนวทางกากับการใช้ยา เป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 2 . ใช้สาหรับ diabetic macular edema ( DME ) โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตาม รายละเอียดในภาคผนวก 3 ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
3 . ใช้สำหรับ retinal vein occlusion ( RVO ) โดยมีแนวทางกากับการใช้ยาเป็นไปตาม รายละเอียดในภาคผนวก 3 4 . ใช้สำหรับการรักษาโรคจอตาผิดปกติในเด็กเกิดก่อนกำหนด ( Retinopathy of Prematurity ; ROP ) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3” ข้อ 24 ให้ยกเลิกความในลาดับที่ 13 ของกลุ่มยา 14 Immunological products and vaccines ในภาคผนวก 1 รายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข รายการบัญชียาหลักแห่งชาติแนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลัก แห่งชาติ พ .ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ 13 . Inactivated polio vaccine ( IPV ) inj ก (เฉพาะชนิดที่เป็นวัคซีนเดี่ยว) เงื่อนไข ใช้ตามโครงการกวาดล้างโปลิโอของประเทศไทย ตามนโยบายฉากสุดท้ายของการกวาดล้าง โปลิโอในระดับโลก ” ข้อ 25 เพิ่มแนวทางกากับการใช้ยา posaconazole เงื่อนไข ใช้สาหรับรักษา invasive mucormycosis ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองหรือไม่ทนต่อยา amphotericin B แนวทางกากับการใช้ยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน โรคเนื้องอกต่อมใต้สมองที่ผลิตไทโรโทรปิน ( Thyrotropin ( TSH ) secreting pituitary adenoma ) แนวทางกำกับการใช้ยา rituximab ข้อบ่งใช้ โรคนิวโรมัยอิลัยติสออฟติกา ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาพื้นฐาน ( refractory neuromyelitis optica spectrum disorder ) แนวทางกำกับการใช้ยา mercaptamine ( cysteamine bitartrate ) เงื่อนไข nephropathic cystinosis แนวทางกากับการใช้ยา nitisinone เงื่อนไขใช้สาหรับรักษา โรคไทโรซีนีเมียชนิดที่ 1 ( hereditary tyrosinemia type 1) โดยใช้เฉพาะการรักษาผู้ป่วยก่อนได้รับการปลูกถ่ายตับ ( liver transplant ) แนวทางกำกับการใช้ยา sapropterin ( BH 4) เงื่อนไขใช้สำหรับโรค tetrahydrobiopterin ( BH 4) deficiencies และแนวทางกากับการใช้ยา sapropterin ( BH 4) เงื่อนไขใช้สาหรับโรค phenylketonuria ( PKU ) แนบท้ายประกาศนี้ ในภาคผนวก 3 แนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ (2) แนบท้าย ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ข้อ 26 เพิ่มแนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ (2) ยา infliximab เงื่อนไขใช้สำหรับโรค ulcerative colitis แนวทางกำกับการใช้ยา infliximab เงื่อนไขใช้สำหรับโรค Crohn ’ s disease แนวทางกำกับการใช้ยา adalimumab เงื่อนไข ใช้สำหรับรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน ( psoriatic arthritis ) แนวทางกากับการใช้ยา adalimumab เงื่อนไข ใช้สาหรับรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ( rheumatoid arthritis ) และแนวทางกากับการใช้ยา infliximab เงื่อนไข ใช้สาหรับรักษาโรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบ ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
ชนิดติดยึด ( ankylosing spondylitis ) แนบท้ายประกาศนี้ ในภาคผนวก 3 แนวทางกากับการใช้ยา บัญชี จ (2) แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยา แห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 ข้อ 27 ให้ยกเลิกแนวทางกำกับการใช้ยา liposomal amphotericin B เงื่อนไขโรค invasive fungal infections ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่อยา amphotericin B ของภาคผนวก 3 แนวทางกากับการใช้ยาบัญชี จ (2) แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้แนวทางกากับการใช้ยา liposomal amphotericin B เงื่อนไขโรค invasive fungal infections ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่อยา amphotericin B แนบท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 28 ให้ยกเลิกแนวทางกำกับการใช้ยา sofosbuvir + velpatasvir และ ribavirin ข้อบ่งใช้โรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุกสายพันธุ์ ทั้งในผู้ป่วยที่มีหรือไม่มีการติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย ของภาคผนวก 3 แนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ (2) แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนา ระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 ข้อ 29 ให้ยกเลิกแนวทางกากับการใช้ยา Bevacizumab ในข้อบ่งใช้ 1. โรคจุดภาพชัด จอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปียกที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ใต้รอยบุ๋มจอตา ( Wet form of subfoveal, juxtafoveal choroidal neovascularization ( CNV ) due - to aged related macular degeneration ) 2. โรคศูนย์กลางจอตาบวมจากเบาหวาน ( Diabetic Macular Edema : DME ) 3. โรคหลอดเลือดดา ที่จอตาอุดตันที่มีศูนย์กลางจอตาบวม ( Retinal Vein Occlusion with Macular Edema ) ของภาคผนวก 3 แนวทางกากับการใช้ยาบัญชี จ (2) แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2565 และให้ใช้แนวทางกากับการใช้ยา Bevacizumab ในข้อบ่งใช้ 1. โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปียกที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ ใต้รอยบุ๋มจอตา ( Wet form of subfoveal, juxtafoveal choroidal neovascularization ( CNV ) due - to aged related macular degeneration ) 2. โรคศูนย์กลางจอตาบวมจากเบาหวาน ( Diabetic Macular Edema : DME ) 3. โรคหลอดเลือดดาที่จอตาอุดตันที่มีศูนย์กลางจอตาบวม ( Retinal Vein Occlusion with Macular Edema ) 4. ใช้สาหรับการรักษาโรคจอตาผิดปกติในเด็กเกิดก่อนกาหนด ( Retinopathy of Prematurity; ROP ) แนบท้ายประกาศนี้แทน ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
ข้อ 30 ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับตั้งแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 256 6 อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 160 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 กรกฎาคม 2566
หน้า 1 ภาคผนวก 3 แนวทางกํากับการใชยา บัญชี จ( 2 ) แนบทายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2565 (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2566 ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2566 แนวทางกํากับการใชยา infliximab ขอบงใชโรคโครหน ( Crohn’ s disease) ที่รักษาด้วยยาพื้นฐานไม่ได้ 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา infliximab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงาน กําหนดไวกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอน ทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ( 2 ) ในครั้งแรก (อนุมัติให้ใชเป็นเวลา 12 เดือน) และครั้งต่อไปทุก ๆ 12 เดือน 2 คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมีแพทย เฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางที่พรอมจะดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิด จากโรคและ/หรือการรักษา 3 คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตรโรคทางเดินอาหาร หรือ สาขากุมารเวชศาสตรโรคทางเดินอาหารและตับ ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4 เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา infliximab ในผู้ปวยอายุ 6 ปขึ้นไปที่เป็นโรค Crohn’ s disease โดยต้องมีครบทุกขอ ดังต่อไปนี้ 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 0 † 4.2 ผู้ปวยได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรค Crohn’ s disease ตามเกณฑครบทุกขอดังต่อไปนี้ 4.2.1 มีอาการเขาได้กับโรค Crohn’ s disease หรือมีอาการลําไสอักเสบเรื้อรัง ได้แก อาการปวดทอง ถายเหลว หรือถายเป็นเลือด 4.2.2 มีแผลในลําไส และมีผลทางพยาธิที่เขาได้กับโรค Crohn’ s disease 4.2.3 มีการตรวจคนเพื่อแยกโรคสาเหตุอื่น ๆ เชน วัณโรค โรคติดเชื้อในลําไส โรคลําไสอื่น ๆ † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable ) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งใน ความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 2 4.3 ผู้ปวยเขาเกณฑขอใดขอหนึ่งดังนี้ 4.3.1 มีภาวะแทรกซอนของโรค ได้แก ลําไสทะลุ ลําไสตีบ หรือ fistula 4.3.2 มีภาวะการอักเสบระดับปานกลางถึงรุนแรงมาก activ ity score ( CDAI ) มากกวาหรือเทากับ 220 คะแนน หรือ Pediatric Crohn ’ s Disease Activity Index ( PCDAI ) score 1 * มากกวา หรือเทากับ 30 คะแนน และ ได้รับการรักษาด้วย steroid รวมกับ immunomodulators แล้ว และไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามเกณฑขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 4.3.2.1 ) steroids - refractory disease ได้แก อาการอักเสบหลังจากได้ prednisolone อยางนอย 0.75 มก./กก./วัน (1 มก./กก./วัน ในเด็ก) หรือเทียบเทา มานานกวา 4 สัปดาห โดยคา CDAI ลดลงนอยกวา 100 คะแนน ในผู้ใหญ หรือ คา PCDAI ลดลงนอยกวา 12.5 คะแนน ในเด็ก 4. 3. 2. 2 ) steroid dependent disease ได้ แก อาการ ลําไสอั กเสบที ่ ไม่ สามารถลด prednisolone ให้ต่ํากวา 10 มก./วัน หรือ 0.25 มก./กก./วัน (ในเด็ก) หรือเทียบเทา แมได้รับยา immunomodulators ในขนาดที่เหมาะสมรวมด้วยอยางนอย 3 เดือน 4.3.2.3 ) immunomodulators non - response disease ได้แก มีอาการอักเสบกลับเป็นซ้ํา คือ คา CDAI มากกวา 150 คะแนน หรือ เพิ่มขึ้นกวาเดิมมากกวา 100 คะแนน ในผู้ใหญ หรือ คา PCDAI มากกวาหรือเทากับ 10 คะแนน ในเด็ก ทั้ง ๆ ที่ได้รับยา immunomodulators ในขนาดที่เหมาะสมอยางนอย 3 เดือน 4.3.2.4 ) intolerant ต่อยา มีผลขางเคียงของยา corticosteroid หรือimmunomodulators ระดับความรุนแรง 3 ถึง 4 คือมีผลกระทบต่อสุขภาพหรือการทํางานของอวัยวะอยางมี นัยสําคัญ รวมทั้งผลขางเคียงของยาต่อการเจริญเติบโตของเด็กต่ํากวามาตรฐาน (height for age ) คําแนะนํา ขนาดยา immunomodulators ที่เหมาะสม • Azathioprine 2 .0-2. 5 มก./กก./วัน ในเด็ก และ 1- 2 มก/กก./วัน ในผู้ใหญ • 6- mercaptopurine 1 –1. 5 มก./กก./วัน • Methotrexate 15 มก/ตร. ม. ในเด็ก (ขนาดยาสูงสุดในเด็ก และขนาดยาในผู้ใหญ 25 มก./สัปดาห) หมายเหตุ: ขนาดยา Azathioprine เป็นขนาดยาที่อางอิงการใชในคนไทย 4.4 ผู้ปวยต้องไม่มีขอหาม ดังต่อไปนี้ 4.4.1 แพยา Infliximab รุนแรง หรือแพสวนประกอบที่เป็น murine protein 4.4.2 ต้องไม่มีการติดเชื้อ รวมทั้งการติดเชื้อซ้ําซากที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอยางเหมาะสม เอกสารอางอิง 1 ) Sturm A, Maaser C, Calabrese E, Annese V, Fiorino G, Kucharzik T, et al. Ecco - ESGAR guideline for Diagnostic Assessment in IBD part 2: IBD scores and general principles and technical aspects. J Crohns Colitis. 2018;13 :273 –84 . J Crohn Colitis 201 9;13 :273 -84. 2 ) Hyams JS, Ferry GD, Mandel FS, et al. Development and validation of a Pediatric Crohn ’ s disease Activity index. J Pediatr Gastroenterol Nutr 1991;12: 439- 47
หน้า 3 4.4.3 โรคติดเชื้อ HIV ที่ยังไม่ได้รับการรักษาด้วยยาตานไวรัส หรือยังควบคุมไม่ได้ 4.4.4 อยู่ในระหวางตั้งครรภ (ยกเวนแพทยผู้รักษามีความเห็นวาประโยชนที่ได้รับจากการใชยามี มากกวาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น) 4.4.5 อยู่ในระหวางให้นมบุตร (ยกเวนแพทยผู้รักษามีความเห็นวาประโยชนที่ได้รับจากการใชยามี มากกวาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น) 4.4.6 มีภาวะหัวใจล้มเหลว New York Heart Association function class III, IV 4.4.7 มีโรคประจําตัวที่เสี่ยงต่อการใชยา เชน ตับแข็งรุนแรง (decompensated c irrhosis ) เป็นตน 4.4.8 มีประวัติ demyelinating disease 4.4.9 โรคมะเร็งที่ยังอยู่ในระหวางการรักษาหรือรักษาไม่หายขาด (ยกเวน basal cell carcinoma ) 4.5 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ ( 2 ) ตามที่กําหนด 2 †† 5 ขนาดยาที่แนะนํา 5.1 ขนาดยา infliximab ที่แนะนําตาม actual body weight คือ 5 -10 มก./กก. โดยผสมใน normal saline และให้ยาเขาหลอดเลือดดําในระยะเวลานาน 60- 120 นาที 5.2 การให้ยา inflixi mab แนะนําให้เริ่มยาขนาด 5 มก./กก. ที่สัปดาหที่ 0 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 6 และ หลังจากนั้นทุก 8 สัปดาห หมายเหตุ: 1 ) หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษา (primary non -response ) โดยการประเมินอาการ (คา CDAI ลดลงนอยกวา 100 คะแนน หรือ PCDAI ลดลงนอยกวา 12.5 คะแนนในเด็ก) และ ยังตรวจพบ inflammatory markers ที่ระยะเวลา 12- 14 สัปดาห แพทยผู้ทําการรักษา อาจจะพิจารณาเพิ่มขนาดยาเป็น 10 มก./กก. แล้ว ประเมินที่ 8 สัปดาหหลังเพิ่มขนาดยา หากผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษาได้ดีสามารถให้ยาต่อเนื่อง ในขนาด 10 มก./กก. หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขนาด 10 มก./กก. ก็ให้หยุดยา 2 ) ในกรณีที่ประสิทธิภาพของ infliximab ลดลงระหวางการใชยา (Loss of response) ให้แพทยผู้ทําการ รักษา ประเมินหาสาเหตุของอาการ หากเกิดจากโรค Crohn’ s disease ให้พิจารณาเพิ่มขนาดยาเป็น 10 มก./กก. แล้วประเมินที่ 8 สัปดาหหลังเพิ่มขนาดยา หากผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษาได้ดีสามารถให้ยา ต่อเนื่องในขนาด 10 มก./กก. หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขนาด 10 มก./กก. ก็ให้หยุดยา 6 การประเมินระหวางการรักษา 6.1 ดานประสิทธิผลของการรักษา โดย ประเมินอาการ การตรวจรางกาย ทุก 2-3 เดือน และสองกลองและ บันทึกในเวชระเบียน อยางนอยทุก 12 เดือน หมายเหตุ ผู้ปวย Crohn’ s disease ตอบสนองต่อยา หมายถึง คา CDAI นอยกวา 150 คะแนนหรือ ลดลงมากกวา 100 คะแนนจากกอนรักษา สําหรับผู้ปวยเด็ก คา PCDAI นอยกวา 10 คะแนนหรือ ลดลง มากกวา 12. 5 คะแนนจากกอนรักษา †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ ( 2)
หน้า 4 6.2 การประเมินดานความปลอดภัยให้ติดตามผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับยา infliximab 6.2. 1 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นขณะให้ยาทางหลอดเลือดดํา (infusion reaction) ได้แก คลื่นไส อาเจียน ไข หนาวสั่น ปวดกลามเนื้อ ปวดหลัง ใจสั่น ความดันต่ํา แนนหน้าอก หายใจไม่อิ่ม 6.2.2 อาการแพชนิดรุนแรง ( life- threatening anaphylactoid reaction) ขณะให้ยา ให้ระวังการใช ยาในผู้ปวยที่มีภาวะขาดอิมมูโนโกลบูลินเอ (Immunoglobulin A deficiency ) 6.2. 3 มีการประเมินการติดเชื้อวัณโรคแอบแฝง (latent tuberculosis infection) โดยการตรวจอยาง นอยภาพถายรังสีปอด อยางนอย 1 ครั้งต่อป และมีการติดตามอาการของการติดเชื้อวัณโรคอยาง ใกลชิด 6.2.4 ติดตามและเฝาระวังการติดเชื้ออื่น ๆ ทุก 2- 3 เดือน โดยดูอาการและสืบคนเพิ่มเติมตามความ เหมาะสม 7 เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยาเมื่อมีขอบงชี้ขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ตามระบุในหมายเหตุ ขอ 5 7 .2 เกิดอาการไม่พึงประสงครุนแรงที่ไม่สามารถใชยาต่อได้ 7 .3 ผู้ปวยปฏิเสธการใชยา 7 . 4 complete remission หมายถึง อาการสงบ คา CDAI <150 คะแนนในผู้ใหญ หรือคา PCDAI < 10 คะแนน ในเด็ก รวมกับ ไม่มีแผลในลําไส หรือ ไม่มีการอักเสบของลําไสในภาพฉายรังสี (เชน CT scan หรือ MRI) และระดับ C- reactive protein และ hemoglobin ปกติ และสามารถใชยา immunomodulators เพื่อควบคุมการกําเริบของโรคต่อได้ คําแนะนํา หากสามารถตรวจ fecal calprotectin ได้ ควรมีระดับ fecal calprotectin นอยกวา 300 μ g / g กอนหยุดยา 7 . 5 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย 7 . 6 การติดเชื้อรุนแรง (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาพนระยะไม่ปลอดภัยหรือหายจากการติด เชื้อรุนแรง) หมายเหตุ : สามารถใชยาครั้งแรกได้นานสูงสุด 2 ป โดยกรณีผู้ปวยมีอาการกลับมาเป็นซ้ํา หลังจากหยุดยา infliximab เป็นระยะเวลา 1 - 2 ป สามารถให้ยา infliximab อีกครั้งได้ เป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 ป
หน้า 5 หมายเหตุ 1 การประเมินความรุนแรงของโรค Crohn’ s disease ในผู้ใหญ เกณฑการประเมินความรุนแรงของ Crohn ’s disease ในผู้ใหญ นอย ปานกลาง มาก เทียบเทากับ CDAI คะแนน 150 – 220 เทียบเทากับ CDAI คะแนน 220 –450 เทียบเทากับ CDAI คะแนน > 450 เชนสามารถใชชีวิตประจําวันได้ ตามปกติ, กินอาหารและดื่มน้ําได้ปกติ, น้ําหนักหนักตัวลดลงนอยกวารอยละ 10, ไม่มีลักษณะของการอุดตันของ ทางเดินอาหาร,ไม่มีไข, ไม่มีการขาดน้ํา , ไม่มีกอนในทองและไม่มีการกดเจ็บ คา CRP มักจะสูงกวาขอบบน ของคาปกติ เชนมีอาการอาเจียนเป็นๆหายๆ หรือน้ําหนักหนักตัวลดลง มากกวารอยละ 10, ไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาแบบโรคที่มีความ รุนแรงนอยหรือมีกอนกดเจ็บไม่มี การอุดตันของทางเดินอาหาร อยางชัดเจน คา CRP สูงกวาขอบบนของคา ปกติ เชนน้ําหนักลดอยางมาก (BMI<18 kg m 2 ) , หรือมีการ อุดตันของทางเดินอาหารหรือ มีฝในชองทองไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาแบบเขมงวด คา CRP สูง เอกสารอางอิง 1 . Lichtenstein GR, Hanauer SB, Sandborn WJ. Management of Crohn’s disease in adults. Am J Gastroenterol 2009;104:465 - 83; quiz 4, 84 .
หน้า 6 หมายเหตุ 2 การประเมินความรุนแรงของโรคในเด็กโดยใช Pediatric Crohn ’ s Disease Activity Index (PCDAI) Score 8 ปจจัย คะแนน ปวดทอง ไม่มี 0 ปวดทองเล็กนอย (ปวดชวงสั้น ๆ ไม่กระทบกิจวัตรประจําวัน) 5 ปานกลาง /รุนแรง (ปวดบอยหรือปวดนานกระทบกิจวัตรประจําวัน) 10 อุจจาระ (ต่อวัน) ถายอุจจาระเนื้อหรือน้ํา 1 ครั้งต่อวัน 0 ถายอุจจาระเหลว 2 -5 ครั้งต่อวัน / ถายมีเลือดปนเล็กนอย 2 ครั้งขึ้นไป 5 ถายอุจจาระมีเลือดมาก / ถายเหลวมอากกวาหรือเทากับ 6 ครั้งต่อวัน / ถายกลางคืน 10 การทํากิจวัตรประจําวัน ปกติ 0 ลดลงบาง 5 ลดลงมาก 10 การตรวจทางหน้าทอง กดเจ็บ ไม่มีกอน 0 กดเจ็บ หรือมีกอนโดยไม่เจ็บ 5 กดเจ็บ พบ guarding มีกอนชัดเจน 10 รอยโรครอบรูทวารหนัก ( perianal disease ) ไม่มีหรือติ่งเนื้อยื่น (skin tag) ที่ไม่มีอาการ 0 ติ่งเนื้อยื่น (skin tag) ที่อักเสบ หรือ fistula ที่ไม่รุนแรง 5 Fistula ที่มีการไหลซึมหรือกดเจ็บหรือฝ 10 อาการนอกระบบทางเดินอาหาร (ไขมากกวา 38 . 5 º C นาน 3 วันใน 1 สัปดาหที่ผานมา ขออักเสบ ผนังลูกตาชั้นกลางอักเสบ ( uveitis ) , erythema nodosum, pyoderma gangrenosum ) ไม่มี 0 1 ขอ 5 มากกวา 2 ขอ 10 น้ําหนักตัว น้ําหนักตัวขึ้นปกติ 0 น้ําหนักตัวไม่ขึ้นหรือลดลง 5 น้ําหนักตัวลดมากกวา 10 % 10
หน้า 7 ความสูง ขณะวินิจฉัย ลดลงมากกวา 1 ชวงเปอรเซ็นไทล 0 ลดลงมากกวาหรือเทากับ 1 ชวง แต่นอยกวา 2 ชวงเปอรเซ็นไทล 5 ลดลงมากกวาหรือเทากับ 2 ชวงเปอรเซ็นไทล 10 ขณะติดตามการรักษา Height velocity ≥ - 1SD 0 Height velocity ≥ - 1SD, < - 2SD 5 Height velocity ≤ - 2SD 10 การตรวจทางหองปฏิบัติการ Hematocrit (%) อายุ ≤ 10 ป: > 33 หญิงอายุ 11 -19 ป: ≥ 34 ชายอายุ 11 -14 ป: ≥ 35 ชายอายุ 15 - 19: ≥ 37 0 อายุ ≤ 10 ป: 28 -32 หญิงอายุ 11 -19 ป: 29 -33 ชายอายุ 11 -14 ป: 30 -34 ชายอายุ 15 - 19: 32 - 36 2 . 5 อายุ ≤ 10 ป: < 28 หญิงอายุ 11 -19 ป: < 29 ชายอายุ 11 -14 ป: <30 ชายอายุ 15 - 19: < 32 5 Erythrocyte sedimentation rate ( ESR ) (มม./ชั่วโมง) < 20 0 20 -50 2 .5 > 50 5 อัลบูมิน (กรัม/ลิตร) ≥ 35 0 31 - 34 5 ≤ 30 10 การแปลผล คะแนน < 10 โรคสงบ คะแนน 10- 30 โรครุนแรงเล็กนอย คะแนน >30 โรครุนแรงปานกลางถึงรุนแรง เอกสารอางอิง 8 . Hyams JS, Ferry GD, Mandel FS, et al. Development and validation of a Pediatric Crohn ’ s disease Activity index. J Pediatr Gastroenterol Nutr 1991;12: 439- 7 .
หน้า 8 แนวทางการกํากับการใชยา Infliximab ขอบงใชโรค Ulcerative colitis ในเด็กที่รักษาด้วยยาพื้นฐานไม่ได้ 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1. ขออนุมัติการใชยา Infliximab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงานกําหนดไว กอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทําการรักษา กับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2. กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ( 2 ) ในครั้งแรก (อนุมัติให้ใชเป็นเวลา 12 เดือน) และครั้งต่อไปทุก ๆ 12 เดือน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมีแพทย เฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางที่พรอมจะดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรค และ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขากุมารเวชศาสตรโรคทางเดินอาหารและตับ หรือสาขาอายุรศาสตรโรคทางเดินอาหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา infliximab ในโรค ulcerative colitis โดยมีเกณฑครบทุกขอดังนี้ 4. 1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 4. 2 เด็กอายุ 6-18 ป 4. 3 มีอาการและลักษณะการสองกลองและพยาธิวิทยาที่เขาได้กับโรค ulcerative colitis 4. 4 ผู้ปวยมีความรุนแรงของโรคระดับปานกลางถึงรุนแรงมากโดยมี Pediatric Ulcerative Colitis Activity Index (PUCAI) score มากกวาหรือเทากับ 35 คะแนน 4. 5 ผู้ปวยต้องเคยใชและไม่ตอบสนองต่อยามาตรฐาน (ได้แก corticosteroids aminosalicylates และ immuno modulators) โดยผู้ปวยต้องมีลักษณะ ตามขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 4. 5 . 1 ผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อ corticosteroids หรือ steroids - refractory disease มี PUCAI score ลดลง นอยกวา 20 คะแนน หลังจากได้รับยา aminosalicylates (5 -ASA ) ขนาดเต็มที่ รวมกับได้รับยา p rednisolone ขนาดยาอยางนอย 1 มก./กก./วัน (สูงสุด 60 มก./วัน) หรือเทียบเทามานานกวา 4 สัปดาห 4. 5 . 2 ผู้ปวยที่ต้องพึ่งพายา corticosteroids (steroid dependent disease) หรือไม่สามารถลดขนาดยา prednisolone ให้ต่ํากวา 0. 25 มก./กก./วัน หรือเทียบเทา แมได้รับยา aminosalicylates ขนาดเต็มที่ รวมกับยา immunomodulators ในขนาดที่เหมาะสมอยางนอย 3 เดือน 4. 5 .3 immunomodulators non - response disease ได้แก มีอาการอักเสบกลับเป็นซ้ํา คือ คา PUCAI มากกวาหรือเทากับ 10 คะแนน ทั้ง ๆ ที่ได้รับ aminosalicylates รวมกับยา immunomodulators ในขนาดที่ เหมาะสมอยางนอย 3 เดือน
หน้า 9 4. 5 . 4 intolerant ต่อยา มีผลขางเคียงของยา corticosteroid หรือ immunomodulators ระดับความ รุนแรง 3 ถึง 4 คือมีผลกระทบต่อสุขภาพหรือการทํางานของอวัยวะอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งผลขางเคียงของยาต่อ การเจริญเติบโตของเด็กต่ํากวามาตรฐาน (height for age ) หมายเหตุ 1. คําแนะนําขนาดยาที่เหมาะสม • Aminosalicylates o Mesalazine 60 - 80 มก./กก./วัน สูงสุด 4 กรัม/วัน o Sulfasalazine 60 -80 มก./กก./วัน สูงสุด 4 กรัม/วัน • Immunomodulators o Azathioprine 2 .0-2. 5 มก./กก./วัน o 6- mercaptopurine 1 –1. 5 มก./กก./วัน 2. ในกรณีที่ใชยาแล้วโรคสงบ และแพทยสั่งหยุดการใชยาไปแล้ว ต่อมาเกิดการกําเริบของอาการของโรค ให้แพทยสามารถพิจารณาเริ่มยาใหมได้ 4.6 ผู้ปวยต้องไม่มีขอหาม ดังต่อไปนี้ 4.6.1 แพยา Infliximab รุนแรง หรือแพสวนประกอบที่เป็น murine protein 4.6.2 ต้องไม่มีการติดเชื้อ รวมทั้งการติดเชื้อซ้ําซาก ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอยางเหมาะสม 4.6.3 โรคติดเชื้อ HIV ที่ยังไม่ได้รับการรักษาด้วยยาตานไวรัส หรือยังควบคุมไม่ได้ 4.6.4 อยู่ในระหวางตั้งครรภ (ยกเวนแพทยผู้รักษามีความเห็นวาประโยชนที่ได้รับจากการใชยามีมากกวา ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น) 4.6.5 อยู่ในระหวางให้นมบุตร (ยกเวนแพทยผู้รักษามีความเห็นวาประโยชนที่ได้รับจากการใชยามี มากกวาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น) 4.6.6 มีภาวะหัวใจล้มเหลว New York Heart Association function class III, IV 4.6.7 มีโรคประจําตัวที่เสี่ยงต่อการใชยา เชน ตับแข็งรุนแรง (decompensated cirrhosis) เป็นตน 4.6.7 มีประวัติ demyelinating disease 4.6.8 โรคมะเร็งที่ยังอยู่ในระหวางการรักษาหรือรักษาไม่หายขาด (ยกเวน basal cell carcinoma ) 4.7 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ ( 2 ) ตามที่กําหนด 3 †† 5 .ขนาดยาที่แนะนํา 5.1 ขนาดยา infliximab ที่แนะนําตาม actual body weight คือ 5 -10 มก./กก. โดยผสมใน normal saline และให้ยาเขาหลอดเลือดดําในระยะเวลานาน 60- 120 นาที 5.2 การให้ยา infliximab แนะนําให้เริ่มยาขนาด 5 มก./กก. ที่สัปดาหที่ 0 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 6 และ หลังจากนั้นทุก 8 สัปดาห 5.3 ควรพิจารณาใช infliximab รวมกับ immunomodulator เพื่อลดการเกิดภูมิตานทานต่อยา †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ ( 2)
หน้า 10 หมายเหตุ 1 ) หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษา (primary non -response ) โดยการประเมินอาการ (คา PUCAI ลดลงนอยกวา 2 0 คะแนน ) และยังตรวจพบ inflammatory markers ที่ระยะเวลา 12- 14 สัปดาห แพทย ผู้ทําการรักษา อาจจะพิจารณาเพิ่มขนาดยาเป็น 10 มก./กก. แล้วประเมินที่ 8 สัปดาหหลังเพิ่มขนาดยา หาก ผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษาได้ดี สามารถให้ยาต่อเนื่อง ในขนาด 10 มก./กก. หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการ รักษาด้วยยาขนาด 10 มก./กก. ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณในการดูแลผู้ปวยมากกวา 2 ) ในกรณีที่ประสิทธิภาพของ infliximab ลดลงระหวางการใชยา ( l oss of response) ให้แพทยผู้ทําการ รักษา ประเมินหาสาเหตุของอาการ หากเกิดจากโรค ulcerative colitis พิจารณาเพิ่มขนาดยาเป็น 10 มก./ กก. แล้วประเมินที่ 8 สัปดาหหลังเพิ่มขนาดยา หากผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขนาด 10 มก./กก. ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณในการดูแลผู้ปวยมากกวา 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา โดยประเมินอาการ การตรวจรางกาย ทุก 2-3 เดือน และสองกลองและบันทึกในเวชระเบียน อยางนอยทุก 12 เดือน หมายเหตุ ผู้ปวย UC ตอบสนองต่อยา หมายถึง คา PUCAI นอยกวา 10 คะแนน หรือลดลงมากกวา 20 คะแนนจากกอนรักษา 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ให้ติดตามผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับยา infliximab 6.2.1 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นขณะให้ยาทางหลอดเลือดดํา (infusion reaction) ได้แก คลื่นไส อาเจียน ไข หนาวสั่น ปวดกลามเนื้อ ปวดหลัง ใจสั่น ความดันต่ํา แนนหน้าอก หายใจไม่อิ่ม 6.2.2 อาการแพชนิดรุนแรง ( life- threatening anaphylactoid reaction) ขณะให้ยา ให้ระวังการใช ยาในผู้ปวยที่มีภาวะขาดอิมมูโนโกลบูลินเอ (Immunoglobulin A deficiency ) 6.2.3 มีการประเมินการติดเชื้อวัณโรคแอบแฝง (latent tuberculosis infection) โดยการตรวจอยาง นอยภาพถายรังสีปอด อยางนอย 1 ครั้งต่อป และมีการติดตามอาการของการติดเชื้อวัณโรค อยางใกลชิด 6.2.4 ติดตามและเฝาระวังการติดเชื้ออื่น ๆ ทุก 2- 3 เดือน โดยดูอาการและสืบคนเพิ่มเติมตามความ เหมาะสม 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยาเมื่อมีขอบงชี้ขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 โรคสงบ 4 * รวมกับแพทยเห็นสมควรวาหยุดยาได้ * เกณฑการวินิจฉัยโรคสงบ หมายถึง คา PUCAI นอยกวา 10 คะแนนรวมกับ การสองกลองลําไสใหญไม่พบแผลหรือการอักเสบของลําไสใหญ และผลการตรวจ C- reactive protein และ hemoglobin ปกติ เป็นระยะเวลานานอยางนอย 2 ป และผู้ปวยสามารถใชยากลุ่ม aminosalicylates และ/หรือ immunomodulator เพื่อ ควบคุมการกําเริบของโรคต่อได้
หน้า 11 7.2 ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ตามระบุในหมายเหตุ ขอ 5 7.3 เกิดอาการไม่พึงประสงครุนแรงที่ไม่สามารถใชยาต่อได้ 7.4 ผู้ปวยปฏิเสธการใชยา 7.5 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย 7.6 ผู้ปวยมีขอหามการใชยา infliximab ตามขอ 4.6 หมายเหตุ สําหรับขอหามบางประการ เชน การติดเชื้อ ให้หยุดการรักษาด้วยยา infliximab ชั่วคราวจนกวา อาการติดเชื้อจะดีขึ้น หรือ กรณีการตั้งครรภและการให้นมบุตรที่แพทยพิจารณาให้หยุดยาชั่วคราว โดยในกรณี ดังกลาว ผู้ปวยสามารถกลับมาใชยา infliximab ได้อีกครั้ง ตามขอบงชี้
หน้า 12 หมายเหตุ Pediatric Ulcerative colitis Activity Index (PUCAI ) เอกสารอางอิง Turner D, Otley AR, Mack D, et al. Development, validatiion and evaluation of a pediatric ulcerative colitis activity index: A prospective multicenter study. Gastroenterology 2007;133: 423-32. ลักษณะทางคลินิก คะแนน ปวดทอง ไม่มี 0 ปวดเล็กนอย 5 ปวดชัดเจน 10 ถายอุจจาระเป็นเลือด ไม่มี 0 ปริมาณเล็กนอยและไม่บอย 10 ปริมาณเลือดเล็กนอยแต่ออกบอย 20 ปริมาณมาก (มากกวารอยละ 50 ของอุจจาระ) 30 ลักษณะอุจจาระโดยสวนใหญ เป็นเนื้อปกติ 0 เหลวเล็กนอย 5 เหลวชัดเจน 10 จํานวนครั้งของอุจจาระใน 24 ชั่วโมง 0 - 2 0 3 - 5 5 6 - 8 10 >8 15 ถายอุจจาระตอนกลางคืนหลังจากนอนหลับแล้ว ไม่มี 0 มี 10 การทํากิจกรรมของผู้ปวย ปกติ 0 ลดลงบาง 5 ลดลงอยางมาก 10
หน้า 13 แนวทางกํากับการใชยา posaconazole เงื่อนไข ใชสําหรับรักษา invasive mucormycosis ในผู้ปวยที่ไม่ตอบสนองหรือไม่ทนต่อยา amphotericin B 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา posaconazole จากหนวยงานสิทธิประโยชนหลังการรักษา (post - authorization) โดยให้มีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล ที่สามารถสั่งใชยาไวกับหนวยงานสิทธิประโยชนไวกอน และ ลงทะเบียนผู้ปวยที่ใชยากับหนวยงานสิทธิประโยชนหลังการรักษา 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยา posaconazole กับผู้ปวย ระบบจะอนุโลม ให้ผู้ปวยได้รับยากอนการอนุมัติได้ไม่เกิน 14 วัน และแพทยผู้สั่งใชยาควรสงแบบฟอรมการขออนุมัติ ตั้งแต่วันที่เริ่มสั่งจายยา 1.3 กรณีที่มีระบบการอนุมัติการใชยาของหนวยงานสิทธิประโยชน ระยะเวลาที่อนุมัติในการใชยาครั้งแรก 14 วันและครั้งต่อไป ทุก 14 วันสําหรับผู้ปวยใน และทุก 28 วันสําหรับผู้ปวยนอก 1.4 กรณีที่ยังไม่มีระบบอนุมัติการใชยา posaconazole ของหนวยงานสิทธิประโยชน อนุโลมให้ผู้อํานวยการ สถานพยาบาลเป็นผู้อนุมัติการใชยาแทน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล เป็นสถานพยาบาลที่มีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางสาขาอื่นที่พรอมจะ รวมดูแลรักษาโรคประจําตัวของผู้ปวย และ ปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1. เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาอายุรศาสตรโรคติดเชื้อ กุมารเวชศาสตรโรคติดเชื้อ ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 3.2. ในกรณีที่ไม่มีแพทยตามขอ 3.1. ให้ผู้อํานวยการโรงพยาบาลแต่งตั้งแพทยที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร จากแพทยสภาสาขาอายุรศาสตร หรือสาขากุมารเวชศาสตร ที่มีความรูความชํานาญในการใชยาดังกลาวไม่เกิน 2 คน 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา posaconazole ในโรค invasive mucormycosis โดยมีเกณฑครบทุกขอดังนี้ 4.1. ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) † 4.2. กรณีได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรค invasive mucormycosis ตามเกณฑขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 4.2.1. ตรวจพบเชื้อรา แบบ non- septate hyphae โดยการตรวจทางพยาธิวิทยาหรือทางเซลลวิทยา ของสิ่งสงตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อหรือการเจาะดูดจากตําแหนงที่ปราศจากเชื้อ (sterile site) หรือจากการเจาะดูดตําแหนงที่ติดเชื้อด้วยวิธีการ aseptic technique † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 14 4.2.2. เพาะเชื้อขึ้นเชื้อรา order Mucor ales เชน Rhizopus spp, Mucor spp, Lichtheimia spp, Rhizomucor spp, Cunninghamella spp, Apophysomyces spp, Saksenaea spp, Cokeromyces spp, Syncephalastrum spp. จากสิ่งสงตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อหรือการ เจาะดูดจากตําแหนงที่ปราศจากเชื้อ (sterile site) หรือจากการเจาะดูดตําแหนงที่ติดเชื้อด้วย วิธีการ aseptic technique 4.3. ไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถทนต่อยา amphotericin B ตามเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ 4.3.1. การดําเนินโรครุนแรงขึ้น ได้แก มีการลุกลามเขาเนื้อสมอง หรืออวัยวะขางเคียง หลังได้รับการรักษา ด้วยยา amphotericin B ไปแล้วอยางนอย 7 วัน 4.3.2. กรณีเกิดพิษต่อไต คือ CrCl นอยกวา 30 mL/min 4.3.3. กรณีผลขางเคียงอื่นๆ ที่มีความรุนแรงระดับ 3 ขึ้นไป 6 * และไม่สามารถควบคุมด้วยการรักษา ประคับประคอง 4.4. มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยากับผู้ปวย 7 †† 5. ขนาดยาที่แนะนําและวิธีการให้ยา 5.1 สําหรับการให้ยาในผู้ใหญและเด็กอายุตั้งแต่ 13 ปขึ้นไป แนะนําให้ใชยากิน - แบบเม็ดในขนาด 300 มิลลิกรัมวันละ 2 ครั้งวันแรก หลังจากนั้นให้ในขนาด 300 มิลลิกรัมวันละครั้ง 5.2 สําหรับการให้ยาในเด็กอายุ 2- 12 ปและน้ําหนักมากกวา 40 กก . แนะนําให้ยาเม็ดในขนาดเดียวกับผู้ใหญ 5.3 ผู้ปวยที่มีโรคตับทํางานผิดปกติ ในระดับ Child Pugh classes A - C ไม่ต้องปรับขนาดยา 5.4 ผู้ปวยที่มีการทํางานของไตผิดปกติ ไม่ต้องปรับขนาดยา หมายเหตุ ขนาดยาอาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นกับการตอบสนองการรักษาและตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา ให้ประเมินผู้ปวยภายใน 2 สัปดาหหลังได้รับยา เปรียบเทียบกับกอนให้ยา posaconazole ตามเกณฑ ขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ 6.1.1 อาการทางคลินิก ขึ้นกับตําแหนงที่มีการติดเชื้อ เชน การติดเชื้อที่ปอด จะประเมินเรื่อง ไอ เสมหะ การติดเชื้อที่ไซนัส จะประเมินเรื่องปวดบวมของโพรงไซนัส 6.1.2 รอยโรคในภาพรังสี ขึ้นกับตําแหนงที่ติดเชื้อ (พรอมแนบหลักฐาน) 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ให้ติดตามผลขางเคียงของ posaconazole ที่พบบอย ได้แก * Common terminology criteria for adverse events (CTCAE) version 5.0. Myeloma Academy. (n.d.). Retrieved November 24, 2022, from https://academy.myeloma.org.uk/resources/common -terminology-criteria-for- adverse -events-ctcae-version- 5 - 0/ †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 15 ผลขางเคียง พารามิเตอร ความรุนแรงระดับ 3 ความรุนแรงระดับ 4 ตับ AST, ALT สูงกวาคาปกติตัวบน (upper normal limit) 5 -10 เทา สูงกวาคาปกติตัวบน (upper normal limit) มากกวา 10 เทา Total bilirubin สูงกวาคาปกติตัวบน (upper normal limit) 2.6 -5 เทา สูงกวาคาปกติตัวบน (upper normal limit) มากกวา 5 เทา ผิวหนัง ผื่นผิวหนัง มีผื่นทั่วตัว และ บริเวณใดบริเวณ หนึ่งของรางกายมี (1) ตุมน้ําพอง หรือ(2) แผลบริเวณเยื่อเมือก ผู้ปวยมีตุมน้ําพองกระจายหรือทั่วตัว หรือ Steven- Johnson syndrome หรือ toxic epidermal necrolysis เอกสารอางอิง Division of Aids Table for Grading the Severity of Adult and Pediatric Adverse Events Version 1.0, December, 2004; Clarification August 2009 7. เกณฑการหยุดยา หลังจากผู้ปวยได้รับยาครบ 2 สัปดาหแล้ว สามารถขอใชยาต่อเนื่องได้ ในกรณีที่อาการทางคลินิกดีขึ้น และ/หรือรอยโรคในภาพรังสีดีขึ้นแต่ยังไม่สมบูรณ ตามเปาหมาย ให้หยุดยา posaconazole เมื่อเป็นไปตามเกณฑขอหนึ่งขอใด ดังนี้ 7.1 กรณีผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษาโดยสมบูรณ (อาการทางคลินิกหายไปและ/หรือรอยโรคหายไป หรือ เหลือนอยที่สุด ) โดยทั่วไปประมาณ 8-12 สัปดาห 7.2 หลังให้ยาไปแล้ว 28 วัน ผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาซึ่งหมายถึงขอใดขอหนึ่งดังนี้ 7.2.1 อาการทางคลินิกรุนแรงมากขึ้น หรือภาพรังสีแสดงความผิดปกติมากขึ้นโดยไม่สามารถอธิบายได้ ด้วยสาเหตุอื่น หรือผลเพาะเชื้อสิ่งสงตรวจจากตําแหนงปราศจากเชื้อขึ้นเชื้อต่อเนื่อง 7.2.2 ทราบวาเชื้อดื้อต่อยา posaconazole จากผลเพาะเชื้อ 7.3 สามารถใชยาตานเชื้อราชนิดอื่นในการรักษาได้ผลไม่แตกตางกันหรือดีกวา เชน ดูจากผลเพาะเชื้อ 7.4 ไม่ใชโรคติดเชื้อใน order Mucorales 7.5 มีผลขางเคียงจากยา posaconazole ระดับ 3 -4 7.6 สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) 8. ขอแนะนําเพิ่มเติม 8.1 การรักษา rhinocerebral mucormycosis ผู้ปวยต้องได้รับการผาตัดเอาเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อออกให้มาก ที่สุด ผู้ปวยต้องได้รับการดูแลรักษารวมกันกับศัลยแพทยทางโสตศอ นาสิก 8.2 การตรวจยอมพบสายเชื้อราให้มีการบันทึกผลวิธีการตรวจยอม ลักษณะของสายรา เป็นหลักฐานใน เวชระเบียนผู้ปวยโดยเป็นรายงานจากหองปฏิบัติการของสถานพยาบาลหรือเป็นการบันทึกในเวชระเบียน ของแพทยที่มีคุณสมบัติในการสั่งใชยาตามขอ 3 8.3 ยา posaconazole มีปฏิกิริยาต่อกันระหวางยากับยาอื่นๆ ได้บอย ดังนั้นควรจะตรวจสอบขอมูล กอนการใชยา posaconazole กับยาอื่นๆที่ ผู้ ปวยได้รับอยู่ หรือกําลังจะได้รับเสมอ เชนจาก https://www.drugs.com/drug_interactions.html ตัวอยาง ยาที่มีหามใชรวม (contraindication) กับยา posaconazole ได้แก Posaconazole เพิ่มระดับยาดังต่อไปนี้ จนเกิดพิษจากยาได้
หน้า 16 Sirolimus ระดับยาเพิ่มขึ้น 9 เทาเกิดพิษจากยาได้ Quinidine, pimozide ระดับยาที่เพิ่มขึ้นอาจทําให้ QT prolongation HMG - coA reductase inhibitor ระดับยาที่เพิ่มขึ้นอาจทําให้เกิด rhabdomyolysis
หน้า 17 แนวทางกํากับการใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน โรคเนื้องอกต่อมใตสมองที่ผลิตไทโรโทรปน (Thyrotropin ( TSH ) secreting pituitary adenoma ) 1 . ระบบอนุมัติการใชยา 1. 1 ขออนุมัติการใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน จากหนวยงานสิทธิประโยชนกอนการรักษา ( pre- authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1. 2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรกที่ใชยา และทุก ๆ 3 เดือน 2 . คุณสมบัติของสถานพยาบาล 2. 1 เป็นสถานพยาบาลที่มีคุณสมบัติในการดูแลผู้ปวย ดังนี้ • สามารถตรวจหรือสงตรวจฮอรโมนของต่อมใตสมอง • สามารถตรวจหรือสงตรวจเอ็กซเรยด้วยระบบคอมพิวเตอร (CT scan) หรือ เอ็มอารไอต่อมใตสมอง (MRI pituitary) รวมทั้งมีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3. 2. 2 มีแพทยเฉพาะทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือการ รักษา 3 . คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภา ในสาขาอายุรศาสตรต่อมไรทอและ เมตะบอลิสม หรือสาขากุมารเวชศาสตรต่อมไรทอและเมตะบอลิสม 4 . เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา Octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน ในผู้ปวย TSH secreting pituitary adenoma โดยมี เกณฑครบทั้ง 6 ขอ ( 4. 1 - 4.6 ) ดังนี้ 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 8 † 4.2 ผู้ปวยได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรค TSH secreting pituitary adenoma โดยมีผลการตรวจครบ 3 ขอ ดังต่อไปนี้ 4.2. 1 มีอาการทางคลินิกที่เขากันได้กับโรค TSH secreting pituitary adenoma เชน เหนื่อยงาย ใจสั่น น้ําหนักลด ปวดศีรษะ หรือแพทยผู้ทําการรักษาสงสัยวาจะเป็นโรค TSH secreting pituitary adenoma 4.2. 2 มีระดับ TSH และ free T4 หรือ free T3/Total T3 สูงกวาปกติ โดยที่มีการยืนยันโดยแพทย ผู เชี ่ ยวชาญวำไม่ มี ภาวะ thyroid hormone resistance และ thyroid hormone / TSH antibody interference † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 18 4.2. 3 พบเนื้องอกต่อมใตสมอง จากการตรวจทางรังสีด้วยวิธี magnetic resonance imaging (MRI) หรือ เอกซเรยด้วยระบบคอมพิวเตอร (CT scan ) 4.3 ผู้ปวยยินยอมเขารับการผาตัด 4.4 ผู้ปวยมีอาการของโรค TSH secreting pituitary adenoma โดยมีขอบงชี้ที่ต้องใชยาดังนี้ 4.4.1 การให้ยากอนการผาตัดเพื่อให้ฮอรโมนไทรอยดเขาสูภาวะปกติกอนการผาตัด รวมกับกรณีที่กอนไม่ สามารถผาออกได้หมด เชน มีการลามเขา cavernous sinus โดยมีระยะการให้ยาจนกวาจะได้รับการ ผาตัด (ผู้ปวยต้องเขารับการผาตัดเมื่อควบคุมอาการได้ และได้รับยาเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน ) หรือ 4.4.2 การให้ยาระหวางรอการตอบสนองต่อการรักษาด้วยการฉายแสงหลังผาตัดในกรณีที่กอนไม่สามารถ ผาตัดออกได้หมด หรือ ผู้ปวยได้รับการฉายแสงเพียงอยางเดียวเนื่องจากไม่สามารถผาตัดได้ (โดยได้รับยา เป็นระยะเวลาไม่เกิน 18 เดือน ) 4. 5 ผู้ปวยมีผลการตรวจระดับฮอรโมนขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4. 5 . 1 กรณีกอนผาตัด มีระดับ TSH และ free T4 หรือ free T3/Total T3 สูงกวาปกติ 4. 5 . 2 กรณีหลังผาตัด มีระดับ TSH และ free T4 หรือ free T3/Total T3 สูงกวาปกติที่ 4 สัปดาห หลัง ผาตัด 4. 6 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ตามที่กําหนด 9 * 5 . ขนาดยาและวิธีการให้ยา 5 .1 แนะนําให้เริ่มการรักษาด้วย octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน ในขนาด 20 มก. ฉีดเขากลามเนื้อสะโพก (deep IM injection) ทุก 4 สัปดาห 5 .2 การปรับขนาดยาควรประเมินจากอาการทางคลินิกและระดับ TSH และ free T4 และ free T3/total T3 ใน กรณีผู้ปวยไม่สามารถควบคุมอาการทางคลินิกและมีคาฮอรโมนผิดปกติ หลังเริ่มใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน ไปแล้ว 4 สัปดาห อาจพิจารณาเพิ่มขนาดยาเป็น 30-40 มก. ทุก 4 สัปดาห (ขนาดยาสูงสุดคือ 40 มก. ทุก 4 สัปดาห) 6 . การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา 6.1. 1 ประเมินอาการทางคลินิก เชน เหนื่อยงาย ใจสั่น น้ําหนักลด ปวดศีรษะ 6.1.2 ตรวจวัดระดับ TSH และ free T4 และ free T3/total T3 ทุก 1 เดือน 6.1.3 ตรวจ MRI pituitary ที่ 3 - 6 เดือน หลังการผาตัด 6 . 2 การประเมินดานความปลอดภัย 6.2. 1 ติดตามอาการแพยาที่อาจเกิดขึ้นในผู้ปวย 6.2. 2 ติดตามอาการไม่พึงประสงคจากการใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นาน เชน ระดับน้ําตาลใน เลือด และนิ่วในถุงน้ําดี พิจารณาสงตรวจอัลตราซาวดถุงน้ําดี เมื่อผู้ปวยมีอาการทางคลินิก 7 . เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยาเมื่อตรวจพบขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ * โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 19 7 . 1 กรณีที่ให้ยากอนการผาตัดเพื่อควบคุมอาการของฮอรโมนไทรอยดที่สูงกวาปกติ และ/หรือ เพื่อลดขนาด ของเนื้องอก พิจารณาหยุดยาเมื่อตรวจพบ ระดับ TSH, free T4, free T3/total T3 อยู่ในเกณฑปกติ หรือให้ยา ครบ 3 เดือน (เวนแต่การนัดผาตัดนั้นไม่สามารถกระทําได้ ให้ใชยาต่อจนถึงวันผาตัด แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 6 เดือน นับแต่เริ่มใชยา ) 7 .2 กรณีที่ให้ยาหลังการผาตัดและรอผลการรักษาด้วยการฉายแสง พิจารณาหยุดยาเมื่อตรวจพบ ระดับ TSH, free T4, free T3/total T3 อยู่ในเกณฑปกติ และสามารถกลับมาเริ่มการรักษาใหมได้ถาระดับฮอรโมนเริ่มมีความ ผิดปกติอีกครั้งหลังหยุดยา ระยะเวลาการใชยาในกรณีนี้คือ ไม่เกิน 18 เดือน 7.3 สถานะของผู้ปวยเปลี่ยนเป็น terminally ill 7.4 ผู้ปวยเกิดอาการขางเคียงจากการใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นานจนไม่สามารถใชยา octreotide ชนิดออกฤทธิ์นานต่อได้ 7.5 ผู้ปวยปฏิเสธการผาตัด
หน้า 20 แนวทางกํากับการใชยา rituximab ขอบงใช โรคนิวโรมัยอิลัยติสออฟติกาที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาพื้นฐาน (refractory neuromyelitis optica spectrum disorder ) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา rituximab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงาน กําหนดไวกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวย กอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ( 2 ) ในครั้งแรกที่ใชยากับผู้ปวย และครั้งต่อไปในทุก 6 เดือน หรือ ทุกครั้งที่มีการสั่งจายยา 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 2.1 เป็นสถานพยาบาลที่สามารถดูแลผู้ปวยโรคนิวโรมัยอิลัยติสออฟติกา ทั้งการวินิจฉัย บําบัดรักษา และฟนฟู สภาพ โดยมีแพทยตามที่ระบุในขอ 3 2.2 สามารถตรวจหรือสงตรวจภาพถายคลื่นแมเหล็กสมองหรือไขสันหลังได้ 2.3 เป็นสถานพยาบาลที่มีบุคลากรทางการแพทยที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจาก โรคและ/หรือการรักษา ได้แก ประสาทแพทย กุมารประสาทแพทย และจักษุแพทย 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยา หรือกุมารประสาท วิทยาซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใช rituximab โดยมีเกณฑครบทุกขอ ดังนี้ 4.1 ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 10 *† 4.2 อาการของผู้ปวยไม่ได้เกิดภาวะกําเริบปลอม (pseudorelapse ) 4.3 ผู้ปวยได้รับการตรวจวินิจฉัยวาเป็นโรคนิวโรมัยอิลัยติสออฟติกาด้วยเกณฑ IPND 2015 (ภาคผนวก) 4.4 ผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาหรือมีผลขางเคียงจากยาที่ใชในการรักษา ขอใดขอหนึ่ง ได้แก 4.4.1 เป็นผู้ปวยที่เคยได้รับยาสูตรใดสูตรหนึ่ง ได้แก prednisolone based regimen (โดยมีการใช prednisolone ขนาด 10- 20 mg ต่อวัน) หรือ azathioprine based regimen (โดยมีการใช azathioprine ขนาด 2- 3 mg/kg/day) หรือ mycophenolate mofetil based regimen (โดยมี การใช mycophenolate mofetil ขนาด 2,000 mg/day) ในระยะเวลาที่เหมาะสม (6 เดือนขึ้น ไป) และยังมีการกําเริบกลับเป็นซ้ําของโรค *† ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable ) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 21 4.4.2 มีผลขางเคียงจากยา แพยา รายการใดรายการหนึ่งในขอ 4.4.1 จนกระทั่งไม่สามารถใชยารวมกัน ในการควบคุมโรคได้ เชน มีขอหามสําหรับการใชยา prednisolone ได้แก มีภาวะน้ําตาลสูง ที่ไม่สามารถควบคุมได้ หรือ กระดูกพรุนอยางรุนแรง หรือ ภาวะ avascular necrosis หรือ ภาวะ ตอหินจากยา หรือ ความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมอื่นที่สงผลต่อภาวะทุพพลภาพ มีขอหามสําหรับ การใชยา azathioprine ได้แก เกิดมีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ํา ( agranulocytosis ) เกิดมีภาวะพิษต่อ ตับ (liver toxicity) หรือตรวจพบภาวะขาด thiopurin e S - methyltransferase อยางสมบูรณ 4. 5 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ตามที่กําหนด †† 11 * 5. ขนาดยาและวิธีการให้ยา 5.1 ให้เริ่มตนด้วย Induction ที่ขนาด 1,000 mg ในวันที่ 1 และอีก 1,000 mg ในวันที่ 15 หลังจากนั้นให้ rituximab ครั้งละ 500 - 1,000 mg ทุก 6 เดือน หรือ ถาสามารถตรวจระดับ CD19 ได้ หากนอยกวา 1 % สามารถให้ยาหางขึ้นมากกวา 6 เดือนได้ 5.2 ในกรณีที่ผู้ปวยมีอาการเป็นซ้ํากอนรอบยา 6 เดือน หากจําเป็นต้องให้ยา rituximab ซ้ํา จําเป็นต้องเจาะ ระดับ CD19 ถาระดับมากกวารอยละ 1 หรือ ระดับ CD19 / CD2 7 มากกวารอยละ 0. 05 ใน 2 ปแรก และ มากกวารอยละ 0. 1 ในปถัดไป ของ mononuclear cell สามารถให้ยา rituximab ในขนาด 375 mg/ m 2 เพิ่มได้ 1 ครั้ง แต่ในชวงระยะเวลา 12 เดือนนั้นจะต้องให้ยาไม่เกิน 3 ครั้ง (ไม่นับรวม induction ) 5.3 ไม่ใชยามากกวา 3 ครั้งต่อป (ไม่นับรวมชวง induction period ) หมายเหตุ ให้สอบถามอาการของ infusion reaction จากยา rituximab ทุกครั้งกอนการให้ยา กรณีที่มี ภาวะ infusion reaction จากยา rituximab ให้ทําการปรับอัตราเร็วในการให้ยาหรือหยุดการให้ยา ชั่วคราวตามเอกสารกํากับยา 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา ประเมินผู้ปวยหลังได้รับยาในขนาดที่เหมาะสมแล้วเป็นระยะเวลา 12 เดือน โดยวัดจากอัตราการเป็นซ้ํา เทียบกับกอนได้ยา อัตราการเป็นซ้ําควรลดลงมากกวารอยละ 50 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ระหวางการให้ยา ให้เฝาระวังสัญญาณชีพ เนื่องจากผู้ปวยบางรายอาจมีอาการแพยาได้ 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยาเมื่อตรวจพบขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาหลังได้รับยาในขนาดที่เหมาะสมแล้วเป็นระยะเวลา 12 เดือน โดยมีการ เป็นซ้ําหลังให้ยามากกวา 2 ครั้งต่อป 7.2 ไม่ใชยาต่อเนื่องนานเกินกวาระยะเวลา 5 ป นับตั้งแต่ผู้ปวยได้รับ induction therapy 7.3 สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) * †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 22 ภาคผนวก เกณฑการวินิจฉัย ของ International consensus diagnostic criteria for neuromyelitis optica spectrum disorders (IPND) ค.ศ. 2015 การวินิจฉัยโรค NMOSD ที่พบ AQP4 IgG (NMOSD with AQP4 IgG ) 1. อาการทางคลินิกต้องมีลักษณะจําเพาะตามที่กําหนด (Core Clinical Characteristics) อยางนอย 1 ขอดังต่อไปนี้ 1.1 เสนประสาทตาอักเสบ 1.2 ไขสันหลังอักเสบ 1.3 กลุ่มอาการ Area postrema โดยมีอาการสะอึกหรือคลื่นไสอาเจียนมากกวา 48 ชั่วโมง ที่หาสาเหตุอื่นไม่พบ 1.4 กลุ่มอาการทางกานสมอง 1.5 Symptomatic Narcolepsy หรือกลุ่มอาการ Diencephalon เฉียบพลัน 1.6 Symptoma tic Cerebral Syndrome 2. ตรวจพบ AQP4 IgG โดยใชวิธีการตรวจด้วยเทคนิค cell- based assay 3. ไม่พบสาเหตุอื่นที่อธิบายอาการได้ การวินิจฉัยโรค NMOSD ที่ไม่พบ AQP4 IgG หรือไม่ทราบผล AQP4 IgG status 1. อาการกําเริบทางคลินิกที่มีลักษณะจําเพาะ ตามที่กําหนด (Core clinical characteristics) อยางนอย 2 อาการ และเขาได้กับ ภาวะดังต่อไปนี้ 1.1 ต้องมีอยางนอย 1 อาการกําเริบที่เขาได้กับ - เสนประสาทตาอักเสบ หรือ - ไขสันหลังอักเสบและลักษณะเป็น Long Extensive Transverse Myelitis (LETM) หมายถึง รอยโรคที่มี ความยาวมากกวา 3 ขอต่อกระดูกสันหลัง - กลุ่มอาการ Area postrema 1.2 อยางนอย 2 อาการกําเริบทางคลินิกที่มีลักษณะจําเพาะตามที่กําหนด (Core clinical characteristics) ใน ตําแหนงที่แตกตางกัน (Dissemination in space ) 1.3 เขาได้กับขอกําหนดเพิ่มเติมในภาพเอ็มอารไอ* 2. ตรวจไม่พบ AQP4 IgG โดยใชวิธี cell- based assay หรือไม่สามารถสงตรวจได้ 3. ไม่พบสาเหตุอื่นที่อธิบายอาการได้ *ขอกําหนดเพิ่มเติมทางภาพเอ็มอารไอสําหรับการวินิจฉัยโรค NMOSD ที่ไม่พบ AQP4 IgG หรือไม่ทราบผล AQP4 IgG 1. ภาวะเสนประสาทตาอักเสบจําเป็นต้องมีรอยโรคในเอ็มอารไอดังต่อไปนี้ 1.1 เอ็มอารไอสมองไม่พบความผิดปกติหรือมีเพียงรอยโรค nonspecific white matter หรือ 1.2 เอ็มอารไอเสนประสาทตา (Optic nerve) ตรวจพบรอยโรคสัญญาณสูงผิดปกติใน T2W หรือ มีรอยโรค gadolinium enhancement ใน T1W ยาวมากกวาครึ่งหนึ่งของความยาวเสนประสาทตาหรือมีรอยโรค ที่ opti c chiasm 2. ภาวะไขสันหลังอักเสบจําเป็นต้องมีรอยโรคที่มีความยาวต่อเนื่องกันมากกวาหรือเทากับ 3 ขอต่อกระดูกสัน หลัง หรือมีรอยไขสันหลังฝอต่อเนื่องความยาวมากกวาหรือเทากับ 3 ขอต่อกระดูกสันหลังในกรณีที่ผู้ปวยเคย มีประวัติเขาได้กับภาวะไขสันหลังอักเสบ 3. กลุ่มอาการ Area Postrema จําเป็นต้อง มีรอยโรคในภาพเอ็มอารไอที่สัมพันธกับ dorsal medulla/area postrema 4. กลุ มอาการกานสมอง (Brainstem syndrome) จําเป็นต้องมีรอยโรคในภาพเอ็มอารไอที่ สัมพันธกับ periependymal brainstem lesions
หน้า 23 แนวทางกํากับการใชยา mercaptamine (cysteamine bitartrate) เงื่อนไข nephropathic cystinosis 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา mercaptamine (cysteamine bitartrate) จากหนวยงานสิทธิประโยชนกอนการรักษา ( pre- authorization) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาลและผู้ปวยกอนทําการรักษากับหนวยงาน สิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก และขออนุมัติครั้งต่อไปทุก ๆ 6 - 12 เดือน 1.3 การขออนุมัติการใชยาเริ่มตน การใชยาต่อเนื่อง และการหยุดยาของผู้ปวยแต่ละรายนั้น แพทยผู้ทําการรักษาทั้ง หลักและสมทบควรมีการนําผลการรักษา ขอมูลผู้ปวย และแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) เสนอต่อ หนวยงานสิทธิประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไวหรือคณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมี การแต่งตั้งหนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานนั้นแทน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 2.1 สถานพยาบาลหลัก หมายถึง สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัย และรักษาโรค คือ 2.1.1 เป็นสถานที่มีแพทยที่ระบุไวในขอที่ 3 โดยให้สถานพยาบาลนั้นแจงความประสงคต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนเพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป โดยมีการลงทะเบียน สถานพยาบาลกับหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย 2.1.2 มีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหา แทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือการรักษา 2.2 สถานพยาบาลสมทบ หมายถึง สถานพยาบาลที่รับสงต่อ หรือดูแลผู้ปวยรวมกับสถานพยาบาลหลัก 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1 แพทยผู้ทําการรักษาหลัก เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขา เวชพันธุศาสตร ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2.1 3.2 แพทยผู้ทําการรักษาสมทบ ได้แก กุมารแพทย หรือ อายุรแพทย ในสถานพยาบาลสมทบที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผู้อํานวยการโรงพยาบาลให้เป็นผู้ดูแลผู้ปวย 4. เกณฑอนุมัติการใชยา 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) † 4.2 ได้รับการตรวจยืนยันการวินิจฉัย nephropathic cystinosis ด้วยอาการทางคลินิกรวมกับผลทางหองปฏิบัติการด้วย วิธีขอใดขอหนึ่งต่อไปนี้ 4.2.1 การวัดระดับ cystine ในเม็ดเลือดขาวที่สูงกวาปกติ 4.2.2 การตรวจพบ cystine crystal ที่กระจกตาด้วยการตรวจพิเศษ (slit lamp) โดยจักษุแพทย 4.2.3 การตรวจทางพันธุกรรมพบการกลายพันธุที่กอโรคของสองแอลลีลของยีน CTNS 4.3 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยากับผู้ปวย 13 †† † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่งในความเห็น ของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวด และความทุกขทรมานเป็นสําคัญ †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 24 5. ขนาดยาและวิธีการใชยา Mercaptamine (cysteamine bitartrate) ชนิด immediate - release cap 5.1 กรณีผู้ปวยเด็ก: ให้ยาขนาด 60- 90 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน แบงให้ทุก 6 ชั่วโมง ( 1.3- 1.95 กรัม/ตารางเมตร/วัน) 5.2 กรณีผู้ปวยผู้ใหญ: ให้ยาขนาด 500 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมง หมายเหตุ ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 2 กรัม/วัน 6. การติดตามและประเมินผลการรักษา 6.1 ให้ทําการประเมินผลการรักษาทุก 6-12 เดือน 6.2 การเริ่มให้ยาครั้งแรก ต้องสั่งโดยแพทยผู้ทําการรักษาหลักที่ลงทะเบียนให้ผู้ปวย และในสถานพยาบาลของแพทย ผู้ทําการรักษาหลัก และสําหรับการสั่งยาครั้งถัดไปสามารถทําการสั่งยาโดยแพทยผู้ทําการรักษาสมทบได้ 6.3 ผู้ปวยทุกรายต้องได้รับการตรวจประเมินโดยแพทยผู้ทําการรักษาหลักเพื่อติดตามอาการอยางนอยทุก 6-12 เดือน กอนที่จะสั่งยารอบต่อไป 6.4 แพทยผู้ทําการรักษาหลักต้องสงรายงานการประเมินติดตามอาการและผลการตอบสนองต่อการรักษาหลังการ รักษา ได้แก คาการทํางานของไต (BUN/Cr ) อาการทางระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และอาการไม่พึงประสงคจากการ รักษาด้วยยา mercaptamine (cysteamine bitartrate) ให้แกหนวยงานสิทธิประโยชนโดยใชแนวทางตามที่ หนวยงานกําหนดไวหรือคณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้งหนวยงานกลางเพื่อดําเนินการใน เรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานนั้นแทน ทุก 6-12 เดือน 7. เกณฑการหยุดยา ให้พิจารณาหยุดยาเมื่อผู้ปวยมีลักษณะที่เขาได้กับเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ปวยมีภาวะแทรกซอนจากยาซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงแกชีวิต 7.2 ผู้ปวยเกิดปฏิกิริยาการแพยา mercaptamine (cysteamine bitartrate) ชนิดรุนแรง 7.3 ผู้ ปวยไม่ให้ความรวมมือในการรับยาตามกําหนดการรักษาหรือไม่ยินยอมที่ จะใชยา mercaptamine (cysteamine bitartrate) 7.4 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร 7.5 สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill)
หน้า 25 แนวทางกํากับการใชยา nitisinone เงื่อนไขใชสําหรับรักษา โรคไทโรซีนีเมียชนิดที่ 1 (hereditary tyrosinemia type 1) โดยใชเฉพาะการรักษาผู้ปวยกอนได้รับการปลูกถายตับ (liver transplant) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา nitisinone จากหนวยงานสิทธิประโยชนกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการ ลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาลและผู้ปวยกอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก และขออนุมัติครั้งต่อไปทุก ๆ 6 - 12 เดือน 1.3 การขออนุมัติการใชยาเริ่มตน การใชยาต่อเนื่อง และการหยุดยาของผู้ปวยแต่ละรายนั้น แพทยผู้ทําการรักษาหลัก และสมทบควรมีการนําผลการรักษา ขอมูลผู้ปวย และแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) เสนอต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไว หรือคณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้ง หนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานนั้นแทน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 2.1 สถานพยาบาลหลัก หมายถึง สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัย และรักษาโรค คือ 2.1.1 เป็นสถานที่มีแพทยที่ระบุไวในขอที่ 3 โดยให้สถานพยาบาลนั้นแจงความประสงคต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนเพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป โดยมีการลงทะเบียน สถานพยาบาลกับหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย 2.1.2 มีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหา แทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือการรักษา 2.2 สถานพยาบาลสมทบ หมายถึง สถานพยาบาลที่รับสงต่อ หรือดูแลผู้ปวยรวมกับสถานพยาบาลหลัก 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1 เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาเวชพันธุศาสตร ซึ่งปฏิบัติงานใน สถานพยาบาลตามขอ 2.1 3.2 ในกรณีที่ไม่มีแพทยผู้ทําการรักษาหลักในอนุสาขาเวชพันธุศาสตรที่กําหนดไว (ตามขอ 3.1) ให้ผู้อํานวยการ โรงพยาบาลแต่งตั้งแพทยที่มีความรูความชํานาญในการใชยาดังกลาวซึ่งได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจาก แพทยสภาในสาขาดังต่อไปนี้ 3.2.1 กรณีผู้ปวยเด็ก - อนุสาขากุมารเวชศาสตรโรคระบบทางเดินอาหารและโรคตับ 3.2.1 กรณีผู้ปวยผู้ใหญ - อนุสาขาโรคระบบทางเดินอาหาร 4. เกณฑอนุมัติการใชยา โดยต้องมีครบทุกขอดังต่อไปนี้ 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) † 4.2 ผู้ปวยมีขอสงสัยตามขอใดขอหนึ่ง กรณีดังต่อไปนี้ † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่งในความเห็น ของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวด และความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 26 4.2.1 ผู้ปวยเด็กที่มีประวัติครอบครัวเป็น tyrosinemia type I 4.2.2 มีอาการทางตับ/อาการที่เขากับ tyrosinemia type I 4.2.3 Newborn screening แล้วมีผลเป็นบวก ( positive) 4.3 การได้รับการตรวจยืนยันการวินิจฉัย โรคไทโรซีนีเมียชนิดที่ 1 (Hereditary Tyrosinemia type 1) โดยขอใดขอหนึ่ง ต่อไปนี้ 4.3.1 ได้รับการตรวจยืนยันด้วยการตรวจหาการกลายพันธุของยีน fumarylacetoacetate hydrolase ( FAH ) 4.3.2 ตรวจพบสารซั คซิ นิ ลอะซิ โทน ( succinylacetone ) ในเลื อด (ด วยวิ ธี Tandem mass spectrometry ( MS / MS)) 4.3.3 ตรวจพบสารซัคซินิลอะซิโทน ( succinylacetone ) ในปสสาวะ (ด้วยวิธี Gas chromatography mass spectrometry (GCMS)) 4.4 ผู้ปวยยังไม่ได้ทําการปลูกถายตับ (liver transplant ) 4.5 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยากับผู้ปวย 15 †† 5. ขนาดยาและวิธีการใชยา กรณีการรักษากอนปลูกถายตับ ขนาดยาเริ่มตน 1 mg/kg/day แบงให้วันละ 2 ครั้ง หลังจากได้ยานาน 4 สัปดาหหากยังพบ succinylacetone ปริมาณมาก สามารถเพิ่ มขนาดยาเป็น 1.5 mg/kg/day แบงให้วันละ 2 ครั้ง และหากจําเป็นอาจเพิ่มยาไปจนถึง 2 mg/kg/day แบงให้วันละ 2 ครั้ง (ขนาดยาสูงสุด คือ 2 mg/kg/day) ในกรณีที่อาการควบคุมได้เป็นปกติเป็นระยะเวลาหนึ่ง แพทยอาจพิจารณาปรับการบริหารยาให้เหลือ วันละครั้ง โดยคงขนาดยาต่อวันเทาเดิม หมายเหตุ หามปรับขนาดยาตามระดับ tyrosine ในเลือด แต่ให้ปรับอาหารและจํากัดปริมาณ tyrosine และ phenylalanine 6. การติดตามและประเมินผลการรักษา 6.1 ให้ทําการประเมินผลการรักษาทุก 6- 12 เดือน 6.2 การเริ่มให้ยาครั้งแรกต้องสั่งโดยแพทยผู้ทําการรักษาหลักที่ลงทะเบียนให้ผู้ปวย และในสถานพยาบาลของแพทยผู้ทํา การรักษาหลัก และสําหรับการสั่งยาครั้งถัดไปสามารถทําการสั่งโดยแพทยผู้ทําการรักษาสมทบ 6.3 ผู้ปวยทุกรายต้องได้รับการตรวจประเมินโดยแพทยผู้ทําการรักษาหลักเพื่อติดตามอาการอยางนอยทุก 6- 12 เดือน กอนที่จะสั่งยารอบต่อไป 6.4 แพทยผู้ทําการรักษาหลักต้องสงรายงานการประเมินติดตามอาการและผลการตอบสนองต่อการรักษาหลังการ รักษาตามตารางที่ 1 ให้แก หนวยงานสิทธิประโยชนโดยใชแนวทางตามที่ หนวยงานกําหนดไว หรือ คณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้งหนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของ หนวยงานนั้นแทน ทุก 6-12 เดือน †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 27 ตารางที่ 1 การติดตามผลการรักษา อายุนอยกวา 1 ป อายุ 1- 5 ป อายุ 5 ปขึ้นไป และผู้ใหญ หมายเหตุ 1. Succinylacetone ( พลาสมาหรือ เลือดบนกระดาษกรอง/ปสสาวะ - quantitative) ทุก 1- 3 เดือน ทุก 3- 6 เดือน ทุก 6- 12 เดือน 2. Plasma amino acids ทุก 1- 3 เดือน ทุก 3- 6 เดือน ทุก 6- 12 เดือน 3. CBC ทุก 3 เดือน ทุก 12 เดือน ทุก 12 เดือน 4. Liver function test และ Coagulogram ทุก 1 -3 เดือน จนกวาจะเป็นปกติ ทุก 6 เดือน ทุก 12 เดือน 5. Alpha -fetoprotein (AFP) ทุก 1 -3 เดือน ทุก 6 -12 เดือน ทุก 6 -12 เดือน 6. Abdominal imaging (ultrasound/ CT or MRI) ทุก 12 เดือน * ทุก 12 เดือน * ทุก 12 เดือน * * หรื อเมื ่ อมี ขอ บงชี้หรือจําเป็น 7. Electrolytes, BUN, Cr, Ca, P - ทุก 12 เดือน ทุก 12 เดือน 8. Developmental evaluation - กอนวัยเขาโรงเรียน กอนวัยเขาโรงเรียน 9. Ophthalmology เมื่อมีอาการหรือมี ขอบงชี้ทางคลินิก เมื่อมีอาการหรือมี ขอบงชี้ทางคลินิก เมื่อมีอาการหรือมี ขอบงชี้ทางคลินิก 7. เกณฑการหยุดยา ให้พิจารณาหยุดยาเมื่อผู้ปวยมีลักษณะที่เขาได้กับเกณฑขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ปวยมีภาวะแทรกซอนจากยาซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงแกชีวิต 7.2 ผู้ปวยเกิดปฏิกิริยาการแพยา nitisinone ชนิดรุนแรง 7.3 ผู้ปวยไม่ให้ความรวมมือในการรับยาตามกําหนดการรักษาหรือไม่ยินยอมที่จะใชยา nitisinone 7.4 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษาโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร 7.5 ผู้ปวยได้รับการปลูกถายตับ (liver transplant) เป็นผลสําเร็จ 7.6 สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย ( ter minally ill)
หน้า 28 แนวทางกํากับการใชยา sapropterin (BH4 ) เงื่อนไขใชสําหรับโรค tetrahydrobiopterin (BH4) deficiencies 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา sapropterin (BH4) จากหนวยงานสิทธิประโยชนกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก และขออนุมัติครั้งต่อไปทุก ๆ 6- 12 เดือน 1.3 การขออนุมัติการใชยาเริ่มตน การใชยาต่อเนื่อง และการหยุดยาของผู้ปวยแต่ละรายนั้น แพทยผู้ทําการรักษา ควรมีการนําผลการรักษา ขอมูลผู้ปวย และแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) เสนอต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไว หรือคณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้ง หนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานนั้นแทน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค คือ 2.1 เป็นสถานพยาบาลที่มีแพทยที่ระบุไวในขอที่ 3 โดยให้สถานพยาบาลนั้นแจงความประสงคต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนเพื่ อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป โดยมีการลงทะเบียน สถานพยาบาลกับหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย 2.2 สามารถตรวจหรือสงตรวจ และแปลผลการกลายพันธุของยีนกอโรคกลุ่ม tetrahydrobiopterin (BH4 ) deficiencies ที่รักษาได้ด้วยยา sapropterin ได้แก Guanosine triphosphate cyclohydrolase I ( GCH1 ) , 6-pyruvoyl- tetrahydropterin synthase ( PTS ) และ Pterin-4-alpha- carbinolamine dehydratase 1 ( PCBD1 ) ได้ รวมถึงสามารถทําและแปลผล BH4 loading test ได้ 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาเวชพันธุศาสตร ซึ่งปฏิบัติงานใน สถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา sapropterin ในผู้ปวย BH4 deficiencies โดยต้องมีครบทุกขอ ดังต่อไปนี้ 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 16 † 4.2 ตรวจ plasma amino acids พบระดับ phenylalanine ในเลือดสูงกวาปกติ 4.3 ผู้ปวยที่มีอาการหรือตรวจพบ ขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4.3.1 มีอาการทางคลินิกแสดง เชน ลําตัวออนแต่แขนขาเกร็ง ชัก oculogyric crisis การเคลื่อนไหวผิดปกติ ( dystonia, hypokinetic rigid syndrome, bradykinesia, resting tremor, cogwheel rigidity) สติปญญาบกพรอง รอบศีรษะเล็ก พูดไม่ชัด พัฒนาการลาชา 4.3.2 มีประวัติครอบครัว (พี่นองรวมบิดามารดา) เป็นโรค BH4 deficiencies 4.3.3 ตรวจพบความผิดปกติจาก newborn screening โดยพบ phenylalanine สูง † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable ) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็น ของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 29 4.4 ได้รับการตรวจยืนยันด้วยขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4.4.1 ตรวจยีนและพบตําแหนงกลายพันธุกอโรคในยีน GCH1, PTS, และ/หรือ PCBD1 ยืนยันการวินิจฉัยโรค BH4 deficiencies ที่ควรได้รับการรักษาด้วย sapropterin (หากยังไม่มีผลการตรวจยีนในการยื่นขออนุมัติครั้ง แรก ควรยื่นผลการตรวจยีนตามหลังการขออนุมัติครั้งแรกภายใน 4 เดือน) 4.4.2 ผลการทดสอบ BH4 loading test พบวามีการตอบสนองได้ดีเขาได้กับ BH4 deficiencies (การแปล ผลการตอบสนองดูในหมายเหตุขอ 2) หมายเหตุ 1 ) การเบิกจายการทดสอบ BH4 loading test ให้เป็นไปตามที่แต่ละกองทุนประกาศกําหนด 2 ) ขนาดยาที่ใชสําหรับประเมินการตอบสนองต่อยา sapropterin (ทดสอบ BH 4 loading test) คือ 20 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน และประเมินการตอบสนองที่ 8 และที่ 24-48 ชั่วโมง โดยผู้ที่เขาเกณฑการตอบสนอง ต่อการรักษาต่อยาได้ดี คือ ระดับ plasma /blood phenylalanine ที่ 8 ชั่วโมงหลังได้ sapropterin ลดลง มากกวา 80 % ของ baseline กอนเริ่มยา 4.5 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยากับผู้ปวย 17 †† 5. ขนาดยาและวิธีการใชยา กรณีใชเพื่อการรักษาผู้ปวย BH4 deficiencies ขนาดยาที่ใช คือ 2- 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน (ปรับตาม น้ําหนักตัว อาการและผลทางหองปฏิบัติการ) 6 . การติดตามและการประเมินผลการรักษา 6. 1 ให้ทําการประเมินผลการรักษาทุก 3-6 เดือน 6. 2 การเริ่มให้ยาครั้งแรก ต้องสั่งโดยแพทยผู้ทําการรักษาที่ลงทะเบียนให้ผู้ปวย และในสถานพยาบาลของแพทย ผู้ทําการรักษา 6. 3 ผู้ปวยทุกรายต้องได้รับการตรวจประเมินโดยแพทยผู้ทําการรักษาเพื่อติดตามอาการอยางนอยทุก 6 เดือน กอนที่จะสั่งยารอบต่อไป 6. 4 แพทยผู้ทําการรักษาต้องสงรายงานการประเมินติดตามอาการและผลการตอบสนองต่อการรักษาหลังการ รักษาตามตารางที่ 1 ให้แกหนวยงานสิทธิประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไวหรือคณะทํางาน ที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้งหนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงาน นั้นแทน ทุก 6 - 12 เดือน ตารางที่ 1 ตารางแสดงการติดตามผลการรักษา ชวงอายุ ติดตามทาง คลินิก ประเมินอาการทาง ระบบประสาท ประเมินพัฒนาการและ/หรือ ระดับเชาวนปญญา ติดตามระดับ phenylalanine ในเลือด 0- 12 เดือน ทุก 1- 3 เดือน ทุก 1- 3 เดือน ทุก 3 เดือน ทุก 1- 3 เดือน 1 -6 ป ทุก 3 -6 เดือน ทุก 3 -6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 3 -6 เดือน 6 -12 ป ทุก 4 -6 เดือน ทุก 4 -6 เดือน ทุก 6 -12 เดือน ทุก 6 -12 เดือน >12 ป ทุก 6 เดือน ทุก 6 -12 เดือน ทุก 12 เดือน ทุก 6 -12 เดือน †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 30 7 . เกณฑการหยุดยา พิจารณาหยุดยาเมื่อผู้ปวยมีลักษณะที่เขาได้กับเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7 .1 ผู้ปวยมีภาวะแทรกซอนซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงแกชีวิต 7 . 2 ผู้ปวยไม่สามารถให้ยาในรูปแบบรับประทานได้ 7 . 3 ผู้ปวยเกิดปฏิกิริยาการแพยา sapropterin ชนิดรุนแรง 7 . 4 ผู้ปวยไม่ให้ความรวมมือในการรับยาตามกําหนดการรักษาหรือไม่ยินยอมที่จะใชยา sapropterin 7 . 5 ผู้ปวยมีอาการทางระบบประสาทแยลง หรือเป็นมากขึ้น (severe or advanced disease) หลังจากให้ยา ขนาดสูงสุดต่อเนื่องมาแล้วอยางนอย 1 ป 7 . 6 สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill )
หน้า 31 แนวทางกํากับการใชยา sapropterin (BH4 ) เงื่อนไขใชสําหรับโรค phenylketonuria ( PKU ) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา sapropterin (BH4) จากหนวยงานสิทธิประโยชนกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก และขออนุมัติครั้งต่อไปทุก ๆ 6 - 12 เดือน 1.3 การขออนุมัติการใชยาเริ่มตน การใชยาต่อเนื่อง และการหยุดยาของผู้ปวยแต่ละรายนั้น แพทยผู้ทําการรักษา ควรมีการนําผลการรักษา ขอมูลผู้ปวย และแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) เสนอต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไว หรือคณะทํางานที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้ง หนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงานนั้นแทน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค คือ 2. 1 เป็นสถานพยาบาลที่มีแพทยที่ระบุไวในขอที่ 3 โดยให้สถานพยาบาลนั้นแจงความประสงคต่อหนวยงานสิทธิ ประโยชนเพื่ อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป โดยมีการลงทะเบียน สถานพยาบาลกับหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย 2. 2 สามารถตรวจหรือสงตรวจ และแปลผล plasma amino acids หรือ blood phenylalanine ( Phe ) levels ได้ รวมถึงสามารถทําและแปลผล BH4 loading test ได้ เพื่อประเมินการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา sapropterin ในผู้ปวย phenylketonuria (PKU ) 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาเวชพันธุศาสตร ซึ่งปฏิบัติงานใน สถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา sapropterin ในผู้ปวย PKU โดยต้องมีครบทุกขอดังต่อไปนี้ 4. 1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 18 † 4. 2 ผู้ปวยมีอายุ 1 เดือนขึ้นไป 4. 3 ผล plasma amino acids มีระดับ phenylalanine ในเลือดกอนการรักษา >360 μmol/ L 4. 4 ได้รับการตรวจยืนยันการวินิจฉัยโรค PKU ทางหองปฏิบัติการด้วยวิธีการในขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (เพื่อแยก ผู้ปวยโรค BH4 deficiencies ออกจาก PKU ) 4.4. 1 ผลการตรวจวิเคราะหสาร pterins ในปสสาวะและ DHPR activity ในเลือดปกติ 4.4. 2 ผลการตรวจ mutation analysis พบการกลายพันธุของยีน phenylalanine hydroxylase ( PAH ) 4.4. 3 การทําการทดสอบการตอบสนองต่อการให้ยา sapropterin 20 mg/kg/day ( 24- 48 ชั่วโมง) แล้วมี การตอบสนองที่เป็นลักษณะของโรค PKU คือ ระดับ phenylalanine ในเลือดที่ 8 ชั่วโมง หลังได้รับ ยาลดลงมานอยกวา 80 % ของ baseline และ ระดับ phenylalanine ในเลือดที่ 24- 48 ชั่วโมง ยังสูง กวาคาปกติ † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable ) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็น ของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 32 4.5 ผู้ปวยต้องเป็นไปตามเกณฑทั้ง 2 ขอ คือ 4.5.1 ได้รับการรักษาด้วยการควบคุมอาหารแล้วยังมีระดับ phenylalanine ในเลือดเกินกวา 360 μmol/ L และ 4.5.2 ผล BH4 loading test พบวามีการตอบสนองต่อยา sapropterin โดยระดับ phenylalanine ในเลือด ลดลงมา ≥ 30 % จากระดับ baseline หมายเหตุ การเบิกจายการทดสอบ BH4 loading test ให้เป็นไปตามที่แต่ละกองทุนประกาศกําหนด 4.6 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ตามที่กําหนด 19 †† 5 ขนาดยาและวิธีการใชยา ให้ยา sapropterin รูปแบบรับประทานที่อนุมัติ ตามขนาดที่แนะนํา ดังนี้ ขนาดยาที่ ใชในการรักษา คือ 5 - 20 mg/kg/day (ขนาดยาสูงสุด คือ 1,400 mg/day) โดยเริ่ มตนที่ 10 mg /kg/day วันละครั้ง หลังจากนั้นสามารถปรับขนาดยาให้ระดับ phenylalanine ในเลือดผู้ปวยอยู่ในชวง 120- 360 μmol/ L หมายเหตุ การให้ยา sapropterin ต้องให้ควบคู่กับการจํากัด phenylalanine ในอาหารและ/หรือนมพิเศษ 6 . การติดตามและการประเมินผลการรักษา 6. 1 ให้ทําการประเมินผลการรักษาทุก 6 เดือน 6. 2 การเริ่มให้ยาครั้งแรก ต้องสั่งโดยแพทยผู้ทําการรักษาที่ลงทะเบียนให้ผู้ปวย และในสถานพยาบาลของแพทย ผู้ทําการรักษา 6. 3 ผู้ปวยทุกรายต้องได้รับการตรวจประเมินโดยแพทยผู้ทําการรักษาเพื่อติดตามอาการอยางนอยทุก 6 เดือน กอนที่จะสั่งยารอบต่อไป 6. 4 แพทยผู้ทําการรักษาต้องสงรายงานการประเมินติดตามอาการและผลการตอบสนองต่อการรักษาหลังการ รักษาตามตารางที่ 1 ให้แกหนวยงานสิทธิประโยชนโดยใชแนวทางตามที่หนวยงานกําหนดไวหรือคณะทํางาน ที่เกี่ยวของกําหนด และเมื่อมีการแต่งตั้งหนวยงานกลางเพื่อดําเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นหน้าที่ของหนวยงาน นั้นแทน ทุก 6 - 12 เดือน ตารางที่ 1 ตารางแสดงการติดตามผลการรักษา ชวงอายุ ติดตามทางคลินิก ติดตามระดับ phenylalanine ในเลือด ประเมินพัฒนาการหรือ ระดับเชาวนปญญา 0 - 12 เดือน ทุก 1 - 3 เดือน ทุก 2 - 12 สัปดาห 1 - 3 ป ทุก 3 - 4 เดือน ทุก 1 - 4 เดือน 3 - 6 ป ทุก 3 - 6 เดือน ทุก 1 - 6 เดือน 1 ครั้ง 6 - 12 ป ทุก 3 - 6 เดือน ทุก 2 - 6 เดือน 1 ครั้ง 12 ป ขึ้นไป ทุก 6 - 12 เดือน ทุก 3 - 12 เดือน †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 33 7 . เกณฑการหยุดยา พิจารณาหยุดยาเมื่อผู้ปวยมีลักษณะที่เขาได้กับเกณฑขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 7 . 1 ผู้ปวยเปลี่ยนสถานะเป็นระยะสุดทาย (terminally ill ) 7 . 2 ผู้ปวยมีภาวะแทรกซอนซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงแกชีวิต 7 . 3 ผู้ปวยไม่สามารถให้ยาในรูปแบบรับประทานได้ 7 . 4 ผู้ปวยเกิดปฏิกิริยาการแพยา sapropterin ชนิดรุนแรง 7 . 5 ผู้ปวยไม่ให้ความรวมมือในการรับยาตามกําหนดการรักษาหรือไม่ยินยอมที่จะใชยา sapropterin 7 . 6 ผู้ปวยอาการรุนแรง (severe disease ) หรือเป็นมากขึ้น (advanced disease) (มี clinical progression of disease เมื่อเทียบกับ baseline โดยไม่ได้เกิดจาก co- morbidity ) 7.7 ผู้ปวยไม่สามารถรักษาระดับ phenylalanine ในเลือด ให้นอยกวา 60 0 μmol/L ต่อเนื่องกัน 2 ครั้ง (หางกัน ไม่เกิน 6 เดือน)
หน้า 34 แนวทางกํากับการใชยา adalimumab เงื่อนไข ใชสําหรับรักษาโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา adalimumab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงาน กําหนดไวกอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทํา การรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก (อนุมัติให้ใชเป็นเวลา 180 วัน) และครั้งต่อไปทุก ๆ 180 วัน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมี แพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางที่พรอมจะดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิด จากโรคและ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตรโรคขอและรูมาติสซั่ม ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 . 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา adalimumab ในโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis) โดยมีเกณฑ ครบทุกขอ ดังนี้ 4.1 ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 20 † 4.2 ได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน ตามเกณฑ CLASsification criteria of Psoriatic ARthritis (CASPAR criteria ) 2006 4.3 มีดัชนีชี้วัดภาวะการอักเสบที่รุนแรง (active disease) อยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ 4.3.1 สําหรับ axial involvement (spine หรือ sacroiliac joint) ต้องมี BASDAI ≥ 4 หรือ ASDAS ≥ 2. 1 4.3.2 สําหรับ peripheral joint involvement ต้องมีขอบวม (swollen joint) ≥ 4 ขอ อนึ่ง dactylitis และ enthesitis 1 ตําแหนงนับเป็น 1 ขอ 4.4 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาตานการอักเสบที่ไม่ใชสเตียรอยด ( non- steroidal anti - inflammatory drug หรือ NSAIDs) และ ยาตานรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดําเนินโรคมาตรฐาน (conventional disease modifying anti - rheumatic drugs หรือ csDMARDs) (*รายละเอียดอางอิงตามหมายเหตุ) โดย 4.4.1 กรณีมี axial involvement ต้องไม่ตอบสนองต่อ NSAIDs ≥ 2 ชนิดใน 3 เดือน และ csDMARD ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ≥ 1 ชนิด นาน 3 เดือน 4.4.2 กรณีมี peripheral joint ต้องไม่ตอบสนองต่อ NSAIDs ≥ 2 ชนิดใน 3 เดือน และ csDMARDs ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ≥ 2 ชนิดรวมกัน นาน 3 เดือน 4.4.3 ผู้ปวยไม่สามารถทนยา NSAIDs หรือ csDMARDs ในขอ 4.4. 1 หรือ 4.4.2 เนื่องจากเกิดผลขางเคียง อยางมีนัยสําคัญ ที่สงผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ปวย หรือไม่สามารถควบคุมด้วยการรักษาประคับประคอง 4.4.4 มีขอหามในการใชยา NSAIDs หรือ csDMARDs ในขอ 4.4. 1 หรือ 4.4.2 อยางมีนัยสําคัญ † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 35 4.5 ต้องไม่เคยแพยา adalimumab รุนแรง 4.6 ต้องไม่มีการติดเชื้อ รวมทั้งการติดเชื้อซ้ําซาก ( recurrent ) ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอยางเหมาะสม 4.7 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ( 2 ) ทุกครั้งที่ใชยากับผู้ปวย 21 †† 5. ขนาดยาที่แนะนํา การใชยา adalimumab ควรใชควบคู่กับ csDMARD ที่ได้รับอยู่เดิม โดยมีขนาดและวิธีการใชยา คือ adalimumab ขนาด 40 มิลลิกรัม ฉีดเขาชั้นใตผิวหนัง ทุก 2 สัปดาห คําแนะนําเพิ่มเติม เมื่อผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษา ติดต่อกันนานมากกวา 24 สัปดาห ควรเพิ่มระยะหาง ของการใชยา adalimumab กอนปรับลดขนาดยา csDMARDs 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา ประเมินทุกครั้งที่กรอกแบบฟอรมขออนุมัติใชยาต่อเนื่อง ผู้ที่ตอบสนองต่อการรักษา (responder) หมายถึงตามเกณฑดังนี้ ผู้ปวยมีอาการทางคลินิกดีขึ้น โดยมีการลดลงของคา BASDAI ≥ 2 หรือ ASDAS ≥ 1 สําหรับกรณี axial involvement หรือมีการลดลงของคา DAS28- ESR > 0.6 สําหรับกรณี peripheral involvement 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ติดตามสัญญาณและอาการไม่พึงประสงคจากการใชยา 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยา adalimumab เมื่อตรวจพบขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ( non- responder) หลังจากใชยานาน 24 สัปดาห 7.2 เป็นผู้ปวยที่โรคเขาสูระยะสงบ โดยดุลยพินิจของแพทย และสามารถกลับมาใชยาใหมได้หากผู้ปวยมีอาการกําเริบ 7.3 เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) 7.4 ผู้ปวยปฏิเสธการใชยา 7.5 เกิดอาการไม่พึงประสงครายแรงจนไม่สามารถใชยาต่อได้ 7.6 ตั้งครรภ (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาจะคลอด) 7.7 การติดเชื้อรุนแรง (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาพนระยะไม่ปลอดภัยหรือหายจากการติดเชื้อรุนแรง) 7.8 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย *หมายเหตุ ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ของ DMARDs สําหรับผู้ปวยโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน ได้แก - Methotrexate 0 . 3 มก./กก./สัปดาห (15 - 25 มก./สัปดาห) - Sulfasalazine 40 มก./กก./วัน - Leflunomide 20 มก./วัน - Azathioprine 2 มก./กก./วัน - Cyclosporine 2 - 5 มก./กก./วัน †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 36 แนวทางกํากับการใชยา adalimumab เงื่อนไข ใชสําหรับรักษาโรคขออักเสบรูมาตอยด (rheumatoid arthritis ) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา adalimumab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงานกําหนดไว กอนการรักษา ( pre-authorization ) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวยกอนทําการรักษากับ หนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก (อนุมัติให้ใชเป็นเวลา 180 วัน) และครั้งต่อไปทุก ๆ 180 วัน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมีแพทย เฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางที่พรอมจะดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรค และ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตรโรคขอและรูมาติสซั่ม ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา adalimumab ในโรคขออักเสบรูมาตอยด (rheumatoid arthritis ) โดยมีเกณฑ ครบทุกขอดัง นี้ 4.1 ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 22 † 4.2 ได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรคขออักเสบรูมาตอยดตามเกณฑ American College of Rheumatology (ACR) 1987 หรือ ACR /European League Against Rheumatism (EULAR) 2010 4.3 มีดัชนีชี้วัดภาวะการอักเสบ disease activity score DAS 28- ESR ≥ 5.1 4.4 ผู้ปวยเป็นไปตามเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ 4.4.1 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาตานรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดําเนินโรคมาตรฐาน (conventional disease modifying anti - rheumatic drugs หรื อ csDMARDs) กลำวคื อ ผำนการรั กษาด วย csDMARDs แบบผสม ≥ 3 ขนาน โดยอยางนอย 1 ขนานต้องเป็นยา methotrexate และจะต้องได้รับ ยาแต่ละตัวในขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target dose) (*รายละเอียดอางอิงตามหมายเหตุ) ติดต่อกันอยางนอย 3 เดือน ยกเวนมีขอหามหรือมีผลขางเคียงจากการใชยาอยางมีนัยสําคัญ 4.4.2 ผู้ปวยไม่สามารถทนยา csDMARDs ในขอ 4.4. 1 เนื่องจากเกิดผลขางเคียงอยางมีนัยสําคัญ ที่สงผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ปวย หรือไม่สามารถควบคุมด้วยการรักษาประคับประคอง 4.4.3 มีขอหามในการใชยา csDMARDs ในขอ 4.4. 1 อยางมีนัยสําคัญ 4.4.4 ผู ป วยเคยได้ รั บยา adalimumab จนเขำสู สถานะโรคสงบ ( remission) และสามารถหยุ ดยา adalimumab ได้ แต่ผู้ปวยเกิดมีการกําเริบของโรคอยางนอยเทากับ low disease activity (DAS28 - ESR ≥ 2.6) หลังหยุดยา 4.5 ต้องไม่เคยแพยา adalimumab รุนแรง 4.6 ต้องไม่มีการติดเชื้อ รวมทั้งการติดเชื้อซ้ําซาก ( recurrent ) ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอยางเหมาะสม 4.7 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ( 2 ) ทุกครั้งที่ใชยากับผู้ปวย 23 †† † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 37 5. ขนาดยาที่แนะนํา การใชยา adalimumab ควรใชควบคู่ กับ csDMARD ที่ได้รับอยู่ เดิม โดยมีขนาดและวิธีการใชยา คือ adalimumab ขนาด 40 มิลลิกรัม ฉีดเขาชั้นใตผิวหนัง ทุก 2 สัปดาห คําแนะนําเพิ่มเติม เมื่อผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษา ควรเพิ่มระยะหางของการใชยา adalimumab ตามลําดับ เมื่อผู้ปวยมีดัชนีชี้วัดภาวะการอักเสบเหลืออยู่นอย ( DAS28- ESR < 3.2) จนเมื่อโรคเขาสูระยะสงบ ( DAS28- ESR < 2.6) ให้พิจารณาหยุดยาชั่วคราว 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา ประเมินทุกครั้งที่กรอกแบบฟอรมขออนุมัติใชยาต่อเนื่อง ผู้ที่ตอบสนองต่อการรักษา (responder) หมายถึงตามเกณฑดังนี้ ผู้ปวยมีอาการทางคลินิกดีขึ้น โดยมีการลดลงจากคา DAS28- ESR ขณะเริ่มยา adalimumab ≥ 1.2 หรือ ดัชนีชี้วัดภาวะการอักเสบเหลืออยู่นอย ( DAS28- ESR < 3.2) หรือ โรคเขาสูระยะสงบ ( DAS28- ESR < 2.6) 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ติดตามสัญญาณและอาการไม่พึงประสงคจากการใชยา 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยา adalimumab เมื่อตรวจพบขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ( non- responder) หลังจากใชยานาน 24 สัปดาห 7.2 เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) 7.3 ผู้ปวยปฏิเสธการใชยา 7.4 เกิดอาการไม่พึงประสงครายแรงจนไม่สามารถใชยาต่อได้ 7.5 ตั้งครรภ (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาจะคลอด) 7.6 การติดเชื้อรุนแรง (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาพนระยะไม่ปลอดภัยหรือหายจากการติดเชื้อรุนแรง) 7.7 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย *หมายเหตุ ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ของ csDMARD สําหรับผู้ปวยโรคขออักเสบรูมาตอยด ได้แก - methotrexate 0.3 มก./กก./สัปดาห (15 - 25 มก./สัปดาห) - sulfasalazine 40 มก./กก./วัน - leflunomide 20 มก./วัน - chloroquine 4 มก./กก./วัน - hydroxychloroquine 6 . 5 มก./กก./วัน - azathioprine 2 มก./กก./วัน - cyclosporin 2 - 5 มก./กก./วัน
หน้า 38 แนวทางกํากับการใชยา infliximab เงื่อนไข ใชสําหรับรักษาโรคขอกระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึด (ankylosing spondylitis) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา infliximab จากหนวยงานสิทธิประโยชนตามแนวทางการอนุมัติที่แต่ละหนวยงาน กําหนดไวกอนการรักษา ( pre- authorization) โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวย กอนทําการรักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรก (อนุมัติให้ใชเป็นเวลา 180 วัน) และครั้งต่อไปทุก ๆ 180 วัน 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมี แพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางที่พรอมจะดูแลรักษาปญหาแทรกซอนที่อาจจะ เกิดจากโรคและ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตรโรคขอและ รูมาติสซั่ม ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา infliximab ในโรคขอกระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึด (ankylosing spondylitis) โดยมีเกณฑ ครบทุกขอดัง นี้ 4.1 ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) † 4.2 ได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรคขอกระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึดตามเกณฑ modified New York criteria 1984 4.3 มีดัชนีชี้วัดภาวะการอักเสบที่รุนแรง (active disease) กลาวคือ axial involvement (spine หรือ sacroiliac joint) ต้องมี BASDAI ≥ 4 หรือ ASDAS ≥ 2.1 4.4 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาตานการอักเสบที่ไม่ใชสเตียรอยด ( non- steroidal antiinflammatory drug หรือ NSAIDs) และยาตานรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดําเนินโรคมาตรฐาน (csDMARDs) ( * รายละเอียด ขนาดเปาหมายมาตรฐานอางอิงตามหมายเหตุ) โดยเป็นตามเกณฑขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 4.4.1 ต้องไม่ตอบสนองต่อ NSAIDs ≥ 2 ชนิดใน 3 เดือน และ csDMARD ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ≥ 1 ชนิด นาน 3 เดือน 4.4.2 ผู้ปวยไม่สามารถทนยา NSAIDs หรือ csDMARDs ในขอ 4.4.1 เนื่องจากเกิดผลขางเคียง อยางมีนัยสําคัญ ที่สงผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ปวย หรือไม่สามารถควบคุมด้วยการรักษา ประคับประคอง 4.4.3 มีขอหามในการใชยา NSAIDs หรือ csDMARDs ในขอ 4.4.1 อยางมีนัยสําคัญ 4.5 ต้องไม่เคยแพยา infliximab รุนแรง หรือแพสวนประกอบที่เป็น murine protein † ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 39 4.6 ต้องไม่มีการติดเชื้อ รวมทั้งการติดเชื้อซ้ําซาก (recurrent) ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอยางเหมาะสม 4.7 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่ใชยากับผู้ปวย 25 †† 5. ขนาดยาที่แนะนํา การใชยาชีววัตถุควรใชควบคู่กับ NSAIDs หรือ csDMARD ที่ได้รับอยู่เดิม โดยมีขนาดและวิธีการใชยา คือ Infliximab ขนาด 3- 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม หยดเขาหลอดเลือดดํา เริ่มตนที่สัปดาหที่ 0, 2, 6, และต่อ ด้วยทุก 8 สัปดาห คําแนะนําเพิ่มเติม เมื่อผู้ปวยตอบสนองต่อการรักษา ติดต่อกันนานมากกวา 24 สัปดาห ควรปรับลด ขนาดยาหรือเพิ่มระยะหางของการใชยา infliximab กอนปรับลดขนาดยา csDMARD s 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1 การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา ประเมินทุกครั้งที่กรอกแบบฟอรมขออนุมัติใชยาต่อเนื่อง ผู้ที่ ตอบสนองต่อการรักษา (responder) หมายถึงตามเกณฑดังนี้ ผู้ปวยมีอาการทางคลินิกดีขึ้น โดยมีการลดลงของคา BASDAI ≥ 2 หรือ ASDAS ≥ 1 6.2 การประเมินดานความปลอดภัย ติดตามสัญญาณและอาการไม่พึงประสงคจากการใชยา 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยา infliximab เมื่อตรวจพบขอใดขอหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 7.1 ผู้ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ( non- responder) หลังจากใชยานาน 24 สัปดาห 7.2 เป็นผู้ปวยที่โรคเขาสูระยะสงบ โดยดุลยพินิจของแพทย และสามารถกลับมาใชยาใหมได้หากผู้ปวย มีอาการกําเริบ 7.3 เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) 7.4 ผู้ปวยปฏิเสธการใชยา 7.5 เกิดอาการไม่พึงประสงครายแรงจนไม่สามารถใชยาต่อได้ 7.6 ตั้งครรภ (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาจะคลอด) 7.7 การติดเชื้อรุนแรง (ให้ผู้ปวยหยุดยาหรือถอนตัวชั่วคราวจนกวาพนระยะไม่ปลอดภัยหรือหายจากการ ติดเชื้อรุนแรง) 7.8 ผู้ปวยขาดการติดตามผลการรักษา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย * หมายเหตุ ขนาดเปาหมายมาตรฐาน (standard target doses) ของ DMARDs สําหรับผู้ปวยโรคขอกระดูกสัน หลังอักเสบชนิดติดยึด ได้แก - methotrexate 0.3 มก./กก./สัปดาห (15 - 25 มก./สัปดาห) - sulfasalazine 40 มก./กก./วัน - leflunomide 20 มก./วัน - azathioprine 2 มก./กก./วัน - cyclosporine 2 - 5 มก./กก./วัน †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 40 แนวทางกํากับการใชยา liposomal amphotericin B เงื่อนไข โรค Invasive fungal infections ในผู้ปวยที่ไม่สามารถทนต่อยา amphotericin B 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา liposomal amphotericin B จากหนวยงานสิทธิประโยชนหลังการรักษา (post - authorization) โดยมีการลงทะเบียนแพทยสถานพยาบาล และผู้ ปวยเมื่ อเริ่ มทําการรักษา กับ หนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่จะใชยา liposomal amphotericin B ระบบจะ อนุโลม ให้ผู้ปวยได้รับยากอนการขออนุมัติไม่เกิน 7 วัน และให้แพทยผู้สั่งใชยาลงทะเบียนเพื่อขอ อนุมัติ การใชยาระยะเวลา ที่อนุมัติในการใชยาครั้งแรก 7 วัน (รวมทั้งหมดเป็น 14 วัน) และครั้งต่อไป ทุก 14 วัน (แพทยควรสงแบบฟอรมการขออนุมัติ ตั้งแต่วันที่เริ่มสั่งจายยา โดยจะต้องใชเวลาในการขอ อนุมัติจากระบบ 7 - 14 วัน ) †† 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล เป็นสถานพยาบาลที่มีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวม ดูแลรักษา ปญหาแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือการรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1 เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาอายุรศาสตรโรคติด เชื้อ หรือ อนุสาขาอายุรศาสตรโรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤติโรคระบบการหายใจ หรืออนุสาขา กุมารเวชศาสตรโรคติดเชื้ อ หรืออนุสาขากุมารเวชศาสตรโรคระบบการหายใจ ซึ่ งปฏิบัติงานใน สถานพยาบาลตามขอ 2 3.2 ในกรณีสถานพยาบาลไม่มีแพทยตามขอ 3.1 ให้ผู้อํานวยการโรงพยาบาลแต่งตั้งแพทยที่ได้รับหนังสือ อนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาสาขาอายุรศาสตรหรือสาขากุมารเวชศาสตรที่มีความรูความชํานาญ ในการใชยาดังกลาวอยางนอย 2 คน 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา liposomal amphotericin B ในโรค invasive fungal infections ผู้ปวยที่ไม่ สามารถทนต่อยา amphotericin B ได้ โดยมีเกณฑดังนี้ 4.1 ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) *† 4.2 ไม่สามารถใชยา Posaconazole, voriconazole หรือ micafungin ได้ 4.3 ได้รับการวินิจฉัยแนนอน (definite) วาเป็นโรค invasive fungal infections ซึ่งหมายถึงขอใดขอหนึ่งดังนี้ 4.3.1 ตรวจพบเชื้อรารูปสาย (hyphae) หรือยีสต (yeast) และมีการทําลายเนื้อเยื่อรวมด้วยจาก การ ตรวจทางพยาธิวิทยาหรือทางเซลลวิทยาของสิ่งสงตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อหรือ การเจาะดูดจากตําแหนงที่ปราศจากเชื้อ (sterile site) 4.3.2 เพาะเชื้อพบราสาย (mold) หรือยีสต จากสิ่งสงตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อ หรือการเจาะดูด จากตําแหนงที่ปราศจากเชื้อ และมีลักษณะทางคลินิก หรือผลเอกซเรยที่แสดงถึงการติดเชื้อ 4.3.3 เพาะเชื้อจากเลือดพบราสายและมีขอบงชี้วาเป็นเชื้อกอโรคติดเชื้อจริง หรือพบเชื้อยีสตจากเลือด *†† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยาโดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2) *† ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และ ไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 41 4.4 ได้รับการวินิจฉัยที่เป็นไปได้ (probable) วาเป็นโรค invasive fungal infections ซึ่งหมายถึงการ วินิจฉัยที่ไม่ใชแบบ definite และประกอบด้วยองคประกอบต่อไปนี้ครบทุกขอ 4.4.1 มีปจจัยเสี่ยงดานผู้ปวยอยางนอย 1 ขอ ได้แก มี neutrophil < 500/mm 3 นานกวา 10 วัน ในชวงที่เริ่มเกิดโรคจากเชื้อรา หรือ ได้รับการปลูกถายไขกระดูกแบบ allogeneic หรือ ได้คอร ติโคสเตอรอยด (เชน prednisolone) มากกวา 0.3 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน ติดต่อกันมานาน กวา 3 สัปดาห หรือได้ยากดภูมิคุมกันอื่น (เชน ciclosporin, alemtuzumab) ในชวง 90 วันที่ ผานมา หรือ มีโรคภูมิคุมกันบกพรองแต่กําเนิดอยางรุนแรง 4.4.2 มีลักษณะทางคลินิกที่แสดงถึงการติดเชื้อรา เชน ปอดอักเสบ – มีความผิดปรกติใน CT chest หรือ chest X - ray อยางนอย 1 อยาง คือ dense well circumscribed lesion หรือ air- crescent sign หรือ cavity หลอดลมอักเสบ – มี ulcer, nodule, pseudomembrane, eschar หรือ plaque ใน trachea หรือ bronchus การติดเชื้อในโพรงไซนัสหรือจมูก – มีภาพรังสียืนยัน รวมกับอาการอยางนอย 1 อยาง คือ ปวด เฉพาะที่ แผลในจมูกแบบ eschar หรืออาการลุกลามเขากระดูกใกลเคียงรวมถึงกระบอกตา การติดเชื้อที่สมอง – มีอยางนอย 1 ใน 2 ขอ คือ มีกอนในสมอง หรือ มี enhancement ของ เยื่อหุมสมองจาก MRI หรือ CT 4.4.3 มีผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่บงถึงการติดเชื้อรา เชน พบเชื้อราสายในเสมหะ BAL bronchial brush หรือ sinus aspirate จากการตรวจด้วยกลองจุลทรรศน หรือการเพาะเชื้อ หรื อ การตรวจ beta D glucan ให้ ผลบวกสําหรั บ invasive fungal infection อื ่ นๆ นอกเหนือจาก Cryptococcus และ Zygomycetes 4.5 ผู้ปวยใชยา amphotericin B ในขนาดมาตรฐานแล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค ดังนี้ 4.5.1 กรณีเกิดพิษต่อไต กรณีที่ Creatinine clearance กอนให้ยา amphotericin B Creatinine clearance หลังให้ยา amphotericin B แนวทางการให้ยาตาน เชื้อรา 1 CrCl มากกวา 30 mL/min อยู่เดิม CrCl นอยกวา 30 mL/min หรือต้องทํา dialysis ใช liposomal amphotericin B 2 CrCl น อยกวำ 30 mL/min และ ยังไม่ได้ทํา dialysis - ใช liposomal amphotericin B 3 ทํา chronic dialysis อยู่แล้ว - ใช amphotericin B ต่อ หมายเหตุ ● ผู้ปวยควรมีคา serum creatinine กอนและหลังให้ยาหางกันอยางนอย 3 วัน และมีการเตรียมผู้ปวย ด้วยการให้ normal saline solution (NSS) กอนให้ยา amphotericin B ด้วย ● คา creatinine clearance ได้จากการคํานวณ creatinine clearance ใชสูตร Cockcroft - Gault equation คือ creatinine clearance (mL/min) = (140 – age) x (Wt in kg) x (0.85 if female) / (72 x Scr : mg/dL) หรือ การวัดด้วย eGFR ● ในกรณีผู้ปวยเด็ก (อายุ < 18 ป) การพิจารณาคา creatinine clearance ให้อยู่ในดุลยพินิจของ แพทย
หน้า 42 4.5.2 อาการไม่พึงประสงคความรุนแรงระดับ 3 ขึ้นไป * * 4.6 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ทุกครั้งที่ใชยากับผู้ปวย ††† ตามที่กําหนดในขอ 1.2 หมายเหตุ 1. กรณี invasive aspergillosis ให้พิจารณาใช voriconazole กอน 2. กรณี invasive mucormycosis ให้พิจารณาใช posaconazole ในผู้ปวยกอน 3. กรณีติดเชื้อ invasive candida ที่ดื้อยา fluconazole หรือไม่สามารถใชยา amphotericin B ได้พิจารณาใช micafungin 5. ขนาดยาที่แนะนําและวิธีการให้ยา ให้ยา liposomal amphotericin B ในขนาด 3- 5 มิลลิกรัมต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน วันละ 1 ครั้ง ด้วยวิธี IV infusion ในเวลา 2 ชั่วโมง (ลดลงเหลือ 1 ชั่วโมงได้หากผู้ปวยทนยาได้ดี) 6. การประเมินระหวางการรักษา กรณีผู้ปวยที่ตอบสนองต่อการรักษาโดยสมบูรณ ระยะเวลาของการรักษามีเกณฑดังนี้ 6.1 กรณี candidemia หรือ fungemia ให้ได้นานไม่เกิน 14 วัน หลังผลเพาะเชื้อในเลือดเป็นลบ (โดยทั่วไปผลเพาะเชื้อในเลือดมักเป็นลบภายใน 7 วัน หลังให้ยารักษา) 6.2 กรณี deep organ infection ให้ยาได้จนกวาลักษณะทางคลินิกหายไปและรอยโรคในภาพรังสีหายไป หรือเหลือนอยที่สุดโดยทั่วไป ประมาณ 4- 12 สัปดาห หมายเหตุ ในกรณีที่สามารถเปลี่ยนเป็นยาตานเชื้อราชนิดอื่นแบบกินได้ จะต้องเปลี่ยนให้เร็วที่สุด 7. เกณฑการหยุดยา ให้หยุดยา liposomal amphotericin B เมื่อ 7.1 สามารถใชยาตานเชื้อราชนิดอื่นในการรักษาได้ผลไม่แตกตางกันหรือดีกวา เชน ดูจากผลเพาะเชื้อ 7.2 ผู้ปวยไม่ตอบสนองต่อการรักษาภายใน 7 วัน หลังให้ยา ซึ่งหมายถึงขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ ● มีการดําเนินโรคต่อเนื่อง (persistent) เชน ผลเพาะเชื้อพบเชื้อราเดิมตลอด ● ลักษณะทางคลินิกรุนแรงมากขึ้น หรือภาพรังสีแสดงความผิดปรกติมากขึ้นโดยไม่สามารถ อธิบายได้ด้วยสาเหตุอื่น ● ทราบวาเชื้อดื้อยา amphotericin B จากผลการตรวจความไวของเชื้อ ● สถานะโรคเดิมของผู้ปวยเปลี่ยนเป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) * * การประเมินระดับความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค ควรพิจารณาตาม Division of Aids Table for Grading the Severity of Adult and Pediatric Adverse Events Version 1.0, December, 2004; Clarification August 2009 †† โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยาโดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 43 แนวทางกํากับการใชยา sofosbuvir + velpatasvir และ ribavirin เงื่อนไขโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุกสายพันธุ ทั้งในผู้ปวยที่มีหรือไม่มีการติดเชื้อ HIV รวมด้วย 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1 ขออนุมัติการใชยา sofosbuvir + velpatasvir และ/หรือ ribavirin จากหนวยงานสิทธิประโยชน กอนการรักษา ( pre-authorization ) ทุกครั้ง โดยมีการลงทะเบียนแพทย สถานพยาบาล และผู้ปวย กอนทําการรักษา กับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2 กรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ในครั้งแรกที่ใชยากับผู้ปวย 29 * 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล สถานพยาบาลที่มีการใชยานี้ต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค คือ 2.1 เป็นสถานพยาบาลที่มีแพทยผู้รักษาตามคุณสมบัติตามขอ 3 หรือสามารถปรึกษาและสามารถปฏิบัติตาม คําแนะนําของแพทย ดั งกลำว โดยให้ สถานพยาบาลนั ้ นแจ งความประสงค ต อหน วยงาน สิทธิประโยชนเพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป โดยมีการลงทะเบียน สถานพยาบาลกับหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย 2.2 สามารถตรวจหรือสงตรวจ HCV qualitative เชน HCV PCR, HCV core antigen หรือ HCV quantitative เชน HCV RNA เป็นตนได้ 2.3 สามารถตรวจเลื อดเพื ่ อนําไปคํานวณในระบบตำง ๆ ได้ แก FIB -4 score หรื อ APRI score ที่ใชประเมินความรุนแรงของพังผืดตับ 2.4 ในกรณีผู้ปวยติดเชื้อ HIV ต้องสามารถตรวจหรือสงตรวจ HIV RNA และ CD4 ได้โดยมีแพทยรวมดูแล รักษาโรคติดเชื้อ HIV 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1 เป็นอายุรแพทยที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาระบบทางเดินอาหาร หรือ 3.2 เป็นอายุรแพทยทั่วไปที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภา โดยได้รับการรับรองจาก ผู้อํานวยการโรงพยาบาล หรือ 3.3 แพทยที่ได้รับการอบรมการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังโดยหนวยงานของรัฐ/ราช วิทยาลัย/สมาคม/ชมรมทางวิชาชีพที่เกี่ยวของ ในกรณีที่ผู้ปวยเป็นตับแข็งควรสงต่อแพทยตามขอ 3.1 และ 3.2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา sofosbuvir + velpatasvir ในขอบงใชรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุก genotype และใชรวมกับ ribavirin ในผู้ปวยตับแข็ง ที่มีคา Model For End - Stage Liver Disease (MELD) score ไม่เกิน 18 ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง ทั้งในผู้ปวยที่มีหรือไม่มีการติดเชื้อ HIV รวมด้วยโดยมี เกณฑครบทุกขอตามขอกําหนดดังต่อไปนี้ 4.1 ไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 30 † 4.2 มี Eastern Co - operation Oncology Group (ECOG) performance status ตั้งแต่ 0 ถึง 1 * โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2) † ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable ) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งใน ความเห็นของแพทยผู้รักษาผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น ดังนั้น ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ
หน้า 44 4.3 ผู้ปวยโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังที่สมควรได้รับการรักษา ต้องมีคุณสมบัติทุกขอต่อไปนี้ 4.3.1 ผู้ปวยเป็นโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังที่ไม่เคยได้รับการรักษา หรือเคยได้รับการรักษาด้วย peginterferon alfa (ชนิด 2a หรือ 2b ) รวมกับ ribavirin แต่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา หรือไม่สามารถทนผลขางเคียงของยาได้ หรือเคยได้รับการรักษาแล้วกลับมาติดเชื้อใหม 4.3.2 มีความเขาใจและพรอมที่จะรับการรักษา 4.3.3 มีอายุตั้งแต่ 18 ป ขึ้นไป 4.3.4 ตรวจพบ HCV RNA ในเลือดด้วยวิธี HCV qualitative เชน HCV PCR, HCV core antigen หรือ HCV quantitative เชน HCV RNA เป็นตน 4.3.5 ผู้ปวยมีคา eGFR มากกวาหรือเทากับ 30 มิลลิลิตรต่อนาที 4.4 กรณีผู้ปวยตับแข็ง มีคา MELD score ไม่เกิน 18 4.5 ในกรณีที่ผู้ปวยมีโรครวม สามารถใชยารักษาไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังได้ ดังกรณีต่อไปนี้ 4.5.1 ผู้ปวยติดเชื้อ HIV ที่ไม่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในขณะนั้น 4.5.2 ผู้ปวยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง (HBV infection) ต้องได้รับการรักษา HBV infection ควบคู่กันด้วย 4.5.3 ผู้ปวยโรคมะเร็ง โดยผู้ปวยต้องผานการรักษาและพบวาหายขาด และมีระยะเวลาปลอดโรค เกินกวา 6 เดือน 31 * 4.6 มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ตามที่กําหนด 32 † 5. ขอหามในการรักษา 5.1 ตั้งครรภหรือไม่เต็มใจที่จะยินยอมในการคุมกําเนิด 5.2 มีโรคประจําตัวที่ยังควบคุมรักษาไม่ได้ดี เชน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ถุงลมโปงพอง โรคไทรอยดเป็นพิษ และ HIV ที่ยังมีการติดเชื้อฉวยโอกาสอยู่ 5.3 ผู้ปวยที่อยู่ระหวางการให้ยาเคมีบําบัด 6. สูตรการรักษาและขนาดยาที่แนะนํา ทั้งในผู้ปวยที่มีหรือไม่มีการติดเชื้อ HIV รวมด้วย ระยะเวลาการรักษาให้นาน 12 สัปดาห 6.1 กรณีไม่มีตับแข็ง sofosbuvir 400 มิลลิกรัม + velpatasvir 100 มิลลิกรัม รับประทานยาวันละ 1 เม็ด 6.2 กรณีมีตับแข็ง รวมกับ MELD score ไม่เกิน 18 sofosbuvir 400 มิลลิกรัม + velpatasvir 100 มิลลิกรัม รับประทานยาวันละ 1 เม็ด รวมกับ ribavirin วันละ 2 ครั้ง หมายเหตุ 1) แนะนําขนาดยารับประทาน ribavirin ดังนี้ - ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัม ต่อวัน แบงให้วันละ 2 ครั้ง สําหรับผู้ปวยที่มีน้ําหนักนอยกวา 75 กิโลกรัม - 1,200 มิลลิกรัม ต่อวัน แบงให้วันละ 2 ครั้ง สําหรับผู้ปวยที่มีน้ําหนักตั้งแต่ 75 กิโลกรัมขึ้นไป * ปลอดโรค หรือ complete remission เกินกวา 6 เดือน คือ ต้องตรวจไม่พบรอยโรคเดิม รอยโรคใหมและการกระจายของโรคไปยังตําแหนงอื่นโดยชัดแจง และไม่มีขอสงสัยในการวินิจฉัย † โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ(2)
หน้า 45 2 ) เนื่องจากยาในกลุ ม direct acting antivirals ( DAAs) อาจเกิดอันตรกิริยากับยาในกลุ มอื่น ๆ ได้ ควรตรวจสอบขอมูลกอนการใชยา โดยเฉพาะกลุ่มผู้ปวยติดเชื้อ HIV - HCV coinfection ทั้งนี้ หาก ตรวจสอบแล้วพบวายาตานไวรัสของผู้ปวยติดเชื้อเอชไอวีที่ใชอยู่เดิมอาจเกิดอันตรกิริยากับยานี้ ให้ปรึกษา แพทยผู้เชี่ยวชาญสาขาโรคติดเชื้อกอนเริ่มการรักษาอยางนอย 1 เดือน 7. เกณฑการหยุดยา 7.1 ระยะเวลาของการรักษา ได้รับการรักษาครบ 12 สัปดาห 7.2 โรครวมเดิมที่เป็นอยู่กําเริบมากขึ้นจนไม่สามารถควบคุมได้ หมายเหตุ 1) ผู้ ปวยที่ ได้รับการวินิจฉัยวำเป็นตับแข็ง ควรแนะนําให้สงต่อเพื่ อพบอายุรแพทยโรคระบบ ทางเดินอาหารเพื่อติดตามการรักษาและเฝาระวังการเกิดมะเร็งตับหลังการรักษาไวรัสตับอักเสบซี 2) ก อนเริ ่ มการรั กษาต องตรวจสอบอั นตรกิ ริ ยากั บยาที ่ ผู ป วยใช ร วมอยู (สามารถตรวจสอบ ผานแอปพลิเคชัน เชน liverpool HEP iChart เป็นตน) 8. การประเมินผลการรักษา ให้ประเมินผลการรักษาด้วยการตรวจ HCV RNA ด้วยวิธี quantitative HCV ที่ 12 สัปดาหหลัง หยุดการรักษา
หน้า 46 แนวทางกํากับการใชยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติ จ( 2 ) b evacizumab ในขอบงใช 1. โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุมจอตา (wet form of subfoveal, juxtafoveal choroidal neovascularization (CNV) due - to aged related macular degeneration ) 33 * 2. โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน 34 † (diabetic m acular edema: DME ) 3. โรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม ( r etinal vein occlusion with macular edema ) 4. โรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอนกําหนด ( r etinopathy of prematurity, ROP ) 1. ระบบอนุมัติการใชยา 1.1. ขออนุมัติการใชยา bevacizumab แบบลงทะเบียนหลังการรักษา ( post-authorization) ตาม แนวทางที่แต่ละสถานพยาบาลกําหนดไว โดยมีการลงทะเบียนสถานพยาบาลและแพทยหลังทําการ รักษากับหนวยงานสิทธิประโยชน 1.2. ลงทะเบียนผู้ปวยกอนการอนุมัติการใชยาครั้งที่ 2 1.3. กรอกแบบขออนุมัติสําหรับการใชยาในครั้งต่อ ๆ ไป 35 ‡ 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล กรณีขอบงใช 1 - 3 (โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุมจอตา, โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน และโรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม) สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค มีเครื่องมือ อุปกรณ ที ่ จําเป นในการรั กษา/วิ นิ จฉั ยโรค เช น Fundus fluorescein angiography (FFA ) , Optical Coherence Tomography (OCT) เป็นตน รวมทั้งมีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะ ทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหาของผู้ปวยรวมทั้งภาวะแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือ การรักษา กรณีขอบงใช 4 (โรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอนกําหนด) สถานพยาบาลที่มีการใชยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความพรอมในการวินิจฉัยและรักษาโรค และมีความ พรอมในการดูแลทารกคลอดกอนกําหนด รวมทั้งมีแพทยเฉพาะทางตามที่ระบุไวในขอ 3 และมีแพทยเฉพาะ ทางสาขาอื่นที่พรอมจะรวมดูแลรักษาปญหาของผู้ปวยรวมทั้งภาวะแทรกซอนที่อาจจะเกิดจากโรคและ/หรือ การรักษา 3. คุณสมบัติของแพทยผู้ทําการรักษา 3.1. กรณีขอบงใชที่ 1- 3 (โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุมจอตา, โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน และโรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม) 3.1.1. เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาจักษุวิทยา และ เป็นผู้เชี่ยวชาญในดานโรคจอตาและวุนตา (ตามที่ราชวิทยาลัยจักษุแพทยแห่งประเทศไทย รับรอง) หรือจักษุแพทยที่มีความรูความชํานาญในการใชยาดังกลาวที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผู้อํานวยการโรงพยาบาล ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 * polypoidal choroidal vasculopathy (PCV) จัดเป็น wet form of AMD subtype † ราชวิทยาลัยจักษุแพทยแห่งประเทศไทย แกไขชื่อโรคจากเดิม คือ โรคศูนยกลางจอตาบวมจากเบาหวาน ‡ โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 47 3.2. กรณีขอบงใชที่ 4 (โรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอนกําหนด) 3.2.1. เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาจักษุวิทยา และ เป็นผู้เชี่ยวชาญในดานโรคจอตาและวุนตา (ตามที่ราชวิทยาลัยจักษุแพทยแห่งประเทศไทย รับรอง) หรือจักษุแพทยที่มีความรูความชํานาญในการใชยาดังกลาวที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผู้อํานวยการโรงพยาบาล ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 3.2.2. เป็นแพทยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาจักษุวิทยา และ เป็นผู้เชี่ยวชาญในดานโรคตาเด็ก (ตามที่ราชวิทยาลัยจักษุแพทยแห่งประเทศไทยรับรอง) หรือ จักษุแพทยที่มีความรูความชํานาญในการใชยาดังกลาวที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้อํานวยการ โรงพยาบาล ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามขอ 2 4. เกณฑอนุมัติการใชยา อนุมัติการใชยา bevacizumab ในโรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหม ใตรอยบุมจอตา โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน โรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม หรือ โรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอนกําหนด โดยมีเกณฑอนุมัติตามขอ 4. 1 ถึง 4. 4 ดังนี้ 4.1. ต้องไม่เป็นผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill ) 36 * 4.2. ผู้ปวยได้รับการวินิจฉัยวาเป็นโรค 4.2.1. ผู้ปวยได้รับการตรวจวินิจฉัยจากอาการทางคลินิกวาเป็นโรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบ เปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุมจอตา โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน หรือ โรค หลอดเลือดดําที่ จอตาอุดตันที่ มีศูนยกลางจอตาบวม โดยอาจยืนยันด้วยเครื่ อง Optical coherence tomography (OCT) หรือ Fundus fluorescein angiography (FFA) ตามความ เหมาะสม และต้องมีผลการถายภาพจอประสาทตามาแสดง โดยมีระดับความสามารถในการ มองเห็น (visual acuity) ต่ํากวา ตั้งแต่ 20/40 หรือต่ํากวา และยังคงมี light perception หรือ 4.2.2. ผู้ปวยได้รับการตรวจวินิจฉัยจากอาการทางคลินิกวาเป็นโรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอน กําหนด ที่มีลักษณะขอใดขอหนึ่งดังต่อไปนี้ 4.2.2.1. ตําแหนงของโรค อยู่ที่ Zone I หรือ posterior zone II และความรุนแรงที่ระยะที่ 3 หรือมากกวา โดยจะมีอาการแสดงของภาวะ plus disease รวมด้วยหรือไม่ก็ได้ 4.2.2.2. ผู้ปวยที่ได้รับการวินิจฉัยวาเป็น high risk ROP ซึ่งสมควรได้รับการรักษาด้วยเลเซอร แต่มีขอจํากัดที่ไม่สามารถเลเซอรได้ หรือให้การรักษาด้วยเลเซอรแล้วผลลัพธไม่เป็นไป ตามประสงค 4.3. ประเมินสุขภาพรางกายโดยรวม สามารถทนต่อการฉีดยาเขาในวุนตาได้ 4.4. มีการกรอกแบบฟอรมกํากับการใชยาบัญชี จ(2) ที่ขออนุมัติใชยากับผู้ปวยตามที่ระบุไวในขอ 1 † 5. ขนาดยาที่แนะนํา 5.1. ขนาดยาที่แนะนํา สําหรับขอบงชี้ที่ 1-3 (โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุม จอตา, โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน และโรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม) คือ 1. 25 มิลลิกรัม ฉีดเขาวุนตา ทําการประเมินผลการรักษา และพิจารณาฉีดยาซ้ําในระยะเวลาไม่เร็วไป กวา 4 สัปดาห โดยมีขอพิจารณาดังต่อไปนี้ * ผู้ปวยระยะสุดทาย (terminally ill) หมายถึง ผู้ปวยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ ( incurable) และไม่สามารถชวยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น ( irreversible ) ซึ่งในความเห็นของแพทยผู้รักษา ผู้ปวยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ปวยดังกลาวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุงหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกขทรมานเป็นสําคัญ † โปรดเก็บรักษาขอมูลไวเพื่อใชเป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใชยา โดยหนวยงานการกํากับดูแลการสั่งใชยาบัญชี จ( 2)
หน้า 48 1) กรณีโรคสงบหรือควบคุมได้แล้ว อาจยืดระยะระหวางการฉีดยาให้ยาวนานขึ้น (treat and extend) หรือพิจารณาหยุดยา 2) พิจารณาหยุดยาเมื่อสามารถยืดระยะเวลาระหวางการฉีดยาไปได้ถึง 16 สัปดาห ติดต่อกันสองครั้ง และพบวาโรคสงบ หรือแพทยประเมินวาศูนยกลางจอตาเกิดพยาธิสภาพ ซึ่งไม่สามารถกูคืนการ มองเห็นกลับมาได้แล้ว 3) กรณีเกิดการกลับเป็นซ้ําของโรค ( recurrence ) พิจารณาเริ่มให้การรักษาใหม สําหรั บข อบ งชี ้ ที ่ 4 (โรคจอตาผิ ดปกติ ในทารกคลอดก อนกําหนด) ใช ยา bevacizumab 0. 625 มิลลิกรัม ฉีดเขาในวุนตา 1 ครั้ง กรณีเกิดการกลับเป็นซ้ําของโรค ( recurrence ) พิจารณาเริ่มให้การ รักษาใหม หมายเหตุ ยา bevacizumab 1 ขวด (ขนาด 100 มิลลิกรัม) ให้แบงใชไม่นอยกวา 30 ครั้ง 5.2. ระยะเวลาการรักษา 5.2.1. age- related macular degeneration ( AMD ) ให้ยาได้สูงสุดไม่เกิน 12 ครั้งต่อปของการรักษา รอยโรคเดิมต่อตา 1 ขาง 5.2.2. Diabetic Macular Edema และ Retinal vein occlusion with Macular Edema ให้ยาได้ สูงสุดไม่เกิน 6 ครั้งต่อป ของการรักษารอยโรคเดิมต่อตา 1 ขาง 5.2.3.Retinopathy of prematurity ROP ให้ยาได้ 1 ครั้งจนกวาจะมีการกลับเป็นซ้ําของโรค 6. การประเมินระหวางการรักษา 6.1. การประเมินดานประสิทธิผลของการรักษา กรณีขอบงใช 1- 3 (โรคจุดภาพชัดจอตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปยกที่มีเสนเลือดงอกใหมใตรอยบุม จอตา, โรคจุดภาพชัดจอตาบวมจากเบาหวาน และโรคหลอดเลือดดําที่จอตาอุดตันที่มีศูนยกลางจอตาบวม) ให้ประเมินผู้ปวยหลังได้รับยา ดังนี้ 6.1.1. ระดับความสามารถในการมองเห็น (visual acuity ) 6.1.2. สภาวะของจอตา ได้แกการบวมของจอตา โดยผลการตรวจหลักที่บงชี้วาควบคุมโรคได้ คือ การมองเห็นเปลี่ยนแปลงไม่เกินหนึ่งแถวหรือหนึ่งระดับ และตรวจ OCT พบความหนาของศูนยกลางจอตาเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 10 % โดยประเมินในชวงการฉีดยา สามครั้งลาสุด กรณีขอบงใชที่ 4 (โรคจอตาผิดปกติในทารกคลอดกอนกําหนด) ให้ประเมินสภาวะของจอตา ได้แก การบวมของจอตา หลังได้รับยาไปแล้ว 1 สัปดาห 6.2. การประเมินดานความปลอดภัย 6.2.1. ความปลอดภัยและภาวะแทรกซอนในดวงตา ได้แก ภาวะการติดเชื้อภายในลูกตา (endophthalmitis) เลือดออกในน้ําวุนตา (vitreous hemorr hage ) ตอกระจก ( cataract ) จอประสาทตาหลุดลอก (retinal detachment) 6.2.2. ความปลอดภัยและภาวะแทรกซอนทางรางกาย ควรประเมินสภาวะทั่วไปของรางกายเป็นระยะ
หน้า 49 7. เกณฑการหยุดยา การพิจารณาหยุดยาจะพิจารณา ในกรณีดังนี้ Age - related Macular Degeneration Diabetic Macular Edema Retinal vein occlusion with Macular Edema 7.1 ตอบสนองต่อการรักษาอยำง เต็มที่โดยความหนาของจอตาบริเวณ จุดภาพชัดเทาปกติ หรือ ไม่พบการรั่ว ของสี fluorescein 7.1 ตอบสนองต่อการรักษาอยาง เต็ มที ่ โดยระดั บการมองเห็น 20 / 20 แ ล ะ ต ร ว จ OCT พ บ ศูนยกลางจอตาเป็นปกติ 7.1 ตอบสนองต่อการรักษาอยาง เต็ มที ่ โดยระดั บการมองเห็น 20 / 20 แ ล ะ ต ร ว จ OCT พ บ ศูนยกลางจอตาเป็นปกติ 7.2 ควบคุมโรคได้ คือ การมองเห็นเปลี่ยนแปลงไม่เกินหนึ่งแถวหรือหนึ่งระดับ และตรวจ OCT พบความ หนาของศูนยกลางจอตาเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 10% โดยประเมินในชวงการฉีดยาสามครั้งลาสุด 7.3 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาโดยประเมินในชวงการฉีดยาสามครั้งลาสุด พิจารณาจาก 1 ) ระดับของสายตาแยลง และ ความหนาของจอตาบริเวณจุดภาพมากขึ้น หรือ 2) มีการรั่วของสี fluorescein เทาเดิมหรือเพิ่มขึ้น