Mon Jul 03 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ เรื่อง แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2


ประกาศคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ เรื่อง แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2

ประกาศคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ เรื่อง แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 ด้วยพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 มาตรา 17 กาหนดให้คณะกรรมการนโยบายบริหาร จัดการแร่แห่งชาติ จัดทาแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการแร่ ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้ดุลยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ ของประชาชน และให้เสนอแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ต่ อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการ ตามอำนาจหน้าที่ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ บัดนี้ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ได้จัดทาแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2566 ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบเป็นต้นไป ดังมีสาระสาคัญแนบตามท้ายนี้ จึงให้ประกาศ แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 ในราชกิจจานุเบกษา เพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 1 1 พฤษภาคม พ.ศ. 25 6 6 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 157 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ มกราคม 2566

I คํานํา แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 จัดทําขึ้นภายใต้บทบัญญัติของพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นกรอบชี้นําแนวทางการบริหารจัดการแร่ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 โดยรัฐมีหน้าที่บริหารจัดการแร่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน อย่างยั่งยืน ภายใต้ดุลยภาพในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม คํานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม และสุขภาพของประชาชนอย่างรอบด้าน ในการจัดทําแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 ได้พิจารณานํา กรอบแนวคิด ตามยุทธศาสตร์การ บริหารจัดการแร่ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่ได้จัดทําขึ้นโดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 2 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 3 (พ.ศ. 2566 - 2570) แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 25 79 ตลอดจน แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2565 เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารจัดการแร่ ของประเทศให้เป็นไปอย่าง มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในระยะ 20 ปี โดย คณะกรรมการนโยบายบริหาร จัดการแร่แห่งชาติได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 เพื่อเป็นกรอบ ในการบริหารจัดการแร่ ของประเทศ ในช่วงเวลา 5 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2566 - 2570 ที่มุ่งหมายให้มี การสร้าง ฐานของความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ต่อเนื่องจากการปฏิรูประบบการบริหารจัดการแร่ ที่ได้มีการเริ่มต้นในช่วงแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564) ทั้งนี้ แผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 ได้ผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการเปิดเผยข้อมูล ผ่านสื่อหลายช่องทาง การป ระชุมหารือทางเทคนิค (technical meeting ) การประชุมรับฟังความคิดเห็น ต่อประเด็นที่เป็นสาระสําคัญ (focus group ) และการประชุมเวทีสาธารณะ (public hearing ) เพื่อรับฟัง ความคิดเห็น กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับ ที่ 2 ได้ รับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มกรา คม 256 6 โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบเป็นต้นไป และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติการตามอํานาจหน้าที่ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในแผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ต่อไป

II สารบัญ หน้า คํานํา I สารบัญ II ส่วน ที่ 1 บทนํา 1 1. 1 ความเป็นมา 1 1.2 กระบวนการจัดทําแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 2 1.3 กรอบแนวคิด 4 1.4 ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท และแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง 7 1. 4 .1 แผนระดับ 1 8 1. 4 .2 แผนระดับ 2 10 1.4.3 แผนระดับ 3 19 1.5 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแร่ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 2 2 1.6 แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560 - 2564 2 3 1.7 การประเมินผลการดําเนินการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560 - 2564 2 6 1.8 ปัญหาอุปสรรคของการจัดทําและขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ฉบับแรก และการปรับปรุงแก้ไขในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 3 2 1.8.1 การกําหนดเนื้อหาในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560 - 2564 3 2 1.8.2 การนําแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560 - 2564 ไปปฏิบัติ 3 3 1.8.3 การติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560 - 2564 3 4 1.9 การปรับปรุง แก้ไขปัญหาอุปสรรคของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ฉบับแรก ในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 3 4 ส่วนที่ 2 การประเมินสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดกา แร่ 4 0 2.1 สถานการณ์และแนวโน้มภายนอก 4 0 2.1.1 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 4 0 2.1.2 ความพยายามระดับโลกในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Global Climate Action) 4 1 2.1.3 พลังงานหมุนเวียนและยานยนต์ไฟฟ้า 4 2 2.1.4 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด - 19 4 2 2.1.5 ผลกระทบจากสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน 4 4 2.1.6 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก 4 5 2.1.7 สถานการณ์เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ของโลก 4 6 2.1.8 สถานการณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ของโลก 4 7

III 2.2 สถานการณ์และแนวโน้มภายใน 49 2.2.1 สถานการณ์เศรษฐกิจไทย 49 2. 2 .2 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทย 5 0 2. 2 . 3 สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมเหมืองแร่ไทย 5 2 2.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศ 6 4 2.3.1 จุดแข็ง ( s trengths) 6 4 2.3.2 จุดอ่อน ( w eaknesses) 6 4 2.3.3 ปัจจัยสนับสนุนและโอกาส (o pportunities) 6 5 2.3.4 ภัยคุกคามและข้อจํากัด (t hreats) 6 6 ส่วน ที่ 3 วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ 6 7 3.1 วัตถุประสงค์ 6 7 3.2 วิสัยทัศน์ 6 7 3.3 เป้าหมาย 68 3.4 แนวทางการพัฒนาในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ 69 3 . 4 .1 แนวทางการพัฒนาด้านที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร่ 7 0 3 . 4 . 2 แนวทางการพัฒนาด้านที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรแร่ 78 3 . 4 . 3 แนวทางการพัฒนาด้านที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยี และการจัดสรรผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรแร่ 89 3 . 4 . 4 แนวทางการพัฒนาด้านที่ 4 : การสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริม การมีส่วนร่วม 98 ส่วนที่ 4 การขับเคลื่อ นสู่การปฏิบัติและติดตามประเมินผล 12 4 4.1 การขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่การปฏิบัติ แนวทางการขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่การปฏิบัติ 12 6 4.2 การติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ 12 9 ภาคผนวก ก บัญชีทรัพยากรแร่ 1 28 ภาคผนวก ข เขตแหล่งแร่เพื่อการทําเหมือง 1 3 7 ภาคผนวก ค สรุปผลการประชุมหารือและการรับฟังความคิดเห็น 19 2 ภาคผนวก ง ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการแร่ 23 3 ภาคผนวก จ TOWS Matrix 23 6 ภาคผนวก ฉ การประยุกต์ใช้หลัก SEA ในการจัดทําแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ 2 4 0 ภาคผนวก ช องค์ประกอบและกระบวนการในการจัดทําแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ 24 5 ภาคผนวก ซ แนวทางบริหารจัดการแร่รายชนิด 28 3 ภาคผนวก ฌ ตารางรายละเอียดตัวชี้วัดค่า baseline data และเกณฑ์การให้คะแนน จําแนกตามแนวทางการพัฒนาของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 2 89

IV ภาคผนวก ญ คําสั่ง/ประกาศ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้อง 31 0 ภาคผนวก ฎ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2566 และความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 2 6 สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1 นโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ระดับชาติในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแร่ ของประเทศ 21 รูป ที่ 2 อันดับและคะแนนดัชนี SDGs ของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - 2564 5 0 รูป ที่ 3 สถานการณ์รายเป้าหมาย SDGs ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564 5 1 รูป ที่ 4 มูลค่าการผลิตแร่และอัตราการขยายตัว ปี พ.ศ. 2554 - 2563 5 4 รูป ที่ 5 ปริมาณการใช้แร่และอัตราการขยายตัว ปี พ.ศ. 2554 - 2563 5 5 รูป ที่ 6 มูลค่าการนําเข้าแร่และอัตราการขยายตัว ปี พ.ศ. 2554 - 2563 5 6 รูป ที่ 7 มูลค่าปัจจัยการผลิตขั้นกลางภายในประเทศที่ถูกใช้ในการผลิตแร่ ( b ackward linkage ) 59 รูป ที่ 8 มูลค่าการใช้แร่เป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ ( forward l inkage ) 6 0 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 การลงทุนสํารวจแร่ของภูมิภาคอาเซียนในปี พ.ศ. 2563 5 2 ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกสินค้าแร่ที่สําคัญของไทย ปี พ.ศ. 2558 - 2563 5 6 ตารางที่ 3 การจัดเก็บค่าภาคหลวงแร่ของไทย ปี พ.ศ. 2558 - 2563 5 7 ตารางที่ 4 สาขาเหมืองแร่ในตารางปัจจัยการผลิต - ผลผลิต 59 ตารางที่ 5 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาด้านที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร่ 7 4 ตารางที่ 6 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนา ด้านที่ 2 การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชน์ จากการใช้ทรัพยากรแร่ 8 1 ตารางที่ 7 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนา ด้านที่ 3 การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์จากแร่ 9 2 ตารางที่ 8 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนา ด้านที่ 4 การสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 10 1 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายรายปี กิจกรรมหลัก และหน่วยงานขับเคลื่อนตามแนวทาง การพัฒนาของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 1 08

สวนที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมา แรเป็นทรัพยากรที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาประเทศเป็นอยางมาก โดยอุตสาหกรรมแร กอให้เกิดประโยชนต่อระบบเศรษฐกิจจากทั้งดานการผลิต การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศ และยังเป็นวัตถุดิบขั้นตนสําหรับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ อยางไรก็ตาม แมอุตสาหกรรมแร จะสรางคุณประโยชนให้กับประเทศเป็นอยางมาก แต่อาจสงผลกระทบต่อผู้มีสวนได้สวนเสียในวงกวางได้ ดังนั้น การบริหารจัดการแรที่ดีมีหลักธรรมาภิบาล มีการกําหนดหลักเกณฑการอนุญาตและการกํากับดูแล การทําเหมืองแรให้เหมาะสมกับประเภทและขนาดของการทําเหมือง มีการจัดสรรผลประโยชนอยางเป็นธรรม และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน จะชวยลดผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของชุมชนในพื้นที่บริเวณใกลเคียงได้ พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 เป็นกฎหมายหลักที่ใชในการบริหารจัดการทรัพยากรแร และให้อํานาจรัฐในการกํากับดูแลการทําเหมืองแรและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ตั้งแต่ขั้นตอนการสํารวจแร การทําเหมืองแร การแต่งแร การประกอบโลหกรรม ตลอดจนการจัดเก็บคาภาคหลวงแร โดยตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 กําหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการบริหารจัดการแรเพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุด แกประเทศชาติและประชาชนอยางยั่งยืน โดยต้องคํานึงถึงดุลยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนอยางรอบดาน รวมทั้งการจัดสรรผลประโยชน ระหวางรัฐ ผู้ประกอบการ และชุมชนทองถิ่นในพื้นที่ทําเหมืองและพื้นที่ใกลเคียงที่ได้รับผลกระทบ อยางเป็นธรรม โดยกระบวนการบริหารจัดการแรของประเทศไทยจําเป็นต้องมีการศึกษา วิจัย และวิเคราะห สถานการณที่เกี่ยวของ เพื่อนํามากําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร และการสรางความยั่งยืนด้วยการบริหารจัดการ การใชทรัพยากรให้เกิดประโยชนอยางคุมคาสูงสุดและเป็นไปตามหลักวิชาการภายใตการวิเคราะหความเสี่ยง การเฝาระวังผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน รวมทั้งติดตามผลการดําเนินงาน อยางต่อเนื่อง โดยมีแนวนโยบายการบริหารจัดการแรของยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่สําคัญ 4 ประเด็น ได้แก ประเด็นที่หนึ่ง มีความมั่นคงของฐานทรัพยากรแร และวัตถุดิบเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมและเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขัน ประเด็นที่สอง เกิดดุลยภาพ ในการใชประโยชนจากแร ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพ ประเด็นที่สาม เสริมสรางกลไก การบริหารจัดการแรตามหลักธรรมาภิบาล และประเด็นที่สี่ ผลักดันการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร นอกจากนี้ ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้กําหนดให้มี คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ ที่มีอํานาจหน้าที่ตามมาตรา 12 ( 1) ในการเสนอยุทธศาสตร นโยบาย และแผนแมบทการบริหารจัดการแรต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้การบริหารจัดการแรเกิดประโยชน สูงสุด ภายใตดุลยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งมีการดําเนินการอยางเป็นรูปธรรมแล้ว คือ ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ที่คํานึงถึงการตอบสนองต่อการบรรลุเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางเป็นเอกภาพ 1

2 โดยตามมาตรา 17 วรรค 1 กําหนดให้การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแรอยางนอยต้องประกอบด้วย การสํารวจทรัพยากรแร แหลงแรสํารอง การจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแร พื้นที่หรือชนิดแรที่สมควร สงวนหวงหามหรืออนุรักษ์ไว และพื้นที่ที่มีแหลงแรอุดมสมบูรณและมูลคาทางเศรษฐกิจสูงที่จะกําหนด ให้เป็นเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองเพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการแรให้เหมาะสมและเกิดประโยชน สูงสุดภายใตดุลยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน โดยการจัดทํา ต้องมีการเปดโอกาสให้ประชาชนมีสวนรวมและเปดเผยขอมูลให้สาธารณชนทราบเป็นระยะ เวนแต่มีขอมูล ของแรประเภทที่อาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ และให้มีการจัดทําหรือปรับปรุงแผนแมบท การบริหารจัดการแรทุกหาป แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 เป็นแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีเปาหมายในการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการแรในทุก ๆ ดานเพื่อลดความซับซอน และลดการใชดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจ พรอมทั้งการเรงเสริมสรางความรู ความเขาใจ และเผยแพร ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของให้กับภาคประชาสังคม เพื่อให้มีองคความรูและขอมูลที่เพียงพอ สําหรับการพิจารณา ตัดสินใจ รวมทั้งเสริมสรางและสงเสริมให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแรของประเทศ ผานกระบวนการที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ สอดคลองและเป็นไปตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 นอกจากนี้ แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ยังได้รับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรีให้มีผลบังคับใชต่อไปอีกหนึ่งปจนถึงสิ้นป พ.ศ. 2565 เนื่องจากสถานการณการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทําให้การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ไม่สามารถดําเนินการได้แล้วเสร็จและเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบกอนที่แผนแมบทการบริหาร จัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 สิ้นสุดระยะเวลาบังคับใชลงเมื่อสิ้นป พ.ศ. 2564 สําหรับแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่มีกรอบระยะเวลาในการขับเคลื่อน ให้บรรลุเปาหมายตามแนวทางการพัฒนาและกิจกรรมหลักที่กําหนดในชวงระยะเวลา 5 ป ตั้งแต่ พ.ศ. 2566 - 2570 ซึ่งสอดคลองกับกรอบระยะเวลาของยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ในระยะที่สอง และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับ การกําหนดระดับของแผนและการเสนอแผนระดับที่ 3 โดยแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เป็นกรอบแนวทางให้สวนราชการและผู้ที่เกี่ยวของนําไปปฏิบัติ โดยมีเปาหมายที่จะปฏิรูปกลไกการบริหาร จัดการแรต่อเนื่องจากแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรกให้บรรลุผลสําเร็จและสรางความยั่งยืน ให้แกระบบการบริหารจัดการแรของประเทศไทยสอดคลองกับเปาหมายของยุทธศาสตรชาติต่อไป 1.2 กระบวนการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 กระบวนการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการดําเนินการดังต่อไปนี้ 1) กําหนดผู้รับผิดชอบและกลไกในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร โดยคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดานจัดทําแผนแมบท การบริหารจัดการแร ซึ่งได้แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแรตามลําดับ เพื่อให้เป็นไป ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่กําหนดให้คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร แห่งชาติมีหน้าที่จัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร

3 2 ) ศึกษา วิเคราะห รวบรวมและประมวลขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของกับทรัพยากรแร และอุตสาหกรรมแร เพื่อกําหนดกระบวนการที่เหมาะสมสําหรับการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ให้มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 และแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 3 ) ศึกษาผลการดําเนินงานภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ที่ผานมา โดยรวบรวมจากรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานภายใตแผนแมบทการบริหาร จัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 รวมทั้งขอมูลทุติยภูมิจากหนวยงานที่เกี่ยวของและแหลงขอมูลอื่น 4 ) ประกาศหลักเกณฑการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการบริหารจัดการแร ที่กําหนดรายละเอียดขั้นตอน วิธีการ และระยะเวลาดําเนินการในแต่ละขั้นตอน อยางชัดเจน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่กําหนดให้กระบวนการ จัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแรต้องเปดโอกาสให้ทุกภาคสวนมีสวนรวมและมีการเปดเผยขอมูล ให้สาธารณชนทราบเป็นระยะ 5 ) เปดเผยขอมูลทั่วไปที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร เชน เหตุผลความจําเป็น แผนการสํารวจทรัพยากรแร แหลงแรสํารอง การจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแร พื้นที่หรือชนิดแร ที่สมควรสงวนหวงหามหรืออนุรักษ์ไว พื้นที่ที่มีแหลงแรอุดมสมบูรณและมูลคาทางเศรษฐกิจสูง ที่จะกําหนดให้เป็นเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง หลักเกณฑในการกําหนดวิธีการทําเหมือง ผลกระทบ สิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากการทําเหมือง และมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม เป็นตน 6 ) จัดประชุมปรึกษาหารือทางเทคนิค ( t echnical meeting) เพื่อรับฟงความคิดเห็น ของกลุ่มผู้มีสวนได้สวนเสีย ทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก (1) กลุ่มที่มีขอวิตกกังวลเกี่ยวกับกิจกรรมเหมืองแร (2) กลุ่มที่สนับสนุนการพัฒนาเหมืองแร และ (3) กลุ่มหนวยงานที่เกี่ยวของทางราชการและสถาบันทางวิชาการ กลุ่มละ 1 ครั้ง โดยในการประชุมปรึกษาหารือได้ประยุกตใชหลักการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร ( Strategic Environment Assessment) เพื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแรในระดับ ยุทธศาสตรด้วย 7 ) ยกรางแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 โดยประมวลผลขอมูลที่ได้จากการศึกษา ในเบื้องตน การรวบรวมความคิดเห็นของผู้มีสวนได้สวนเสียที่ได้รับจากการแสดงความคิดเห็นทางชองทาง ตาง ๆ จากการเปดเผยขอมูล และการจัดประชุมปรึกษาหารือทางเทคนิค ( t echnical m eeting) พรอมทั้ง กําหนดประเด็นที่เป็นสาระสําคัญเพื่อนําไปประชุมหารือในขั้นตอนถัดไป 8) จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของผู้มีสวนได้สวนเสียต่อประเด็นที่เป็นสาระสําคัญ (f ocus group) จํานวน 5 ประเด็น ดังนี้ (1) การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (2) การปรับปรุง ระบบฐานขอมูลและสารสนเทศ (3) เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง (4) กระบวนการอนุญาตและกํากับดูแล และ (5) การจัดสรรผลประโยชนและการมีสวนรวม พรอมทั้งนําขอมูลที่ได้มาปรับปรุงเนื้อหารางแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ให้มีความครบถวนและครอบคลุมโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นหลักที่สําคัญ

4 9) จัดกระบวนการเวทีสาธารณะ (public hearing) เพื่อรับฟงความคิดเห็นต่อรางแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 จากผู้มีสวนได้สวนเสียทุกภาคสวน และนําความคิดเห็นที่ได้มาประมวลผล เพื่อปรับปรุงรางแผนแมบทการบริหารจัดการแรให้มีความสมบูรณ 10) นําเสนอรางแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ต่อคณะกรรมการนโยบาย บริหารจัดการแรแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 11) จัดสงรางแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ซึ่งจัดเป็นแผนการปฏิบัติในระดับที่ 3 ให้สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติดําเนินการวิเคราะหและพิจารณากลั่นกรอง ตามขั้นตอน 12) นําเสนอรางแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบ โดยเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว ให้หนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติการตามอํานาจหน้าที่ ให้เป็นไปตามที่กําหนดไวในแผนแมบทการบริหารจัดการแรต่อไป 1.3 กรอบแนวคิด ในระยะแรกของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564 ) ที่ผานมา การบริหารจัดการแรของประเทศมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในทิศทางที่สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ ในดานอื่น ๆ มากขึ้น โดยมีการกําหนดนโยบายการบริหารจัดการแรในภาพรวมและรายชนิดแรที่เหมาะสม มีการกําหนดหลักเกณฑการอนุญาตและการกํากับดูแลการทําเหมืองให้เหมาะสมกับประเภทและขนาด ของการทําเหมือง มีการสงเสริมให้ชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการแรเพิ่มขึ้น เป็นตน อยางไรก็ตาม การบริหารจัดการแรของประเทศยังคงประสบปญหาหลายประการที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากอดีต เชน ปญหาการรวมศูนยอํานาจและขาดความโปรงใสในการพิจารณาอนุมัติอนุญาตของภาครัฐ ปญหา การจัดการผลกระทบจากการทําเหมืองแรที่มีต่อสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชน ในบริเวณใกลเคียง ปญหาความไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการจัดสรรผลประโยชนจากการนําทรัพยากรแรมาใช แมในปจจุบันก็ยังพบปญหาความขัดแยงที่เกิดจากความวิตกกังวลของภาคประชาชนที่เกี่ยวของกับ การทําเหมืองแร ซึ่งปญหาเหลานี้ลวนสงผลกระทบในเชิงลบและเป็นอุปสรรคต่อการนําทรัพยากรแร ในประเทศมาใชประโยชน โดยสาเหตุสําคัญของปญหาเหลานี้ คือ นโยบายการนําทรัพยากรแรในประเทศ มาใชประโยชนในภาพรวมยังขาดความชัดเจนและขาดการบูรณาการ กระบวนการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ในการใชประโยชนทรัพยากรแรมีความซับซอนเกี่ยวของกับหลายหนวยงานและขาดความโปรงใส ตลอดจนภาคประชาชนและสังคมยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับความจําเป็นและประโยชน ของการทําเหมือง รวมทั้งขาดความเชื่อมั่นในกลไกการบริหารจัดการแรของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องเรงแกไขปญหาโดยการกําหนดนโยบายการบริหารจัดการแรในภาพรวมของประเทศ ให้มีความชัดเจนและครอบคลุมภายใตกระบวนการมีสวนรวมจากภาคสวนตาง ๆ อยางแทจริง ปฏิรูปกลไก การบริหารจัดการแรในทุก ๆ ดานอยางต่อเนื่อง เพื่อลดความซับซอน เพิ่มประสิทธิภาพ และลดการใช ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจให้เหลือเพียงเทาที่จําเป็น พรอมทั้งเรงเสริมสรางความรูความเขาใจ และเผยแพรขอเท็จจริงที่เกี่ยวของให้กับภาคประชาสังคม เพื่อให้มีองคความรูและขอมูลที่เพียงพอสําหรับ การพิจารณาตัดสินใจ รวมทั้งเสริมสรางและสงเสริมให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแร ของประเทศผานกระบวนการที่ชัดเจน โปรงใส และมีประสิทธิภาพ ซึ่งแมแนวคิดดังกลาวจะได้ถูกกําหนดไว

5 ในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรกแล้ว แต่จะต้องขับเคลื่อนและผลักดันอยางต่อเนื่องให้บรรลุผล สําเร็จอยางเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 โดยมุงเนนการปฏิรูปกลไก การบริหารจัดการแรและวางพื้นฐานกรอบนโยบายการบริหารจัดการแรในภาพรวมของประเทศ ให้มีความชัดเจนทั้งเชิงพื้นที่และรายชนิดแร เพื่อสรางความเชื่อมั่นต่อภาคการลงทุนและภาคอุตสาหกรรม และแกไขปญหาความขัดแยงในสังคม อันจะสงผลให้ประเทศกาวเขาสูชวงของการมีฐานวัตถุดิบที่มั่นคง สามารถตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ โดยลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ให้นอยที่สุดเพื่อให้อุตสาหกรรมเหมืองแรอยู่รวมกับสังคมได้อยางยั่งยืน ทั้งนี้ แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ยังคงยึดกรอบแนวคิดตามยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่ได้จัดทําขึ้นโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 - 2565) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570 ) แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ตลอดจนแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2560 - 2565) เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารจัดการแร ที่มีอยู่ในประเทศให้เป็นไปอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยในชวง ระยะ 5 ปแรก มุงเนนการปฏิรูประบบการบริหารจัดการแร ให้สอดคลองและเป็นไปตามเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่กําหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการบริหารจัดการแรเพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุด แกประเทศชาติและประชาชนอยางยั่งยืน และมีดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน มีการจัดสรรผลประโยชนแกผู้มีสวนได้สวนเสียอยางเป็นธรรม และสงเสริมให้ประชาชน ชุมชนทองถิ่น และภาคีเครือขายมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร ในขณะที่ ชวงระยะปที่ 6 - 10 ของการบริหารจัดการแรมุงเปาหมายในการสรางฐานของความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ต่อเนื่องจากการปฏิรูประบบบริหารจัดการแรที่ได้มีการเริ่มตนในชวงระยะ 5 ปแรก เพื่อให้ประเทศ มีฐานวัตถุดิบดานแรที่มั่นคงและมีการพัฒนาอยางต่อเนื่อง ในการสรางความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในระยะถัดไป เป็นชวงที่มีฐานขอมูล องคความรู เทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นํามาใชในการบริหารจัดการแร มีการเขาถึงทรัพยากรแรอยางเป็นธรรม และมีการพัฒนาแรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ด้วยบริบทดังกลาวขางตน จึงได้กําหนดกรอบแนวคิดที่สําคัญในการจัดทําแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ประกอบด้วย 1) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตั้งอยู่บนหลักของความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีระบบภูมิคุมกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก พรอมทั้งให้ความสําคัญ กับความรูและคุณธรรมควบคู่กันไป การบริหารจัดการแรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการพัฒนาใชประโยชนทรัพยากรแรเป็นไปอยางรอบคอบ สอดคลองตามหลักวิชาการ มีเหตุผล มีความพอประมาณ มีความเหมาะสม มีความถูกต้อง และเป็นธรรม เพื่อให้ทรัพยากรแรเป็นฐานการผลิตที่สําคัญ ในการสรางความมั่นคงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ให้ความสําคัญทางดานผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน เพื่อให้มีความสมดุลระหวางการสงวน การอนุรักษ์ และการใชประโยชน ทรัพยากรแรที่เชื่อมโยงและเกื้อกูลกับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม รวมถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของชุมชนโดยรอบบริเวณพื้นที่พัฒนาแหลงแร

6 2) หลักการสําคัญภายใตนโยบาย แผน และยุทธศาสตรระดับชาติที่เกี่ยวข องกับ การบริหารจัดการแร ได้แก ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 - 2565) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2560 - 2565) ในประเด็นดาน ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร และน้ํา ความสามารถในการรักษา ผลประโยชนของชาติภายใตการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมระหวางประเทศและการอยู่รวมกันอยางสันติ ประสานสอดคลองกันดานความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอยางมีเกียรติและศักดิ์ศรี ประเทศไทยไม่เป็นภาระของโลก และสามารถเกื้อกูลประเทศที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจดอยกวา 3) การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) เป็นกรอบแนวทางซึ่งเนนการพัฒนา ที่มีดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งจะต้องเกื้อกูลและไม่กอให้เกิดความขัดแยง ตอบสนองต่อความต้องการวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้น การลดผลกระทบดานลบและเพิ่มผลกระทบดานบวก การใชทรัพยากรโดยคํานึงถึงขีดจํากัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชประโยชนเทาที่จําเป็น การสงวนและรักษาไวเพื่ออนาคตของคนรุนต่อไป และการกระจายผลประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ อยางเป็นธรรม ภายใตเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 4) โมเดลเศรษฐกิจ BCG หรือ Bio - Circular - Green Economy เศรษฐกิจชีวภาพ - เศรษฐกิจหมุนเวียน - เศรษฐกิจสีเขียว ที่เนนการพัฒนาต่อยอดจากจุดแข็งของประเทศไทย คือ ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ พอเพียงและสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) โดยเฉพาะโมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ที่มุงเนนการวางแผนให้ทรัพยากรหรือวัตถุดิบ ภาคอุตสาหกรรมให้คงอยู่ในระบบ โดยให้มีคุณคาสูงสุดและนานที่สุด เป็นการเปลี่ยนวงจรการใชทรัพยากร ให้เกิดการหมุนเวียนได้มากที่สุด หรือการเปลี่ยนจากขั้นตอนที่จําเป็นต้องใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่อยางจํากัด เป็นการใชทรัพยากรที่นํากลับมาใชใหมได้ โดยลดผลกระทบที่มีต่อสภาพแวดลอม ทรัพยากรของระบบนิเวศและสุขภาพของประชาชนให้เหลือนอยที่สุด เพื่อรับมือกับปญหาการขาดแคลน ทรัพยากรในอนาคตที่มีแนวโนมความต้องการใชทรัพยากรเพื่อการผลิตเพิ่มมากขึ้น 5) ธรรมาภิบาล (Good Governance) หรือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นหลักการปกครอง ที่เป็นธรรมเพื่อให้การอยู่รวมกันในบ้านเมืองและสังคมเป็นไปอยางสงบสุข สามารถประสานประโยชน และคลี่คลายปญหาขอขัดแยงโดยสันติวิธีและพัฒนาสังคมให้มีความยั่งยืนภายใตกรอบดานศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรม บนพื้นฐานขององคประกอบสําคัญ 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และ หลักความคุมคา นอกจากนี้ ยังได้นําผลสําเร็จของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564 ) รวมถึงปญหาอุปสรรคจากการขับเคลื่อนแผนดังกลาวมาใชประกอบการกําหนดกรอบแนวคิดในการจัดทํา แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ด้วย โดยมีประเด็นสําคัญดังต่อไปนี้

7 1) การกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองจะจัดทําในรูปแบบแผนที่ที่มีขอบเขตพื้นที่ ชัดเจน และเป็นไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ หรือ คณะอนุกรรมการภายใตคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรกําหนดไว อยางไรก็ดีสําหรับกรณีแผนที่ เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง หรือบางพื้นที่ที่ยังขาดความครบถวนสมบูรณจะนําคํานิยามของพื้นที่ ของเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองตามที่กําหนดไวในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก ไปผสมผสานและผนวกเพิ่มเติมในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เพื่อไม่ให้กระทบต่อสิทธิ และเกิดความเสียหายต่อผู้มีสวนได้สวนเสียที่ได้มีการลงทุนไปแล้ว กอนที่แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 จะมีผลบังคับใช 2 ) การกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด ตลอดจนแนวทางมาตรการจะต้องสอดคลองรอยเรียงกัน และสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยพิจารณาจากเรื่อง หรือประเด็นที่ยังดําเนินการไม่แล้วเสร็จจากแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564 ) รวมกับการเพิ่มเติมเรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการทบทวนการวิเคราะหสภาพแวดลอมและการรับฟง ความคิดเห็นในขั้นตอนตาง ๆ เพื่อให้เกิดความเฉพาะเจาะจงของสิ่งที่จะดําเนินการและงายต่อการนําไปปฏิบัติ ของสวนราชการ ทั้งนี้ จะต้องเป็นประเด็นในเชิงนโยบายหรือเชิงบูรณาการ การปฏิบัติตามระเบียบและ กฎหมายของสวนราชการที่เกี่ยวของเป็นสําคัญ โดยไม่เป็นประเด็นที่สวนราชการต้องดําเนินการตามปกติ ภายใตภารกิจประจําหรือตามที่กําหนดในแผนปฏิบัติราชการของหนวยงาน หรือเป็นประเด็นที่ซ้ําซอน กับประเด็นตามแผนระดับ 2 ( แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง ( 25 กุมภาพันธ 2564)) และแผนระดับ 3 อื่น ๆ อยางมีนัยสําคัญ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการนําไปปฏิบัติ และลดความซ้ําซอนที่เกิดขึ้นโดยไม่จําเป็น 3 ) การกําหนดตัวชี้วัดในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ต้องระบุรายละเอียด ของตัวชี้วัดที่ชัดเจน มีความทาทาย วัดผลได้จริง มีความสอดคลองกับการบรรลุเปาหมายของแนวทาง การพัฒนา รวมทั้งต้องระบุคาเปาหมายระยะ 5 ป และรายป ตลอดจนหนวยงานเจ้าภาพหลักที่รับผิดชอบ ในการจัดเก็บหรือรวบรวมฐานขอมูลตามรายละเอียดของตัวชี้วัดให้ชัดเจน โดยจะกําหนดผู้รับผิดชอบหลัก เพียง 1 - 2 หนวยงานในแต่ละตัวชี้วัด 4 ) การประยุกตใชหลักการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (Strategic Environmental Assessment : SEA) ในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ในระดับที่เหมาะสมและเป็นไปได้ โดยไม่ทําให้เกิดความลาชาอยางมีนัยสําคัญต่อกระบวนการจัดทําแผนแมบทฯ ทั้งนี้ จะต้องสอดคลอง กับแนวทางการดําเนินการในเรื่องดังกลาวของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1.4 ยุทธศาสตร แผนแมบท และแผนระดับชาติที่เกี่ยวของ ในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้คํานึงถึงความเชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร แผนแมบท และแผนระดับชาติที่เกี่ยวของทั้งหมด โดยมีรายละเอียดประเด็นที่เกี่ยวของกับ การบริหารจัดการแรของประเทศ ดังต่อไปนี้

8 1.4.1 แผนระดับ 1 1.4.1.1 ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580 ) 1 ) ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม 4.1 สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว 4.1.5 สงเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มุงเนนการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร ที่รองรับต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม คํานึงถึงการปองกันและลดผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ของชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอมจากการจัดหาวัตถุดิบให้แกภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งวัตถุดิบแร ซึ่งเป็นวัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่สําคัญคือการกําหนดกิจกรรมที่สงเสริมการพัฒนาการประกอบกิจการเหมืองแร ให้มีมาตรฐานในระดับสูง มีความปลอดภัยและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ให้ความสําคัญกับการวางแผน บริหารจัดการทรัพยากรแรเพื่อให้เกิดการใชประโยชนอยางคุมคา พรอมทั้งลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม และประชาชนผานการสงเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการให้มีการนํามาตรฐานดานความรับผิดชอบ ต่อสังคม ( CSR- DPIM) และอุตสาหกรรมสีเขียว ( Green Industry) และการพัฒนาสูเหมืองแร 4.0 (Mining 4.0) ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีการพัฒนาอยางสมดุลทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมไปถึงการสงเสริมสนับสนุนให้เกิดความเขมแข็งและพัฒนาขีดความสามารถของเครือขายภาคประชาชน ในการรวมตรวจสอบ เฝาระวังผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการทําเหมืองแรและกิจกรรมที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ยังมุงเนนการสงเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ในการเพิ่มมูลคาแร การรีไซเคิลขยะหรือของเสียในกระบวนการผลิตเพื่อนํากลับมาใชประโยชนใหม ซึ่งจะชวยลดการเกิดขยะและปญหามลพิษต่อสิ่งแวดลอมและชุมชน รวมทั้งมีกิจกรรมในการยกระดับ การมีสวนรวมของผู้มีสวนได้สวนเสียให้สอดรับกับความต้องการและความคาดหวังของแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาประเทศที่จําเป็นต้องใชประโยชนจากฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม นับเป็นการสรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจโดยไม่ทําลายขีดความสามารถของระบบนิเวศ ทางธรรมชาติและเป็นสวนสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศควบคู่ไปกับการรักษาความสมดุล ของการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมได้อยางยั่งยืน 2 ) ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน 4.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 4.2.2 อุตสาหกรรมและบริการการแพทยครบวงจร 4.4 โครงสรางพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก 4.4.1 เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมไรรอยต่อ 4.4.2 สรางและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4.5 พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม 4.5.5 ปรับบทบาทและโอกาสการเขาถึงบริการภาครัฐ

9 แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่กําหนดแนวทางการพัฒนา ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร ที่มุงเนนการบูรณาการสารสนเทศที่จําเป็นต่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย และการสรางขีดความสามารถในการคาดการณการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่กระทบต่ออุตสาหกรรมแร ผานการกําหนดนโยบายการบริหารจัดการแรรายชนิดที่สัมพันธกับความจําเป็นในการใชประโยชน ภายในประเทศ เชน แนวทางการบริหารจัดการแรรายชนิดที่ได้เริ่มกําหนดไวตั้งแต่แผนแมบทการบริหาร จัดการแร ฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้แก ทองคํา โพแทช ควอตซ และหินอุตสาหกรร ม และยังคงกําหนดให้มีการติดตามผลการดําเนินการอยางต่อเนื่องในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 รวมทั้งยังจําเป็นต้องกําหนดนโยบายการบริหารรายกลุ่มแรที่สําคัญเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคลองกับทิศทาง ความต้องการใชแรของอุตสาหกรรมยุคใหมของไทย ทั้งนี้ การพัฒนาตามแนวนโยบายและเปาหมายดังกลาว ไม่วาจะเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต เชน อุตสาหกรรมยานยนตอนาคต และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ หรือการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่เชื่อมไทยและเชื่อมโลก เชน โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และโครงการรถไฟความเร็วสูง ลวนจําเป็นต้องมีการเตรียมวัตถุดิบซึ่งมีองคประกอบของทรัพยากรแรเป็นจํานวนมาก ดังนั้น การบริหาร จัดการแรและการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรไทยอยางเหมาะสม จึงเป็นปจจัยสําคัญที่จะเอื้อให้ การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรชาติบรรลุผลลัพธได้ อีกทั้งการบริหารจัดการแรที่มีประสิทธิภาพ จะต้องครอบคลุมตลอดทั้งหวงโซคุณคา (value chain) ของแรรายชนิด ทําการวิเคราะหดานอุปสงค และอุปทาน โดยในดานอุปสงคจะต้องมีการคาดการณและบริหารจัดการอุปสงคจากภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจอื่นทั้งในปจจุบันและอนาคต สําหรับดานอุปทานจะต้องพิจารณาทั้งการผลิต การนําเขา และการได้มาซึ่งทรัพยากรแรแบบองครวม ซึ่งแรแต่ละชนิดจะมีความต้องการและการจัดการที่แตกตางกัน โดยแรบางชนิดอาจมีโอกาสในการเพิ่มมูลคาในอนาคต รวมทั้งคํานึงถึงแนวทางการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับ เปาหมายระดับนานาชาติ เชน การประยุกตใชเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่เกี่ยวของเป็นหลัก ในการกําหนดทิศทางการพัฒนา ซึ่งจะเป็นสวนสําคัญในการขับเคลื่อนสูการบรรลุเปาหมายตาม ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขันต่อไป 3) ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ 4.1 ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนยกลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส 4.1.1 การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและ เป็นระดับแนวหน้าของภูมิภาค และประเด็นยุทธศาสตร 4.1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให้บริการสาธารณะตาง ๆ ผานการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใช 4.4 ภาครัฐมีความทันสมัย 4.4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย 4.7 กฎหมายมีความสอดคลองเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ และมีเทาที่จําเป็น 4.7.1 ภาครัฐจัดให้มีกฎหมายที่สอดคลองและเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลง

10 การจัดการระดับนโยบาย และการจัดการโครงสรางพื้นฐานเป็นปจจัยสําคัญในการสราง ขีดความสามารถของอุตสาหกรรมแรในภาพรวมของประเทศ เพื่อกําหนดทิศทางในการบริหารจัดการ รายกลุ่มแรหรือรายชนิดแรให้มีความเหมาะสม และสอดคลองกับความจําเป็นและความต้องการใชประโยชน ของประเทศ รวมทั้งสอดคลองกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2565 ที่ได้เห็นชอบนโยบาย ดานอุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการบูรณาการการทํางานของหนวยงานรัฐ ที่เกี่ยวของ และภาคเอกชน รวมถึงขจัดอุปสรรคในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแรให้สามารถพัฒนาเติบโตได้ โดยแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 กําหนดแนวทางการพัฒนาดานการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการแรที่มุงเนนการบูรณาการสารสนเทศที่จําเป็นต่อการใชในการตัดสินใจระดับนโยบาย และสรางขีดความสามารถในการคาดการณการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่กระทบต่ออุตสาหกรรมแร เพื่อให้เกิดการพัฒนาของภาครัฐในการบริหารจัดการแรที่มีประสิทธิภาพจะต้องครอบคลุมทั้งหวงโซคุณคา ของแรแบบองครวม นอกจากการจัดการในระดับนโยบายแล้ว แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ยังได้กําหนดเปาหมายในการพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแลให้โปรงใสและรวดเร็ว มีระบบกํากับ ติดตาม และตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการขออนุญาตอาชญาบัตรเพื่อการสํารวจแร และการขอประทานบัตรเพื่อการทําเหมืองแร ผานกลไกการทํางานของภาครัฐที่มีการบูรณาการรวมกัน ของหนวยงานที่เกี่ยวของอยางชัดเจน ตลอดจนการติดตามตรวจสอบเฝาระวังปองกันแกไขปญหา สิ่งแวดลอม สุขภาพ และผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องจากกิจการเหมืองแร รวมถึงการจัดสรรผลประโยชน จากการพัฒนาแหลงแรให้กับชุมชนในพื้นที่ทําเหมืองและพื้นที่ใกลเคียงอยางเป็นธรรมและทั่วถึง สอดคลองกับความต้องการในการปองกันแกไขปญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนในระดับทองถิ่น รวมทั้งยังให้ความสําคัญกับการสื่อสารสรางความรูความเขาใจ และการสรางความรวมมือในการบริหารจัดการแร ให้ทุกภาคสวนเล็งเห็นถึงวิสัยทัศนรวมกันในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแรที่ผู้มีสวนได้เสียทุกภาคสวน ได้ประโยชนรวมกันอยางสมดุลและยั่งยืน โดยมีการกําหนดแนวทางการพัฒนาดานการสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน เพื่อมุงทําให้เกิดการเปดเผยขอมูลที่จําเป็นของอุตสาหกรรมแร ต่อสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเขาใจสถานการณจริงรวมกันซึ่งเป็นพื้นฐานของการสรางความรวมมือ ในการบริหารจัดการและเปดโอกาสให้ทุกภาคสวนมีสวนรวมในทุกขั้นตอน อันจะเป็นปรับโฉมการบริหารจัดการแร ของประเทศ โดยพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและ ตอบโจทยความต้องการของประชาชนได้มากยิ่งขึ้น 1.4.2 แผนระดับ 2 1.4.2.1 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ 1 ) ประเด็นการเติบโตอยางยั่งยืน เปาหมาย : สภาพแวดลอมของประเทศไทยมีคุณภาพดีขึ้นอยางยั่งยืน แผนยอย : การสรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว แนวทางการพัฒนา : สงเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน

11 แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการและ การใชประโยชนจากทรัพยากรแรบนพื้นฐานของการเติบโตอยางยั่งยืนบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ซึ่งเป็นการเติบโตที่เนนหลักของการใชประโยชน การอนุรักษ์ รักษา ฟนฟู และสรางฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดแนวทางการพัฒนา ดานการพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร ที่มุงเนน การพัฒนากลไกการอนุญาตและกํากับดูแลให้มีความโปรงใสและรวดเร็ว มีระบบกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ เริ่มตั้งแต่กระบวนการขออนุญาตอาชญาบัตรเพื่อการสํารวจแรและการขอประทานบัตร เพื่อการทําเหมืองแรผานกลไกการทํางานของภาครัฐที่มีการบูรณาการรวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ อยางชัดเจน ตลอดจนการติดตามตรวจสอบเฝาระวังปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอม สุขภาพ และ ผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องจากกิจการเหมืองแร รวมถึงการจัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแร ให้กับชุมชนในพื้นที่ทําเหมืองและพื้นที่ใกลเคียงอยางเป็นธรรมและทั่วถึง สอดคลองกับความต้องการ ในการปองกันแกไขปญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนในระดับทองถิ่น นอกจากนี้ แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ยังได้กําหนดแนวทางการพัฒนา ดานการวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร ซึ่งนอกจากการสงเสริม การใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมเพื่อสรางมูลคาเพิ่มตลอดทั้งหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแรแล้ว การสงเสริมการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อปองกันแกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการพัฒนา แหลงแรและการฟนฟูพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแร ยังนับเป็นแนวทางและกลไกที่มีความสําคัญอยางมาก ในการปองกันและลดผลกระทบจากการทําเหมืองแรต่อสิ่งแวดลอม สุขภาพของประชาชน ตลอดจน ระบบนิเวศที่เกี่ยวของ รวมไปถึงการติดตามแกไขปญหาตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นอีกด้วย เปาหมาย : สภาพแวดลอมของประเทศไทยมีคุณภาพดีขึ้นอยางยั่งยืน แผนยอย : การยกระดับกระบวนทัศนเพื่อกําหนดอนาคตประเทศ แนวทางการพัฒนา : พัฒนาและดําเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน เพื่อกําหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมบนหลักของการมีสวนรวม และธรรมาภิบาล แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดกิจกรรมหลักที่สําคัญเพื่อขับเคลื่อน การบรรลุเปาหมายของแผนแมบทฯ โดยมีกิจกรรมหลักในการปรับปรุงกลไกการมีสวนรวมระดับนโยบาย ในการพิจารณาการกําหนดพื้นที่ศักยภาพแรที่คํานึงถึงนโยบายการใชประโยชนที่ดิน พื้นที่ปา ผลกระทบ ต่อการทองเที่ยว สังคมศิลปวัฒนธรรม และดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ การพัฒนากลไกให้ชุมชนทองถิ่น มีชองทางในการแสดงความคิดเห็นต่อการปรับปรุงแผนการฟนฟูพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองโดยกําหนด เป็นเงื่อนไขแนบทายใบอนุญาต หรือมีสวนรวมในการพัฒนาเหมืองแรเกาหรือประทานบัตรที่สิ้นอายุ มาใชประโยชนอยางเหมาะสมกับสภาพแวดลอมเพื่อให้สามารถสรางประโยชนเชิงเศรษฐกิจชุมชน รวมทั้งมีกิจกรรมหลักในการวิเคราะหความเป็นไปได้และการจัดทําแผนการเสริมสรางการมีสวนรวม ในแต่ละกลุ่มเปาหมายโดยเฉพาะภาคประชาชนเพื่อยกระดับการมีสวนรวมในแต่ละขั้นตอนที่สามารถดําเนินการได้ ตามแนวทางการเสริมสรางความรวมมือและประสานงานระหวางหนวยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแรอีกด้วย ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะเป็นสวนสําคัญ ของการปรับกระบวนทัศนในการบริหารจัดการทรัพยากรแรของประเทศให้สอดคลองกับบริบท ของการพัฒนาประเทศและความต้องการของประชาชนและชุมชนได้อยางมีประสิทธิภาพ

12 2) ประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต เปาหมาย 1 การขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศในสาขา อุตสาหกรรมและบริการ แผนยอย : การพัฒนาระบบนิเวศอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต แนวทางการพัฒนา : ดานสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของอุตสาหกรรม และบริการตลอดหวงโซมูลคาและมีมาตรการสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงตั้งแต่ตนน้ําถึงปลายน้ํา และจัดให้มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดกิจกรรมหลักที่สําคัญ เพื่อสนับสนุน การขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตามแผนยอยของแผนแมบทฯ โดยมีกิจกรรมหลักในการศึกษาวิเคราะห และจัดทําบัญชีรายการวัตถุดิบหรือแรที่มีความสําคัญเป็นอยางมาก (Critical Raw Materials : CRM) เพื่อนําไปสูการกําหนดแรชนิดที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยคํานึงถึง การประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA) สําหรับชนิดแรที่มีความจําเป็น การเพิ่มอัตราการสํารวจ และจําแนกแหลงแรโดยสงเสริมการสํารวจในเขตสําหรับดําเนินการสํารวจ การทดลอง การศึกษา หรือ การวิจัยเกี่ยวกับแร และการสงเสริมให้ภาคเอกชนที่มีขีดความสามารถเขามาชวยเป็นเครือขายการสํารวจ ด้วยการบูรณาการการทํางานรวมกับหนวยงานเจ้าของพื้นที่ การสนับสนุนแหลงทุนในการศึกษาวิจัย และสํารวจแร เพื่อให้ประเทศมีขอมูลพื้นที่ศักยภาพแร แหลงแรสํารอง และบัญชีทรัพยากรแรเพื่อการบริหาร จัดการและเป็นฐานสําหรับการพัฒนาประเทศ รวมไปถึงการสงเสริมสนับสนุนการแสวงหาแหลงวัตถุดิบแร ที่สําคัญจากตางประเทศในชนิดแรที่มีความจําเป็น และสามารถสรางมูลคาเพิ่มด้วยอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ในประเทศ โดยการสรางความรวมมือและผลักดันภาคเอกชนให้สามารถแสวงหาแหลงวัตถุดิบ จากตางประเทศ และการจัดทํานโยบายหรือแนวทางบริหารจัดการกลุ่มแรเศรษฐกิจหรือรายชนิดแร ทั้งนี้ ยังรวมไปถึงการสนับสนุนและผลักดันให้มีการออกมาตรการสงเสริมการลงทุนสําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ทั้งในกระบวนการสํารวจ การทําเหมือง การแต่งแร และการประกอบโลหกรรม โดยกําหนดชนิดแร ประเภทของกิจกรรม รวมทั้งเงื่อนไขในการสงเสริมการลงทุนให้มีความเหมาะสม โดยคํานึงถึงความจําเป็น ความต้องการใชประโยชน การสงเสริมกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และการดึงดูด การลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแขงขันของประเทศ ซึ่งจะเป็นสวนสําคัญในการขับเคลื่อน การพัฒนาระบบนิเวศอุตสาหกรรมของประเทศให้สอดรับกับทิศทางของการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งอนาคต 3 ) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เปาหมายที่ 1 การเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมของพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษทั้งหมดเพิ่มขึ้น แผนยอย : การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก : การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต และ : การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน

13 แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการแรที่มุงเนนการบูรณาการสารสนเทศที่จําเป็นต่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย และ การสรางขีดความสามารถในการคาดการณการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่กระทบต่ออุตสาหกรรมแร ผานการกําหนดนโยบายการบริหารจัดการแรรายชนิดที่สัมพันธกับความจําเป็นในการใชประโยชน ภายในประเทศ เชน แนวทางการบริหารจัดการแรรายชนิดที่ได้เริ่มกําหนดไวตั้งแต่แผนแมบทการบริหาร จัดการแร ฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้แก ทองคํา โพแทช ควอตซ และหินอุตสาหกรรม และยังคงกําหนดให้มีการติดตามผลการดําเนินการอยางต่อเนื่องในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 รวมทั้งยังจําเป็นต้องกําหนดนโยบายการบริหารรายกลุ่มแรที่สําคัญเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคลองกับทิศทาง ความต้องการใชแรของอุตสาหกรรมยุคใหมของไทย ทั้งนี้ การพัฒนาตามแนวนโยบายและเปาหมายดังกลาว ไม่วาจะเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต เชน อุตสาหกรรมยานยนตอนาคต และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ หรือการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่เชื่อมไทยและเชื่อมโลก เชน โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ โครงการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และโครงการรถไฟความเร็วสูง ลวนจําเป็นต้องมีการเตรียมวัตถุดิบ ซึ่งมีองคประกอบของทรัพยากรแรเป็นจํานวนมาก ดังนั้น การบริหารจัดการแรและการพัฒนาอุตสาหกรรม เหมืองแรไทยอยางเหมาะสม จึงเป็นปจจัยสําคัญที่จะเอื้อให้การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรชาติ บรรลุผลลัพธได้ 4 ) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ เปาหมายที่ 1 บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ของผู้ใชบริการ แผนยอย : บริการภาครัฐได้รับการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัลเพิ่มขึ้น เปาหมายที่ 2 ภาครัฐมีการดําเนินการที่มีประสิทธิภาพด้วยการนํานวัตกรรม เทคโนโลยีมาประยุกตใช แผนยอย : การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ เนื่องจากในปจจุบัน การเขาใชประโยชนในพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่งหินอุตสาหกรรม ทั้งการขอสํารวจ และการขออนุญาตทําเหมืองจําเป็นต้องได้รับความเห็นชอบจากชุมชนและประชาชนโดยรอบ ทําให้บางพื้นที่ ที่แมเป็นแหลงแรที่มีศักยภาพแต่ไม่ได้รับการพัฒนา หรือถูกคัดคานไม่ให้ใชพื้นที่ดังกลาวในการทําเหมือง รวมถึงพื้นที่บางสวนที่ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่ต้องหามตามกฎหมายไม่สามารถขออนุญาตทําเหมืองแรได้ สงผลให้จังหวัดหรือภูมิภาคนั้นขาดแคลนวัตถุดิบแรสําหรับใชในการพัฒนาจากเหตุผลดังกลาว จึงเป็นประเด็นสําคัญที่แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 กําหนดกิจกรรมในการสํารวจและ บูรณาการขอมูลพื้นที่ศักยภาพแรวาในปจจุบันยังสามารถเขาไปใชประโยชนได้หรือไม่มีปริมาณสํารอง คงเหลือมากนอยเพียงใด เพื่อให้ทราบถึงปริมาณ แนวโนม คุณสมบัติดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ให้มีขอมูล ที่สามารถนํามาใชบริหารจัดการแรของประเทศ (Big data) ที่สามารถตอบโจทยตรงความต้องการ เพื่อใชกําหนดนโยบายทั้งระบบ ตั้งแต่การกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง การอนุญาต การติดตาม กํากับดูแล จนถึงการฟนฟูและการสงคืนพื้นที่ภายหลังการทําเหมือง ซึ่งจะทําให้การวางแผนการบริหาร จัดการแรในแต่ละพื้นที่และในภาพรวมของทั้งประเทศมีความเหมาะสมเป็นปจจุบัน สามารถตอบสนองต่อ

14 การลงทุน การพัฒนา และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อันจะนําไปสูการบรรลุหมุดหมายตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ตั้งไวได้ นอกจากนี้ ยังจะต้องมีการเชื่อมโยงและพัฒนาระบบฐานขอมูล แบบบูรณาการกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อยกระดับและเพิ่มชองทางการให้บริการประชาชนให้มีความสะดวก รวดเร็วในการดําเนินการ สามารถตรวจสอบได้ ตลอดจนชวยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานและลดขั้นตอน การทํางานของหนวยงานภาครัฐต่อไปด้วย 5 ) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เปาหมายที่ 1 ความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี และดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของประเทศเพิ่มสูงขึ้น แผนยอย : การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ดานเศรษฐกิจ : การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ดานสิ่งแวดลอม ปจจุบันวัตถุดิบคุณภาพสูงที่ใชในการผลิตวัสดุขั้นสูงหรือวัสดุผสมสวนใหญ ต้องนําเขา จากตางประเทศเนื่องจากขอจํากัดดานเทคโนโลยีและศักยภาพในการผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงในประเทศ ซึ่งหากต้องการให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศดําเนินการไปได้ตามแผนที่กําหนด จําเป็นอยางยิ่งที่ต้องเรงสงเสริมและสนับสนุนให้ผู้ผลิตวัตถุดิบในประเทศสามารถพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมไปสูการผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงได้ ซึ่งนอกจากจะชวยสรางความมั่นคงดานวัตถุดิบให้แก อุตสาหกรรมเปาหมายและลดการนําเขาวัตถุดิบคุณภาพสูงจากตางประเทศ ยังทําให้ประเทศไทยสามารถ ปรับเปลี่ยนสถานะจากการเป็นผู้ซื้อและผู้รับถายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงจากตางประเทศ ไปเป็นผู้ผลิตและผู้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตวัตถุดิบคุณภาพได้ด้วยตนเอง ตลอดจนชวยสรางมูลคาเพิ่ม ให้กับหวงโซคุณคาการผลิตวัตถุดิบอุตสาหกรรมของประเทศ ซึ่งเป็นเปาหมายสําคัญที่กําหนดไว ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 อีกด้วย นอกจากการใชทรัพยากรแรให้คุมคาและเกิดประโยชนสูงสุดแล้ว ในอดีตที่ผานมา มีพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแรแล้วและสิ้นอายุแล้วไม่มีการทําเหมืองต่อ พื้นที่เหลานี้บางสวนถูกปลอยให้ ฟนตัวเองโดยธรรมชาติ และหากเป็นพื้นที่ปาไมจะถูกทิ้งรางไม่สามารถเขาไปดําเนินการใด ๆ ได้ ดังนั้น การฟนฟูพื้นที่ระหวางและหลังการทําเหมืองจึงเป็นสิ่งจําเป็น ปจจุบันการฟนฟูพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแร แล้วและการจัดการดานคุณภาพสิ่งแวดลอมในพื้นที่ประกอบการทําเหมืองแรได้ถูกกําหนดไวเป็นเงื่อนไข แนบทายของใบอนุญาตประทานบัตรที่ผู้ประกอบการทําเหมืองแรจําต้องดําเนินการควบคู่ไปพรอมกับ การทําเหมืองแร เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอมแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ซึ่งการฟนฟูพื้นที่การทําเหมืองแร นอกจากจะชวยสราง ภาพลักษณที่ดีต่อการประกอบการเหมืองแรแล้ว ยังเป็นการนําพื้นที่ซึ่งถูกใชประโยชนจากการทําเหมืองแร แล้วกลับมาใชประโยชนดานอื่นได้ โดยในการพัฒนาหรือปรับสภาพพื้นที่เพื่อการใชประโยชนจะขึ้นอยู่กับ วิธีการทําเหมือง สภาพพื้นที่เหมือง และชนิดแร การใชประโยชนที่ดินนั้นอาจเป็นหลายรูปแบบ เชน เป็นปาไมใชในการเกษตรกรรม เป็นอางเก็บน้ํา เป็นสวนสาธารณะหรือสถานที่ที่พักผอนหยอนใจ ของประชาชน ซึ่งจะกอให้เกิดประโยชนจากการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติหรือใชประโยชนจากพื้นที่ ที่ผานการทําเหมืองแรแล้วให้สอดคลองกับความต้องการของชุมชนเพื่อให้เกิดการอยู่รวมกันได้อยางยั่งยืน

15 1.4.2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570 ) เปาหมายหลักการพัฒนา โดยมีเปาหมายหลักการพัฒนาที่เกี่ยวของ ได้แก 3.1.1 การปรับโครงสรางภาคการผลิตและบริการสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม มุงยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการสําคัญ ผานการผลักดันสงเสริม การสรางมูลคาเพิ่ม โดยใชนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรางสรรค ที่ตอบโจทยพัฒนาการของสังคม ยุคใหมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม พรอมทั้งให้ความสําคัญกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจทองถิ่นและ ผู้ประกอบการรายยอยกับหวงโซมูลคาของภาคการผลิตและบริการเปาหมาย รวมถึงพัฒนาระบบนิเวศ ที่สงเสริมการคาการลงทุนและนวัตกรรม 3.1.4 การเปลี่ยนผานการผลิตและบริโภคไปสูความยั่งยืน มุงลดการกอมลพิษ ควบคู่ไปกับการผลักดันให้เกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับขีดความสามารถ ในการรองรับของระบบนิเวศ ตลอดจนลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุ เปาหมายความเป็นกลางทางคารบอนภายในป พ.ศ. 2593 และบรรลุเปาหมายการปลอยกาซเรือนกระจก สุทธิเป็นศูนยภายในป พ.ศ. 2608 3.1.5 การเสริมสรางความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยง ภายใตบริบทโลกใหม มุงสรางความพรอมในการรับมือและแสวงหาโอกาสจากการเป็นสังคม สูงวัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยโรคระบาด และภัยคุกคามทางไซเบอร พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และกลไกทางสถาบันที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล รวมทั้งปรับปรุงโครงสรางและระบบการบริหารงาน ของภาครัฐให้สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของบริบททางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ได้อยางทันเวลา มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล หมุดหมายการพัฒนา โดยมีหมุดหมายการพัฒนาที่เกี่ยวของ ได้แก 3.3.1 ) มิติภาคการผลิตและบริการเปาหมาย หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนตไฟฟาที่สําคัญของโลก เปาหมายที่ 2 ผู้ประกอบการเดิมสามารถปรับตัวไปสูการผลิตยานยนตไฟฟา และมีการลงทุนเทคโนโลยียานยนตไฟฟาที่สําคัญภายในประเทศ ตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดที่ 2.1 อุตสาหกรรมยานยนตไทยเป็นฐานการผลิตอันดับ 1 ในอาเซียน และอยู่อันดับ 1 ใน 10 ของโลก • ตัวชี้วัดที่ 2.2 มูลคาสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา และชิ้นสวนรวมไม่นอยกวา 130 , 000 ลานบาท ภายในป พ.ศ. 2570 • ตัวชี้วัดที่ 2.3 จํานวนผู้ประกอบการในหวงโซอุปทานของยานยนตไฟฟา เพิ่มขึ้นไม่นอยกวา 14 ราย และ เกิดการลงทุนเทคโนโลยีสําคัญของยานยนตไฟฟาในประเทศไทย ภายในป พ.ศ. 2570

16 กลยุทธการพัฒนา กลยุทธที่ 3 การกําหนดเปาหมาย/แผน และดําเนินการเปลี่ยนผานอุตสาหกรรม ยานยนตเดิมไปสูยานยนตไฟฟา อยางเป็นระบบชัดเจนตลอดทั้งหวงโซอุปทาน ในระยะ 5 ป • กลยุทธยอยที่ 3.1 สงเสริมให้ไทยเป็นศูนยกลางฐานการผลิตยานยนต ไฟฟา • กลยุทธยอยที่ 3.3 สงเสริมให้เกิดการสรางฐานการผลิตแบตเตอรี่ รวมถึงชิ้นสวนสําคัญ • กลยุทธยอยที่ 3.8 ศึกษาและกําหนดแนวทางการกําจัดซากรถยนต และซากชิ้นสวนยานยนตที่ใชแล้วในประเทศไทย กลยุทธที่ 4 ขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทยในการลงทุนผลิตยานยนต ไฟฟา แบตเตอรี่ และชิ้นสวนสําคัญ • กลยุทธยอยที่ 4.3 สงเสริมการนําเทคโนโลยี หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง เปาหมายที่ 1 ไทยมีศักยภาพในการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจจากสินคา และบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดที่ 1.1 สัดสวนมูลคาเพิ่มสินคาและบริการสุขภาพต่อผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศอยู่ที่รอยละ 1.7 กลยุทธการพัฒนา กลยุทธที่ 3 การสรางมูลคาเพิ่มให้อุตสาหกรรมทางการแพทยและสุขภาพ • กลยุทธยอยที่ 3.3 สงเสริมการลงทุนและการนําผลิตภัณฑ ทางการแพทยและสุขภาพออกสูตลาด 3.3.3 ) มิติความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ํา เปาหมายที่ 2 การอนุรักษ์ ฟนฟู และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน ตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดที่ 2.1 คะแนนดัชนีสมรรถนะดานสิ่งแวดลอมดีขึ้น ติดอันดับ 1 ใน 4 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีคะแนนไม่นอยกวา 55 คะแนน ในป พ.ศ. 2570 เปาหมายที่ 3 การสรางสังคมคารบอนต่ําและยั่งยืน • ตัวชี้วัดที่ 3.2 การนําขยะกลับมาใชประโยชนใหมเพิ่มขึ้น โดยมีอัตรา การนําขยะกลับมาใชใหมของประเทศ ไม่ต่ํากวารอยละ 40 ของปริมาณขยะที่นํากลับมาใชใหมได้ ภายในป พ.ศ. 2570

17 กลยุทธการพัฒนา กลยุทธที่ 1 การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน และสังคมคารบอนต่ํา • กลยุทธยอยที่ 1.1 เพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมและบริการ โดยการพัฒนาสินคา บริการและตลาดที่สรางมูลคาเพิ่ม • กลยุทธยอยที่ 1.2 เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินคาและบริการ ตามแนวทางทางเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ํา กลยุทธที่ 3 การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากร อยางชาญฉลาดบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • กลยุทธยอยที่ 3.1 สรางฐานทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิต ให้เพียงพอและมีการใชอยางมีประสิทธิภาพ • กลยุทธยอยที่ 3.2 ใชทรัพยากรธรรมชาติจากสวนเหลือของกระบวนการ ผลิตให้เกิดประโยชนที่หลากหลายปราศจากเศษเหลือและของเสียจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และ ขยะอาหาร • กลยุทธยอยที่ 3.3 บริหารจัดการกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม กับศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ กลยุทธที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และกลไกสนับสนุนเศรษฐกิจ หมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ํา • กลยุทธยอยที่ 4.3 พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการลด และหมุนเวียนการใชทรัพยากร และเพิ่มมูลคาของเสีย • กลยุทธยอยที่ 4.4 สงเสริมเทคโนโลยีการดักจับ การใชประโยชน และการกักเก็บคารบอน • กลยุทธยอยที่ 4.6 พัฒนาฐานขอมูล/องคความรู/มาตรฐาน/กฎหมาย/ มาตรการสนับสนุนและสรางแรงจูงใจ กลยุทธที่ 5 การปรับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและการดํารงชีพเขาสูวิถีชีวิตใหม อยางยั่งยืน • กลยุทธยอยที่ 5.1 สรางความตระหนักรูให้เกิดในสังคม • กลยุทธยอยที่ 5.2 สรางแรงจูงใจ และทัศนคติในการดํารงชีวิตของ ผู้บริโภคเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสูการบริโภคที่ยั่งยืน 3.3.4 ) มิติปจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทยประชาชน เปาหมายที่ 1 การบริการภาครัฐ มีคุณภาพ เขาถึงได้ ตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดที่ 1.1 ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของภาครัฐ ไม่นอยกวารอยละ 90

18 กลยุทธการพัฒนา กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการภาครัฐที่ตอบโจทย สะดวก และประหยัด • กลยุทธยอยที่ 1.2 ทบทวนกระบวนการทํางานของภาครัฐควบคู่กับพัฒนา การบริการภาครัฐในรูปแบบดิจิทัลแบบเบ็ดเสร็จ กลยุทธที่ 2 ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการและโครงสรางของภาครัฐให้ยืดหยุน เชื่อมโยง เปดกวาง และมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ • กลยุทธยอยที่ 2.2 สรางความโปรงใสและธรรมาภิบาลภาครัฐ กลยุทธที่ 3 ปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่ใชขอมูลในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาประเทศ • กลยุทธยอยที่ 3.1 ปรับเปลี่ยนขอมูลภาครัฐทั้งหมดให้เป็นดิจิทัล • กลยุทธยอยที่ 3.2 ปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานภาครัฐเป็นดิจิทัล กลยุทธที่ 4 สรางระบบบริหารภาครัฐที่สงเสริมการปรับเปลี่ยนและพัฒนา บุคลากรให้มีทักษะที่จําเป็นในการให้บริการภาครัฐดิจิทัล และปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ มาตรการภาครัฐ ให้เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ • กลยุทธยอยที่ 4.1 ปรับระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐเพื่อดึงดูด และรักษาผู้มีศักยภาพมาขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ 1.4.2.3 แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง (25 กุมภาพันธ 2564 ) 1) ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปาหมาย 2) มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการมีสวนรวมของทุกภาคสวนตามแนวทางประชารัฐ เพื่อลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเป็นธรรม สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ กฎหมายที่เกี่ยวของและขอตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก โดยยึดถือผลประโยชนของประเทศ 3) ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการรักษาและฟนฟูให้มีความสมบูรณและยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม 4) เกิดความสมดุลระหวางการอนุรักษ์และการใชประโยชน ลดความขัดแยง ของการพัฒนาที่ใชฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบสิ่งแวดลอม และลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2) ดานเศรษฐกิจ กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การเป็นศูนยกลางดานการคาและการลงทุนของไทย ในภูมิภาค (Regional Trading/ Investment Center) ประเด็นสําคัญ 1) พัฒนาดานโลจิสติกสเพื่อสรางความเชื่อมโยง ( c onnectivity) เปาหมาย ประเทศไทยเป็นศูนยกลางดานการคาและการลงทุนในภูมิภาค

19 1.4.3 แผนระดับ 3 1.4.3.1 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 25580 ) ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแรได้นําแนวนโยบายการบริหารจัดการแรมาใชเป็นกรอบแนวทาง และขอมูลตั้งตน โดยพิจารณารวมกับบริบทของสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการแร ดังนั้น เพื่อให้บรรลุตามเปาหมายในการพัฒนาที่กําหนดไว คือ “ การบริหารจัดการทรัพยากรแรแบบองครวม เพื่อสนับสนุนวัตถุดิบให้เป็นฐานการผลิตเพื่อการพัฒนาประเทศ ยกระดับคุณภาพชีวิตเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และสุขภาพประชาชน” จึงกําหนดยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ออกเป็น 4 ยุทธศาสตร โดยพิจารณาจากหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 : ดานการพัฒนากลไกการบริหารระดับนโยบาย และ การจัดการโครงสรางพื้นฐานรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมแร มี 4 ประเด็นยุทธศาสตร ได้แก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1.1 การพัฒนาระบบขอมูลเพื่อใชในการบริหารจัดการ การตัดสินใจและคาดการณสถานการณในอนาคต ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1.2 การปรับกฎหมาย กฎระเบียบเพื่อสงเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมแร ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1.3 การสงเสริมเชิงนโยบายเพื่อให้เกิดแรงขับเคลื่อน ในการผลิตแร ที่มีความต้องการสูง หรือเป็นแรที่จําเป็นต่อความสามารถในการแขงขันของประเทศ ( demand driven) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1.4 การสงเสริมนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) ยุทธศาสตรที่ 2 : ดานบริหารจัดการแรตลอดหวงโซคุณคา และเสริมสราง ขีดความสามารถการแขงขัน มี 4 ประเด็นยุทธศาสตร ได้แก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2.1 การเตรียมแรพื้นฐานให้ตอบสนองและ ทันต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศในอนาคต ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2.2 การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ บุคลากร พรอมทั้ง สงเสริมการใชเทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสรางประโยชนตลอดทั้ง กระบวนการหวงโซคุณคา ของอุตสาหกรรมแรเพื่อสรางความได้เปรียบทางการแขงขันของประเทศ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2.3 การพัฒนากระบวนการของรัฐในการจัดการสิทธิ และการให้อนุญาตในอุตสาหกรรมแรที่เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2.4 การวิจัยพัฒนาแรที่มีศักยภาพให้เป็นแรยุทธศาสตร ของประเทศ ยุทธศาสตรที่ 3 : ดานการสรางดุลยภาพการบริหารจัดการแรอยางยั่งยืน มี 3 ประเด็น ยุทธศาสตร ได้แก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3.1 การพัฒนากลไกและระบบ การจัดทําการประเมิน สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรที่ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ

20 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3.2 การจัดการผลกระทบต่อชุมชน สังคม สาธารณสุข และสิ่งแวดลอมอยางบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3.3 การพัฒนากลไกและระบบการสรางผลประโยชน และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนที่เกี่ยวของในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมจากกิจกรรม ในหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแร ยุทธศาสตรที่ 4 : ดานการสื่อสาร และการสรางการมีสวนรวม ตามหลักธรรมาภิบาล มี 3 ประเด็นยุทธศาสตร ได้แก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4.1 การบริหารจัดการผู้มีสวนได้เสียในการเปดขอมูล สาธารณะ ( Open data) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4.2 การบูรณาการรวมมือและการสรางการมีสวนรวม ของทุกภาคสวนในการบริหารจัดการแรตลอดทั้งหวงโซคุณคาอยางสรางสรรค ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4.3 การจัดการผลประโยชนจากการพัฒนา แหลงแรให้กับชุมชนทองถิ่นและพื้นที่ใกลเคียงที่ได้รับผลกระทบ 1.4.3.2 นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579 ) นโยบายที่ 1 จัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติอยางมั่นคงเพื่อความสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน มุงเนนให้เกิดความสมดุลในการอยู่รวมกับธรรมชาติอยางกลมกลืน โดยสงวนและอนุรักษ์ พื้นที่ที่ยังคงมีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติและมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงไว เพื่อให้มีระบบ นิเวศที่ สมดุลต่อไป รวมถึงจัดให้มีระบบการเขาถึง แบงปนและใชประโยชน จากทรัพยากรธรรมชาติ อยางเป็นธรรม โดยจํากัดการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่เกินอัตราฟนฟูเพื่อความยั่งยืน ซึ่งฐานทรัพยากรธรรมชาติดังกลาวครอบคลุมทุกสาขา คือ ทรัพยากรปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรดินและที่ดิน ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรทางทะเลและชายฝง รวมทั้ง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติในลักษณะองครวมเพื่อรักษาความมั่นคงทางดานอาหาร น้ํา และพลังงาน นโยบายที่ 3 ยกระดับมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ให้ความสําคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกตาง ๆ ทั้งทางกฎหมาย และเศรษฐศาสตร การจัดทําและพัฒนาระบบฐานขอมูล รวมถึงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเป็นปจจัยเชิงยุทธศาสตรสําคัญที่จะชวยผลักดันให้การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเป็นไปอยางเหมาะสม เป็นเชิงรุกและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งชวยขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศให้มีการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม

21 รูปที่ 1 นโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ระดับชาติในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแร่ของประเทศ ความเชื่อมโยงของแผนแม่บทการบริหารจ ัดการแร่ ฉบ ับที่ 2 ก ับยุทธศาสตร์และแผนที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ชาติ ( 2561 – 2580 ) ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งข ัน ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป ็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แผนแม่บท ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 4.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 4.2.2 อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร 4.4 โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ข ้อ 4.4.1 เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร ้รอยต่อ ข ้อ 4.4.2 สร ้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4.5 พ ัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ ข ้อ 4.5.5 ปรับบทบาทและโอกาสการเข ้าถึงบริการภาครัฐ 4.1 สร้างการเติบโตอย่างย ั่งยืนบนส ังคมเศรษฐกิจสีเขียว 4.1.5 ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 4.4 พ ัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 4.4. 1 จัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตาม ศักยภาพ และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป ็ นเอกภาพ 4.6 ยกระด ับกระบวนท ัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ 4.6.2 พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดล ้อม 4.6.3 จัดโครงสร ้างเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นร่วม ด ้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อมที่สาคัญ (4) อุตสาหกรรมและ บริการแห่งอนาคต มุ่ง ข ับเคลื่อน ภาคอุตสาหกรรมและ บริการด้วยเทคโนโลยี และนว ัตกรรม บนฐาน ของการใช้ประโยชน์ จากทร ัพยากรแร่เป ็ น ว ัตถุดิบ • แผนย่อยอุตสาหกรรม และบริการการแพทย์ครบ วงจร • แผนย่อยการพัฒนา ระบบนิเวศอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต (9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ เน้นการข ับเคลื่อนการ พ ัฒนาเชิงพื้นที่ที่สำค ัญ ใช้ประโยชน์จาก ทร ัพยากรในพื้นที่ผสาน เทคโนโลยี รวมท ั ้ง อนุร ักษ์และฟื้นฟู ทร ัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • แผนย่อยการพัฒนา EEC • แผนย่อยการพัฒนา SEC • แผนย่อยการพัฒนาเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน (18) การเติบโตอย่างย ั่งยืน ให้ ความสำค ัญก ับการเติบโตอย่าง ย ั่งยืนบนคุณภาพชีวิตที่เป ็ นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป ็ นการเติบโต ที่เน้นหล ักของการใช้ประโยชน์ การอนุร ักษ์ ร ักษา ฟื้นฟูและ สร้างใหม่ฐานทร ัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างย ั่งยืน • แผนย่อยการสร ้างการเติบโตอย่าง ยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว • แผนย่อยการยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกำหนดอนาคต (23) การวิจ ัยและพ ัฒนานว ัตกรรม ให้ การดำเนินการวิจ ัยและพ ัฒนา นว ัตกรรมของประเทศไทยสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของ ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศ ยกระด ับภาคการผลิตและบริการ แก้ไขปัญหาของส ังคม พ ัฒนาการ บริหารจ ัดการภาคร ัฐ รวมท ั ้งร ักษาและ ฟื้นฟูทร ัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศ • แผนย่อยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ด ้านเศรษฐกิจ • แผนย่อยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ด ้านสิ่งแวดล ้อม แผนปฏิรูป ประเทศ (25 ก . พ .2564 ) ด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การเป็น ศูนย์กลางด ้านการค ้าและการ ลงทุนของไทยในภูมิภาค ( Regional Trading/ Investment Center) ประเด็นสาคัญ 1 ) พัฒนา ด ้านโลจิสติกส์เพื่อสร ้างความ เชื่อมโยง ( Connectivity) เป้าหมาย ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางด ้านการค ้าและการ ลงทุนในภูมิภาค ตัวชี้วัด 2.3 ) อันดับของมูลค่า การลงทุนทางตรงจาก ต่างประเทศในประเทศไทยอยู่ ในอันดับ 1 ใน 3 ของอาเซียน 3. ฐานการผลิตยานยนต์ ไฟฟ ้ ำที่สาค ัญของโลก กลยุทธ์ 3 . แผนการเปลี่ยนผ่าน ไปสู่ ยานยนต์ไฟฟ้าตลอดทั้ง ห่วงโซ่อุปทานในระยะ 5 ปี 3.1 ) ส่งเสริมให ้ไทยเป็น ศูนย์กลางฐานการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า และส่งเสริมให ้ ผู ้ประกอบการสามารถผลิต ชิ้นส่วนที่เป็นเทคโนโลยีหลัก 3.3 ) สร ้างฐานการผลิตแบตเตอรี่ รวมถึงชิ้นส่วนสาคัญ 3.8 ) ศึกษาแนวทางการกำจัด ซากรถยนต์และชิ้นส่วน และ ส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน กลยุทธ์ 4 . ขีดความสามารถของ ผู ้ประกอบการในผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า แบตเตอรี่และชิ้นส่วน สาคัญ 4.3 ) ส่งเสริมการนาเทคโนโลยี มาใช ้ในการบริหารจัดการการ ผลิต 4 . ศูนย์กลางทาง การแพทย์และสุขภาพ มูลค่าสูง กลยุทธ์ 3. การสร ้าง มูลค่าเพิ่มให ้ อุตสาหกรรมทางการ แพทย์และสุขภาพ 3.3 ส่งเสริมการลงทุน และการนำผลิตภัณฑ์ ทางการแพทย์และ สุขภาพออกสู่ตลาด 10 . เศรษฐกิจหมุนเวียนและส ังคมคาร์บอนต่า กลยุทธ์ 1 . การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการตามหลัก CE & LCS 1.1 ) เพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมและบริการ โดยการพัฒนาสินค ้า บริการและตลาดที่สร ้างมูลค่าเพิ่ม 1.2 ) เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค ้าและบริการ กลยุทธ์ 3 . การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มประสิทธิภาพการใช ้ ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดบนหลักคิด SEP 3.1 ) ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทาง ชีวภาพ 3.2 ) สร ้างฐานทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตให ้เพียงพอและมีการ ใช ้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 ) ใช ้ทรัพยากรธรรมชาติจากส่วนเหลือให ้เกิดประโยชน์ที่ หลากหลายปราศจากเศษเหลือและของเสียจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม Food waste 3.4 ) กำหนดเขตพื้นที่เพื่อการใช ้ประโยน์ให ้เหมาะสมกับศักยภาพ ของทรัพยากร กลยุทธ์ 4 . การพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และกลไกสนับสนุน CE & LCS 4.3 ) พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการลดและหมุนเวียน การใช ้ทรัพยากร และเพิ่มมูลค่าของเสีย 4.4 ) ส่งเสริมเทคโนโลยีการดักจับ การใช ้ประโยขน์ และการกักเก็บ คาร์บอน ( Carbon Capture, Utilization and storage: CCUS) 4.6 ) พัฒนาฐานข ้อมูล/ องค์ความรู ้/ มาตรฐาน/ กฎหมาย/ มาตรการ สนับสนุนและสร ้างแรงจูงใจ กลยุทธ์ 5 . การปรับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและการดารงชีพเข ้าสู่วิถี ชีวิตใหม่อย่างยั่งยืน 5.1 ) สร ้างความตระหนักรู ้ให ้เกิดในสังคม 5.2 ) สร ้างแรงจูงใจ และทัศนคติในการดารงชีวิตของผู ้บริโภคเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่การบริโภคที่ยั่งยืน 13 . ภาคร ัฐที่ท ันสม ัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน กลยุทธ์ 1 . พัฒนาคุณภาพการให ้บริการ ภาครัฐที่ตอบโจทย์ สะดวก และประหยัด 1.2 ) ทบทวนกระบวนการทำงานของ ภาครัฐควบคู่กับพัฒนาการบริการภาครัฐ ในรูปแบบดิจิทัลแบบเบ็ดเสร็จ กลยุทธ์ 2 . ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ และโครงสร ้างของภาครัฐให ้ยืดหยุ่น เชื่อมโยง เปิดกว ้าง และมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการ พัฒนาประเทศ 2.2 ) สร ้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใส ในการทำงานของภาครัฐ กลยุทธ์ 3 ปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาล ดิจิทัลที่ใช ้ข ้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาประเทศ 3.1 ) ปรับเปลี่ยนข ้อมูลภาครัฐทั้งหมดให ้ เป็นดิจิทัล 3.2 ) ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานภาครัฐ เป็นดิจิทัล กลยุทธ์ 4 . สร ้างระบบบริหารภาครัฐที่ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนและพัฒนา บุคลากร ให ้มีทักษะ ที่จาเป็นในการ ให ้บริการภาครัฐ ดิจิทัล และปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ มาตรการภาครัฐให ้เอื้อ ต่อการพัฒนาประเทศ แผน พ ัฒนาฯ ฉบ ับที่ 13 ยุทธศาสตร์ การบริหาร จ ัดการแร่ 20 ปี (256 1 -25 80 ) ยุทธศาสตร์ด้านการพ ัฒนากลไกการบริหารระด ับ นโยบาย และการจ ัดการโครงสร้างพื้นฐานรองร ับการ พ ัฒนาอุตสาหกรรมแร่ ประเด็น 1. 1 การพัฒนาระบบข ้อมูลเพื่อใช ้ในการบริหารจัดการ การ ตัดสินใจ และคาดการณ์สถานการณ์ในอนาคต 1.2 การปรับกฎหมาย กฎระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมแร่ 1. 3 การส่งเสริมเชิงนโยบายเพื่อให ้เกิดแรงขับเคลื่อนในการ ผลิตแร่ที่มีความต ้องการสูง หรือเป็นแร่ที่จาเป็นต่อ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ( Demand Driven ) 1. 4 การส่งเสริมนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) ยุทธศาสตร์ด้านบริหารจ ัดการแร่ตลอดห่วงโซ่คุณค่า และเสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งข ัน ประเด็น 2.1 การเตรียมแร่พื้นฐานให ้ตอบสนองและทันต่อความต ้องการ ของภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาโครงสร ้างพื้นฐานของ ประเทศในอนาคต 2.2 การพัฒนาศักยภาพของผู ้ประกอบการ บุคลากร พร ้อมทั้ง ส่งเสริมการใช ้เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร ้างประโยชน์ ตลอดทั้งกระบวนการห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมแร่เพื่อสร ้าง ความได ้เปรียบทางการแข่งขันของประเทศ 2.3 การพัฒนากระบวนการของรัฐในการจัดการสิทธิ และการให ้ อนุญาตในอุตสาหกรรมแร่ที่เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ 2.4 การวิจัยพัฒนาแร่ที่มีศักยภาพ ( Potential) ให ้เป็นแร่ ยุทธศาสตร์ของประเทศ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างดุลยภาพการ บริหารจ ัดการแร่อย่างย ั่งยืน ประเด็น 3.1 การพัฒนากลไกและระบบ การจัดทำการ ประเมินสิ่งแวดล ้อมระดับยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ 3.2 การจัดการผลกระทบต่อชุมชน สังคม สาธารณสุข และสิ่งแวดล ้อมอย่างบูรณาการ 3.3 การพัฒนากลไกและระบบการสร ้าง ผลประโยชน์ และความเป็นอยู่ที่ดีของ ประชาชนที่เกี่ยวข ้องในด ้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล ้อมจากกิจกรรมในห่วงโซ่คุณค่า ของอุตสาหกรรมแร่ ยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสาร และการสร้างการมี ส่วนร่วมตามหล ักธรรมาภิบาล ประเด็น 4.1 การบริหารจัดการผู ้มีส่วนได ้เสียในการเปิดข ้อมูล สาธารณะ ( Open data) เพื่อธรรมาภิบาล 4.2 การบูรณาการร่วมมือและการสร ้างการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการแร่ตลอดทั้ง ห่วงโซ่คุณค่าอย่างสร ้างสรรค์ 4.3 การจัดการผลประโยชน์จากการพัฒนาแหล่งแร่ ให ้กับชุมชนท ้องถิ่นและพื้นที่ใกล ้เคียงที่ได ้รับ ผลกระทบ นโยบาและ แผนการ ส่งเสริม และร ักษา คุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ (2560-2579) นโยบายที่ 3 ยกระด ับมาตรการในการบริหารจ ัดการ ทร ัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 3.2 ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช ้เครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม ข ้อ 3.2.1 ส่งเสริมการใช ้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล ้อมและ นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล ้อม ข ้อ 3.2.3 ผลักดันให ้มีการใช ้เครื่องมือเชิงนโยบายเพื่อการตัดสินใจในการ พัฒนาพื้นที่ขนาดใหญ่ นโยบายที่ 1 จ ัดการฐานทร ัพยากรธรรมชาติอย่างม ั่นคงเพื่อความสมดุล เป ็ นธรรม และย ั่งยืน นโยบายที่ 1.1 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช ้ประโยชน์ฐานทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล ยั่งยืน และเป็นธรรม ประเด็น 1.1.5 การจัดการทรัพยากรธรณี ข ้อ 1.1.5.1 อนุรักษ์ทรัพยากรแร่ ข ้อ 1.1.5.2 จัดทาฐานข ้อมูลพื้นที่ศักยภาพแร่ของประเทศ ข ้อ 1.1.5.3 ควบคุม และกำกับดูแลการบริหารจัดการเหมืองแร่ให ้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล ้อมและสุขภาพ ด้านการปร ับสมดุลและพ ัฒนาระบบการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ 4.1 ภาคร ัฐที่ยึดประชาชนเป ็ นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 4.1.1 การให ้บริการสาธารณะของภาครัฐได ้มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนวหน ้าของภูมิภาค 4.1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให ้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา ประยุกต์ใช ้ 4.4 ภาคร ัฐมีความท ันสม ัย 4.4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให ้ทันสมัย 4.7 กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมก ับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป ็ น 4.7.1 ภาครัฐจัดให ้มีกฎหมายที่สอดคล ้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลง ( 20 ) การบริการ ประชาชนและ ประสิทธิภาพภาคร ัฐ • แผนย่อยการพัฒนา บริการประชาชน • แผนย่อยการพัฒนาระบบ บริหารงานภาครัฐ การพ ัฒนากลไกการอนุญาต กาก ับดูแล และการจ ัดสรรผลประโยชน์จาก การใช้ทร ัพยากรแร่ 1 . มีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนากลไกการอนุญาต กำกับดูแลที่โปร่งใสและ รวดเร็ว โดยคานึงถึงกระบวนการมีส่วนร่วม และมีระบบกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การประกอบกิจการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ 2 . มีการปรับปรุงระบบจัดสรรและใช ้ผลประโยชน์จากการพัฒนาแหล่งแร่อย่างเป็น ธรรมและทั่วถึงสอดคล ้องกับความต ้องการในการป้องกันแก ้ไขปัญหาและพัฒนา ความเป็นอยู่ของชุมชนในระดับท ้องถิ่น การพ ัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจ ัดการแร่ 1 . ประเทศไทยมีบัญชีทรัพยากรแร่และข ้อมูลที่เกี่ยวข ้องเพื่อเป็นฐานสาหรับการบริหารจัดการแร่ โดยเฉพาะในชนิดแร่เป้าหมายที่สาคัญ โดยสอดคล ้องกับสภาพความเป็นจริง ผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล ้อมและสุขภาพของประชาชน และคานึงถึงการตอบสนองความต ้องการใช ้วัตถุดิบแร่ใน อุตสาหกรรมยุคใหม่ของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์การใช ้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อย่างเหมาะสมและยั่งยืน 2 . เกิดการลงทุนเพื่อสารวจทรัพยากรแร่เป้าหมายที่สาคัญต่อการปฏิรูปสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่ของ ประเทศมากขึ้น เพื่อนาไปสู่การกำหนดเป็นพื้นที่ศักยภาพแร่สาหรับรองรับการตอบสนองความ ต ้องการใช ้วัตถุดิบแร่ตามทิศทางการพัฒนาประเทศ 3 . มีการกำหนดนโยบายบริหารจัดการแร่ให ้เกิดประโยชน์สูงสุดที่มีความเฉพาะและเหมาะสมกับชนิด แร่หรือพื้นที่นั้น ๆ โดยคานึงถึงความจาเป็นและความต ้องการใช ้ประโยชน์ของประเทศเป็นหลัก แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ( BCG Model) รวมถึงการ ปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมเหมืองแร่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภาวะวิกฤติและทิศทางใหม่ในอนาคต การวิจ ัยพ ัฒนานว ัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์จากแร่ 1 . เกิดการสร ้างและพัฒนาองค์ความรู ้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นามาใช ้ในการเพิ่มมูลค่าแร่ การนาของเสียหรือ วัสดุเหลือใช ้กลับมาใช ้ใหม่ให ้เป็นแหล่งวัตถุดิบทดแทนในอุตสาหกรรมยุคใหม่และอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ มีฐาน วัตถุดิบด ้านแร่ที่มั่นคงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ภายใต ้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียน และสอดคล ้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่ 2 . มีการพัฒนาองค์ความรู ้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการป้องกันแก ้ไขปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อม และการ ใช ้ประโยชน์จากพื้นที่การทำเหมืองทั้งในระหว่างการทำเหมือง และภายหลังสิ้นสุดการ ทาเหมืองให ้เกิดประโยชน์สูงสุด การป้องกันและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชนเพื่อเป็นองค์ประกอบไปสู่ การอยู่ร่วมกันของการพัฒนาและแร่และการ พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน 3 . ผู ้ประกอบการด ้านแร่ได ้รับการส่งเสริม สนับสนุนและกากับดูแลให ้สถานประกอบการดาเนินกิจการ ที่มีมาตรฐานด ้าน เศรษฐกิจหมุนเวียน การสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 1 . มีการเสริมสร ้างและส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อมุ่งเน ้นให ้ประชาชนทั่วไป และชุมชนในระดับ ท ้องถิ่นมีความรู ้ ความเข ้าใจ และความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการแร่ที่สูงขึ้น 2 . เกิดการสนับสนุนให ้เข ้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแร่ในกระบวนงานต่าง ๆ และชุมชนใน ระดับท ้องถิ่นพร ้อมที่จะให ้ความร่วมมือในการร่วมบริหารจัดการแร่ แผนแม่บทการ บริหารจ ัดการแร่ ฉบ ับที่ 2 ด้านทร ัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 2 ) มีระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อมที่มี ประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ เพื่อลดความ เหลื่อมล้า สร ้างความเป็นธรรม สอดคล ้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข ้องและ ข ้อตกลงระหว่างประเทศ ที่ประเทศไทยเป็น ภาคีสมาชิก โดยยึดถือผลประโยชน์ของ ประเทศ ตัวชี้วัด อันดับของประเทศด ้านความยั่งยืน และคุณภาพสิ่งแวดล ้อมในระดับโลก ( SDGs) ปี 64-65 ไทยอยู่ในอันดับต่ากว่า 50 ประเทศแรกของโลก เป้าหมาย 3 ) ทรัพยากรธรรมชาติได ้รับการ รักษาและฟื้นฟูให ้มีความสมบูรณ์และยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล ้อม เป้าหมาย 4 ) เกิดความสมดุลระหว่างการ อนุรักษ์และการใช ้ประโยชน์ ลดความขัดแย ้ง ของการพัฒนาที่ใช ้ฐานทรัพยากรธรรมาติ บรรเทาผลกระทบสิ่งแวดล ้อม และลดภัย พิบัติทางธรรมชาติ ตัวชี้วัด อันดับความหลากหลายทางพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และถิ่นที่อยู่ในระดับโลก ( BHI) ปี 64-65 ไทยอยู่ในอันดับต่ากว่า 114 ประเทศ แรกของโลก แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 แผนระดับ 3 แผนระดับ 2 แผนระดับ 2

2 2 1.5 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580 ) ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) จัดทําขึ้นเพื่อเป็นกรอบทิศทาง ในการบริหารจัดการแรของประเทศในระยะ 20 ป เพื่อให้การบริหารจัดการแรเกิดประโยชนสูงสุด ภายใตดุลยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชนตามหลักการและเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 โดยการจัดทํายุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ได้วางกรอบทิศทาง การบริหารจัดการแรของประเทศเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยพัฒนาไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสอดคลองกับแผนระดับชาติตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร เชน ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ โดยยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ได้กําหนดเปาหมายยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป คือ “ การบริหารจัดการทรัพยากรแรแบบองครวม เพื่อสนับสนุนวัตถุดิบให้เป็นฐานการผลิตเพื่อการพัฒนา ประเทศ ยกระดับคุณภาพชีวิต เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และสุขภาพประชาชน ” ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ได้กําหนดแนวนโยบายเปาหมายการบริหาร จัดการแร 20 ป ในเปาหมาย 4 ประเด็นหลัก ได้แก (1) ประเทศมีความมั่นคงของฐานทรัพยากรแร และวัตถุดิบ เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน (2) การนําแร มาใชประโยชนต้องมีดุลยภาพทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน (3) การพัฒนากลไกการบริหารจัดการแรตามหลักธรรมาภิบาล และ (4) การเสริมสรางและสงเสริม การมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร โดยมี 4 ยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนเพื่อให้บรรลุเปาหมายการพัฒนา ที่กําหนดไวประกอบด้วย ยุทธศาสตรที่ 1 : ดานการพัฒนากลไกการบริหารระดับนโยบายและการจัดการโครงสราง พื้นฐานรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมแร ยุทธศาสตรที่ 2 : ดานบริหารจัดการแรตลอดหวงโซคุณคาและเสริมสรางขีดความสามารถ การแขงขัน ยุทธศาสตรที่ 3 : ดานการสรางดุลยภาพการบริหารจัดการแรอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 4 : ดานการสื่อสารและการสรางการมีสวนรวมตามหลักธรรมาภิบาล ทั้งนี้ ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ได้แบงระยะเวลาการพัฒนาการบริหารจัดการแร ของประเทศออกเป็น 3 ชวง และกําหนดวัตถุประสงคของการบริหารจัดการแรในแต่ละชวงเวลา เพื่อใชเป็นกรอบในการกําหนดทิศทางของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ดังนี้ 1 ) ชวงระยะเริ่มตน 5 ปแรก (พ.ศ. 2561 - 2565) ของยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป มุงเนนที่การปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการแรและวางพื้นฐานกรอบนโยบายการบริหารจัดการแร ของประเทศให้มีความชัดเจนทั้งเชิงพื้นที่และรายชนิดแร รวมทั้งสรางกลไกการปฏิบัติและการขับเคลื่อน ไปในทิศทางเดียวกัน ลดการใชดุลพินิจ สรางความเชื่อมั่นต่อภาคธุรกิจ ภาคการลงทุนและภาคอุตสาหกรรม ลดและแกไขปญหาความขัดแยงในสังคมเพื่อสรางฐานการพัฒนาสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามปรัชญา ของหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด แนวทางและมาตรการเพื่อผลักดัน ไปสูการปฏิบัติให้เป็นไปอยางเป็นรูปธรรม

2 3 2) ชวงปที่ 6 - 10 (พ.ศ. 2566 - 2570) ของการบริหารจัดการแรของประเทศ ภายหลังที่ได้มีการปฏิรูปในชวงเปลี่ยนผานจากพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 เป็นพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่เป็นกฎหมายใชบังคับ ในชวงระยะนี้มุงเปาประสงคไปที่การสรางความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ต่อเนื่องจากการปฏิรูประบบการบริหารจัดการแร การพัฒนาเศรษฐกิจจากนวัตกรรมและ การสรางมูลคาเพิ่ม และการปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมเหมืองแรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและทิศทางใหม ในอนาคต เพื่อให้ประเทศมีฐานวัตถุดิบที่มั่นคงและสามารถพัฒนาอยางต่อเนื่อง เพื่อสรางความมั่งคั่ง และยั่งยืนในระยะถัดไป เป็นชวงที่มีฐานขอมูล องคความรู เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการแร มีการเขาถึงทรัพยากรแรอยางเป็นธรรม และการพัฒนาแรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม (Smart and Green Mining) 3) ชวงปที่ 11 - 20 (พ.ศ. 2571 - 2580) การบริหารจัดการแรของประเทศ ได้วางกรอบทิศทางการพัฒนาในชวงป พ.ศ. 2571 - 2575 ต่อยอดจากการดําเนินการในชวงป พ.ศ. 2566 - 2570 เพื่อกาวสูเปาหมายของความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของภาคอุตสาหกรรมการผลิต ในภาพรวมของประเทศเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม ภายใตดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน เป็นชวงเวลาที่ประเทศ มีฐานดานแหลงแรวัตถุดิบจากทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ภาพรวมภายในประเทศและประชาชนได้รับประโยชนจากการพัฒนาแหลงแรอยางเหมาะสมและเป็นธรรม และในชวงทายของยุทธศาสตรระยะ 5 ปสุดทาย (พ.ศ. 2576 - 2580) การบริหารจัดการแร ต้องเป็นฐานของความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน อยางแทจริง มีการบริหารจัดการแรของประเทศแบบองครวม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอยางยั่งยืน ภายใตดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน 1.6 แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 กรอบทิศทางของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก ( พ.ศ. 2560 - 2564 ) ได้ถูกกําหนดมาจากยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยในระยะเริ่มตน 5 ปแรก ได้มุงเนนไปที่การปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการแร วางพื้นฐานกรอบนโยบายการบริหารจัดการแร ของประเทศให้มีความชัดเจนทั้งเชิงพื้นที่และรายชนิดแร รวมทั้งสรางกลไกการปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน ลดการใชดุลพินิจ สรางความเชื่อมั่นต่อภาคการลงทุนและภาคอุตสาหกรรม ลดและแกไขปญหา ความขัดแยงในสังคม เพื่อสรางฐานการพัฒนาสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยมีการกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด แนวทาง และมาตรการ เพื่อให้หนวยงานที่เกี่ยวของ นําไปจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อผลักดันแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ไปสูการปฏิบัติอยางเป็นรูปธรรมภายใตยุทธศาสตร 4 ดาน ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การจําแนกเขตแหลงแร กําหนดเปาหมายไวจํานวน 3 เปาหมาย 5 ตัวชี้วัด ดังนี้ เปาหมาย 1 : ประเทศมีแผนที่ศักยภาพแร แหลงแรสํารอง การจําแนกเขตศักยภาพแร และบัญชีทรัพยากรแรเพื่อการบริหารจัดการและเป็นฐานสําหรับการพัฒนาประเทศ

2 4 ตัวชี้วัดที่ 1.1 : จํานวนพื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศที่ได้ทําการสํารวจ และจัดทําเป็นบัญชีทรัพยากรแรที่มีมาตรฐาน (เพิ่มขึ้น) ตัวชี้วัดที่ 1.2 : จํานวนแผนที่แสดงพื้นที่ศักยภาพแรแต่ละชนิดที่ได้มีการปรับปรุงขอมูล ให้เป็นปจจุบัน (เพิ่มขึ้น) เปาหมาย 2 : ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ให้มีการกําหนด เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองเพื่อให้การพัฒนาและการประกอบการเหมืองแรไม่เกิดการหยุดชะงัก และต้องได้รับการบริหารจัดการให้เกิดประโยชนสูงสุดอยางเหมาะสมภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ ที่เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวชี้วัด 2.1 : เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในวาระเริ่มแรกได้รับการกําหนดให้สอดคลอง กับสถานภาพขอเท็จจริงภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 เปาหมาย 3 : ประเทศมีเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองบนหลักพื้นฐานศักยภาพแร และการอนุรักษ์ การใชประโยชนรวมกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสม และยั่งยืนโดยกระบวนการ มีสวนรวม ตัวชี้วัด 3.1 : แผนที่ศักยภาพแรที่มีการจําแนกเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง ตัวชี้วัด 3.2 : แผนที่พื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมืองที่มีการจําแนกเป็นเขตสงวนหวงหาม เขตอนุรักษ์ทรัพยากรแร และเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง ยุทธศาสตรที่ 2 : การกําหนดนโยบายบริหารจัดการแรให้เกิดประโยชนสูงสุด กําหนดเปาหมายไว จํานวน 3 เปาหมาย 6 ตัวชี้วัด ดังนี้ เปาหมาย 1 : การบริหารจัดการแรในภาพรวมของประเทศมีความเหมาะสมสอดคลอง กับความจําเป็นและความต้องการใชประโยชนของการพัฒนาประเทศ บนหลักพื้นฐานศักยภาพแร และการอนุรักษ์รวมกับการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสมและยั่งยืน ตัวชี้วัดที่ 1.1 : การบริหารจัดการแรในภาพรวมมีการพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหาร จัดการแรภายใตคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ และการเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ แบบบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรแร เปาหมาย 2: แรเศรษฐกิจที่สําคัญมีกรอบนโยบายและแนวทางบริหารจัดการแร ที่เหมาะสมภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดภายใตกลไกของคณะกรรมการนโยบายบริหาร จัดการแรแห่งชาติ เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถใชแรเป็นวัตถุดิบได้สอดคลองกับความต้องการ ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จํานวนชนิดแรเศรษฐกิจได้ดําเนินการตามกรอบนโยบายและแนวทาง บริหารจัดการรายชนิดแร (เพิ่มขึ้น) ตัวชี้วัดที่ 2.2 : รอยละของภาคอุตสาหกรรมที่มีความต้องการใชแรเป็นวัตถุดิบได้รับ การตอบสนอง (เพิ่มขึ้น) ตัวชี้วัดที่ 2.3 : จํานวนขอเสนอแนะ แนวทางหรือมาตรการที่คณะอนุกรรรมการภายใต คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติกําหนดเพื่อให้หนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามยุทธศาสตร นโยบาย และแผนแมบทการบริหารจัดการแร (เพิ่มขึ้น)

2 5 ตัวชี้วัดที่ 2.4 : ประเทศมีระบบการบริหารจัดการแรทั้งในภาพรวมและรายแรเศรษฐกิจ สอดคลองกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมาย 3 : ผู้ผลิตและภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของดานแร มีการดําเนินกิจการ ที่เป็นมาตรฐานและมุงเนนการประกอบการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชน ตัวชี้วัดที่ 3.1 : จํานวนสถานประกอบการที่ได้มาตรฐานการประกอบการหรือมาตรฐาน อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชน (เพิ่มขึ้น) ยุทธศาสตรที่ 3 : การพัฒนากลไกการกํากับ ดูแล และอํานวยความสะดวก กําหนดเปาหมายไวจํานวน 3 เปาหมาย 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ เปาหมาย 1 : กลไกการบริหารจัดการแรในดานการอนุมัติอนุญาตตาง ๆ รวมถึง การจัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาเหมืองแรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ โปรงใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ สรางความเชื่อมั่นให้กับภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาคเอกชน ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น ตัวชี้วัดที่ 1.1 : จํานวนกลไกการบริหารจัดการแรได้รับการพัฒนาและปรับปรุง ให้มีประสิทธิภาพ (เพิ่มขึ้น) เปาหมาย 2 : ระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีมาตรฐานและประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ของผู้ประกอบการ ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแรภายใตหลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จํานวนกลไกของการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวัง ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ (เพิ่มขึ้น) เปาหมาย 3 : การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการรับขอรองเรียนและการติดตามแกไข ปญหาขอรองเรียน ตัวชี้วัดที่ 3.1 : ระบบการรับขอรองเรียนและการติดตามแกไขปญหาขอรองเรียน ได้รับการเพิ่มประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรที่ 4 : การเสริมสรางและสงเสริมการมีสวนรวม กําหนดเปาหมายไวจํานวน 2 เปาหมาย 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ เปาหมาย 1 : ผู้มีสวนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ชุมชน และทองถิ่น มีสวนรวมในการบริหารจัดการแร ตัวชี้วัดที่ 1.1 : สัดสวนของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ทองถิ่น ชุมชน และ ภาคีเครือขายตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแรตามแนวทางและหลักเกณฑการเสริมสราง และสงเสริมความรวมมือภายใตกลไกประชารัฐ (เพิ่มขึ้น) เปาหมาย 2 : ภาคประชาสังคม ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้อง เพียงพอและมีความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการแร พรอมเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแร รวมทั้ง การเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพประชาชน

2 6 ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จํานวนชองทางการประชาสัมพันธ การสื่อสาร และการสรางองคความรู ให้กับประชาชน ทองถิ่น และชุมชน (เพิ่มขึ้น) ตัวชี้วัดที่ 2.2 : รอยละของภาคประชาสังคม ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น มีความรู ความเขาใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของประเทศ (เพิ่มขึ้น) 1.7 การประเมินผลการดําเนินการภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ซึ่งเป็นแผนแมบทฉบับแรก มีการดําเนินการภายใตโครงการที่สําคัญ อาทิ โครงการปฏิรูปการบริหารจัดการทรัพยากรแร ที่ได้สํารวจพื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศและจัดทําเป็นบัญชีทรัพยากรแรที่มีมาตรฐาน และ มีการจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแรเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง การจําแนกพื้นที่ที่มีศักยภาพ ในการทําเหมืองออกเป็นพื้นที่ที่สมควรสงวนหวงหามหรืออนุรักษ์ไว และพื้นที่ที่มีแหลงแรอุดมสมบูรณ และมูลคาทางเศรษฐกิจสูงเพื่อกําหนดให้เป็นเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง โดยพิจารณาตามหลักเกณฑ การจําแนกทรัพยากรแรของประเทศไทย (Thailand Mineral Framework Classification : TMFC) โครงการจางพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบฐานขอมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแร ที่ได้มีการจัดทําและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและประกอบการตัดสินใจการบริหาร จัดการแรและนโยบายตาง ๆ ในเบื้องตน โครงการศึกษาจัดทําแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร ที่ได้มีการกําหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตรในการบริหารจัดการทรัพยากรแรทองคํา มีการศึกษา จัดทําแนวทางการบริหารจัดการแรควอตซ ยิปซัม ทรายแกว เหล็ก และกลุ่มแรอุตสาหกรรมเซรามิก โครงการสงเสริมผู้ประกอบการเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานให้เขาสูมาตรฐานเหมืองแรสีเขียว และ โครงการสงเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานให้มีมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ที่มีสถานประกอบการเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เขาสูเกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชน เป็นตน นอกจากนี้ ยังมีการดําเนินกิจกรรม พัฒนาระบบการรับขอรองเรียนและการติดตามแกไขปญหาขอรองเรียนที่มีการดําเนินการรับขอรองเรียน และติดตามแกไขปญหาขอรองเรียน ตลอดจนโครงการขับเคลื่อนกลไกปฏิรูปการบริหารจัดการแร ที่เสริมสรางความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรให้แกประชาชนทั่วไป และสงเสริมการมีสวนรวม ของภาคประชาชน ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 และการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เป็นตน การ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดภายใตยุทธศาสตรของแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับแรก (พ.ศ. 2560 - 2564 ) เป็นการประเมินตนเอง ( self- evaluation) โดยพิจารณาประเมินจากผลผลิต (output) เป็นสวนใหญ ซึ่งแผนแมบทฯ ฉบับแรก ได้กําหนดตัวชี้วัด ความสําเร็จในระดับยุทธศาสตรทั้ง 4 ยุทธศาสตร รวมทั้งหมด 17 ตัวชี้วัด โดยมีผลการดําเนินงาน ที่สําเร็จแล้ว จํานวน 16 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 94 และดําเนินการไม่สําเร็จจํานวน 1 ตัวชี้วัด คิดเป็น รอยละ 6 โดยแบงความสําเร็จเป็นรายยุทธศาสตร ดังนี้

2 7 ยุทธศาสตรที่ 1 การจําแนกทรัพยากรแร มี 3 เปาหมาย 5 ตัวชี้วัด มีผลการดําเนินงาน ที่สําเร็จทั้ง 5 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 100 ของจํานวนตัวชี้วัดในยุทธศาสตรที่ 1 ดังนี้ ( 1) พื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศที่ได้ทําการสํารวจและจัดทําเป็นบัญชี ทรัพยากรแรที่มีมาตรฐานแล้วเสร็จ จํานวน 5,550 พื้นที่ ( 2) แผนที่แสดงพื้นที่ศักยภาพแรที่ได้มีการปรับปรุงขอมูลให้เป็นปจจุบันแล้วเสร็จ จํานวน 5,550 พื้นที่ ( 3) เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในวาระเริ่มแรกได้รับการกําหนดให้สอดคลองกับสถานภาพ ขอเท็จจริงภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่มี การดําเนินการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ( 4) แผนที่ศักยภาพแรที่มีการจําแนกเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมืองแล้วเสร็จ จํานวน 11.584 ลานไร ( 5) แผนที่พื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมืองที่มีการจําแนกเป็นเขตสงวนหวงหาม เขตอนุรักษ์ ทรัพยากรแร และเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองดําเนินการแล้วเสร็จ จํานวน 64 จังหวัด ภาพรวมของการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตรที่ 1 การจําแนกเขตแหลงแร พบวาหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถดําเนินงานได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค เปาหมายของยุทธศาสตร และยังสามารถดําเนินการตัวชี้วัดได้บรรลุคาเปาหมายที่กําหนดไวทั้ง 5 ตัวชี้วัด คือ มีการสํารวจ พื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศ ทําให้ได้มาซึ่งขอมูลธรณีวิทยา ธรณีวิทยาแหลงแร และพื้นที่ ศักยภาพแร รวบรวมเป็นฐานขอมูลและบัญชีทรัพยากรแรเชิงพื้นที่ที่เป็นปจจุบัน และมีการวิเคราะหจําแนก ทรัพยากรแรตามมาตรฐานสากลโดยใชหลักเกณฑการจําแนกทรัพยากรแรของประเทศไทย (TMFC) เพื่อประเมินคุณคาทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพื้นที่ การประเมินสถานการณและพิจารณาขีดจํากัด รวมทั้งความเป็นไปได้ในการใชประโยชนพื้นที่ เพื่อจําแนกพื้นที่ออกเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง เขตสงวนหวงหาม เขตอนุรักษ์ทรัพยากรแร และเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองเพื่อเป็นขอมูลประกอบการ ตัดสินใจการกําหนดนโยบาย แนวทางการบริหารจัดการแรของประเทศ เพราะทรัพยากรแรเป็นทรัพยากร ที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอยางมาก จําเป็นต้องมีการกําหนดนโยบาย/ แนวทางการบริหารจัดการแรเพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุดและมีความเหมาะสมกับสถานการณ อยู่บนหลักพื้นฐานศักยภาพแรและการอนุรักษ์การใชประโยชนรวมกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสม และยั่งยืน อยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงเปาหมายที่ 3 ซึ่งกําหนดให้ประเทศมีเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง บนหลักพื้นฐานศักยภาพแรและการอนุรักษ์ การใชประโยชนรวมกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสม และยั่งยืนนั้น พบวาควรให้มีการจัดทําและรวบรวมขอมูลอื่นที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อื่นในแต่ละพื้นที่เพิ่มเติม เชน ขอมูลสารสนเทศทั้งที่เป็นแผนที่หรือมีขอบเขตชัดเจน ขอมูลในเชิงปริมาณ หรือเชิงสถิติที่ใชสําหรับการคาดการณและประเมินสถานการณในมิติตาง ๆ ตลอดจนขอมูลเชิงนโยบาย หรือแผนการพัฒนาเชิงพื้นที่ในแต่ละพื้นที่ โดยจะต้องกําหนดหรือระบุชุดขอมูลที่จําเป็นสําหรับใช ประกอบการพิจารณากําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองและการกําหนดแนวทาง นโยบาย หรือ ยุทธศาสตรในการบริหารจัดการแรอยางชัดเจนให้เป็นไปตามเปาหมายของยุทธศาสตรที่ 1 ในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ต่อไป โดยนําไปปรับปรุงหรือจัดทําเป็นกิจกรรมหลัก ในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับถัดไป

2 8 ยุทธศาสตรที่ 2 การกําหนดนโยบายบริหารจัดการแรให้เกิดประโยชนสูงสุด มี 3 เปาหมาย 6 ตัวชี้วัด มีผลการดําเนินงานที่สําเร็จแล้ว 5 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 83 ของจํานวนตัวชี้วัด ในยุทธศาสตรที่ 2 ดังนี้ ( 1) การบริหารจัดการแรในภาพรวมมีการพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการแร ภายใตคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติและการเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ แบบบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรแร โดยมีการเชื่อมโยงชั้นขอมูลที่ใชในการวิเคราะห เพื่อกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง จํานวน 8 ชุดขอมูล ( 2) ภาคอุตสาหกรรมที่มีความต้องการใชแรเป็นวัตถุดิบได้รับการตอบสนอง จํานวนรอยละ 97 ( 3) ขอเสนอแนะ แนวทางหรือมาตรการที่คณะอนุกรรรมการภายใตคณะกรรมการนโยบาย บริหารจัดการแรแห่งชาติกําหนดเพื่อให้หนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามยุทธศาสตร นโยบาย และแผนแมบท การบริหารจัดการแร จํานวน 2 เรื่อง ดังนี้ 1) ประกาศคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ เรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2560 และ 2) ประกาศคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการบริหารจัดการแร ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2564 ( 4) ประเทศมีระบบการบริหารจัดการแรทั้งในภาพรวมและรายแรเศรษฐกิจ สอดคลอง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยได้ดําเนินโครงการที่สอดคลองกับบริบทดังกลาวไว จํานวน 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการศึกษาจัดทําแนวทางการบริหารจัดการแร กลุ่มแรอุตสาหกรรมเซรามิก และ 2) โครงการศึกษา จัดทําแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร (แรควอตซ ยิปซัม ทรายแกว และเหล็ก) ( 5) สถานประกอบการที่ได้มาตรฐานการประกอบการหรือมาตรฐานอุตสาหกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุ ขภาพของประชาชน โดยผานเกณฑการประเมินมาตรฐาน ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแร (CSR-DPIM) และ/หรือผานเกณฑมาตรฐาน เหมืองแรสีเขียวรวมจํานวน 229 ราย โดยในจํานวนนี้มีสถานประกอบการจํานวน 2 ราย ที่ผานทั้ง การประเมินมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแรและเกณฑมาตรฐาน เหมืองแรสีเขียว ตัวชี้วัดที่มีการดําเนินการไม่สําเร็จ จํานวน 1 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 17 คือ จํานวน ชนิดแรเศรษฐกิจได้ดําเนินการตามกรอบนโยบายและแนวทางบริหารจัดการรายชนิดแร ที่มีเปาหมาย จํานวน 2 ชนิดแร แต่มีการดําเนินการได้เพียง 1 ชนิดแร คือ ทองคํา ที่มีการกําหนดนโยบายและ ยุทธศาสตรในการบริหารจัดการทรัพยากรแรทองคํา พ.ศ. 2560 (ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กรอบนโยบายและแผนยุทธศาสตรในการบริหารจัดการทรัพยากรแรทองคํา ลงวันที่ 1 กันยายน 2560 ) และกฎหมายและกฎระเบียบสําคัญที่เกี่ยวของในการพิจารณาอนุญาตอาชญาบัตรและประทานบัตร แรทองคํา จํานวน 22 ฉบับ ภาพรวมของการติดตามประเมินผลยุทธศาสตรที่ 2 การกําหนดนโยบายบริหารจัดการแร ให้เกิดประโยชนสูงสุด พบวาหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินงานได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค เปาหมายและ ทิศทางของตัวชี้วัดที่กําหนด มีความสําเร็จของตัวชี้วัดจํานวน 5 ตัวชี้วัด และมีตัวชี้วัดที่มีการดําเนินการ

29 ไม่เป็นไปตามคาเปาหมายของตัวชี้วัดที่กําหนดไว คือ จํานวนชนิดแรเศรษฐกิจได้ดําเนินการตามกรอบ นโยบายและแนวทางบริหารจัดการชนิดแร (เพิ่มขึ้น) จํานวน 2 ชนิด แต่โดยขอเท็จจริงแล้วสามารถดําเนินการ ให้มีแรเศรษฐกิจที่ได้ดําเนินการตามกรอบนโยบายและแนวทางการบริหารจัดการแรรายชนิดเพิ่มขึ้น ในระหวางป พ.ศ. 2560 - 2564 ที่ผานการพิจารณาของคณะกรรมการนโยบริหารจัดการแรแห่งชาติ เพียงจํานวน 1 ชนิดเทานั้น คือ แรทองคํา ที่ได้มีการกําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตรในการบริหาร จัดการแร อยางไรก็ตาม การกําหนดกรอบนโยบายและแนวทางบริหารจัดการแรในภาพรวมของประเทศ และเฉพาะแรเศรษฐกิจที่สําคัญให้เหมาะสม เกิดประโยชนสูงสุด คุมคา ภายใตดุลยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน โดยให้ความสําคัญกับการปกปองฟนฟูพื้นที่อนุรักษ์ และใชประโยชนจากทรัพยากรแรอยางยั่งยืน รวมถึงการกําหนดนโยบายบริหารจัดการแร ให้มีความสอดคลองกับ แผนระดับชาติเพื่อสรางฐานการพัฒนาตามปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียง นับเป็นแนวทาง การกําหนดกรอบนโยบายบริหารจัดการแรในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับถัดไป เพื่อให้การบริหาร จัดการแรของประเทศเป็นไปอยางมีดุลยภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ บนหลักการของการพัฒนาสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน อนึ่ง ควรจะต้องมีการเรงรัดจัดทํายุทธศาสตร นโยบาย หรือแนวทาง มาตรการในการบริหารจัดการรายแรเศรษฐกิจเพิ่มเติมให้สอดคลองกับสภาพการณ ในปจจุบัน เพื่อให้มีกรอบแนวทางในการบริหารจัดการแรอื่น ๆ ที่มีความจําเป็นเพิ่มเติม และตอบสนอง ความต้องการใชของภาคอุตสาหกรรมโดยกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนากลไกการกํากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล มี 3 เปาหมาย 3 ตัวชี้วัด มีผลการดําเนินงานที่สําเร็จทั้ง 3 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 100 ของจํานวน ตัวชี้วัดในยุทธศาสตรที่ 3 ดังนี้ ( 1) กลไกการบริหารจัดการแรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น จํานวน 3 แนวทาง ที่มีการดําเนินการผานโครงการปรับปรุงระบบคําขอประทานบัตรและอาชญาบัตร ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 โครงการปรับปรุงและพัฒนาระบบการออกใบอนุญาตสงแร ออกนอกราชอาณาจักรเพื่อรองรับการเชื่อมโยงกับระบบ National Single Window (NSW) ในป พ.ศ. 2561 และโครงการพัฒนาสวนเชื่อมโยงขอมูลคําขอใบอนุญาตนําเขาสงออกแรกับระบบ NSW ณ จุดเดียว ในป พ.ศ. 2563 ( 2) กลไกของการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวังได้รับการพัฒนา และปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ ที่มีการดําเนินการผานโครงการพัฒนาระบบรายงานการทําเหมือง และรายงานผู้ใชแรผานอินเตอรเน็ต และโครงการปรับปรุงระบบกํากับดูแลการดําเนินการเหมืองแร และการชําระคาภาคหลวง รวม 3 แนวทาง ( 3) ระบบการรับขอรองเรียนและการติดตามแกไขปญหาขอรองเรียน ได้รับการเพิ่ม ประสิทธิภาพที่มีการดําเนินการพัฒนาระบบรองเรียนกลางกระทรวงอุตสาหกรรม เชื่อมโยงหนวยงาน ภายในกระทรวงอุตสาหกรรม และมีระบบรองเรียนผานเว็บไซต์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร โดยตรง รวม 6 วิธีการ ภาพรวมของการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนากลไกการกํากับ ดูแล และอํานวยความสะดวก พบวาหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินงานได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค เปาหมาย

3 0 และทิศทางของตัวชี้วัดที่กําหนด จํานวน 3 ตัวชี้วัด คือ มีกลไกการบริหารจัดการแรได้รับการพัฒนา และปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพในดานการอนุมัติอนุญาตตาง ๆ รวมถึงการจัดสรรผลประโยชนจาก การพัฒนาเหมืองแร กลไกของการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน ซึ่งต้องดําเนินการตามอนุบัญญัติภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 256 0 ตลอดจนแนวปฏิบัติหรือกระบวนงานที่เกี่ยวของได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ มีระบบ การรับขอรองเรียนและการติดตามแกไขปญหาขอรองเรียนที่เกี่ยวของกับการประกอบการอุตสาหกรรม เหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐาน ซึ่งมีขั้นตอนกระบวนการรับเรื่องรองเรียนและกํากับติดตามเป็นไปตาม คู่มือมาตรฐานการจัดการเรื่องรองเรียนของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรได้รับการเพิ่ม ประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม หากพิจารณาในรายละเอียดของเปาหมายตามยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ยังพบวาการดําเนินการขางตนยังคงไม่สามารถระบุหรือนําไปสูการประเมินผล ได้วาสามารถที่จะบรรลุเปาหมายได้อยางแทจริงหรือไม่ แมจะมีการพัฒนากลไกตาง ๆ ตามตัวชี้วัด ของแผนแมบทการบริหารจัดการแร แต่ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีสวนได้สวนเสีย ในการบริหารจัดการแรยังคงไม่ได้รับการตอบสนอง เป็นไปได้วากลไกที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นดังกลาวยังไม่เพียงพอ ต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้มีสวนได้สวนเสีย จึงยังคงมีประเด็นในรายละเอียดที่จะต้องปรับปรุง แกไขในเชิงระบบและเชิงกระบวนการและต้องนําไปต่อยอดในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับถัดไป เพื่อให้การบริหารจัดการแรของประเทศเป็นไปอยางมีดุลยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน รวมทั้งมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของบนหลักการ ของการพัฒนาสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางและสงเสริมการมีสวนรวม มี 3 เปาหมาย 3 ตัวชี้วัด มีผลการดําเนินงานที่สําเร็จแล้วทั้ง 3 ตัวชี้วัด คิดเป็นรอยละ 100 ของจํานวนตัวชี้วัดในยุทธศาสตรที่ 4 ดังนี้ ( 1) สัดสวนของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ทองถิ่น ชุมชน และภาคีเครือขายตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแรตามแนวทางและหลักเกณฑการเสริมสรางและสงเสริมความรวมมือ ภายใตกลไกประชารัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 17.17 ( 2) ชองทางการประชาสัมพันธ การสื่อสาร และการสรางองคความรูให้กับประชาชน ทองถิ่น และชุมชน ที่เพิ่มขึ้นผานสื่อออนไลนและสื่อออฟไลน รวมทั้งสิ้น 9 ชองทาง ( 3) รอยละของภาคประชาสังคม ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น มีความรู ความเขาใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของประเทศ เพิ่มขึ้นรอยละ 98.23 ภาพรวมของการติดตามประเมินผลยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางและสงเสริมการมีสวนรวม พบวาหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค เปาหมายและทิศทางของตัวชี้วัด คือ มีการเสริมสรางความรวมมือและประสานงานระหวางหนวยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแร โดยคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติได้มีการออกประกาศ เรื่อง หลักเกณฑการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการบริหารจัดการแร ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2564 เพื่อเปดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนเขามามีสวนรวม

3 1 ในการบริหารจัดการแร และการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ซึ่งในการจัดทําแผนแมบทการ บริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการจัดประชุมปรึกษาหารือทางเทคนิค ( t echnical meeting) การจัดประชุมรับ ฟงความคิดเห็นของผู้มีสวนได้เสียต่อประเด็นที่เป็นสาระสําคัญ (f ocus group) และการจัดประชุม เวทีสาธารณะ (public h earing) เพื่อรับฟงความคิดเห็นต่อ (ราง) แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 เพื่อจะนําขอมูลมาประกอบการพิจารณาจัดทํา (ราง) แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ต่อไป อีกทั้งยังได้มีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ผานชองทางตาง ๆ เชน เว็บไซต์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร เว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี เป็นตน นอกจากนี้ยังได้มีการเผยแพรประชาสัมพันธผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ คณะอนุกรรมการ และคณะทํางานภายใตคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ ให้สาธารณชน รับทราบผานสื่อออนไลน เว็บไซต์คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ และเฟซบุกแฟนเพจ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ ในสวนของการรองเรียนของหนวยงานตาง ๆ ที่มีการรองเรียนผานสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ ประธานกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ รวมทั้งเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ จะมีระบบในการจัดการเรื่องรองเรียน ตาง ๆ ได้แก ระบบรองเรียนกลางของกระทรวงอุตสาหกรรมเชื่อมโยงหนวยงานภายในกระทรวงอุตสาหกรรม ระบบรองเรียนผานเว็บไซต์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร และระบบรองเรียนของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่มีการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพให้การดําเนินการเรื่องรองเรียน มีความรวดเร็วและผู้รองเรียนสามารถติดตามเรื่องรองเรียนได้ เพื่อสรางความเชื่อมั่นให้กับภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาคเอกชน ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น และยังได้มีการพัฒนาระบบสนับสนุน กระบวนการมีสวนรวมบนเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ และเพิ่มชองทางการประชาสัมพันธ การสื่อสาร และการสรางองคความรูให้กับประชาชน ทองถิ่น และชุมชน ผานชองทางตาง ๆ ทั้งสื่อออนไลน และสื่อออฟไลน ได้แก เว็บไซต์กรมทรัพยากรธรณี เว็บไซต์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร เฟซบุกแฟนเพจคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการแร เฟซบุกกรมทรัพยากรธรณี และเฟซบุก กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร อีกทั้งยังมีการลงพื้นที่สรางความรูให้กับประชาชนผู้มีสวนได้เสีย ในพื้นที่โครงการทําเหมืองอีกด้วย อยางไรก็ดี เมื่อวิเคราะหการมีสวนรวมตามขั้นตอนของหวงโซการผลิตแรภายใต พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ยังเห็นได้วาการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้เสียในการบริหารจัดการแร ของประเทศไทยยังไม่ครอบคลุมในทุกขั้นตอนและทุกกระบวนการของอุตสาหกรรมแร เชน ขั้นตอน การออกอาชญาบัตรหรือใบอนุญาตสํารวจแรภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 กําหนดให้เป็น อํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานทองถิ่นเทานั้น โดยกฎหมายมิได้กลาวถึงการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้เสีย ในขั้นตอนดังกลาวแต่อยางใด ยกเวนตามกรอบนโยบายและแผนยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ ทรัพยากรแรทองคําที่ได้กําหนดให้มีการปดประกาศให้ประชาชนรับทราบในขั้นตอนการยื่นคําขอ อาชญาบัตรพิเศษสํารวจแรทองคํา แต่ก็ยังมีขอพิจารณาวาเป็นเพียงการแจงให้ประชาชนรับทราบ ซึ่งอาจไม่เพียงพอต่อการแกไขปญหาความขัดแยงกับชุมชนได้เนื่องจากอาจไม่มีความเขาใจที่ตรงกัน

3 2 นอกจากนี้ขั้นตอนของการพัฒนาโครงการเหมืองแรหรือการทําเหมืองภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้มีการแยกรูปแบบการบริหารจัดการระหวางการทําเหมืองแรและการทําเหมืองแรใตดินออกจากกัน และการมีสวนรวมในการพัฒนาโครงการทําเหมืองและการทําเหมืองแรใตดินก็มีรูปแบบการมีสวนรวม ที่แตกตางกัน เชน การมีสวนรวมในการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมกรณีเหมืองใตดิน กําหนดให้มี การรับฟงความคิดเห็นหลังจากที่รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) ได้รับความเห็นชอบแล้ว เป็นตน ทั้งนี้เพื่อให้การบริหารจัดการแรมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับของชุมชนและผู้มีสวนได้เสีย ตลอดหวงโซการบริหารจัดการ การมีสวนรวมของผู้มีสวนได้เสียในการพัฒนาโครงการของการทําเหมือง และการทําเหมืองใตดินอาจพิจารณาถึงรูปแบบและมาตรฐานของการมีสวนรวมที่ให้มีความใกลเคียงกัน ในแต่ละขั้นตอนได้ ทั้งนี้ควรสงเสริม ให้ภาคเอกชนมีสวนรวมในการรับผิดชอบในการดําเนินการ โดยการสงเสริมให้เกิดการมีสวนรวมนั้นควรกําหนดให้มีตั้งแต่ขั้นกอนได้รับใบอนุญาตไปจนกระทั่งขั้นปดเหมือง และฟนฟูพื้นที่ซึ่งการเปดให้มีสวนรวมตลอดทั้งหวงโซการผลิตแรนั้นจะชวยสรางความนาเชื่อถือ และการยอมรับจากชุมชนและผู้มีสวนได้เสียในกลุ่มตาง ๆ ได้ โดยควรนําไปจัดทําเป็นกิจกรรมห ลัก ในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับถัดไป 1.8 ปญหาอุปสรรคของการจัดทําและขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก และการปรับปรุงแกไขในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ผลจากการรับฟงปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะจากสวนราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นที่เกี่ยวของตามแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ในการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ สามารถสรุปปญหาและอุปสรรค เพื่อนําไปปรับปรุงแกไขในการจัดทํา แผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับถัดไป โดยมีประเด็นปญหาอุปสรรค ดังนี้ 1.8.1 การกําหนดเนื้อหาในแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 1) แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีประเด็นเนื้อหาบางสวน ที่อาจขาดความชัดเจนหรือมีความทับซอนกันเองในการกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางมาตรการ เชน ในกรณีการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการบริหารจัดการแร กําหนดไวในยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางและสงเสริมการมีสวนรวมนั้น ได้กําหนดแนวทางมาตรการที่เกี่ยวของกับการเฝาระวัง คุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพไว แต่โดยขอเท็จจริงแล้ว แนวทางมาตรการดังกลาวเป็นเพียงการสงเสริม การมีสวนรวมของประชาชนในเรื่องของการพัฒนากลไกการกํากับดูแลการทําเหมืองแร ซึ่งเป็นสาระสําคัญ ในยุทธศาสตรที่ 3 ในขณะเดียวกัน หากต้องการจะสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร ควรกําหนดเป็นแนวทางมาตรการในยุทธศาสตรที่ 2 การกําหนดนโยบายจัดการแรให้เกิดประโยชนสูงสุด เป็นตน ซึ่งจากผลของความไม่ชัดเจนและทับซอนของแนวทางมาตรการตาง ๆ ที่กําหนดขึ้นนี้ยอมจะสงผล ต่อการพิจารณาจัดทําแผนงานโครงการของสวนราชการที่รับผิดชอบได้ 2 ) การวิเคราะหปจจัยตาง ๆ เพื่อนําไปสูการวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรแร มีความจําเป็นที่จะต้องพิจารณาในลักษณะของทรัพยากรแรเป็นสวนหนึ่งของวัตถุดิบ ดังนั้น หากจะบริหาร จัดการได้อยางครบวงจรจะต้องอาศัยการวิเคราะหตลอดหวงโซอุปทานของวัตถุดิบตั้งแต่ตนน้ําจนถึงปลายน้ํา

3 3 เนื่องจากหากพิจารณาเพียงวามีทรัพยากรแรใดมีอยู่มากนอยเพียงไรแล้วจึงนํามาบริหารจัดการ จะเป็นการพิจารณาเพียงมิติเดียวเทานั้น และอาจไม่สะทอนต่อวัตถุประสงคที่แทจริงของการบริหารจัดการแร ของประเทศได้ นอกจากนี้ การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรกยังขาดการนําเอาหลักการ ของการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรมาปรับใชในการจัดทําแผนฯ อีกด้วย 3 ) จุดมุงเนนของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก มุงเนนที่การปฏิรูปกลไก การบริหารจัดการแร โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทําฐานขอมูลเพื่อใชในการกําหนดเขตแหลงแร เพื่อการทําเหมือง การปรับปรุงกระบวนการอนุมัติอนุญาต และการเสริมสรางการมีสวนรวมด้วยการสราง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรให้ภาคสวนที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตามยังขาดการมุงเนน การนําเทคโนโลยีการเพิ่มมูลคาแร การเชื่อมโยงการใชวัตถุดิบแรให้เกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งการพัฒนาเทคโนโลยีการปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนจากการทําเหมืองแร นอกจากนี้ ในการสรางการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ โดยการเผยแพรความรูผานชองทางของราชการ ที่เป็นทางการ อาจไม่เพียงพอต่อการขับเคลื่อนให้บรรลุเปาหมายของการสรางการมีสวนรวมในการบริหาร จัดการแรของประเทศอยางมีประสิทธิภาพได้ 4 ) เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก เป็นเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองที่กําหนดในลักษณะคํานิยามตามพื้นที่ที่เคยได้รับอนุญาตหรือได้ยื่น คําขออนุญาตไวแล้ว เพื่อไม่ให้เกิดการหยุดชะงักของการจัดหาวัตถุดิบแรให้แกภาคอุตสาหกรรม ในระหวางชวงเปลี่ยนผานจากพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 มาเป็นพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 โดยยังไม่ได้กําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในรูปแบบของแผนที่ 1.8.2 การนําแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ไปปฏิบัติ 1 ) การกําหนดตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ และหนวยงานผู้รับผิดชอบในแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ยังไม่มีความชัดเจน จึงทําให้หนวยงานที่เกี่ยวของบางหนวยงาน ขาดความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทต่อการขับเคลื่อนการบริหารจัดการแรตามแนวทาง/มาตรการ ในยุทธศาสตรภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแรที่จะนําไปกําหนดในแผนปฏิบัติการของสวนราชการ เพื่อขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการแรสูการปฏิบัติ นอกจากนี้ การกําหนดตัวชี้วัดโดยสวนใหญ ของแต่ละยุทธศาสตรยังไม่สื่อถึงการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรการบริหารจัดการแรได้อยางแทจริง เทาที่ควร ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงแกไขการกําหนดตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน สื่อถึงการบรรลุเปาหมาย ของแผนแมบทการบริหารจัดการแร และยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร รวมถึงมีการกําหนดคาเปาหมาย และคําอธิบายตัวชี้วัดให้สามารถนําไปใชในการปฏิบัติและขับเคลื่อนได้อยางมีประสิทธิภาพ 2) กระบวนการสื่อสารระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อนตัวชี้วัด เปาหมาย และแนวทาง/มาตรการตามแผนแมบทฯ ยังไม่เพียงพอ ทําให้หนวยงานที่ต้องนําแนวทาง/มาตรการไปปฏิบัติ ยังไม่มีการบูรณาการรวมกัน 3 ) การขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการแรในบางมิติ ยังมิได้ถูกขับเคลื่อนให้เกิดผล เป็นรูปธรรมอยางชัดเจน แมวาจะมีการกําหนดให้หนวยงานผู้รับผิดชอบที่จะต้องดําเนินการให้เป็นไป ตามแผนแมบทการบริหารจัดการแร แต่หนวยงานที่รับผิดชอบตาง ๆ ก็ยังไม่สามารถดําเนินการให้สําเร็จ

3 4 ตามเปาหมายที่กําหนดไวได้ โดยหนวยงานที่เกี่ยวของยังมิได้นําเปาหมายและตัวชี้วัดตาม แผนแมบทการบริหารจัดการแรไปเป็นกรอบในการจัดทํากิจกรรมโครงการ การขอรับการจัดสรรงบประมาณ การปรับปรุงโครงสรางสวนราชการ หรือการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรภาครัฐให้ต้องปฏิบัติให้เป็นไป ตามแผนแมบทการบริหารจัดการแรดังกลาวได้ 1.8.3 การติดตามและประเมินผลแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ไม่ได้อธิบายรายละเอียดตัวชี้วัด รวมทั้งกําหนดคาเปาหมายของตัวชี้วัดไวตั้งแต่ตน ทําให้ไม่มีแนวทางในการกําหนดกรอบการประเมินผล วัดความสําเร็จการดําเนินงานตามแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 1.9 การปรับปรุง แกไขปญหาอุปสรรคของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 1) ในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้คํานึงถึงสถานการณและ บริบทจากภายนอกมีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและรุนแรงมากยิ่งขึ้น เชน แนวโนมการพัฒนาเศรษฐกิจ และการคาการลงทุนของโลก ความต้องการใชวัตถุดิบแรที่ต้องมีคุณภาพสูงขึ้น และความต้องการใช ธาตุหายาก ( Rare E arth Element ) ที่เป็นปจจัยสําคัญต่อการกําหนดทาทีและกลยุทธในเวทีโลก ของประเทศมหาอํานาจทั้งในแงการคาการลงทุน การรักษาฐานอํานาจทางการเมืองระหวางประเทศ (เชน กรณีสงครามการคาสหรัฐ - จีน และกรณีสงครามรัสเซีย - ยูเครน) การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การผลิตที่จะมีเทคโนโลยีดิจิทัลเขามาเป็นปจจัยสําคัญในการจัดการกระบวนการอุตสาหกรรมที่จะมุงเนนไปสู อุตสาหกรรมยุค 4.0 การเปลี่ยนแปลงความต้องการใชพลังงานจากฟอสซิลไปสูพลังงานหมุนเวียน การเปลี่ยนผานสูอุตสาหกรรมสมัยใหม เชน อุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาหรือ EV อุตสาหกรรมหุนยนต และอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ หรือแมกระทั่งความเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงและรวดเร็วที่สงผลกระทบ เป็นวงกวางและหลากหลายรูปแบบจากโรคระบาด เป็นตน ซึ่งสงผลต่อการ supply chain ของวัตถุดิบ อุตสาหกรรมและตนทุนการผลิตอยางยิ่งยวด ในขณะที่บริบทภายในประเทศ ก็มีทั้งการคํานึงถึงอุตสาหกรรม เปาหมายยุคใหมของประเทศ s - curve อุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีศักยภาพและควรเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขัน ประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เป็นความทาทายของประเทศไทย การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ของประเทศ การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตาง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศบนพื้นฐาน ของวัตถุดิบแรที่ประเทศไทยมีศักยภาพ และการสงเสริมให้เกิดการใชวัตถุดิบแรอยางคุมคาด้วยมาตรฐาน การประกอบการที่ดี และมีความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาถึงสภาพแวดลอม ในการบริหารจัดการแรของประเทศซึ่งมีจุดแข็ง เชน มีกฎหมาย มีระเบียบ นโยบายของการพัฒนาประเทศ มีคณะกรรมการที่มีอํานาจในการสนับสนุนการขับเคลื่อนการบริหารจัดการแรให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ได้อยางชัดเจน จุดออนนั้นก็ชัดเจนวา แมจะมีการพัฒนาฐานขอมูลตาง ๆ มาแล้วในแผนแมบทฯ ฉบับแรก แต่ก็ยังมีปญหาอุปสรรคและยังไม่สมบูรณเพียงพอที่จะบริหารจัดการแรได้แบบองครวมตามเปาหมาย ของยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ยังขาดการบูรณาการที่เพียงพอ

3 5 ของการทํางานในภาครัฐ การมีสวนรวมของภาคประชาชนยังไม่ทั่วถึงเพียงพอ ยังขาดความรูความเขาใจ ที่ถูกต้อง และยังไม่ไววางใจการทํางานของภาครัฐในเรื่องความโปรงใสของการอนุญาตและการกํากับดูแล เป็นตน โดยในสวนของโอกาสมีหลายเรื่องที่นาสนใจไม่วาจะเป็นทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมาย การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ตลอดจนกระแสของความต้องการ ในการสรางสมดุลของการพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดและหลักการบริหารจัดการตาง ๆ ที่นํามาใชในการจัดทําแผนแมบทฯ ในขณะที่ภัยคุกคามหรืออุปสรรคของการบริหารจัดการแรที่สําคัญ คือ การไม่ยอมรับและทัศนคติในเชิงลบต่อการพัฒนาแหลงแรขึ้นมาใชประโยชนของภาคประชาชน และแกนนํากลุ่มชุมชนในบางสวนหรือบางพื้นที่ ซึ่งเป็นประเด็นสําคัญที่ผู้มีสวนเกี่ยวของจะต้องรวมกัน พัฒนาและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นให้ได้ สําหรับความต้องการและความคาดหวังของผู้มีสวนได้สวนเสีย ซึ่งได้จากการประชุม ปรึกษาหารือทางเทคนิค ( techni cal m eeting) การประชุมกลุ่มยอยเพื่อรับฟงความคิดเห็นของผู้ มีสวนได้สวนเสียต่อประเด็นที่เป็นสาระสําคัญ (f ocus group) การประชุมเวทีสาธารณะ (public hearing) และชองทางการรับฟงความคิดเห็นอื่น ๆ จะมีความต้องการและความคาดหวังในประเด็นที่คอนขางจะเป็นไป ในแนวทางเดียวกัน ทั้งในเรื่องกฎหมาย/ระเบียบที่อยากให้มีการปรับปรุง และต้องมีการบังคับใชอยางเขมงวด รัดกุมทั่วถึง เรื่องกลไกการปฏิบัติของภาครัฐที่ต้องการให้การพัฒนา One Stop Service ให้เกิดขึ้นได้จริง และครอบคลุมทุกกระบวนการ ลดการใชดุลยพินิจ มุงเนน การสงเสริมให้ผู้ประกอบเกิดการพัฒนา เรื่องระบบฐานขอมูลที่ต้องการให้มีความครอบคลุมครบถวนถึงรายชนิดแร และสนับสนุนฐานขอมูล ให้แกภาคเอกชนเพื่อใชประโยชน ตลอดจนการบูรณาการขอมูล และปรับปรุงให้เป็นปจจุบันโดยเผยแพร ให้สามารถเขาถึงได้งายและสะดวก เรื่องทรัพยากรบุคคลก็ต้องการให้มีการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญ มีอัตราที่เพียงพอต่อการขับเคลื่อนแผนฯ และต้องการให้มีการหารือและทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และชุมชนในทุกมิติ ในเรื่องการมีสวนรวมก็ต้องการให้มีการเปดเผยขอมูล ที่เป็นประโยชน มีการจําแนกกลุ่มผู้มีสวนได้สวนเสียให้ชัดเจน สรางความรูความเขาใจตามความเหมาะสม ของแต่ละกลุ่ม สงเสริมให้ภาคประชาชนมีบทบาทสําคัญมากขึ้นในการแสดงความคิดเห็นและการตัดสินใจ ในเรื่องสําคัญ เรื่องการจัดสรรผลประโยชนแกทองถิ่นและชุมชน ก็ต้องการให้มีการปรับขอบเขตให้เหมาะสม ทบทวนสัดสวนให้เป็นธรรมมากขึ้น และมีการติดตามตรวจสอบการใชประโยชนจากกองทุนให้มีประสิทธิภาพ เรื่องกระบวนการขั้นตอนการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองที่มีความชัดเจนมากขึ้น การเอื้อให้เกิด การสํารวจโดยภาคเอกชนจากการขออาชญาบัตรสํารวจแรให้ไปสูการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองได้ การใชประโยชนในพื้นที่ลุมน้ํา ความต้องการให้เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองจากแผนแมบทการบริหาร จัดการแรฉบับแรกถูกกําหนดไวต่อไปในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ต่อไป และความต้องการ ให้เกิดความชัดเจนต่อการกําหนดคํานิยามพื้นที่แหลงตนน้ําหรือปาน้ําซับซึมให้ได้ขอยุติ เป็นตน ทั้งนี้ มีขอเสนอแนะอื่น ๆ เชน ให้มีการปรับปรุงแผนเป็นระยะได้โดยไม่ต้องรอถึงหาป ให้มีการสงเสริม ผู้ประกอบการในการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาแรควรให้ครอบคลุมการใชประโยชน ในทางอื่น ๆ ด้วย รวมทั้งให้พัฒนาเทคโนโลยีการทําเหมืองที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมตามเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน

3 6 2) ในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการนําเอาหลักการของการประเมิน สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (Strategic Environmental Assessment: SEA) มาประยุกตใชในขั้นตอน การจัดทําแผนแมบทฯ โดยมีการนําเสนอ 4 ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร และผลดี ผลเสียผลกระทบเบื้องตน ของแต่ละทางเลือกเชิงยุทธศาสตรในการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2566 - 2570 อันเป็นการนําแนวคิด SEA มาปรับใชในระหวางการประชุมปรึกษาหารือทางเทคนิค ( t echnical meeting) ระหวางวันที่ 29 - 30 กันยายน 2564 และวันที่ 1 ตุลาคม 2564 ซึ่งทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก กลุ่มที่สนับสนุนการพัฒนาเหมืองแร กลุ่มหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ และ/หรือสถาบันทางวิชาการ และกลุ่มที่มีขอวิตกกังวลเกี่ยวกับ กิจกรรมเหมืองแร มีความคิดเห็นโดยสวนใหญเห็นไปในทิศทางเดียวกันวาทางเลือกเชิงยุทธศาสตร ในทางเลือกที่ 3 สรางความสมดุลของการใชทรัพยากรแรกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยสํารวจและพัฒนาแหลงแรในประเทศ ควบคู่ไปกับการจัดหาวัตถุดิบทดแทนในชนิดแรที่สําคัญ ทั้งจากในและตางประเทศในสัดสวนที่เหมาะสม เป็นทางเลือกที่แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาแบบยั่งยืน ( Sustainable development) มุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานของความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ให้เกิดประโยชนสูงสุด และครอบคลุมถึงดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนไปพรอมกับการอนุรักษ์ไว ภายใตหลักความสมดุลซึ่งจะเป็นประโยชนกับประเทศกําลังพัฒนา เชนประเทศไทย นอกจากนี้ ทั้ง 3 กลุ่ม ยังมีความเห็นที่สอดคลองไปในแนวทางเดียวกันวาประเทศไทยยังจําเป็นที่จะต้องมีการสํารวจแร โดยเฉพาะในชนิดแรที่สําคัญเพื่อให้ทราบถึงศักยภาพและใชประโยชนในการวางแผนการบริหารจัดการแร เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนและสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ อยางไรก็ตาม กลุ่มที่มี ขอวิตกกังวลเกี่ยวกับกิจกรรมเหมืองแรมีความเห็นเพิ่มเติมวาแมจะเห็นด้วยกับทางเลือกที่ 3 ซึ่งมุงเนน การสรางความสมดุลในประเด็นพัฒนาเเร การจางงาน มีรายได้เขาประเทศ มีกองทุนดูแลสิ่งแวดลอม และชวยเหลือชุมชน แต่ยังมีความหวงกังวลต่อการทําเหมืองแรโดยไม่ต้องการให้มีการทําเหมืองแรใกลชุมชน หรือที่พักอาศัยของตน นอกจากนี้ บางทานเห็นวาทางเลือกที่ 1 มุงตอบสนองความต้องการใชวัตถุดิบ ของภาคอุตสาหกรรมโดยเรงรัดสํารวจและพัฒนาแหลงแรภายในประเทศเป็นหลักก็มีความนาสนใจ โดยเห็นวาควรพัฒนาการใชประโยชนจากแหลงแรภายในประเทศเป็นหลักเพื่อการใชงานเเละ/หรือสงออกกอน เป็นอยางเเรกเพื่อเป็นการปองกันการเสียโอกาสของประเทศ รวมทั้งมีกรณีความไม่แนนอนสูงของมูลคาแร ในอนาคต แต่บางสวนก็มีความเห็นวาทางเลือกที่ 4 มุงเนนการอนุรักษ์ทรัพยากรแร โดยเปดพื้นที่พัฒนา แหลงแรใหมให้นอยที่สุดหรือเปดพื้นที่ใหมเพื่อพัฒนาแหลงแรเฉพาะในชวงเวลาวิกฤติทางวัตถุดิบแร เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด 3) แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดแนวทางการพัฒนาดานการวิจัย พัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนา ที่ไม่มีมากอนในแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก โดยเป็นการกําหนดเพิ่มเติมขึ้นมาอยางชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากประเทศไทยในปจจุบันกําลังเผชิญความทาทายสําคัญในหลายประการเนื่องจากระดับการพัฒนา ของประเทศอยู่ระหวางชวงรอยต่อของประเทศรายได้ปานกลางและรายได้สูง ตลอดจนการพยายาม พลิกฟนเศรษฐกิจของประเทศภายหลังได้รับผลกระทบจากการแพรระบาดของ COVID - 19 ซึ่งนับเป็น โอกาสสําคัญของประเทศไทย หากสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจสังคมให้มีศักยภาพเชิงระบบ จากฐานรากของความสามารถได้ และมีโอกาสกาวขามกับดักรายได้ประเทศปานกลางได้ ทั้งนี้รัฐบาล

3 7 ได้จัดให้มีนโยบายสําคัญของการพัฒนาก็คือยุทธศาสตรชาติ 20 ป และนโยบายประเทศไทย 4.0 ที่ต้องการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจสังคมให้มีการพัฒนาเชิงลึกและยั่งยืนที่มุงเนนความสมดุลระหวาง ภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งยังมุงให้เกิดนโยบายสนับสนุนการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี และองคความรูที่จําเป็นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแรไทยอยางยั่งยืน สงเสริมให้เกิดการพัฒนาศักยภาพตลอดทั้งหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแร มุงให้เกิดนโยบายสงเสริม เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในประเทศไทย ซึ่งหมายรวมถึงการเปลี่ยนของเสียให้เป็นผลิตภัณฑ เพิ่มมูลคา การเพิ่มศักยภาพดานการแปรรูปกลับมาใชใหม ( r ecycle) เพื่อบริหารจัดการทรัพยากร ให้เกิดการใชประโยชนสูงสุด นอกจากการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมมาสรางมูลคาเพิ่มในกระบวนการ เพื่อเพิ่มมูลคาตลอดทั้งกระบวนการหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแรแล้ว การใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการปองกันแกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการพัฒนาแหลงแร และการฟนฟูพื้นที่ ที่ผานการทําเหมืองแรแล้ว นับเป็นเครื่องมือที่มีความสําคัญอยางมากสําหรับการติดตามแกไขปญหา ตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และปองกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม สุขภาพของประชาชน ตลอดจน ระบบนิเวศที่เกี่ยวของ โดยจะต้องสรางความรวมมือและผลักดันให้ภาคสวนตาง ๆ เกิดการวิจัยพัฒนา นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีการปองกันและแกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากกิจการเหมืองแร และการจัดการพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแรแล้วให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วย นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงสาระสําคัญของแนวทางการพัฒนาดานการสรางความรู ความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน โดยที่ผานมาด้วยขอจํากัดของขอมูลและการสื่อสาร ทําให้เกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อนระหวางภาคสวนที่เกี่ยวของ การทํางานไม่ประสานสอดคลองกัน เกิดแรงตานในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแร สงผลให้อุตสาหกรรมแรเติบโตได้ไม่รวดเร็วเทาที่ควร ดังนั้น การสื่อสารสรางความรูความเขาใจและการสรางความรวมมือในการบริหารจัดการแรจึงมีความสําคัญ เป็นอยางมากในการทําให้ทุกภาคสวนเล็งเห็นถึงวิสัยทัศนรวมกันในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแร ที่ผู้มีสวนได้เสียทุกภาคสวนได้ประโยชนรวมกันอยางสมดุลและยั่งยืน ซึ่งแนวทางการพัฒนาดานการสรางความรู ความเขาใจและสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน มุงทําให้เกิดการเปดเผยขอมูลที่จําเป็นของอุตสาหกรรมแร ต่อสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเขาใจสถานการณจริงรวมกันซึ่งเป็นพื้นฐานของการสรางความรวมมือ ในการบริหารจัดการและการปรับปรุงหลักเกณฑเพื่อเปดโอกาสให้ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ทุกขั้นตอนที่สอดคลองกับแต่ละกลุ่มเปาหมายทั้งในภาพรวมและในเชิงพื้นที่โดยรอบการประกอบกิจการ ให้มีความชัดเจนและเป็นไปได้ในทางปฏิบัติรวมทั้งตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มผู้มีสวนได้สวนเสีย แต่ละกลุ่มมากขึ้น 4) แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการกําหนดตัวชี้วัดที่มีคาเปาหมายชัดเจน ทั้งคาเปาหมายระยะยาว 5 ป ซึ่งเกือบทั้งหมดมีแหลงอางอิงจากคาเปาหมายตามยุทธศาสตรการบริหาร จัดการแร 20 ป รวมทั้งได้กําหนดคาเปาหมายตัวชี้วัดเป็นรายปไวอยางชัดเจนด้วยแล้ว นอกจากนี้ ยังได้กําหนดคําอธิบายตัวชี้วัดและสูตรการคํานวณ (ถามี) ของแต่ละตัวชี้วัดในภาคผนวกของแผนฯ ตลอดจนมีคาอางอิงหรือ baseline ของแต่ละตัวชี้วัดเอาไวอยางชัดเจนด้วยแล้วเชนกัน นอกจากนี้

3 8 ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการกําหนดกิจกรรมหลัก และหนวยงานผู้รับผิดชอบ เอาไวอยางชัดเจน โดยเฉพาะการกําหนดหนวยงานเจ้าภาพหลักที่จะต้องดําเนินการ ซึ่งสวนใหญจะอยู่ภายใต การขับเคลื่อนของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร และกรมทรัพยากรธรณีในฐานะเลขานุการรวม ของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติเป็นหลัก ซึ่งจะต้องทําหน้าที่ในการขับเคลื่อนและติดตาม ความคืบหน้าการขับเคลื่อนรวมกับหนวยงานสนับสนุนตาง ๆ ที่ระบุเอาไวในแต่ละกิจกรรมหลักด้วยเชนกัน ทั้งนี้ ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดแนวทางการพัฒนาเอาไว 4 ดาน ได้แก แนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร แนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร แนวทาง การพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร และแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน ซึ่งแต่ละดานจะมีการกําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด และกิจกรรมหลักรองรับเอาไวโดยแยกกัน ตามแต่ละเปาประสงคและตัวชี้วัดอยางชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ําซอนกัน นอกจากนี้ ในการกําหนด กิจกรรมหลักบางกิจกรรม ใชเทคนิคการกําหนดแบบ Objective Key Result : ( OKR ) ในการกําหนด กิจกรรมหลัก จึงจะมีทั้งสิ่งที่จะต้องดําเนินการและเปาหมายตลอดจนระยะเวลาที่ต้องดําเนินการ ให้แล้วเสร็จอยู่ภายในกิจกรรมนั้นด้วย จึงมีความชัดเจนในการนําไปปฏิบัติมากขึ้นกวาแผนแมบท การบริหารจัดการแรฉบับแรก 5) การกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 มีการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในรูปแบบของแผนที่ในมาตราสวน 1 : 250 , 000 และมีคําอธิบายประกอบแผนที่ ที่สอดคลองกับบทบัญญัติตามมาตรา 17 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ตามภาคผนวก ข โดยมีการพิจารณาศักยภาพแรตามระดับความเชื่อมั่นทางธรณีวิทยา และประเมินตามมิติตาง ๆ ใน 5 ดาน ประกอบด้วย ปจจัยความเหมาะสมดานเทคโนโลยีในการทําเหมือง และสถานภาพโครงการ ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานสังคม ปจจัยดานสิ่งแวดลอม และปจจัยดานสุขภาพ ของประชาชน ตามที่คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563 ทั้งนี้ ยังคงคํานึงถึงสิทธิตามกฎหมาย ของผู้ประกอบการ และคํานึงถึงกระบวนการขั้นตอนที่ประชาชนจะต้องมีสวนรวมในขั้นตอนตาง ๆ ตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ 6) ในสวนของการขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ มีการเผยแพรประชาสัมพันธรางแผนแมบท การบริหารการจัดการแร ฉบับที่ 2 เพื่อสรางความรูความเขาใจวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนแมบท การบริหารจัดการแรให้แกภาคสวนตาง ๆ ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ผานเว็บไซต์ สื่อประชาสัมพันธทางวิทยุ และการประชุมหารือรับฟงความคิดเห็นตามกระบวนการและขั้นตอน ที่คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติกําหนดในชวงระหวางการจัดทําแผนแมบทการบริหาร จัดการแร โดยในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดหนวยงานรับผิดชอบหลัก และสนับสนุนไวในแต่ละกิจกรรมหลักไวอยางชัดเจนและสอดคลองกับอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือบทบาทของแต่ละหนวยงาน ทั้งนี้ เมื่อแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้ผานความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรีแล้ว ยังจะต้องมีการขับเคลื่อนการสรางความรูความเขาใจกับผู้เกี่ยวของ โดยเฉพาะ

39 หนวยงานหลักที่รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมหลักของแต่ละแนวทางการพัฒนาจะต้องสื่อสารกับหนวยงาน สนับสนุนให้เขาใจถึงเปาหมายและสิ่งที่จะต้องดําเนินการให้บรรลุผลสําเร็จรวมกัน และจะต้องสนับสนุน สงเสริมให้หนวยงานที่เสนอแผนงานโครงการภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร สามารถแสดง ความสอดคลองหรือระบุแนวทาง/มาตรการที่ปรากฏในแผนแมบทการบริหารจัดการแรให้ชัดเจน เพื่อประกอบการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณของสํานักงบประมาณได้ 7) สําหรับดานการติดตามและประเมินผล ควรสนับสนุนกระบวนการมีสวนรวม ระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัด และกิจกรรมหลักในแต่ละแนวทางการพัฒนา รวมทั้งผลักดัน ให้เกิดการทํางานรวมกันระหวางภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา องคกรอิสระ และภาคประชาชน เพื่อเสริมสรางภาคีเครือขายให้มีบทบาทชวยในการขับเคลื่อนการติดตาม และประเมินผลแผนแมบทการบริหารจัดการแร พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลแผนแมบทการบริหาร จัดการแร เพื่อใชในการติดตามความคืบหน้าของโครงการ/กิจกรรมและตัวชี้วัดตามแผนแมบทการบริหาร จัดการแร ที่สามารถให้หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานที่รับผิดชอบหลักและหนวยงานสนับสนุน ที่ได้มีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดสามารถรายงานความคืบหน้าของโครงการ/กิจกรรม ผานระบบออนไลน ไม่จําเป็นต้องจัดสงเอกสาร และสามารถสรุปขอมูลการดําเนินงานในรูปแบบที่เขาใจงาย (แผนภูมิ กราฟ) รายงานผู้บริหารและสามารถขยายผลสําหรับการนําเสนอขอมูล โดยจะต้องเผยแพร และประชาสัมพันธผลการติดตามและประเมินผลแผนแมบทการบริหารจัดการแรให้หนวยงานทุกภาคสวน ที่เกี่ยวของและประชาชนได้รวมรับรูและรับทราบผลการดําเนินงานเป็นระยะ ๆ และควรมีชองทางเสนอ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนากลไกในการติดตามและประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเขามาตรวจสอบและติดตามความกาวหน้าการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรม ของหนวยงานรัฐ ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการดานกํากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล จะต้องมีบทบาทสําคัญ ในการรายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนแมบทการบริหารจัดการแรต่อคณะกรรมการนโยบาย บริหารจัดการแรแห่งชาติให้รับทราบความกาวหน้าการดําเนินงาน ปญหา อุปสรรคและขอจํากัดที่เกิดขึ้น จากการดําเนินงานเป็นประจําทุกปตลอดระยะเวลาที่แผนแมบทการบริการจัดการแรมีผลบังคับใช โดยจะต้องชี้ให้เห็นได้ถึงความสามารถในการบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายทั้งสวนที่กําหนดไว ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 และสวนที่กําหนดไวในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ในแต่ละระยะตามกรอบเวลาที่กําหนด เพื่อพิจารณาและให้ขอเสนอแนะ เชิงนโยบายต่อการปรับปรุงการดําเนินงาน ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานในระยะต่อไป 8) นอกจากการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพแล้ว ยังจะต้อง เปดโอกาสให้ประชาชนเขามามีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลแผนแมบทการบริหารจัดการแร และตรวจสอบความโปรงใสการดําเนินงานของหนวยงานรัฐ ทั้งอยางเป็นทางการและไม่เป็นทางการ รูปแบบการมีสวนรวมในการประเมินอยางเป็นทางการ เชน การประชุมเพื่อทบทวนและประเมินผล การดําเนินงานที่ผานมา การแต่งตั้งตัวแทนของภาคประชาชนเขารวมเป็นคณะกรรมการในการติดตาม และประเมินผล สําหรับการมีสวนรวมในการประเมินผลอยางไม่เป็นทางการ เชน การพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดําเนินงานที่ผานมา

สวนที่ 2 การประเมินสถานการณที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร 2.1 สถานการณและแนวโนมภายนอก การประเมินสถานการณและแนวโนมภายนอกจะนําขอมูลการทบทวนบริบทการพัฒนา ประเทศที่สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทําขึ้นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ . ศ . 2566 - 2570) เชน ผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาด ของโควิด - 19 และแนวโนมการเปลี่ยนแปลงระดับโลก ( megatre nds) ที่สําคัญและคาดวาจะมีผลต่อ อุตสาหกรรมเหมืองแรในอนาคต มาพิจารณารวมกับขอมูลสถานการณสิ่งแวดลอม สถานการณ อุตสาหกรรมเหมืองแรของโลก รวมถึงกรอบความรวมมือดานแรของไทยกับอาเซียน เพื่อใชประเมิน สภาพแวดลอมการบริหารจัดการแรของประเทศไทยต่อไป โดยมีสาระสําคัญโดยสังเขป ดังนี้ 2.1.1 ความกาวหน้าทางเทคโนโลยี ปจจุบันโลกอยู่ในยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 ( The Fourth Industrial Revolution) ซึ่งเป็นยุคของการต่อยอดและผสมผสานเทคโนโลยีที่มีขอบเขตแตกตางกันเขาด้วยกัน สงผลให้เทคโนโลยีมีความกาวหน้าอยางพลิกผัน อาทิ การผสานเทคโนโลยีดิจิทัลเขาด้วยกันกับ เทคโนโลยีชีวภาพและกายภาพ โดยการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุคนี้ สงผลให้เกิดการเรงความเร็วและ ความครอบคลุมของการเปลี่ยนแปลงในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปลี่ยนแปลงของโลก เขาสูยุคดิจิทัล (Digital t ransformation) ที่มีการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชประโยชนในภาคสวนตาง ๆ อยางกวางขวางและแตกตางไปจากวิถีการดําเนินชีวิตและการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมแบบเดิม อาทิ การใชระบบอัตโนมัติในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพการใชขอมูลขนาดใหญ ( Big data ) ในการกําหนดทิศทางธุรกิจเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้อยางเฉพาะเจาะจง หรือ แมกระทั่งการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการยกระดับประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ สําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร ความกาวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมเหมืองแรมาโดยตลอด เนื่องจากแรเป็นทรัพยากรที่ใชแล้วหมดไป จึงมีความต้องการ เทคโนโลยีที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การสํารวจ การทําเหมือง การขนสง การแต่งแร การใชแรเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต ตลอดจนการพัฒนาวัตถุดิบทดแทน เพื่อทําให้การใชทรัพยากรแร มีความคุมคามากที่สุด และเกิดประโยชนสูงสุด ตัวอยางการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในอุตสาหกรรม เหมืองแร เชน การใชขอมูลขนาดใหญในการวิเคราะหขอมูล การใชอากาศยานไรคนขับ (drone ) ในการสํารวจ หรือตรวจวัดตาง ๆ การควบคุมการทําเหมืองจากระยะไกล การใชเซ็นเซอรและระบบอัตโนมัติในพื้นที่ โครงการ เป็นตน 40

4 1 2.1.2 ความพยายามระดับโลกในการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก (Global Climate Action) ด้วยสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีแนวโนมจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ทําให้ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ประเทศภาคีสมาชิกอนุสัญญากรอบการทํางานแห่งสหประชาชาติ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) จํานวน 197 ประเทศ ได้มีมติเห็นชอบกับความตกลงปารีส (Paris Agreement) ที่มีเปาหมายระยะยาวที่จะควบคุมการเพิ่มขึ้น ของอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยให้นอยกวา 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับระดับกอนการปฏิวัติอุตสาหกรรม และมุงมั่นพยายามในการจํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยให้อยู่ที่ 1.5 องศาเซลเซียส โดยประเทศไทยได้ให้สัตยาบันรวมเป็นภาคีความตกลงปารีสเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2559 ทั้งนี้ ได้มีการประเมินโดยโครงการสิ่งแวดลอมแห่งสหประชาชาติ ( UN Environment Programme : UNEP) วาเพื่อควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียส ภายในป พ.ศ. 2572 ปริมาณ การปลอยกาซเรือนกระจกต่อปทั่วโลกจะต้องลดลงไม่นอยกวารอยละ 25 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2561 และหากต้องการควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกทั้งโลกต้องลดลงรอยละ 55 ในขณะเดียวกัน จากการประเมินของ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) พบวาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกสุทธิของโลกจะต้องลดลงเป็นศูนย ( Net Zero Emissions) ภายในป พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) เพื่อที่จะควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ ไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส สําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร ต้องเผชิญกับแรงกดดันอยางหนักในการลดปริมาณ การปลอยกาซเรือนกระจกจากทั้งภาครัฐ นักลงทุน และภาคสังคม เนื่องจากปจจุบันอุตสาหกรรมเหมืองแร มีสวนสําคัญในการปลอยกาซเรือนกระจก หากใชคาประมาณการปลอยมลพิษที่อางอิงจากการวิจัย ของ McKinsey’s Basic Materials Institute พบวา อุตสาหกรรมเหมืองแรจะมีสัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจก โดยตรงจากกิจกรรมในการทําเหมือง ( Scope 1) ประมาณรอยละ 1 ของโลก และมีการปลอยกาซเรือนกระจก ทางออมจากการใชพลังงาน ( Scope 2) ประมาณรอยละ 3 - 6 ของโลก นอกจากนี้ การปลอยกาซเรือนกระจก ทางออมอื่น ๆ นอกเหนือจาก Scope 1 และ Scope 2 (Scope 3) ของอุตสาหกรรมอื่น ซึ่งครอบคลุม ถึงการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมถานหินจะมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 28 ในปจจุบันผู้ประกอบการเหมืองแรรายใหญของโลกได้เริ่มตั้งเปาหมายในการลดปริมาณ การปลอยกาซเรือนกระจก โดยมีเปาหมายแตกตางกันไป ผู้ประกอบการเหมืองแรได้เผยแพรเปาหมายที่มี ตั้งแต่ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกให้เหลือรอยละ 0 จนถึงรอยละ 30 ให้ได้ภายในป พ.ศ. 2573 ซึ่งก็ยังถือวาต่ํากวาเปาหมายของความตกลงปารีสพอสมควร ทั้งนี้ ในทางทฤษฎีแล้วกระบวนการทําเหมือง สามารถลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดได้อยางสมบูรณ โดยการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงาน การใชพลังงานไฟฟา การใชพลังงานหมุนเวียน เป็นตน และปจจุบันเริ่มมีผู้ประกอบการเหมืองแรเริ่มลงทุน เพื่อดําเนินการตามมาตรการดังกลาวแล้ว

4 2 2.1.3 พลังงานหมุนเวียนและยานยนตไฟฟา กระแสความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดลอม กรอบความรวมมือระหวางประเทศ ในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก และความกาวหน้าของเทคโนโลยีแบตเตอรี่ ได้สรางแรงกดดัน ให้เกิดการพัฒนาและประยุกตใชนวัตกรรมในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกและใชทรัพยากรให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในสาขาการผลิตที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกสูงสุด 2 อันดับแรก ได้แก สาขาพลังงาน และสาขาการคมนาคมขนสง ซึ่งนําไปสูการพัฒนาการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน ( renewable e nergy) รวมทั้งมีการคิดคนการพัฒนายานยนตสมัยใหมที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟาจากแบตเตอรี่หรือ เซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ( hydrogen fuel c ell) เพื่อตอบสนองความต้องการผลิตไฟฟาจากพลังงาน ทางเลือกและการใชงานยานยนตสมัยใหมที่มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วทั่วโลก โดยในป พ.ศ. 2562 ตนทุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทางเลือก ประกอบด้วย พลังงานชีวภาพ พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานน้ํา พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม มีแนวโนมลดต่ําลงอยู่ในระดับที่เทียบเทาหรือต่ํากวาตนทุน การผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล และคาดวาพลังงานหมุนเวียนจะมีตนทุนรวม (ตนทุนทางการเงิน รวมกับตนทุนภายนอก) ลดลงต่ํากวาตนทุนการผลิตแบบดั้งเดิมภายในป พ.ศ. 2570 สําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร ได้เริ่มปรับตัวตามเปาหมายปริมาณการลดการปลอย กาซเรือนกระจก โดยผู้ประกอบการเหมืองแรได้ดําเนินการสรางโรงผลิตไฟฟาหรือจัดหาจากแหลงภายนอก เพื่อใชกับโครงการของตัวเอง โดยโรงไฟฟาเหลานี้ผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม หรือแบบไฮบริด ควบคู่ไปกับการกักเก็บลงในแบตเตอรี่ เพื่อลดการใชไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล จากการรวบรวมขอมูลของ Industrial Info พบวา มีโครงการผลิตไฟฟาที่เกี่ยวของกับโครงการเหมืองแร ประมาณ 870 โครงการ คิดเป็นมูลคาประมาณ 36 , 000 ลานดอลลารสหรัฐ ในขณะเดียวกันการเติบโต ของตลาดยานยนตไฟฟาของโลกที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่อง ก็สงผลให้ความต้องการแรที่เป็นวัตถุดิบ ในผลิตแบตเตอรี่ที่ใชในยานยนตไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย เชน ลิเทียม โคบอลต กราไฟต นิกเกิล อะลูมิเนียม รวมถึงปริมาณการใชทองแดงเป็นสวนประกอบในยานยนตไฟฟาที่คาดวาจะต้องใชทองแดง มากกวายานยนตแบบเดิมถึง 4 เทา 2.1.4 ผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด - 19 สถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด - 19 สงผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการใชชีวิตของประชากรโลกอยางรุนแรง เกิดเป็นตนทุนจากทั้งความสูญเสียชีวิตและการเจ็บไขได้ปวย โดยตรงจากการติดเชื้อ และผลกระทบทางออมจากความพยายามในการปองกันและควบคุมการแพรระบาด โดยในป พ.ศ. 2563 ธนาคารโลกได้รายงานวา เศรษฐกิจโลกหดตัวลงถึงรอยละ 3.5 และประมาณการ วามีอัตราการวางงานเพิ่มขึ้นเป็นรอยละ 6.46 รวมถึงมีการสูญเสียของชั่วโมงการทํางานถึงรอยละ 8.8 เมื่อเปรียบเทียบกับป พ.ศ. 2562 ซึ่งอัตราการสูญเสียของชั่วโมงการทํางานขางตนเทียบเทากับการสูญเสีย การจางงานประจําถึง 255 ลานตําแหนง ในขณะเดียวกันการแพรระบาดของโรคโควิด - 19 ยังสงผลกระทบ เป็นวงกวางต่อเศรษฐกิจและการคาโลกอยางรุนแรง โดยระดับผลกระทบมีความแตกตางกันตาม บริบทของแต่ละประเทศ ทั้งนี้ จากรายงานของการประชุมสหประชาชาติวาด้วยการคาและการพัฒนา

4 3 ( United Nations Conference on Trade And Development: UNCTAD)ป พ.ศ. 2563 พบวา กลุ่มประเทศ หรือประเทศที่ได้รับความเสียหายในดานการคาโลกมากที่สุดตามดัชนี Purchasing Managers’ Index (PMI) คือ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ตามลําดับ โดยประเทศไทยได้รับผลกระทบสูงเป็นอันดับที่ 11 ซึ่งสาเหตุสําคัญมาจากการหดตัวลงของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาผลกระทบ ของรายได้จากภาคการทองเที่ยวตามขอมูลของสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ ( International Air Transport Association: IATA) ยังพบวากลุ่มประเทศในทวีปเอเชียได้รับความเสียหายจากปริมาณ การเดินทางทางอากาศที่หดตัวอยางรุนแรงมากที่สุด สําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร เดิมทีมีการคาดการณกันวาในป พ.ศ. 2563 อุตสาหกรรม เหมืองแรของโลกจะมีการใชจายเกี่ยวกับการลงทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 12 จากป พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นแนวโนม ของการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่องตามการฟนตัวของตลาดนับตั้งแต่สถานการณราคาโลหะตกต่ํา ในชวงปลายป พ.ศ. 2559 จนกระทั่งเกิดการแพรระบาดของ COVID - 19 ที่ทําให้ GDP ของโลกหดตัว ซึ่งเป็นปจจัยชี้นําที่สําคัญของการใชจายเพื่อการลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร ทําให้สถานการณ เปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการเลือกที่จะถือเงินสดไวในมือมากขึ้น โดยเลื่อนการใชจายเพื่อการลงทุน และระงับหรือชะลอกิจกรรมในโครงการตาง ๆ ในป พ.ศ. 2563 เอาไวกอน ซึ่งจากการสํารวจขอมูล ของ Industrial Info พบวา ณ สิ้นป พ.ศ. 2563 มีโครงการเหมืองแรและโลหะที่ได้รับผลกระทบจาก การแพรระบาดของ COVID - 19 มากกวา 1 , 600 โครงการ คิดเป็นมูลคาประมาณ 212 พันลานดอลลาร สหรัฐ โดยจํานวนโครงการประมาณรอยละ 66 เป็นโครงการเหมืองแร สวนที่เหลือเป็นโครงการเกี่ยวกับ การแต่งแรและถลุงโลหะ ทําให้การใชจายเพื่อการลงทุนของอุตสาหกรรมเหมืองแรในป พ.ศ. 2563 ลดลงประมาณรอยละ 3 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2562 อยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมเหมืองแรยังถือได้วา มีสถานการณที่ดีกวาอุตสาหกรรมอื่น ๆ เชน การทองเที่ยว การผลิตน้ํามันและปโตรเลียม เนื่องจาก อุตสาหกรรมเหมืองแรยังพอมีสัญญาณที่ดีวาการพัฒนาโครงการเหมืองแรสวนใหญเป็นเพียงการชะลอ โครงการออกไปมากกวายกเลิกโครงการ โดยคาดวาจะมีการพัฒนาโครงการลาชาออกไปประมาณ 3 ถึง 18 เดือน ทําให้โครงการจํานวนมากถูกผลักดันให้เกิดขึ้นในชวงป พ.ศ. 2564 - 2565 สอดคลอง กับรายงานของ S&P Global Market Intelligence ที่ประเมินวางบประมาณการสํารวจแรโลหะที่ไม่ใชเหล็ก (Non- Ferrous Metal) ทั่วโลกในป พ.ศ. 2564 เพิ่มขึ้นมากถึงรอยละ 35 โดยเพิ่มจาก 8.3 พันลาน ดอลลารสหรัฐ ในป พ.ศ. 2563 เป็น 11.2 พันลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งเป็นสัญญาณที่ชี้ให้เห็นวา อุตสาหกรรมเหมืองแรได้หลุดพนจากชวงตกต่ําที่เกิดจากการแพรระบาดของ COVID - 19 และ ยังคาดการณอีกวางบประมาณการสํารวจแรโลหะที่ไม่ใชเหล็กทั่วโลกในป พ . ศ. 2565 จะมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางต่อเนื่องในชวงรอยละ 5 - 15 นอกจากผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการลงทุนแล้ว ผู้ประกอบการ ยังได้เรียนรูและปรับตัวอยางรวดเร็วในการประกอบธุรกิจให้มีความปลอดภัยในสภาพแวดลอม ของการแพรระบาดของ COVID - 19 เชน การทํางานแบบเวนระยะหางทางสังคม ( social d istancing) หรือการควบคุมจากระยะไกล ทําให้ต้องนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในการปรับปรุงกระบวนการ เครื่องจักร อุปกรณตาง ๆ ให้สอดคลองกับสภาพแวดลอมในปจจุบัน

4 4 2.1.5 ผลกระทบจากสงครามระหวางรัสเซียและยูเครน ในขณะที่ปญหาการแพรระบาดของโรค COVID - 19 ยังคงอยู่ เศรษฐกิจโลกยังถูกซ้ําเติมด้วย สงครามระหวางรัสเซียและยูเครน โดยรัสเซียและยูเครนเป็นแหลงจัดหาและผลิตวัตถุดิบสําคัญ ในภาคการผลิตและเกษตรกรรม ทั้งโลหะอุตสาหกรรม ธัญพืช อาหารสัตว รวมถึงปุยยูเรียและปุยโพแทสเซียม ที่ใชในการเกษตร ภายหลังจากเกิดปญหาสงครามระหวางทั้งสองประเทศ จึงทําให้ราคาโภคภัณฑปรับตัว เพิ่มขึ้นอยางมาก เป็นตนทุนที่เพิ่มขึ้นอยางไม่ทันตั้งตัวของภาคธุรกิจ นอกเหนือจากคาไฟฟาที่มีแนวโนม ปรับเพิ่มขึ้นตามทิศทางราคากาซธรรมชาติโลก ยิ่งไปกวานั้น แพลเลเดียมซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ใชในการผลิต เซมิคอนดักเตอร หรือ ชิป ที่เป็นสวนประกอบสําคัญของสินคาอิเล็กทรอนิกส ยังมีรัสเซียและยูเครน เป็นแหลงจัดหาสําคัญถึงรอยละ 44 ของอุปทานโลก เมื่อแพลเลเดียมขาดตลาดจึงสงผลให้ปญหา การขาดแคลนชิปที่รุนแรงอยู่แล้วจะหนักขึ้นกวาเดิม และมีแนวโนมจะกระทบต่อเนื่องถึงการผลิตอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสและอุตสาหกรรมยานยนตที่เป็นแกนกลางของภาคการผลิตไทยในระยะต่อไปด้วย เมื่อพิจารณาการคาของไทยกับรัสเซียและยูเครน พบวา ประเทศไทยมีการนําเขาสินคา จากรัสเซีย มีสัดสวนรอยละ 0.66 ของมูลคานําเขาทั้งหมดของไทย สวนสินคาที่ไทยนําเขาจากยูเครน คิดเป็น สัดสวนรอยละ 0.1 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมดของไทย ซึ่งการนําเขาสินคาจากทั้งสองประเทศเป็นสัดสวน ไม่มีนัยสําคัญ แมสินคานําเขาหลักจากรัสเซีย ได้แก ปโตรเลียม ปุยและยากําจัดศัตรูพืช เหล็กและเหล็กกลา และอลูมิเนียม และสินคานําเขาจากยูเครน ได้แก ซีเรียล เหล็ก และผลิตภัณฑเหล็ก ผลิตภัณฑใชทําอาหารสัตว แต่ก็ไม่สงผลกระทบต่อการคากับไทยอยางมีนัยสําคัญ ดานการสงออกก็ไม่มีผลกระทบที่รุนแรงมากนัก จากการที่สินคาที่สงออกไปรัสเซียและยูเครน สินคาสงออกหลัก ได้แก ยานยนตและสวนประกอบ ผลิตภัณฑยาง เครื่องจักรกลและสวนประกอบ ผลไมกระปองและแปรรูป พลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติก เป็นตน มีสัดสวนสงออกรอยละ 0.4 และรอยละ 0.05 ของการสงออกทั้งหมดของไทย ดังนั้น สงคราม รัสเซียกับยูเครน จึงไม่มีผลกระทบทางตรงกับการคาของไทยมากนักเนื่องด้วยสัดสวนทางการคาของไทย กับประเทศทั้งสองนั้นมีสัดสวนที่นอย แต่อยางไรก็ตาม ประเทศไทยได้รับผลกระทบทางออมจากสงคราม รัสเซียกับยูเครนมากกวาผลกระทบทางตรง เนื่องจากเมื่อรัสเซียไม่สงพลังงานให้สหภาพยุโรป และสหภาพยุโรป เกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ไทยจะได้รับผลกระทบเนื่องจากไทยสงออกไปสหภาพยุโรปรอยละ 10 ของการสงออกทั้งหมด การสงออกของไทยไปสหภาพยุโรปจะชะลอตัว ผลกระทบทางออมที่ไทยจะได้รับนั้น มาจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาน้ํามันของตลาดโลกที่ยังคงเพิ่มทะยานขึ้นต่อเนื่องนอกจากราคาน้ํามัน ที่เพิ่มสูงขึ้น ก็ยังมีอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบทางออมด้วย สําหรับผลกระทบต่ออุตสาหกรรมแร เนื่องจากผลกระทบจากสงครามรัสเซียและยูเครน มีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับหวงโซวัตถุดิบแรและโลหะที่ได้รับผลกระทบ เชน อุตสาหกรรมเหล็ก ราคาเหล็ก ที่ขยับตัวสูงขึ้นและมีแนวโนมวาอาจจะขาดตลาด ไม่เพียงพอ เหล็กยังใชในอุตสาหกรรมต่อเนื่องสําคัญอื่น ๆ เชน อุตสาหกรรมผลิตรถยนต รถจักรยานยนต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมอาหารกระปอง การกอสรางอสังหาริมทรัพย์ตาง ๆ ลวนแล้วแต่ใชวัสดุที่ทําจากเหล็กเป็นสวนประกอบทั้งสิ้น จึงมีสวนให้ การผลิตของอุตสาหกรรมดังกลาวชะลอตัว นอกจากนี้ ในกรณีของอุตสาหกรรมยานยนตและอิเล็กทรอนิกส ซึ่งรัสเซียเป็นผู้ผลิตแรแพลเลเดียมใหญที่สุดของโลก โดยถูกใชในอุตสาหกรรมรถยนตรอยละ 80

4 5 ปจจุบันราคาแรแพลเลเดียมได้ปรับราคาเพิ่มขึ้นรอยละ 21 และรัสเซียยังเป็นแหลงแรนิเกิลใหญ เป็นอันดับ 4 ของโลก โดยเป็นแรสําคัญที่ใชในการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนในอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา ในทํานองเดียวกันอุตสาหกรรมผลผลิตทางการเกษตรมีตนทุนที่เพิ่มสูงขึ้นจากราคาของปุยเคมีของตลาดโลก สูงขึ้น เนื่องจากรัสเซียเป็นประเทศที่สงออกปุยเคมีมากที่สุดในโลก คิดเป็นปริมาณ 50 ลานตัน/ป หรือสัดสวนรอยละ 12.8 ของมูลคาสงออกปุยเคมีทั้งโลก ทําให้เกษตรกรรายยอยต้องเผชิญกับราคาวัตถุดิบ เพิ่มสูงขึ้น 2.1.6 สถานการณสิ่งแวดลอมโลก 2.1.6.1 สถานการณดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก นับตั้งแต่มีการจัดอันดับดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Index ) ตั้งแต่ป ค.ศ. 2016 คะแนนดัชนี SDGs ซึ่งเป็นเครื่องบงชี้วาแต่ละประเทศมีการดําเนินงานเพื่อบรรลุสูเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนคืบหน้ามากนอยเพียงใดนั้น มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นอยางต่อเนื่องทุกป อันอาจหมายความวา ประเทศ สมาชิกมีความพยายามในการขับเคลื่อน SDGs อยางต่อเนื่อง ทวา ในป ค.ศ. 2021 คะแนนดัชนี SDGs เฉลี่ยกลับลดลงกวาปกอนหน้าอันเป็นผลมาจากอัตราความยากจนและสถิติการวางงานที่เพิ่มขึ้นจาก การระบาดของโควิด - 19 โดยเป็นครั้งแรกที่คะแนนดัชนี SDGs ทั่วโลกลดลงกวาคะแนนเฉลี่ยจากปกอนหน้า สะทอนให้เห็นวาการระบาดของโควิด - 19 กลายเป็นปจจัยสําคัญที่ทําให้การบรรลุเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนในป พ.ศ. 2573 ( ค.ศ. 2030) เป็นไปได้ยากขึ้น อยางไรก็ตาม ระดับที่ลดลงนี้อาจถูกประเมิน ต่ํากวาความเป็นจริงเนื่องจากความลาชาทางดานเวลาของขอมูลสถิติระหวางประเทศ เมื่อพิจารณาความกาวหน้าในรายเปาหมายแต่ละเปาหมายนับตั้งแต่ป ค.ศ. 2015 ออกมาในรูปแบบของรอยละจุด (Percentage point: p.p.) จะเห็นวาเปาหมายสวนใหญมีแนวโนม ไปในเชิงบวกโดยเปาหมายที่มีความกาวหน้ามากที่สุด ได้แก SDG 9 สงเสริมอุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสรางพื้นฐาน 8 . 6 p.p. แต่ก็ยังมีเปาหมายที่มีความกาวหน้านอย โดยรายงานระบุวาเปาหมาย ที่มีความกาวหน้าต่ํากวา 1 p.p. ซึ่งลวนแต่เป็นเปาหมายกลุ่มสิ่งแวดลอม (Planet) ทั้งสิ้น ได้แก SDG 6 การมีน้ําสะอาดและสุขอนามัยที่ดี 0 . 4 p.p. SDG 12 การมีแบบแผนการผลิตและการบริโภคอยางมีความรับผิดชอบ - 0 . 4 p.p. SDG 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 0 . 4 p.p. SDG 14 การใชประโยชนจากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล 0 . 1 p.p. SDG 15 การใชประโยชนจากระบบนิเวศทางบก - 03 p.p. มีขอสังเกตวา ในจํานวนนี้มีเปาหมายที่มีคาเป็นลบ กลาวคือ เป็นเปาหมายที่การดําเนินงาน ถดถอยยิ่งกวาป ค.ศ. 2015 ได้แก SDG 12 สรางหลักประกันให้มีรูปแบบการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน - 0 . 4 p.p. และ SDG 15 การใชประโยชนจากระบบนิเวศบนบก - 0 . 3 p.p. สะทอนวาการดําเนินการ ที่ทุกประเทศได้ปฏิบัติตลอด 6 ปที่ผานมายังไม่เขมขนมากพอที่จะฟนฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ

4 6 สําหรับภูมิภาคที่มีความกาวหน้าในการขับเคลื่อน SDGs มากกวาภูมิภาคอื่น ๆ คือ เอเชียตะวันออกและเอเชียใต ทั้งเมื่อเปรียบเทียบกับป ค.ศ. 2010 และตั้งแต่การรับรองเปาหมาย ดังกลาวในป ค.ศ. 2015 โดยสามประเทศที่มีความกาวหน้ามากที่สุดตามคะแนนดัชนี SDG ตั้งแต่ ป ค.ศ. 2015 ได้แก บังกลาเทศ โกตดิวัวร และอัฟกานิสถาน ในประเทศที่กาวหน้ามากที่สุดนี้มีขอมูลฐาน ตั้งตน ( baseline) ที่หางไกลจากความยั่งยืนมากกวาประเทศอื่น สวนสามประเทศที่ความกาวหน้าถดถอย มากที่สุด คือ เวเนซุเอลา ตูวาลู และบราซิล 2.1.7 สถานการณเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) ของโลก กระแสความตื่นตัวดานประสิทธิภาพการใชทรัพยากรตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ปรากฏชัดเจนในระดับโลก เห็นได้จากความรวมมือระหวางประเทศที่สําคัญตาง ๆ ได้ระบุให้การใชทรัพยากร อยางยั่งยืนเป็นเปาหมายสําคัญซึ่งประเทศตาง ๆ ตกลงรวมกันวาจะบรรลุให้ได้ และเห็นแนวโนมทั่วโลก ตางยอมรับวาไม่วาจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศกําลังพัฒนาต้องมีสวนรวมในการดําเนินงาน เพื่อชวยให้โลกบรรลุขอตกลงในเรื่องนี้ โดยแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนได้รับความสนใจในฐานะเป็นเครื่องมือ ที่มีศักยภาพที่จะนําพาประเทศตาง ๆ ให้ตัวอยางความรวมมือระหวางประเทศที่สําคัญ ซึ่งระบุเรื่องนี้ไว ชัดเจน อาทิ • เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยหากประเทศ สามารถสงเสริมให้เกิดการหมุนเวียนทรัพยากรในระบบอยางมีประสิทธิภาพจะมีสวนชวยให้บรรลุเปาหมาย ของ SDGs ในหลายดาน ทั้งในทางตรง เชน การหมุนวนวัสดุกลับมาใชใหม การลดของเสีย การลดขยะ อาหาร จะชวยให้ประเทศตาง ๆ บรรลุเปาประสงคภายใตเปาหมายที่ 12 ( สรางหลักประกันให้มีแบบแผน การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน) และเปาหมายที่ 11 ( ทําให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย มีความปลอดภัยทั่วถึง พรอมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน) และทางออม เชน สรางงานและรายได้ จากธุรกิจใหมดานเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งจะชวยให้บรรลุเปาประสงคภายใตเปาหมายที่ 1 ( ขจัดความยากจน) และเปาหมายที่ 14 ( อนุรักษ์และใชประโยชนจากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอยางยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน) เป็นตน • อนุสัญญาสหประชาชาติวาด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยแนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนได้รับการยอมรับวาจะมีบทบาทสําคัญที่ชวยลดปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ โดยมีประมาณศักยภาพของแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนวา หากใชแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนใน 5 กลุ่ม วัตถุดิบ คือ ซีเมนต อลูมิเนียม เหล็ก พลาสติก และอาหาร จะสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจก จากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑได้รอยละ 45 ของการปลอยตามปกติ หรือคิดเป็นประมาณ 9.3 พันลานตัน คารบอนไดออกไซด เทียบเทาภายในป ค.ศ. 2050 หรือเทียบเทากับการลดการปลอยกาซเรือนกระจก ทั้งหมดจากภาคขนสง ณ เวลาปจจุบันให้เหลือศูนย • สหภาพยุโรปออกแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้รับแนวทาง ไปกําหนดนโยบายในระดับประเทศให้สอดคลองกัน โดยได้ออกแผนปฏิบัติการสหภาพยุโรปสําหรับ เศรษฐกิจหมุนเวียน (EU action plan for the Circular Economy) ตั้งแต่ป ค.ศ. 2015 เพื่อให้มั่นใจวา

4 7 ทุกประเทศจะมุงหาแนวทางการเปลี่ยนผานที่จะสรางโอกาสใหม ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม โดยให้การดําเนินงานเป็นภาระสําหรับประชาชนและภาคธุรกิจให้นอยที่สุด ในป ค.ศ. 2020 สหภาพยุโรป ได้เผยแพรแผนปฏิบัติการวาด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียนฉบับใหม เพื่อยุโรปที่สะอาดและมีขีดความสามารถ ในการแขงขันที่มากกวาเดิม ( A new Circular Economy Action Plan: For a cleaner and more com petitive Europe) โดยระบุวาเพื่อเป็นการดําเนินการตามขอกําหนดโยบาย Green Deal ของสหภาพยุโรป ที่ต้องการสรางรูปแบบการเติบโตแบบใหม ที่ยั่งยืน โดยตระหนักถึงความทาทายจากการเปลี่ยนแปลง ทางสภาพภูมิอากาศ การเสื่อมลงของทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงดานประชากรและความกาวหน้า ของเทคโนโลยี ทําให้ต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางและการเติบโตรูปแบบใหมให้สามารถตอบโจทย การมีทรัพยากรที่จํากัด การสรางงานและการความมั่งคั่งในอนาคต ซึ่งสหภาพยุโรปแสดงความมุงมั่น ต้องการเป็นผู้นําในการเปลี่ยนผานไปสูภูมิภาคที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติและ climate neutral ภายใน ป ค.ศ. 2050 ผานการดําเนินการในเรื่องระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy) พลังงานหมุนเวียน ( renewable energy) อาคารประหยัดพลังงาน ( energy- efficient building) และการขนสงที่ปลอยมลภาวะต่ํา (low- emission transport) 2.1.8 สถานการณอุตสาหกรรมเหมืองแรของโลก 2.1.8.1 การลงทุนสํารวจแร การลงทุนสํารวจแรในภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งไทยมีแนวโนมที่ไม่ดีนักในการดึงดูดการลงทุน สํารวจแรเมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ ของโลก ซึ่งเห็นได้อยางชัดเจนจาก “ สวนแบงทางการตลาด ” หรือ สัดสวนของการใชจายเพื่อการลงทุนสํารวจแรของภูมิภาคอาเซียนที่ลดลงอยางต่อเนื่อง โดยจากยอดรวม การใชจาย 197 . 7 ลานดอลลารสหรัฐเพื่อการลงทุนสํารวจแรในภูมิภาคอาเซียนมีสัดสวนเพียงรอยละ 2 . 4 ของการใชจายเพื่อการลงทุนสํารวจแรของโลกทั้งหมดประมาณ 8 , 327 . 6 ลานดอลลารสหรัฐ และ เมื่อพิจารณาแนวโนมในชวงป พ.ศ. 2554 - 2563 พบวาการใชจายเพื่อการลงทุนสํารวจแรในภูมิภาค อาเซียนและแปซิฟกลดลงอยางต่อเนื่องจากระดับสูงสุดในป พ.ศ. 2555 ที่ 1 , 347 ลานดอลลารสหรัฐ หรือสัดสวนรอยละ 6 . 5 ของการใชจายทั้งโลก มาอยู่ที่ระดับต่ําสุดในป พ.ศ. 2563 ที่ 270 . 8 ลานดอลลาร สหรัฐ หรือคิดเป็นสัดสวนเพียงรอยละ 3 . 2 ของการใชจายทั้งโลก ซึ่งเป็นการใชจายเพื่อลงทุนสํารวจแร ที่ต่ําที่สุดในรอบ 15 ปของภูมิภาคอาเซียนและแปซิฟก การลงทุนสํารวจแรของภูมิภาคอาเซียนลดลงทั้งในเชิงมูลคาในรูปของตัวเงินและ เชิงเปรียบเทียบในรูปของสัดสวนตาง ๆ ซึ่งแนวโนมการลงทุนดานการสํารวจแรที่ลดลงของภูมิภาค อาเซียนจะเป็นภัยคุกคามที่รายแรงต่ออุตสาหกรรมเหมืองแรในอนาคตของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งการลดลงของทั้งเงินลงทุนและกิจกรรมในการสํารวจในพื้นที่ใหม ซึ่งจะลดโอกาส ในการคนพบแหลงแรใหม ๆ ที่มีศักยภาพที่จะนํามาพัฒนาเป็นเหมืองเพื่อขยายการเติบโตดานการคา และการลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร หรือแมแต่เพื่อรักษาระดับการผลิตแรในปจจุบันของภูมิภาคอาเซียน ต่อไปได้

4 8 2.1.8.2 ความต้องการสรางความมั่นคงดานวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม การเติบโตของตลาดสินคาเทคโนโลยีสมัยใหมในปจจุบัน เชน โทรศัพทมือถือ ยานยนตไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ทําให้ความต้องการแรที่เป็นวัตถุดิบของอุตสาหกรรมเหลานี้ เชน โลหะหายาก ลิเทียม นิกเกิล เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งแรเหลานี้มักมีผู้ผลิตรายใหญของโลกอยู่จํานวนไม่มาก เชน จีนเป็นผู้ผลิตแรโลหะหายากรายใหญของโลก อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตนิกเกิลรายใหญของโลก ประเทศผู้ผลิต สินคาเทคโนโลยีเหลานี้จําเป็นต้องพึ่งพาการนําเขาจากประเทศผู้ผลิตแรดังกลาว จนบางครั้งอาจทําให้เกิด ปญหาการจัดหาวัตถุดิบให้อุตสาหกรรมและนําไปสูขอพิพาททางการคาระหวางประเทศได้ เชน กรณี แรโลหะหายากระหวางสหรัฐอเมริกากับจีน กรณีแรนิกเกิลระหวางสหภาพยุโรปกับอินโดนีเซีย นอกจากนี้ ยังมีปญหาทางดานภูมิรัฐศาสตรโลกจนลุกลามเป็นสงครามระหวางประเทศ สงผลต่อหวงโซอุปทาน ของระบบการผลิตในหลายอุตสาหกรรม เชน กรณีสงครามระหวางรัสเซียและยูเครนที่สงผลกระทบต่อ หวงโซการผลิตและวัตถุดิบตาง ๆ ซึ่งรวมถึงแรสําคัญหลายชนิดที่ใชในอุตสาหกรรมยุคใหม ปจจุบันหลายประเทศที่เป็นผู้ผลิตสินคาเทคโนโลยีสมัยใหม เชน สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สหภาพยุโรป ได้พยายามสรางความมั่นคงดานวัตถุดิบให้กับอุตสาหกรรมของตนเอง โดยเฉพาะวัตถุดิบ ที่มีความสําคัญอยางมากต่ออุตสาหกรรม ประเทศเหลานั้นได้ดําเนินการจัดลําดับความสําคัญของวัตถุดิบ ภาคอุตสาหกรรม โดยจัดทําเป็นบัญชีกําหนดประเภทหรือชนิดของวัตถุดิบที่มีความสําคัญยิ่งยวด ( Critical raw materials: CRM) เพื่อให้สามารถกําหนดแนวทางบริหารจัดการวัตถุดิบที่มีความสําคัญ แตกตางกันได้อยางเหมาะสม เชน สหภาพยุโรปได้จัดทําและประกาศแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับวัตถุดิบ CRM (Action Plan on Critical Raw Materials ) สหรัฐอเมริกามีนโยบายผอนปรนความเขมงวดดานกฎระเบียบ ในการพัฒนาเหมืองใหมเพื่อลดภาระดานกฎระเบียบสําหรับแร CRM ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ของรัฐบาล รัสเซียประกาศแผนการลงทุนสําหรับแรโลหะหายาก เป็นตน 2.1.8.3 ความรวมมือดานแรธาตุของอาเซียน ความรวมมือดานแรธาตุของอาเซียนได้ริเริ่มขึ้นในป พ.ศ. 2539 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งให้กับความรวมมือดานแรธาตุของอาเซียน เนื่องจากอุตสาหกรรมแร เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมาอยางยาวนาน โดยความรวมมือดานแรธาตุของอาเซียน แบงออกเป็น 4 ดาน ได้แก 1) การอํานวยความสะดวกดานการคา และการลงทุนดานแร 2) การพัฒนาดานแรอยางยั่งยืน 3) การเสริมสรางศักยภาพบุคลากรในการพัฒนา ดานแร และ 4) การพัฒนาฐานขอมูลดานแร โดยแต่ละดานจะมีคณะทํางาน (working g roup) ดําเนินการ ภายใตแผนปฏิบัติการความรวมมือดานแรธาตุอาเซียน หรือ ASEAN Minerals Cooperation Action Plan เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมรัฐมนตรีดานแรธาตุอาเซียน ครั้งที่ 7 (The 7th ASEAN Ministerial Meeting on Minerals : AMMin) ได้หารือรวมกันเกี่ยวกับบทบาทที่สําคัญ ของอุตสาหกรรมแรในการสนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งรวมถึงบทบาทในการกระตุนและสงเสริม การบูรณาการทางดานธุรกิจและเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเนนย้ําถึงความจําเป็นในการเสริมสราง ความเขมแข็งดานการคาและการลงทุนในอุตสาหกรรมแร โดยเฉพาะอยางยิ่งการคาและการลงทุน ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน ควบคู่ไปกับการเสริมสรางขีดความสามารถของภูมิภาคอาเซียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมแร

49 นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้หารือเกี่ยวกับความรวมมือดานแรธาตุของอาเซียนในการแสวงหา โอกาสและรับมือกับความทาทายที่มีต่ออุตสาหกรรมแรของโลก เชน โอกาสจากการนําเทคโนโลยี และนวัตกรรมในยุคดิจิทัลมาใชในการประกอบการ บทบาทของแรและโลหะที่ทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้น ต่อการเปลี่ยนผานไปสูสังคมคารบอนต่ํา เป็นตน ซึ่งปจจุบันคณะทํางานความรวมมือดานแรธาตุ ของอาเซียน ทั้ง 4 ดาน ได้นําประเด็นดังกลาวมาเป็นสวนหนึ่งในการจัดทําแผนปฏิบัติการความรวมมือ ดานแรธาตุอาเซียน ฉบับที่ 3 ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2564 - 2568) 2.2 สถานการณและแนวโนมภายใน การประเมินสถานการณและแนวโนมภายในจะใชขอมูลสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา จะมีผลต่ออุตสาหกรรมเหมืองแรและการบริหารจัดการแรของไทยในอนาคต เชน สถานการณดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมมาพิจารณารวมกับขอมูลสถานการณอุตสาหกรรมเหมืองแรของไทย เพื่อใชประเมิน สภาพแวดลอมการบริหารจัดการแรของประเทศไทยต่อไป โดยมีสาระสําคัญโดยสังเขป 2.2.1 สถานการณเศรษฐกิจไทย นับตั้งแต่ชวงตนป 2563 สถานการณการแพรระบาดของโควิด - 19 ได้สงผลกระทบต่อ ประเทศไทยอยางกวางขวางและรุนแรงในระดับที่ไม่เคยปรากฏมากอน แมวาที่ผานมาประเทศไทย จะประสบความสําเร็จในการปองกันและควบคุมโรคในระดับหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับหลายประเทศในโลก ทวาการแพรระบาดของโรคอยางรุนแรงและต่อเนื่องได้สงผลกระทบไปถึงมิติดานเศรษฐกิจและดานอื่น ๆ นอกเหนือไปจากวิกฤติการณดานสาธารณสุข ทั้งยังถูกซ้ําเติมด้วยผลกระทบจากสงครามระหวางรัสเซีย และยูเครน สงผลให้เกิดการหยุดชะงักของหวงโซการผลิตและการคาระหวางประเทศ แมกระทั่งการหดตัว ของรายได้จากภาคการทองเที่ยวเนื่องจากการจํากัดการเดินทางในชวงที่ผานมา ตลอดจนความผันผวน รุนแรงในตลาดการเงินโลกและภาวะเศรษฐกิจถดถอย สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปดเผยวา เศรษฐกิจไทย ในป พ.ศ. 2563 หดตัวรอยละ 6.2 ซึ่งรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่วิกฤติเศรษฐกิจป พ.ศ. 2540 เป็นตนมา สําหรับป พ.ศ. 2564 เศรษฐกิจไทยสามารถฟนตัวได้ดีกวาที่คาดการณไว โดยขยายตัวได้รอยละ 1.6 ซึ่งการฟนตัวทางเศรษฐกิจไทยยอมสงผลกระทบทางบวกเชื่อมโยงไปยังทุกภาคสวนของระบบเศรษฐกิจ ในประเทศ รวมทั้งอุตสาหกรรมเหมืองแรซึ่งเป็นอุตสาหกรรมตนน้ํา และมีอุปสงคสืบเนื่องมาจาก อุตสาหกรรมพื้นฐานที่ใชแรเป็นวัตถุดิบ สําหรับแนวโนมเศรษฐกิจไทยในป พ.ศ. 2565 สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติคาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 2.7 - 3.2 โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้น ของการบริโภคภาคเอกชนและภาคการทองเที่ยว รวมทั้งการสงออกสินคาที่ขยายตัวในเกณฑดีต่อเนื่อง โดยคาดวามูลคาการสงออกสินคาในรูปเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาจะเพิ่มขึ้นรอยละ 7.9 การอุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 4.4 และรอยละ 3.1 ตามลําดับ สวนอัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ย อยู่ในชวงรอยละ 6.3 - 6.8 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลรอยละ 1.6 ของ GDP โดยมีปจจัยสนับสนุน

5 0 ได้แก การขยายตัวในเกณฑดีของการบริโภคภายในประเทศ การปรับตัวดีขึ้นของภาคการทองเที่ยว และการขยายตัวในเกณฑดีของภาคการเกษตร อยางไรก็ตาม ยังคงมีขอจํากัดและปจจัยเสี่ยงจาก ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจโลก ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงทามกลางแนวโนม การเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย ความไม่แนนอนของสถานการณแพรระบาดของโรคโควิด - 19 และการระบาด ของโรคฝดาษลิง ตลอดจนความเสี่ยงจากสถานการณอุทกภัย 2.2.2 สถานการณสิ่งแวดลอมไทย 2.2.2.1 สถานการณ SDG ของไทย ในป พ.ศ. 2564 ดัชนี SDGs ของประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 43 จาก 165 ประเทศ ตกลงมาจากเดิมในป 2563 ที่อยู่ในอันดับ 41 จาก 166 ประเทศ คะแนนดัชนีของป พ.ศ. 2564 อยู่ที่ 74.2 คะแนน ต่ํากวาป พ.ศ. 2563 ที่ได้ 74.5 คะแนน เพียงเล็กนอย แต่ถือวาสอดคลองกับ ทิศทางของทั่วโลกที่มีคะแนนดัชนี SDGs ลดลงจากปกอนหน้า ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบอันดับกับประเทศ ในทวีปเอเชียพบวา ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 3 ของเอเชีย รองจากญี่ปุน (อันดับ 18) และเกาหลีใต (อันดับ 28) ตามลําดับ และยังคงเป็นประเทศที่มีคะแนนดัชนี SDGs สูงที่สุดในอาเซียนติดต่อกันเป็นปที่ 3 ( พ.ศ. 2562 - ปจจุบัน) รูปที่ 2 อันดับและคะแนนดัชนี SDGs ของประเทศไทยตั้งแต่ป พ.ศ. 2559 - 2564 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2564) สําหรับสถานการณรายเปาหมายในป พ.ศ. 2564 เปาหมายที่ประเทศไทยบรรลุแล้ว คือ SDG 1 ยุติความยากจน โดยตัวชี้วัดของเปาหมายนี้วัดจากจํานวนประชากรที่อยู่ในภายใตเสนความยากจน ต่ําสุดที่เกณฑของธนาคารโลกกําหนดไวที่ 1.9 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 60 บาท/วัน อยางไรก็ตาม หากพิจารณาตามเสนความยากจนภายในประเทศปจจุบัน ถือวาผู้ที่มีรายได้นอยกวา 3,000 บาท/เดือน เป็นคนยากจน ขอมูลจากรายงานสถานการณความยากจนและเหลื่อมล้ําในป 2562 ซึ่งเป็นการรายงาน สถานการณลาสุดของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบวา ประเทศไทยจะยังมีคนยากจน อยู่ราวรอยละ 6.24 ของประชากร ในป พ.ศ. 2562

5 1 สวนเปาหมายที่มีความทาทายสูง (สีแดง) จํานวน 5 เปาหมาย โดยเมื่อพิจารณาระดับ ตัวชี้วัดจะพบวา ประเด็นที่เป็นความทาทายของประเทศไทย ได้แก • SDG 2 ขจัดความหิวโหย ประเด็นที่มีสถานะทาทายสูง คือ ดัชนีการบริหาร จัดการไนโตรเจนที่ยั่งยืน ปริมาณการสงออกสารกําจัดศัตรูพืชที่เป็นอันตราย • SDG 3 มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ประเด็นที่มีสถานะทาทายสูง คือ อัตราผู้ปวยวัณโรค อัตราการตายบนทองถนน • SDG 10 ลดความเหลื่อมล้ํา ประเด็นที่มีสถานะทาทายสูง คือ สถานการณ ความเหลื่อมล้ําระหวางรายได้ของผู้มีรายได้ และสัดสวนพัลมา (palma ratio) • SDG 14 การใชประโยชนจากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล ประเด็น ที่มีสถานะทาทายสูง คือ พื้นที่ทางทะเลที่ได้รับความคุมครองความหลากหลายทางชีวภาพ ความสะอาด ของน้ําทะเล และการจับปลาในปริมาณมากเกินกวาประโยชนที่ได้รับ • SDG 15 การใชประโยชนจากระบบนิเวศบนบก ประเด็นที่มีสถานะทาทายสูง คือ การคุมครองความหลากหลายของระบบนิเวศในพื้นที่ชุมน้ํา และดัชนีสายพันธุสิ่งหายาก รูปที่ 3 สถานการณรายเปาหมาย SDGs ของประเทศไทยในป พ.ศ. 2564 (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2564) 2.2.2.2 สถานการณเศรษฐกิจหมุนเวียนของไทยในดานการใชประโยชนจากทรัพยากร ผลลัพธทางเศรษฐกิจ (GDP) ต่อหนวยการใชประโยชนจากทรัพยากร หรือผลิตภาพ การใชทรัพยากร ( Material Productivity) ของประเทศไทยต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับตางประเทศ โดยพบวา ในป พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีผลิตภาพการใชทรัพยากรอยู่ที่ $1.3/กิโลกรัม ขณะที่ประเทศญี่ปุน เกาหลีใต และมาเลเซียมีผลิตภาพการใชทรัพยากรอยู่ที่ $4.2/กิโลกรัม $3.2/กิโลกรัม และ $1.6/กิโลกรัม ตามลําดับ โดยประเทศไทยมีปริมาณการใชหรือบริโภคทรัพยากรในประเทศรายประชากร ( Domestic Material onsumption: DMC/Capita) เพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นจาก 9.87 ตันต่อประชากร

5 2 ในป พ.ศ. 2550 เป็น 12.70 ตันต่อประชากรในป พ.ศ. 2560 คิดเป็นการเพิ่มขึ้นรอยละ 28 ในระยะเวลา 10 ป ปริมาณการใชแรของประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่อง เพื่อใชเป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมการผลิตแรกลุ่มหินปูนมีปริมาณการใชประโยชนมากที่สุด คิดเป็นประมาณรอยละ 80 ของปริมาณการใชแรทั้งหมด โดยสวนใหญใชในอุตสาหกรรมปูนซีเมนตและอุตสาหกรรมกอสราง ซึ่งคอนขางมีความพรอมในการทําเศรษฐกิจหมุนเวียน เนื่องจากผลิตภัณฑปูนซีเมนตสามารถนํากลับมาใชใหม (r ecycle) ได้ทั้งหมด และอุตสาหกรรมกอสรางมีศักยภาพในการรองรับการนําวัสดุอื่น ๆ นํากลับมาใชใหม เป็นวัสดุกอสราง 2.2.3 สถานการณและแนวโนมอุตสาหกรรมเหมืองแรไทย 2.2.3.1 การลงทุนสํารวจแรของไทย ภาพรวมดานการลงทุนสํารวจแรของไทยเปรียบเทียบกับการลงทุนสํารวจแรของภูมิภาค อาเซียนในป พ.ศ. 2563 จะมีการใชจาย 197.7 ลานดอลลารสหรัฐ อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีการใชจาย เพื่อลงทุนสํารวจแรมากที่สุด 94.8 ลานดอลลารสหรัฐ หรือคิดเป็นสัดสวนรอยละ 48 ของการใชจายทั้งหมด ในภูมิภาคนี้ รองลงมา คือ ฟลิปปนส 29 ลานดอลลารสหรัฐ (รอยละ 15) และเมียนมา 24.8 ลานดอลลาร สหรัฐ (รอยละ 13) ตามลําดับ และถาไม่นับรวมสิงคโปรที่ไม่มีทรัพยากรแรแล้ว จะทําให้ประเทศไทย เป็นประเทศลําดับสุดทายของภูมิภาคอาเซียนที่มีการใชจายเพื่อลงทุนสํารวจแรเพียง 0.6 ลานดอลลารสหรัฐ ตารางที่ 1 การลงทุนสํารวจแรของภูมิภาคอาเซียนในป พ.ศ. 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) 2.2.3.2 บัญชีทรัพยากรแรของไทย ป พ.ศ. 2564 (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2564) ประเทศไทยพบทรัพยากรแรมากกวา 40 ชนิด ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 95,038 ตารางกิโลเมตร (60 ลานไร) หรือคิดเป็นรอยละ 19 ของประเทศ ปริมาณทรัพยากรแรทั้งประเทศรวมประมาณ 30 ลานลานตัน ประเมินมูลคาแรเบื้องตนรวมกวา 49,000 ลานลานบาท จําแนกเป็น (1) แรเชื้อเพลิงและพลังงาน ได้แก ถานหิน (ลิกไนต) มีประมาณ

5 3 2,000 ลานตัน คิดเป็นมูลคาประมาณ 2 ลานลานบาท (2) หินอุตสาหกรรม ได้แก หินปูน หินบะซอลต หินแกรนิต หินแอนดีไซต์ หินไรโอไลต หินทราย หินควอรตไซต์ และหินออน ปริมาณทรัพยากรแรรวม ประมาณ 9,422,064 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 1,718 ลานลานบาท (3) หินประดับ ได้แก หินแกรนิต หินทราย หินออน และหินไนส มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 70,354 ลานลูกบาศกเมตร คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 363 ลานลานบาท (4) แรเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต ได้แก หินปูน หินดินดาน และยิปซัม มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 1,244,239 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 312 ลานลานบาท (5) โลหะมีคาและหินมีคา ได้แก ทองคํา (โลหะ) มีปริมาณทรัพยากรแรประมาณ 213 ตัน คิดเป็นมูลคาประมาณ 0.40 ลานลานบาท (6) โลหะพื้นฐาน ได้แก สังกะสี ดีบุก ทองแดง (โลหะ) และพลวง มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 27,609 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 7,875.18 ลานลานบาท (7) เหล็กและโลหะผสมเหล็ก ได้แก เหล็ก มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 235 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 0.81 ลานลานบาท (8) แรอุตสาหกรรมเซรามิก ได้แก เฟลดสปาร ดินขาว บอลลเคลย ควอตซ และทรายแกว มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 3,497 ลานตัน คิดเป็นมูลคา รวมประมาณ 2.17 ลานลานบาท (9) แรอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก โดโลไมต แบไรต ฟลูออไรต เกลือหิน โพแทช ไพโรฟลไลต และหินปูน (เพื่ออุตสาหกรรมเคมี และเพื่ออุตสาหกรรมอื่น ๆ) มีปริมาณ ทรัพยากรแรรวมประมาณ 19,366,732 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 38,485 ลานลานบาท และ (10) โลหะเบาและแรหายาก ได้แก ธาตุหายาก (โลหะ) มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 5 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 4.20 ลานลานบาท หากพิจารณากรณีรายชนิดแร พบวาเกลือหินเป็นแรที่มีปริมาณมากที่สุดในประเทศ มีประมาณ 18 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 59.87 ของปริมาณทรัพยากรแรทั้งประเทศ ทั้งนี้ หากไม่รวม เกลือหินพบวาทรัพยากรแรที่มีปริมาณสูงสุด 5 อันดับถัดมา ได้แก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง มีประมาณ 8 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 73.42 ของปริมาณทรัพยากรแรในสวนที่ไม่นับรวมเกลือหิน หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต มีประมาณ 1 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 10.27 หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่น ๆ มีประมาณ 7 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 6.60 แรโพแทช มีประมาณ 4 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 3.37 และหินทราย มีประมาณ 2 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 2.17 ตามลําดับ ทรัพยากรแรเหลานี้ถูกนําไปใช ประโยชนในอุตสาหกรรมพื้นฐานและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เชน เกลือหิน ใชในอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมการยอมและฟอกหนัง อุตสาหกรรมการผลิตปุยและตัวยาฆาวัชพืช หรือใชทําเกลือสําหรับ ประกอบการทําอาหารหรือเก็บรักษาอาหาร แรโพแทชใชในอุตสาหกรรมการผลิตปุยโพแทสเซียม สวนหินปูนใชในอุตสาหกรรมซีเมนตและอุตสาหกรรมกอสราง เป็นตน 2.2.3.3 การทําเหมืองแร จากฐานขอมูลใบอนุญาตประทานบัตร โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรม (ขอมูล ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2564) พบวา ประเทศไทยมีประทานบัตรระบุสถานะ ประทานบัตร “ มีอายุ ” รวมกันทั้งสิ้น 869 แปลง กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยประทานบัตร สวนใหญเป็นการประกอบการหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง จํานวน 335 แปลง รองลงมา ได้แก หินอุตสาหกรรมเพื่อซีเมนต จํานวน 153 แปลง แรอุตสาหกรรมชนิดตาง ๆ จํานวน 314 แปลง โพแทชและเกลือหิน จํานวน 8 แปลง และถานหิน จํานวน 59 แปลง ตามลําดับ

5 4 ในสวนของการออกใบอนุญาตสํารวจแรประเภทอาชญาบัตรซึ่งออกโดยกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร (ขอมูล ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2564) พบวา ใบอนุญาตอาชญาบัตรตาง ๆ ที่ยังมีอายุ มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 91 แปลง จําแนกเป็น อาชญาบัตรพิเศษ จํานวน 51 แปลง และอาชญาบัตรผูกขาด สํารวจแร จํานวน 40 แปลง ทั้งนี้ อาชญาบัตรพิเศษชนิดแรที่สํารวจสวนใหญ คือ ทองคํา จํานวน 44 แปลง และแรชนิดอื่น จํานวน 7 แปลง สําหรับอาชญาบัตรผูกขาดสํารวจแรสวนใหญเป็นชนิดแรหินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง จํานวน 12 แปลง สวนที่เหลือเป็นชนิดแร เชน แรดีบุก วุลแฟรม ชีไลต เซอรคอน อิลเมไนต โมนาไซต์ แทนทาไลต และโคลัมไบต เป็นตน รวมจํานวน 38 แปลง 2.2.3.4 สถานการณอุตสาหกรรมเหมืองแรไทย ในชวงป พ.ศ. 2554 - 2563 ประเทศไทยสามารถผลิตแรได้มากกวา 40 ชนิด มูลคา การผลิตแร ในประเทศมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 59 , 815 ลานบาท ในป พ.ศ. 2554 เป็น 72 , 778 ลานบาท ในป พ.ศ. 2563 แต่ถาพิจารณาในชวงป พ.ศ. 2560 - 2563 พบวา มูลคาการผลิตแรลดลงเฉลี่ย รอยละ 4 . 5 ต่อป สวนแนวโนมของปริมาณการผลิตแรในประเทศรวมทุกชนิดเพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่อง จาก 221 . 8 ลานตัน ในป พ.ศ. 2554 เป็น 256 . 6 ลานตัน ในป พ.ศ. 2563 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.1 ต่อป สอดคลองกับความต้องการใชแรสําหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องภายในประเทศ ซึ่งการผลิตแร สําหรับใชในประเทศของไทยสวนใหญจะเป็นแรจําพวกหินอุตสาหกรรม เชน หินปูน หินแกรนิต หินบะซอลต และแรเชื้อเพลิง คือ ถานหินลิกไนต สวนแรที่ผลิตเพื่อการสงออก เชน ยิปซัม มีแนวโนมลดลงอยางชัดเจน ตั้งแต่ป พ.ศ. 2560 แสดงให้เห็นวาอุตสาหกรรมเหมืองแรของไทยเริ่มปรับทิศทางไปสูการผลิตแร เพื่อใชสําหรับอุตสาหกรรมภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น หนวย : ลานบาท/รอยละ รูปที่ 4 มูลคาการผลิตแรและอัตราการขยายตัว ป พ.ศ. 2554 - 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) 59,815 61,265 60,724 64,183 63,630 87,746 77,193 77,024 74,466 72,778 + 4.9 % + 2.4 % - 0.9 % + 5.9 % - 0.9 % + 37.9 % - 12.0 % - 0.2 % - 3.3 % - 2.3 % -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 มูลคาการผลิตแรและอัตราการขยายตัว

5 5 ปริมาณการใชแรที่ผลิตได้ในประเทศในชวงป พ.ศ. 2554 - 2563 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ตามความต้องการใชแรสําหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องภายในประเทศที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางต่อเนื่อง เชนเดียวกัน เชน อุตสาหกรรมผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมเซรามิก อุตสาหกรรมแกวและกระจก เป็นตน โดยในชวงป พ.ศ. 2554 - 2558 ปริมาณการใชแรมีอัตรา การขยายตัวเฉลี่ยคอนขางสูงถึงรอยละ 4 ต่อป กอนที่จะชะลอตัวลงในชวงป พ.ศ. 2559 - 2563 มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 0 . 8 ต่อป ทําให้การผลิตแรของไทยถูกใชสําหรับอุตสาหกรรม ภายในประเทศเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยแรที่มีปริมาณการใชสูงที่สุดในป พ.ศ. 2563 คือ หินปูน 173 . 9 ลานตัน สวนใหญใชในอุตสาหกรรมกอสรางและอุตสาหกรรมปูนซีเมนต รองลงมา คือ ถานหินลิกไนต 13 . 4 ลานตัน ใชในการผลิตไฟฟา สวนหินบะซอลต และหินแกรนิตและมีปริมาณการใช 14 . 4 และ 12 . 2 ลานตัน สวนใหญใชในอุตสาหกรรมกอสราง ตามลําดับ หนวย : ลานบาท/รอยละ รูปที่ 5 ปริมาณการใชแรและอัตราการขยายตัว ป พ.ศ. 2554 - 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) นอกจากการใชแรที่ได้จากการผลิตภายในประเทศแล้ว ประเทศไทยยังมีความจําเป็น ที่จะต้องนําเขาแรจากตางประเทศ เนื่องจากแรบางชนิดไม่สามารถผลิตได้เองหรือผลิตได้แต่ยังไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ ทําให้ประเทศไทยต้องนําเขาสินคาแรเป็นจํานวนมาก โดยกลุ่มแรนําเขาที่สําคัญคือ แรเชื้อเพลิง ซึ่งคิดเป็นสัดสวนมากกวารอยละ 70 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด เนื่องจากไทยสามารถผลิต ถานหินลิกไนตได้เพียงชนิดเดียว แรเชื้อเพลิงที่นําเขามาจะถูกใชเป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟา และอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก ถานหินแอนทราไซต์ ถานหินบิทูมินัส ถานหินโคก และถานหินชนิดอื่น ๆ ซึ่งแรเชื้อเพลิงเหลานี้ต้องซื้อขายโดยอางอิงราคาตลาดโลก ทําให้มูลคาการนําเขาในภาพรวมในชวง ป พ.ศ. 2554 - 2563 คอนขางผันผวนตามปริมาณการนําเขาและราคาของแรแต่ละชนิดในแต่ละป ทั้งนี้ ในป พ.ศ. 2563 มีการนําเขาแรมากกวา 70 ชนิด คิดเป็นมูลคาการนําเขาสูงถึง 56 , 844 ลานบาท โดยในป พ.ศ. 2563 กลุ่มแรเชื้อเพลิงที่มีปริมาณการนําเขาสูงที่สุด คือ ถานหินชนิดอื่น 15.4 ลานตัน นําเขาจากอินโดนีเซียและรัสเซีย แรอโลหะที่มีปริมาณการนําเขาสูงสุด คือ หินฟลินต 0.33 ลานตัน นําเขาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สวนแรโลหะที่มีปริมาณการนําเขาสูงสุด คือ แมงกานีส 0.07 ลานตัน นําเขาจากเมียนมา 198 200 217 227 233 246 244 246 253 243 + 3.2 % + 1.3 % + 8.3 % + 4.5 % + 2.9 % + 5.3 % - 0.5 % + 0.5 % + 2.9 % - 4.0 % -5.0 0.0 5.0 10.0 0 50 100 150 200 250 300 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ปริมาณการใชแรและอัตราการขยายตัว

5 6 หนวย : ลานบาท/รอยละ รูปที่ 6 มูลคาการนําเขาแรและอัตราการขยายตัว ป พ.ศ. 2554 - 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) สําหรับการสงออกสินคาแรของไทยมีทั้งการสงออกในรูปแรดิบเนื่องจากผลิตได้มากเกินกวา ความต้องการภายในประเทศ เชน ยิปซัม แอนไฮไดรต และการนําเขาแรดิบมาเพิ่มมูลคากอนสงออก เชน โลหะดีบุก ซึ่งการสงออกสินคาแรของไทยในชวงป พ.ศ. 2554 - 2557 มีมูลคาประมาณ 25 , 000 - 30 , 000 ลานบาท แต่หลังจากนั้นการสงออกสินคาแรของไทยมีแนวโนมลดลงอยางต่อเนื่อง โดยเฉพาะในชวง ป พ.ศ. 2560 - 2563 ที่ลดลงจนเหลือเพียง 12 , 000 - 13 , 000 ลานบาท เนื่องจากมีคู่แขงรายใหม ในตลาดสงออกยิปซัมที่สําคัญของไทย และการระงับการประกอบกิจการเหมืองแรทองคําเอาไวกอน ตั้งแต่ป พ.ศ.2560 รวมถึงแนวโนมการผลิตแรที่มีเปาหมายเพื่อใชสําหรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ สินคาแรสงออกที่สําคัญของไทยในชวงปพ.ศ. 2560 - 2563 ได้แก โลหะดีบุก ยิปซัม แอนไฮไดรต โซเดียมเฟลดสปาร และโดโลไมต โดยในป พ.ศ. 2563 มีการสงออกสินคาแรรวมทั้งสิ้น 11 , 907 ลานบาท ลดลงจากป พ.ศ. 2562 มากถึง 1 , 434 ลานบาท ตารางที่ 2 มูลคาการสงออกสินคาแรที่สําคัญของไทย ป พ.ศ. 2558 - 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) หนวย : ลานบาท 2558 2559 2560 2561 2562 2563 โลหะดีบุก 4, 275 5, 188 5, 481 5, 504 5, 544 5, 512 ยิปซัม 5, 018 4, 336 3, 675 3, 668 3, 205 2, 927 แอนไฮไดรต 674 880 896 913 798 813 โซเดียมเฟลดสปาร 708 569 610 593 1, 397 637 โดโลไมต 469 555 487 509 395 480 แรอื่น ๆ 6, 292 8, 612 1, 730 1, 707 1, 912 1, 538 รวม 17, 436 20, 140 12, 879 12, 895 13, 250 11, 907 59,158 62,900 55,514 63,440 61,978 57,874 66,110 72,820 62,190 56,844 + 5 . 3 % + 6 . 3 % - 11 . 7 % + 14 . 3 % - 2 . 3 % - 6 . 6 % + 14 % + 10 . 1 % - 14 . 6 % - 8 . 6 % -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 0 20,000 40,000 60,000 80,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 มูลคาการนําเขาแรและอัตราการขยายตัว

5 7 2.2.3.5 คาภาคหลวงแร คาภาคหลวงแรที่รัฐจัดเก็บได้ในชวงป พ.ศ. 2560 - 2563 มีแนวโนมแกวงตัว อยู่ในชวง 3 , 700 - 3 , 900 ลานบาท เนื่องจากคาภาคหลวงแรจะแปรผันไปตามปริมาณและราคาแร แต่ละชนิดที่มีการผลิตในแต่ละป โดยในป พ.ศ. 2563 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร สามารถจัดเก็บคาภาคหลวงแรได้ 3 , 730 ลานบาท ลดลงจากป พ.ศ. 2562 รอยละ 4.2 โดยแร ที่สามารถจัดเก็บคาภาคหลวงได้มากที่สุด คือ หินปูน 2 , 061 ลานบาท รองลงมา คือ ลิกไนต 515 ลานบาท ยิปซัม 256 ลานบาท เกลือหิน 113 ลานบาท และหินแกรนิต 109 ลานบาท ตามลําดับ คาภาคหลวง จากแรทั้ง 5 ชนิดนี้มีมูลคารวมกันถึง 3 , 054 ลานบาท หรือคิดเป็นสัดสวนสูงถึงรอยละ 81 . 9 ของคาภาคหลวงแรที่จัดเก็บได้ทั้งหมด ตารางที่ 3 การจัดเก็บคาภาคหลวงแรของไทย ป พ.ศ. 2558 - 2563 (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) หนวย : ลานบาท 2558 2559 2560 2561 2562 2563 หินปูน 1, 165 2, 068 2, 110 2, 113 2, 103 2, 061 ลิกไนต 589 648 624 554 537 515 ยิปซัม 298 275 246 253 309 256 เกลือหิน 85 105 116 118 121 113 หินแกรนิต 50 748 78 105 114 109 อื่น ๆ 853 659 662 645 712 676 รวม 3, 040 4, 503 3, 836 3, 789 3, 896 3, 730 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ออกกฎกระทรวงกําหนดพิกัด อัตราคาภาคหลวงแร พ.ศ. 2561 ซึ่งออกตามความมาตรา 5 วรรคสี่ และมาตรา 132 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้กําหนดให้คิดอัตราคาภาคหลวงจากราคาตลาดที่อธิบดี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรประกาศกําหนด ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญ ของอัตราการเรียกเก็บคาภาคหลวงแรของไทย โดยแรสวนใหญมีอัตราคาภาคหลวงตั้งแต่รอยละ 4 ถึงรอยละ 10 และแรโลหะบางชนิดที่มีราคาสูง (แรดีบุก แรทองคํา แรตะกั่ว แรที่มีทังสติกออกไซด และแรสังกะสี) จะเรียกเก็บในอัตรากาวหน้าตั้งแต่รอยละ 2 ถึงรอยละ 20 ตามชวงระดับราคา นอกจากนี้ ยังกําหนดอัตราคาภาคหลวงสําหรับแรที่สงออกในอัตราที่สูงกวาแรที่ใชเพื่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ คาภาคหลวงแรที่จัดเก็บได้จากประทานบัตรแต่ละแปลงจะถูกออกแบงออกเป็น 2 สวน โดยสวนแรกจะถูกนําสงเป็นรายได้ของรัฐรอยละ 40 และสวนที่เหลืออีกรอยละ 60 จะถูกจัดสรรให้กับ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตามที่ได้กําหนดอัตราที่ได้รับการจัดสรรไวในพระราชบัญญัติกําหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เพื่อนําไปใชในการพัฒนา ทองถิ่น โดยแบงออกเป็น 4 สวน คือ รอยละ 20 จัดสรรให้แกองคการบริหารสวนจังหวัดที่ประทานบัตร

5 8 ตั้งอยู่ รอยละ 20 จัดสรรให้แกองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลที่ประทานบัตรตั้งอยู่ รอยละ 10 จัดสรรให้แกองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลอื่นในจังหวัดเดียวกับที่ประทานบัตรตั้งอยู่ และรอยละ 10 จัดสรรให้แกองคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลในจังหวัดอื่น ทั้งนี้ เพื่อให้มีการกระจายผลประโยชนจากการประกอบกิจการเหมืองแรอยางเป็นธรรม มากยิ่งขึ้น พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้กําหนดให้มีการจัดสรรผลประโยชนพิเศษให้แกองคกร ปกครองสวนทองถิ่นที่เป็นที่ตั้งของเขตพื้นที่การทําเหมือง และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีเขตติดต่อ กับเขตพื้นที่การทําเหมืองที่อาจได้รับผลกระทบจากการทําเหมืองด้วย 2.2.3.6 ความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแรกับปจจัยการผลิตและอุตสาหกรรม ต่อเนื่องจากแร การผลิตแรกอให้เกิดประโยชนต่อภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของหลายภาคสวน ไม่วาจะเป็น ผู้ประกอบการเหมืองแร (ในรูปของผลตอบแทนจากการจําหนายแร) ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เป็นปจจัย การผลิตสําหรับการผลิตแร หรือ supplier ( ในรูปของผลตอบแทนจากการจําหนายสินคาและบริการ ให้แกผู้ประกอบกิจการเหมืองแร) ภาครัฐ (ในรูปของภาษีและคาธรรมเนียมตาง ๆ) แรงงานหรือพนักงาน ในบริษัทเหมืองแร (ในรูปของคาจางแรงงานหรือเงินเดือน) นอกจากนี้ ผลประโยชนที่สําคัญที่เกิดจาก พัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ประโยชนที่เกิดจากการใชแรเป็นวัตถุดิบสําหรับ อุตสาหกรรมพื้นฐานหรืออุตสาหกรรมต่อเนื่องจากแร ( forward linkage ) เชน อุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟา อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมเซรามิก แกว และกระจก อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับ เป็นตน อุตสาหกรรมตาง ๆ เหลานี้ ลวนสรางมูลคาเพิ่มและ สรางงานให้แกประเทศเป็นจํานวนมาก จากขอมูลในตารางปจจัยการผลิต - ผลผลิต ป พ.ศ. 2558 ที่จัดทําโดยสํานักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นขอมูลลาสุดที่เผยแพรทางเว็บไซต์ ในสาขาการผลิต 108 สาขาของตารางปจจัยการผลิต - ผลผลิต มีสาขาที่เกี่ยวของกับการทําเหมืองแรจํานวน 11 สาขา พบวา สาขาเหมืองแรมีมูลคาผลผลิตภายในประเทศประมาณ 116 , 647 ลานบาท โดยสาขาที่มีมูลคา ผลผลิตรวมสูงที่สุด คือ สาขา 040 การทําเหมืองหินและการยอยหิน ซึ่งมีมูลคา 54 , 823 ลานบาท รองลงมาได้แก สาขา 039 การทําเหมืองหินปูน (21 , 765 ลานบาท) และสาขา 041 การทําเหมืองแร และเหมืองหินอื่น ๆ (17 , 941 ลานบาท) ตามลําดับ มูลคาผลผลิตแรภายในประเทศ สามารถแบงเป็น 3 สวนหลัก ได้แก มูลคาปจจัยการผลิต ขั้นกลางภายในประเทศ ซึ่งเป็นผลประโยชนที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เป็นปจจัยการผลิตสําหรับ การทําเหมืองแร หรือ supplier ได้รับจากการจําหนายสินคาหรือบริการซึ่งเป็นปจจัยการผลิตให้แก ผู้ประกอบการเหมืองแร คิดเป็นมูลคาประมาณ 49 , 046 ลานบาท มูลคาปจจัยการผลิตขั้นกลางที่นําเขามา จากตางประเทศ 6 , 347 ลานบาท และมูลคาเพิ่มหรือมูลคาที่เกิดจากการผลิตแรที่ไม่ใชมูลคาปจจัยการผลิต ประมาณ 66 , 753 ลานบาท หรือประมาณรอยละ 57 ของมูลคาผลผลิต ทั้งนี้ มูลคาเพิ่มจากการทําเหมืองแร คิดเป็นสัดสวนประมาณรอยละ 0.8 ของมูลคาเพิ่มจากการผลิตสินคาและบริการทั้งหมดภายในประเทศ (GDP ) ซึ่งมีมูลคาประมาณ 13.9 ลานลานบาท ในป พ.ศ. 2558

59 ตารางที่ 4 สาขาเหมืองแรในตารางปจจัยการผลิต - ผลผลิต (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร, 2563) สาขาที่ ชื่อสาขา รายละเอียด 030 การทําเหมืองถานหิน การทําเหมืองถานหินและลิกไนต 032 การทําเหมืองแรเหล็ก การขุดและแต่งแรเหล็ก 033 การทําเหมืองแรดีบุก การขุดและแต่งแรดีบุก 034 การทําเหมืองแรทังสเตน การขุดและแต่งแรวุลแฟรม และชีไลต 035 การทําเหมืองแรอื่นที่มิใชแรเหล็ก การขุดและแต่งแรอื่นที่มิใชแรเหล็ก เชน พลวง โครไมต ทองแดง แมงกานีส โคลัมไบต ซีโนไทม สังกะสี เซอรคอน และแรตะกั่ว ฯลฯ 036 การทําเหมืองแรฟลูออไรต การขุดเจาะแรฟลูออไรต 037 การทําเหมืองแรที่ใชเคมีภัณฑและปุย การขุดเจาะและการทําเหมืองแรที่ใชทําเคมีภัณฑ และปุย เชน ฟอสเฟต ไพโรฟลไลต แมกนีเซียมคารบอเนตและอื่น ๆ 038 การผลิตเกลือ การขุดเจาะเกลือหิน และผลิตภัณฑเกลือทะเล 039 การทําเหมืองหินปูน การขุดเจาะหินปูน 040 การทําเหมืองหินและการยอยหิน กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน กรวด ทราย ดินเหนียว และหินออน 041 การทําเหมืองแรและเหมืองหินอื่น ๆ การทําเหมืองแรและเหมืองหินที่มิได้จัดประเภทไวในสาขาอื่น ๆ เชน แคลไซต์ ไดอาโตไมต โดโลไมต เฟลดสปาร ยิปซัม ดินเหนียว ปนปูน ดินขาว ทรายละเอียด และหินมีคาตาง ๆ ในสวนของสาขาการผลิตที่เป็นปจจัยการผลิตสําหรับการทําเหมืองแร ( backward linkage ) มีจํานวนทั้งสิ้น 67 สาขา จาก 108 สาขา สาขาที่สําคัญ ได้แก โรงกลั่นน้ํามันปโตรเลียม การซอมแซม ยานพาหนะ การขนสงสินคาทางบก การผลิตเครื่องจักรและอุปกรณพิเศษ เป็นตน หนวย: ลานบาท รูปที่ 7 มูลคาปจจัยการผลิตขั้นกลางภายในประเทศที่ถูกใชในการผลิตแร ( backward linkage) ( ดัดแปลงจากตารางปจจัยการผลิต - ผลผลิต ป พ.ศ. 2558 สํานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2563)

6 0 ผลประโยชนที่สําคัญที่เกิดจากการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ประโยชนที่เกิดจากการใชแรเป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมพื้นฐานหรืออุตสาหกรรมต่อเนื่องจากแร (Forward Linkage ) เชน อุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟา อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมเซรามิก แกว และกระจก อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ เป็นตน ซึ่งอุตสาหกรรมตาง ๆ เหลานี้ ลวนสรางมูลคาเพิ่มและสรางงานให้แกประเทศเป็นจํานวนมาก โดยจากขอมูลในตารางปจจัย การผลิต - ผลผลิต พบวา มีอุตสาหกรรมที่ใชแรเป็นวัตถุดิบทั้งสิ้น 76 สาขา จาก 108 สาขา กลาวคือ ประมาณรอยละ 70 ของสาขาการผลิตของประเทศมีการใชแรเป็นวัตถุดิบ สาขาที่สําคัญ ได้แก การกอสราง งานบริการสาธารณะที่ไม่เกี่ยวกับงานเกษตร การผลิตซีเมนต การกอสรางอาคารที่ไม่ใชที่อยู่อาศัย การผลิตผลิตภัณฑโลหะที่มิใชเหล็ก และการผลิตผลิตภัณฑคอนกรีต เป็นตน หนวย: ลานบาท รูปที่ 8 มูลคาการใชแรเป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ ( forward linkage) ( ดัดแปลงจากตารางปจจัยการผลิต - ผลผลิต ป พ.ศ. 2558 สํานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2563) 2.2.3.7 แนวโนมของอุตสาหกรรมเหมืองแรของไทยในระยะต่อไป สถานการณและบริบททางเศรษฐกิจ ภูมิรัฐศาสตร สังคม และสิ่งแวดลอมของโลก และประเทศไทยในปจจุบันที่มีความเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว บริบททางการคาและการลงทุนระหวาง ประเทศที่มีการแขงขันรุนแรงมากขึ้น ทําให้ประเทศตาง ๆ ต้องปรับตัวเพื่อควาโอกาสในการพัฒนา และแสวงหาประโยชนจากระบบเศรษฐกิจโลก ประกอบกับสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19 ) ซึ่งสงผลกระทบต่อหวงโซอุปทานของภาคอุตสาหกรรม ทําให้ตลาด ลงทุนซบเซา แรเป็นทรัพยากรที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นอยางมาก โดยอุตสาหกรรมแร กอให้เกิดประโยชนต่อระบบเศรษฐกิจจากทั้งดานการผลิต การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศ และยังเป็นวัตถุดิบขั้นตนสําหรับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ ปจจุบันความต้องการใชแรขยายตัว และถูกเรงด้วยการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โดยเฉพาะการปรับตัวเขาสูวิถีดิจิทัล สงผลต่อความต้องการใชแร เพื่อการผลิตวัสดุอุปกรณคอมพิวเตอร ไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและอื่น ๆ ( h ardware) ซึ่งครอบคลุมแร กลุ่มโลหะพื้นฐาน ( b ase metals) โลหะแอลคาไลน ( a lkali metal) โลหะมีคา ( p recious metals)

6 1 แรหายาก (Rare earth) และแรอุตสาหกรรม นอกจากนี้ การปรับตัวสูการใชพลังงานสะอาดเพื่อมุงสูเปาหมาย การลดปริมาณการปลอยคารบอนยังเป็นตัวกระตุนสําคัญให้เกิดการขยายตัวของการใชแรอยางกาวกระโดด โดยการปรับตัวไปสูพลังงานสะอาดจําเป็นต้องใชอุปกรณ เชน กังหันลม เซลลสุริยะ ( s olar cell) และแบตเตอรี่ เป็นตน ทั้งนี้ ประเทศตาง ๆ มีแผนในการเปลี่ยนแปลงโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน โดยทบวงการพลังงานระหวางประเทศ หรือ IEA (International Energy Agency) ได้คาดการณวา ปริมาณการใชแรเพื่อรองรับการปรับตัวเขาสูพลังงานสะอาดอาจเพิ่มขึ้นถึง 4 เทาจากประมาณ 7 ลานตัน ในป พ.ศ. 2563 เพิ่มเป็นประมาณ 28 ลานตัน ในป พ.ศ. 2580 นอกจากนี้ การขยายตัวของอุตสาหกรรม ยานยนตไฟฟาและโครงสรางพื้นฐานที่เกี่ยวของก็นับเป็นปจจัยสําคัญที่เรงการขยายตัวในการใชแร กลุ่มดังกลาวอีกทางหนึ่งด้วย สําหรับประเทศไทย ขอมูลสถิติภาคการผลิตสาขาเหมืองแร ในป พ.ศ. 2563 มีมูลคา ผลผลิตภายในประเทศประมาณ 329 , 201 ลานบาท หรืออาจกลาวได้วามูลคาเพิ่มจากการทําเหมืองแร คิดเป็นสัดสวนประมาณรอยละ 2.1 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) โดยผลประโยชนสําคัญ ที่เกิดจากอุตสาหกรรมเหมืองแรอีกประการหนึ่ง คือ ประโยชนที่เกิดจากการใชแรเป็นวัตถุดิบสําหรับ ภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากแร (f orward linkage) เชน อุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมการผลิต กระแสไฟฟา อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมเซรามิก อุตสาหกรรมเคมี รวมไปถึงภาคการเกษตร ดังในกรณีของปุยโพแทช เป็นตน ซึ่งอุตสาหกรรมตาง ๆ เหลานี้ ลวนสรางมูลคาเพิ่มและกอให้เกิดการจางงาน เป็นจํานวนมาก ทั้งนี้ จากขอมูลบงชี้วา ประมาณรอยละ 70 ของภาคการผลิตของประเทศมีการใชแร เป็นวัตถุดิบ ในขณะที่ความต้องการใชแรของประเทศไทย มีทิศทางการเติบโตที่สอดคลองกับทิศทาง ความต้องการของโลก ทั้งในดานของแรอโลหะ เชน หินอุตสาหกรรมเพื่อการกอสราง และหินอุตสาหกรรม เพื่ออุตสาหกรรมปูนซีเมนต ซึ่งจําเป็นต่อการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยภายหลังการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยคาดการณวา มูลคาการลงทุนกอสรางโดยรวมจะขยายตัว รอยละ 5.0 - 5.5 ในป พ.ศ. 2565 - 2566 โดยมีปจจัยขับเคลื่อนหลักมาจากการลงทุนโครงการ ขนาดใหญของภาครัฐ รวมถึงเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกหรือ EEC สําหรับดานแรโลหะพื้นฐาน โลหะมีคา แรหายาก และแร อุตสาหกรรมอื่น ๆ ก็มีทิศทางความต้องการที่เพิ่มขึ้นเชนเดียวกัน โดยเมื่อพิจารณาถึงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2561 - 2580 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 ที่กําหนดนโยบายสงเสริมการใชพลังงานทดแทนและมีเปาหมายขยายกําลังการผลิตไฟฟาใหมจากพลังงาน หมุนเวียนเป็น 1 ใน 3 ของกําลังผลิตไฟฟาใหมในชวงระยะเวลาของแผน อีกทั้ง คณะกรรมการนโยบาย ยานยนตไฟฟาแห่งชาติได้กําหนดแนวทางการสงเสริมยานยนตไฟฟาของประเทศผานนโยบาย 30/30 ที่มีเปาหมายเพิ่มสัดสวนการผลิตรถยนตปลอดมลพิษ (Zero Emission Vehicle: ZEV) เป็นรอยละ 30 ของการผลิตรถยนตในประเทศในป พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) เพื่อสงเสริมและผลักดันอุตสาหกรรม ยานยนตไฟฟาของไทย ซึ่งปจจัยเหลานี้ลวนชี้ให้เห็นแนวโนมการเติบโตของความต้องการใชแร ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับกระแสโลก ดังนั้น แมโลกและประเทศไทยจะมีปจจัยเสี่ยงจากหลากหลายดาน แต่อยางไรก็ตาม วัตถุดิบแรจะเป็นสวนสําคัญที่มีสวนตั้งแต่ตนทางในการชวยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมตาง ๆ ของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยุคใหมที่ต้องใชวัตถุดิบขั้นสูงมากขึ้น จึงมีโอกาสและความเป็นไปได้สูง ที่อุตสาหกรรมแรของประเทศไทยจะถูกยกระดับความสําคัญให้มากขึ้นและมีการเติบโตที่มากขึ้น เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปตามเปาหมายของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ

6 2 2.2.3.8 การมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการแร การมีสวนรวมของประชาชนถือเป็นหลักสากลที่ทุกประเทศให้ความสําคัญในการบริหารราชการ ตามหลักธรรมาภิบาลภาครัฐจะต้องเปดโอกาสให้ประชาชนและผู้มีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวนได้รับรู รวมคิด รวมตัดสินใจเพื่อสรางความโปรงใสและเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของภาครัฐให้ดียิ่งขึ้น และเป็นที่ยอมรับรวมกันของทุกฝ่าย ซึ่งภายใตหลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชนตาม International Association for Public Participation ได้แบงระดับของการสรางการมีสวนรวม ของประชาชนเป็น 5 ระดับ ได้แก การให้ขอมูลขาวสาร ( i nform) การปรึกษาหารือหรือการรับฟง ความคิดเห็น ( c onsult) การมีสวนรวม ในการตัดสินใจหรือเสนอแนะแนวทาง ( involve ) การมีสวนรวม ในการดําเนินงาน ( c ollaborate) และการให้อํานาจแกประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด (e mpower) ทั้งนี้ การสรางการมีสวนรวมดังกลาวสามารถทําได้หลายระดับและหลายวิธีการตามความเหมาะสม ของกระบวนการทํางาน ซึ่งบางวิธีสามารถทําได้งาย แต่บางวิธีจําเป็นต้องใชเวลา ขึ้นอยู่กับระดับของ การมีสวนรวมและขั้นตอนที่จะเปดโอกาสให้ประชาชนเขามามีสวนรวม จากผลการศึกษากรอบแนวคิดการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการแร ของประเทศไทยโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พบวา การมีสวนรวมของประชาชน หรือชุมชนที่มีสวนได้สวนเสียตามพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 คอนขางเปดกวางกับการมีสวนรวม ของประชาชน โดยมีขั้นตอนการมีสวนรวมที่สําคัญสี่ประการ คือ ประการแรก ต้องเปดเผยขอมูล การขอประทานบัตร และขอมูลการกําหนดเขตพื้นที่ประทานบัตร โดยต้องมีการปดประกาศให้ประชาชน รับทราบขอมูลไม่นอยกวา 30 วัน ประการที่สอง ต้องเปดให้มีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ที่มีสวนได้สวนเสียในเขตพื้นที่ที่จะออกประทานบัตร หากประชาชนในชุมชนไม่เห็นด้วยและไม่สามารถ หาขอยุติได้ จะต้องจัดให้มีการทําประชามติจากคนในชุมชนในเขตพื้นที่ขอประทานบัตร เพื่อหาขอยุติ ดังกลาวโดยผู้ขอประทานบัตรเป็นผู้รับผิดชอบคาใชจาย ประการที่สาม เปดโอกาสให้ประชาชนหรือชุมชน ที่มีสวนได้สวนเสียสงตัวแทนเพื่อเขารวมเป็นคณะกรรมการแรและคณะกรรมการแรจังหวัด ซึ่งมีอํานาจ ในการให้ความเห็นชอบในการอนุญาตหรือไม่อนุญาต ต่ออายุ การโอน การเพิกถอน และกําหนดเงื่อนไข เกี่ยวกับประทานบัตรหรืออาชญาบัตรได้ รวมทั้งสามารถเสนอความเห็นเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติม หรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ที่เกี่ยวของกับการทําเหมืองได้ และประการที่สี่ เปดโอกาสให้ผู้มีสวนได้สวนเสียมีสวนรวม ในการดําเนินการควบคุมและเฝาระวังผลกระทบจากการทําเหมืองแร โดยกําหนดให้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการควบคุมเฝาระวังผลกระทบจากการทําเหมือง ซึ่งกรรมการจะประกอบด้วยตัวแทน ของผู้มีสวนได้สวนเสียด้วยเชนกัน เมื่อวิเคราะหการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้สวนเสียภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบกับหลักการมีสวนรวมตามมาตรฐานสากลซึ่งประกอบด้วยระดับขั้นของการมีสวนรวม 5 ระดับ ตามที่ได้กลาวมาแล้วขางตน พบวา บทบัญญัติภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 สอดคลองและเป็นไป ตามหลักการตามมาตรฐานสากล ตั้งแต่การเปดเผยขอมูลในขั้นตอนการขอประทานบัตรหรือใบอนุญาต ของผู้ทําเหมืองแร การรับฟงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตออกประทานบัตร ตลอดจน

6 3 การให้สิทธิผู้มีสวนได้สวนเสียสามารถรวมตัดสินใจหรือรวมดําเนินการในการบริหารจัดการแร ทั้งการมีสวนรวม ในกระบวนการตรวจสอบและเฝาระวังผลกระทบจากการทําเหมืองแร ตลอดจนถึงการมีสวนรวม ในการเสนอแนะนโยบายการบริหารจัดการ การแกไขกฎระเบียบที่อาจสงผลกระทบต่อชุมชนและ สิ่งแวดลอมตาง ๆ ด้วย นอกจากนี้ภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ยังเปดกวางให้ประชาชน มีอํานาจในการตัดสินใจหรือลงประชามติในกรณีที่ไม่สามารถหาขอยุติจากการรับฟงความคิดเห็น เกี่ยวกับการออกประทานบัตรได้ซึ่งถือเป็นการเปดให้ประชาชนมีสวนรวมในระดับสูงสุดตามหลักการ การมีสวนรวมของสากล อยางไรก็ดี เมื่อวิเคราะหการมีสวนรวมตามขั้นตอนของหวงโซการผลิตแรภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ยังเห็นได้วาการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้สวนเสียในการบริหารจัดการแรของประเทศไทย ยังไม่ครอบคลุมในทุกขั้นตอนและทุกกระบวนการของอุตสาหกรรมแร เชน ขั้นตอนการออกอาชญาบัตร หรือใบอนุญาตสํารวจแรภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 กําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ทองถิ่นเทานั้น โดยแมกฎหมายมิได้กลาวถึงการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้สวนเสียในขั้นตอนดังกลาว แต่ตามกรอบนโยบายและแผนยุทธศาสตรในการบริหารจัดการทรัพยากรแรทองคําที่ได้กําหนดให้มี การปดประกาศให้ประชาชนรับทราบในขั้นตอนการยื่นคําขออาชญาบัตรพิเศษสํารวจแรทองคํา รวมทั้ง กระทรวงอุตสาหกรรมได้กําหนดแนวปฏิบัติในการแจงให้ประชาชนทราบเกี่ยวกับการอนุญาตอาชญาบัตร ผูกขาดสํารวจแรและอาชญาบัตรพิเศษแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีขอพิจารณาวาเป็นเพียงการแจงให้ประชาชน รับทราบ ซึ่งอาจไม่เพียงพอต่อการแกไขปญหาความขัดแยงกับชุมชนได้เนื่องจากอาจไม่มีความเขาใจ ที่ตรงกัน นอกจากนี้ ขั้นตอนของการพัฒนาโครงการเหมืองแรหรือการทําเหมืองภายใตพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้มีการแยกรูปแบบการบริหารจัดการระหวางการทําเหมืองแรและการทําเหมืองแรใตดิน ออกจากกัน และการมีสวนรวมในการพัฒนาโครงการทําเหมืองและการทําเหมืองแรใตดินก็มีรูปแบบ การมีสวนรวมที่แตกตางกัน ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารจัดการแรมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับของชุมชน และผู้มีสวนได้สวนเสียตลอดหวงโซการบริหารจัดการการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้สวนเสียในการพัฒนา โครงการของการทําเหมืองและการทําเหมืองใตดิน อาจพิจารณาถึงรูปแบบและมาตรฐานของการมีสวนรวม ที่ให้มีความใกลเคียงกันในแต่ละขั้นตอนได้ ทั้งนี้ ควรสงเสริมให้ภาคเอกชนมีสวนรวมในการรับผิดชอบ ในการดําเนินการ โดยการสงเสริมให้เกิดการมีสวนรวมนั้นควรกําหนดให้มีตั้งแต่ขั้นกอนได้รับใบอนุญาต ไปจนกระทั่งขั้นปดเหมืองและฟนฟูพื้นที่ซึ่งการเปดให้มีสวนรวมตลอดทั้งหวงโซการผลิตแรนั้น จะชวยสรางความนาเชื่อถือและการยอมรับจากชุมชนและผู้มีสวนได้เสียในกลุ่มตาง ๆ อยางไรก็ตาม รูปแบบการมีสวนรวมในแต่ละขั้นตอนควรจะเปดโอกาสให้ภาคเอกชนเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสม ตามสถานการณและปจจัยที่แตกตางกันในแต่ละโครงการ นอกจากนี้ หนวยงานภาครัฐควรออกคู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติในการมีสวนรวมซึ่งจะชวยให้ภาคเอกชนสามารถดําเนินการได้อยางชัดเจนยิ่งขึ้น อีกทั้งการประชาสัมพันธให้ประชาชนที่สนใจทราบชองทางในการมีสวนรวม โดยหนวยงานภาครัฐ อาจใชวิธีการศึกษาคู่มือและแนวทางปฏิบัติของตางประเทศเพื่อนํามาปรับปรุงและต่อยอดให้เหมาะสม กับการสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแรตามบริบทของประเทศไทย

6 4 2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอมในการบริหารจัดการทรัพยากรแรของประเทศ การจัดทํารางแผนแมบทในการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้ใชฐานการทบทวนสภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรแร ยกตัวอยางเชน ความทาทายเชิงยุทธศาสตร ปจจัยและสภาพแวดลอม ภายนอกและภายใน รวมทั้งผลการขับเคลื่อนแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก มาประมวล ผานเครื่องมือวิเคราะหเชิงยุทธศาสตร คือ การวิเคราะหสภาพแวดลอม (SWOT Analysis) เพื่อให้ทราบ ถึงจุดแข็งและจุดออนจากปจจัยภายใน โอกาสและภัยคุกคามจากปจจัยภายนอกของการบริหารจัดการแร ในปจจุบัน จากนั้นจึงใชเครื่องมือการวิเคราะหจัดทําตาราง (TOWS Matrix) โดยการจับคู่ปจจัยภายใน และปจจัยภายนอกที่มาจากการวิเคราะหสภาพแวดลอม เพื่อกําหนดแนวทางการพัฒนาหรือแนวทาง การดําเนินงานในอนาคต ทั้งนี้ การวิเคราะหสภาพแวดลอมในการบริหารจัดการแรนี้ได้ผานการวิเคราะห และทบทวนจากผู้มีสวนได้สวนเสียตามกระบวนการและหลักเกณฑการมีสวนรวมที่กําหนดไว โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.3.1 จุดแข็ง ( strengths) S 1 พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการแรแบบองครวม โดยมีการคํานึงถึงดุลยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน S 2 มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ ที่มีองคประกอบ และอํานาจหน้าที่ชัดเจน เป็นกลไกให้เกิดการบูรณาการรวมกันของภาคสวนที่เกี่ยวของในการกําหนด นโยบายบริหารจัดการแรให้มีความชัดเจนและเป็นไปในทิศทางเดียวกันโดยคํานึงถึงปจจัยดานตาง ๆ อยางครบถวน S 3 พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ได้ปรับกระบวนการขออนุญาตอาชญาบัตรและ ประทานบัตร ให้มีขั้นตอนการทํางานของภาครัฐที่ชัดเจน มีการกระจายอํานาจมากขึ้น โดยเปลี่ยนผู้ลงนาม จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมไปเป็นอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร หรือผู้วาราชการจังหวัดแล้วแต่ประเภทของเหมือง S 4 ยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐบาลให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.3.2 จุดออน ( weaknesses) W 1 ฐานขอมูลที่ใชในการวางแผนบริหารจัดการแรของประเทศยังไม่มีความสมบูรณ เป็นปจจุบัน และยังไม่สามารถเชื่อมโยงกันได้อยางมีประสิทธิภาพเพียงพอ เชน ความครบถวนสมบูรณ ของขอมูลในการกําหนดพื้นที่ศักยภาพแรโดยภาครัฐเพื่อที่ใชสําหรับกระบวนการกําหนดเขตแหลงแร เพื่อการทําเหมือง W 2 การแบงปนผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแรอาจยังมิได้มีการจัดสรรผลประโยชน ให้กับชุมชนทองถิ่นในพื้นที่ทําเหมืองและพื้นที่ใกลเคียงที่ได้รับผลกระทบอยางเป็นธรรม W 3 ภาพลักษณของอุตสาหกรรมเหมืองแรสวนใหญยังไม่ได้รับการยอมรับจากชุมชน ทองถิ่น

6 5 W 4 ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพในบางกรณีอาจมีสาเหตุมาจาก การไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรการปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมที่กําหนดไว หรือขาดกลไกการติดตาม ตรวจสอบ เฝาระวัง และการบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ W 5 การสงเสริมสนับสนุนการวิจัยจากภาครัฐในการนํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสมัยใหม มาชวยในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรแร การแปรรูปวัตถุดิบและการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ภายในประเทศเพื่อการใชประโยชนทรัพยากรแรอยางคุมคายังมีนอย W 6 ขาดการเผยแพรและประชาสัมพันธขอมูลองคความรูเกี่ยวกับพื้นที่ศักยภาพแร พื้นที่ประทานบัตร พื้นที่อาชญาบัตร รวมทั้งองคความรูเกี่ยวกับกระบวนการทําเหมือง ปญหา ผลกระทบ ต่อชุมชนและสิ่งแวดลอม การฟนฟูหลังจากปดเหมือง W 7 ขาดการนํากลไกและระบบการจัดทําการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (Strategic Environment Assessment : SEA) ที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ เขามาใชในการบริหารจัดการแร W 8 ความนาเชื่อถือในการลงทุนในอุตสาหกรรมแรจากตางประเทศลดลง W 9 ขาดการบูรณาการของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการแรของประเทศไทย มีลักษณะการทํางานแบบแยกสวน หนวยงานหลักที่ดูแลทรัพยากรแรอยู่ตางหนวยงานทั้งในระดับนโยบาย และในระดับพื้นที่ ทําให้มีความเห็นที่ตางกันในมุมมองของการพัฒนาและการอนุรักษ์ ไม่มีความชัดเจน เพียงพอเชิงนโยบายในบางสวน เชน การสงเสริมการพัฒนาการใชประโยชนแหลงแร การประมูลแหลงแร การพิจารณาอนุญาตสิทธิสํารวจและทําเหมืองแรซึ่งทําให้เกิดความซ้ําซอนและลาชา 2.3.3 ปจจัยสนับสนุนและโอกาส (opportunities) O 1 เปาหมายตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตรระดับประเทศมุงให้มีการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานคมนาคม ขนสง และโลจิสติกสให้เป็นฐานการผลิตของภูมิภาค การสรางและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ การกําหนดอุตสาหกรรมเปาหมายที่ใชเทคโนโลยีหรือวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงซึ่งรวมถึงแรหายาก (Rare Earth) ทําให้มีความต้องการใชวัตถุดิบแรในการกอสรางและใชเป็นวัตถุดิบตั้งตนเพิ่มขึ้น O 2 การให้ความสําคัญในการพัฒนาเครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเติบโตที่มีคุณภาพในอนาคต โดยพัฒนาและยกระดับ การประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร เพื่อเป็นกลไกในการปองกันผลกระทบดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคมในพื้นที่สําคัญ โดยเพิ่มบทบาทของประชาชนในการมีสวนรวมในการอนุรักษ์ O 3 การพัฒนาประเทศไปสูประเทศไทย 4 . 0 มุงขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม เอื้อให้มีการวิจัย พัฒนานวัตกรรม และนําเทคโนโลยีใหมมาปรับใชและต่อยอดให้เกิดการใชทรัพยากรแร อยางคุมคาหรือสรางมูลคาเพิ่ม และมีการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น ตามแนวทาง ของเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy ) O 4 ระเบียบและกฎหมายในปจจุบัน มีการเปดโอกาสให้ประชาชนในพื้นที่มีสวนรวม ในการรับรูขอมูลซึ่งจะสะทอนให้เห็นปญหาที่เกิดขึ้น และยังชวยลดปญหาความขัดแยง O 6 ปจจุบันแรที่ผลิตได้ในประเทศสวนใหญใชเป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ในประเทศ

6 6 O 7 ประชาคมอาเซียนบางประเทศ มีทรัพยากรแรมากเพียงพอที่จะเป็นแหลงวัตถุดิบ ให้นํามาใชในประเทศกรณีที่ประเทศไทยมีวัตถุดิบไม่เพียงพอ O 8 โรคระบาดโควิด - 19 สงผลกระทบต่อ supply chain ของทุกภาคสวน แต่ภาคสวนตาง ๆ ได้ปรับตัวเขาสูวิถีชีวิตปกติใหม (new normal) สงผลให้อุตสาหกรรมการผลิตและการบริโภคกลับมาฟนตัว เกิดการจัดหาวัตถุดิบเพิ่มขึ้นในชวงเวลาดังกลาว รวมทั้งวัตถุดิบที่เกี่ยวของกับการปรับตัวเขาสูวิถีชีวิต ปกติใหม เชน การปรับปรุงอาคารสถานที่ การจัดซื้อจัดหาอุปกรณเพื่ออํานวยความสะดวกจากการทํางาน ที่บ้านมากขึ้นซึ่งสอดคลองกับทิศทางการปรับตัวสูการทํางานและใชชีวิตในยุคดิจิทัล 2.3.4 ภัยคุกคามและขอจํากัด (threats) T 1 พื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง พื้นที่ศักยภาพแร และเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง ซอนทับอยู่ในพื้นที่ปาและพื้นที่ลุมน้ําที่มีความสําคัญเชิงนิเวศ T 2 ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการของภาครัฐ และวิตกกังวลกับปญหา ดานผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพอนามัย ทั้งจากผลกระทบทางตรง เชน ปญหาการชะลางพังทลาย ของดินและหิน ปญหามลพิษ เป็นตน และจากผลกระทบทางออม เชน กรณีการขนสงแรโดยใชถนนหลวง ถนนสาธารณ ซึ่งสงผลกระทบให้เกิดความเสียหายต่อถนน เป็นตน เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาทรัพยากรแร ของประเทศที่สําคัญมาใชประโยชน T 3 การทําเหมืองมีความเสี่ยงที่จะสงผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดลอม ซึ่งกระบวนการ ทําเหมืองแรต้องมีการเปดหน้าดิน ทําให้เกิดการชะลาง พังทลาย การทําเหมืองแรจึงเป็นอุปสรรคในการอนุรักษ์ ทรัพยากรอื่น ๆ ทั้งนี้ ในการจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้นําประเด็นจากการวิเคราะห สภาพแวดลอมในการบริหารจัดการทรัพยากรแรของประเทศดังกลาวมาจัดทํา TOWS Matrix รายละเอียด ตามภาคผนวก จ เพื่อกําหนดกลุ่มกลยุทธกอนนําไปสูการจําแนกตามเปาหมายแต่ละเปาหมายเพื่อกําหนด เป็นแนวทางการพัฒนาและกิจกรรมหลักตาง ๆ ตามสวนที่ 3 ต่อไป

สวนที่ 3 วัตถุประสงค วิสัยทัศน เปาหมาย และแนวทางการพัฒนาในแผนแมบทการบริหารจัดการแร 3.1 วัตถุประสงค ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กําหนดทิศทาง และเปาหมายในชวงระยะเริ่มตน 5 ปแรกจนถึงระยะ 10 ป (พ.ศ. 2561 - 2570) ไว โดยมุงเนนที่การปฏิรูป และสรางฐานความมั่นคงของกลไกการบริหารจัดการแรและวางพื้นฐานกรอบนโยบายการบริหารจัดการแร ของประเทศอยางต่อเนื่อง ให้มีความชัดเจนทั้งเชิงพื้นที่และรายชนิดแรที่สําคัญทางเศรษฐกิจ รวมทั้ง สรางกลไกการปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน ลดการใชดุลพินิจ สรางความเชื่อมั่นต่อภาคการลงทุนและ ภาคอุตสาหกรรม ลดและแกไขปญหาความขัดแยงในสังคมเพื่อสรางฐานการพัฒนาสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีฐานขอมูลองคความรู เทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นํามาใช ในการบริหารจัดการแร มีการเขาถึงทรัพยากรแรอยางเป็นธรรมและมีการพัฒนาแรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม ดังนั้น จึงได้กําหนดวัตถุประสงคของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ซึ่งต่อยอดจากแผนแมบท การบริหารจัดการแรฉบับแรกไว ดังนี้ 1) เพื่อต่อยอดการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการแร และพัฒนากรอบนโยบายการบริหาร จัดการแรในภาพรวมของประเทศอยางต่อเนื่องให้มีความชัดเจนทั้งเชิงพื้นที่และรายชนิดแรที่สําคัญ ทางเศรษฐกิจ โดยคํานึงถึงการสรางมูลคาเพิ่มให้แกวัตถุดิบแร และเชื่อมโยงกับแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) ภายใตดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน 2) เพื่อพัฒนากลไกการปฏิบัติภายใตการบริหารจัดการแรของประเทศในทิศทางเดียวกัน ลดการใชดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ สรางความโปรงใสและเชื่อมั่นต่อภาคการลงทุนและภาคอุตสาหกรรม ลดและแกไขปญหาความขัดแยงในสังคมต่อการบริหารจัดการแร 3) เพื่อพัฒนาฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร องคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการแร เพื่อให้เกิดความมั่นคงดานวัตถุดิบแร รองรับการพัฒนา เศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเชื่อมโยงกับการพัฒนาภาคสวนที่เกี่ยวของภายในประเทศเป็นหลัก 4) เพื่อให้มีกลไกในการปองกัน กํากับดูแล เยียวยา และฟนฟูปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน อันเนื่องมาจากการพัฒนาทรัพยากรแรขึ้นมาใชประโยชน โดยการมีสวนรวมของชุมชน การจัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแรสูชุมชนโดยตรงและทั่วถึง และการทําเหมืองแรตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม 3.2 วิสัยทัศน ต่อยอดการปฏิรูปการบริหารจัดการแรให้มีประสิทธิภาพ โปรงใส ประชาชนเขาใจและ มีสวนรวม และสงเสริมให้เกิดนวัตกรรมเพื่อนําทรัพยากรแรที่มีอยู่มาใชให้เกิดประโยชนสูงสุดอยางยั่งยืน 6 7

68 3.3 เปาหมาย 1) มีบัญชีทรัพยากรแรที่สมบูรณเพื่อเป็นฐานสําหรับการบริหารจัดการ โดยการสํารวจ จัดทําฐานขอมูลธรณีวิทยาแหลงแรพื้นที่ทั่วประเทศ พื้นที่ศักยภาพแร การจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแร พื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมืองของประเทศ การประเมินคุณคาทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพื้นที่ การประเมินสถานการณและพิจารณาขีดจํากัด รวมทั้งความเป็นไปได้ในการใชประโยชนพื้นที่เพื่อการทําเหมือง ในภาพรวมให้สอดคลองกับสภาพความเป็นจริง ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน และกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองบนหลักพื้นฐานศักยภาพแรและการอนุรักษ์การใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสมและยั่งยืน โดยจะต้องมีความสําเร็จในการจัดทําและรวบรวม ขอมูลดานแร เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบาย เชน ขอมูลอุปสงคและอุปทานแร ปริมาณแรคงคลัง ปริมาณแรสํารอง แหลงวัตถุดิบแรที่สําคัญทั้งในประเทศและตางประเทศ และประเด็นสถานการณเรงดวน ดานทรัพยากรแร รวมทั้งมีการสํารวจพื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศและจัดทําเป็นบัญชีทรัพยากรแร ที่มีมาตรฐานภายในปสิ้นสุดแผน 2) มีการกําหนดนโยบายบริหารจัดการแรให้เกิดประโยชนสูงสุด โดยมุงเนนพื้นที่หรือ แรศักยภาพเปาหมายที่สําคัญ โดยต้องมีการจัดทําเป็นนโยบายหรือแนวทางบริหารจัดการกลุ่มแรเศรษฐกิจ หรือรายชนิดแรที่สอดคลองกับความจําเป็นและความต้องการใชประโยชนของประเทศการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานขนาดใหญและภาคอุตสาหกรรมตามแผนยุทธศาสตรชาติ ที่มีความเฉพาะและเหมาะสม กับชนิดแรนั้น ๆ และคํานึงถึงความจําเป็นและความต้องการใชประโยชนของประเทศเป็นหลัก รวมถึง การปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมเหมืองแรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภาวะวิกฤติและทิศทางใหมในอนาคต 3) มีกลไกการกํากับ ดูแล และอํานวยความสะดวก ในสวนที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนแร อาทิ ระบบการอนุมัติอนุญาตที่โปรงใส ระบบจัดสรรผลประโยชนอยางเป็นธรรม ระบบกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ เป็นตน โดยจะต้องเกิดผลอยางเป็นรูปธรรมในการปรับปรุง แกไขกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแรให้เหมาะสมและสอดรับกับสถานการณ ปจจุบันและแนวโนมในอนาคต เกิดการปรับปรุงกลไกการอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรรผลประโยชน ให้มีประสิทธิภาพและโปรงใส มีจํานวนกลไกที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาและปรับปรุงระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแลและการเฝาระวังของการทําเหมืองที่เป็นมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนา การจัดการเรื่องรองเรียนให้ได้รับการติดตามแกไขปญหาอยางเป็นระบบและตรวจสอบได้ นอกจากนี้ ยังจะต้องมีการสงเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการกลุ่มเปาหมายเขาสูมาตรฐานอุตสาหกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชนอยางต่อเนื่อง ตลอดจนเกิดวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) เกี่ยวกับการใชประโยชนจากกองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และ กองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อให้เกิดการขยายผลและเป็นตนแบบ ของการใชประโยชนจากกองทุนฯ ในทุกพื้นที่ 4) ประเทศมีฐานวัตถุดิบดานแรที่มั่นคงอยางต่อเนื่อง ด้วยการสรางและพัฒนาองคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นํามาใชในการเพิ่มมูลคาแร การนําของเสียหรือวัสดุเหลือใช กลับมาใชใหมให้เป็นแหลงวัตถุดิบทดแทนในอุตสาหกรรมยุคใหมและอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ ภายใตเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา

69 ประเทศสูอุตสาหกรรมยุคใหมโดยต้องเกิดการนําของเสีย ( w aste) ในกระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแร ของสถานประกอบการกลุ่มเปาหมายกลับมาใชประโยชนใหมได้เพิ่มขึ้น เกิดวิธีการทางปฏิบัติที่ดี (Best practice) ในการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดานการเพิ่มมูลคาแร ดานการนําของเสีย หรือวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหม และดานการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รวมทั้งบูรณาการการวิจัยรวมกับ หนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริมงานวิจัยและพัฒนาดานวัสดุผสม วัสดุทดแทนแรที่มีกระบวนการผลิต ที่ประเทศขาดศักยภาพ และแรที่มีการผลิตสงผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสังคมเพื่อสรางทางเลือกใหม ให้อุตสาหกรรมพรอมกับแกปญหาผลกระทบ ควบคู่ไปกับการวิจัยความต้องการของตลาดและความต้องการ หรือการแกไขจุดออนของการผลิตวัตถุดิบแรให้สอดคลองกัน สงเสริมให้งานวิจัยดานแรที่มีศักยภาพ ไปสูการผลิตเชิงอุตสาหกรรมทั้งสนับสนุนตลาดเดิม และพัฒนาตลาดใหมเพื่อให้เกิดการบริหารที่สมดุล ตลอดทั้งหวงโซคุณคา ตลอดจนสงเสริมให้ผู้ประกอบการกลุ่มเปาหมายปรับระบบหรือกระบวนการทําเหมือง หรือการผลิตแรให้เป็นไปตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) นอกจากนี้ ยังมุงเนนให้ เกิดวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) สําหรับการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีดานการปองกันแกไข ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนและดานการใชประโยชนจากพื้นที่ผาน การทําเหมือง เพื่อปองกันและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชนเพื่อเป็นองคประกอบไปสูการพัฒนา แหลงแรและการพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน 5) มุงเนนให้เกิดการสรางความรูความเขาใจและความตระหนักต่อภาคประชาสังคม (ประชาชนโดยทั่วไป) ให้มีความรูความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของประเทศเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังมุงเนนให้ชุมชนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมาย (ระดับพื้นที่) มีความรูความเขาใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของพื้นที่เพิ่มขึ้นเชนเดียวกัน รวมทั้งมีความยินดีที่จะเขามามีสวนรวม ในการบริหารจัดการแร และการเฝาระวังผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาใชประโยชนทรัพยากรแร ต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพประชาชนมากขึ้น โดยจะต้องเกิดการความสําเร็จของการสนับสนุน การยกระดับให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแรในแต่ละขั้นตอนโดยคํานึงถึง ความเป็นไปได้และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นอยางรอบดาน เกิดการพัฒนากลไกในการประชาสัมพันธ อยางมีทิศทาง และเอกภาพ โดยมีการจัดทําเป็นแผนการดําเนินการสื่อสารที่ชัดเจน เหมาะสมกับ กลุ่มเปาหมายแต่ละกลุ่ม โดยอาศัยเครือขายพันธมิตร และการสรางความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความรูความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรแกประชาชนทุกระดับในระยะยาว 3.4 แนวทางการพัฒนาในแผนแมบทการบริหารจัดการแร แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดแนวทางการพัฒนาเอาไว 4 ดาน ได้แก แนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร แนวทางการพัฒนา ดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร แนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชน จากแร และแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน ซึ่งแต่ละดานได้มีการกําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด และกิจกรรมหลักรองรับเอาไว โดยแยกกันตามแต่ละเปาประสงคและตัวชี้วัดอยางชัดเจน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

7 0 3.4.1 แนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร การจัดการระดับนโยบาย และการจัดการโครงสรางพื้นฐานเป็นปจจัยสําคัญในการสราง ความสามารถของอุตสาหกรรมแรในภาพรวมของประเทศ เพื่อกําหนดทิศทางในการบริหารจัดการ รายกลุ่มแรหรือรายชนิดแรให้มีความเหมาะสม และสอดคลองกับความจําเป็นและความต้องการใช ประโยชนของประเทศ รวมทั้งสอดคลองกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2565 ที่ได้เห็นชอบ นโยบายดานอุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการบูรณาการการทํางาน ของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ และภาคเอกชน รวมถึงขจัดอุปสรรคในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแร ให้สามารถพัฒนาเติบโตได้ โดยแนวทางการพัฒนาดานการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแรมุงเนน การบูรณาการสารสนเทศที่จําเป็นต่อการใชในการตัดสินใจระดับนโยบาย และสรางขีดความสามารถ ในการคาดการณการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่กระทบต่ออุตสาหกรรมแร ผานการกําหนดนโยบาย การบริหารรายกลุ่มแรที่สัมพันธกับความจําเป็นในการใชประโยชนภายในประเทศ เชน แนวทาง การบริหารจัดการแรรายชนิดที่กําหนดในแผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ได้แก ทองคํา โพแทช ควอตซ และหินอุตสาหกรรม ที่ยังคงกําหนดให้มีการติดตามผลการดําเนินการ อยางต่อเนื่องในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 แนวทางหรือมาตรการในการบริหารจัดการ หินอุตสาหกรรมที่มีการกําหนดเพิ่มเติม รวมทั้งยังจําเป็นต้องกําหนดนโยบายการบริหารรายกลุ่มแร ที่สอดคลองกับทิศทางความต้องการใชแรของอุตสาหกรรมยุคใหมของไทย โดยการพัฒนาตามแนวนโยบาย ดังกลาวจําเป็นต้องใชทรัพยากรเป็นจํานวนมาก อาทิ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ โครงการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โครงการรถไฟความเร็วสูง การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตอนาคต และการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เป็นตน ซึ่งการดําเนินนโยบายดังกลาวลวนจําเป็นต้องมีการเตรียมวัตถุดิบ ซึ่งมีองคประกอบของทรัพยากรแร ดังนั้น การบริหารจัดการแรและการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรไทย จึงเป็นปจจัยสําคัญที่จะเอื้อให้การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรชาติบรรลุผลลัพธได้ ทั้งนี้ การบริหาร จัดการแรที่มีประสิทธิภาพจะต้องครอบคลุมทั้งหวงโซคุณคาของแร ซึ่งจะมุงเนนการวิเคราะหดานอุปสงค และอุปทาน โดยในดานอุปทานต้องพิจารณาทั้งการผลิต การนําเขา และการได้มาซึ่งทรัพยากรแร แบบองครวม สําหรับดานอุปสงคจะต้องมีการคาดการณและบริหารจัดการอุปสงคจากภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจอื่นทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยการบริหารจัดการที่ใชหวงโซคุณคาควรพิจารณาแร แต่ละชนิด ซึ่งจะมีความต้องการและการจัดการที่แตกตางกัน โดยแรบางชนิดอาจมีโอกาสในการเพิ่มมูลคา ในอนาคต และคํานึงถึงแนวทางการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับเปาหมายระดับนานาชาติ เชน การประยุกตใช เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDGs) ที่เกี่ยวของเป็นหลักในการกําหนด ทิศทางการพัฒนา สําหรับการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ได้กําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองที่สอดคลองกับบทบัญญัติตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ตามภาคผนวก ข โดยมีการพิจารณาพื้นที่ศักยภาพแรตามระดับ ความเชื่อมั่นทางธรณีวิทยา และกันออกจากพื้นที่หวงหามตามมาตรา 17 วรรคสี่ แล้วประเมินความเหมาะสม

7 1 ตามมิติตาง ๆ ใน 5 ดาน ประกอบด้วย ปจจัยความเหมาะสมดานเทคโนโลยีในการทําเหมือง และสถานภาพโครงการ ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานสังคม ปจจัยดานสิ่งแวดลอม และปจจัย ดานสุขภาพของประชาชนให้เป็นไปตามหลักเกณฑการจําแนกทรัพยากรแรของประเทศไทย (Thailand Mineral Framework Classification : TMFC) ที่คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติได้ ให้ความเห็นชอบในหลักการเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563 ทั้งนี้ ยังคงคํานึงถึงสิทธิตามกฎหมาย ของผู้ประกอบการ และคํานึงถึงกระบวนการขั้นตอนที่ประชาชนจะต้องมีสวนรวมในขั้นตอนตาง ๆ ตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ 3.4.1.1 เปาประสงค 1. ประเทศไทยมีบัญชีทรัพยากรแรและขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อเป็นฐานสําหรับการบริหาร จัดการแร โดยเฉพาะในชนิดแรเปาหมายที่สําคัญ ที่มีความสอดคลองกับสภาพความเป็นจริง มีการเปรียบเทียบประโยชนเชิงเศรษฐกิจและความคุมคาที่ได้จากการทําเหมือง เมื่อเทียบกับผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพของประชาชน และความเสียหายทางสังคม โดยคํานึงถึงการตอบสนอง ความต้องการใชวัตถุดิบแรในอุตสาหกรรมยุคใหมของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์การใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสมและยั่งยืน 2. เกิดการลงทุนเพื่อสํารวจทรัพยากรแรเปาหมายที่สําคัญต่อการปฏิรูปสูอุตสาหกรรม ยุคใหมของประเทศมากขึ้น เพื่อนําไปสูการกําหนดเป็นพื้นที่ศักยภาพแรที่สามารถตอบสนองความต้องการ ใชวัตถุดิบแรตามทิศทางการพัฒนาประเทศ 3. มีการกําหนดนโยบายบริหารจัดการแรที่มีความเฉพาะและเหมาะสมกับแต่ละชนิดแร หรือแต่ละพื้นที่ให้เกิดประโยชนสูงสุด โดยคํานึงถึงความจําเป็นและความต้องการใชประโยชนของประเทศ แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) รวมถึงการปรับเปลี่ยน อุตสาหกรรมเหมืองแรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภาวะวิกฤติและทิศทางการพัฒนาในอนาคต 3.4.1.2 ตัวชี้วัด 1. รอยละของความสําเร็จในการจัดทําขอมูลดานแร เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ เชิงนโยบาย เชน ขอมูลอุปสงคและอุปทานแร ปริมาณแรคงคลัง ปริมาณแรสํารอง แหลงวัตถุดิบแร ที่สําคัญในตางประเทศ และประเด็นสถานการณเรงดวนดานทรัพยากรแร เป็นตน รอยละ 100 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัดภายในป พ.ศ. 2570 2.รอยละของพื้นที่ศักยภาพแรเปาหมายทั่วประเทศได้ถูกสํารวจทรัพยากรแร และจัดทํา เป็นบัญชีทรัพยากรแรที่มีมาตรฐานไม่นอยกวารอยละ 75 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ.2570 3. จํานวนนโยบายหรือแนวทางบริหารจัดการกลุ่มแรศักยภาพเปาหมายหรือรายชนิดแร ที่สอดคลองกับความจําเป็นและความต้องการใชประโยชนของประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ขนาดใหญและภาคอุตสาหกรรมตามแผนยุทธศาสตรชาติ ไม่นอยกวา 5 เรื่องภายในป พ.ศ. 2570

7 2 3.4.1.3 กิจกรรมหลัก 1.1 ศึกษาวิเคราะหเพื่อออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับ นโยบายตลอดทั้งหวงโซคุณคา พรอมทั้งเทคโนโลยีสนับสนุนที่จําเป็น พัฒนาวิธีการใชประโยชนจากขอมูล ขนาดใหญ (Big data) ในปแรกของแผน และดําเนินการเพื่อนําไปสูการเป็น One Map ทั้งหนวยงาน ดานความมั่นคงทางทหาร หนวยงานที่ดูแลการใชประโยชนที่ดิน พื้นที่ลุมน้ํา การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การบริหารจัดการน้ํา การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ปา การดูแลพื้นที่สงวนหวงหาม ฯลฯ เป็นตน 1.2 ศึกษาวิเคราะหสารสนเทศรวมถึงการปรับปรุงกระบวนการที่จําเป็นต่อการกําหนด เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง และการบริหารจัดการแรเชิงนโยบาย โดยดําเนินการในปแรกของแผน เชน การทบทวนรายการขอมูลสารสนเทศ การปรับปรุงหลักเกณฑการประเมินเพื่อกําหนดเขตแหลงแร เพื่อการทําเหมือง หลักเกณฑการใชประโยชนพื้นที่และสภาพการใชประโยชนพื้นที่ในปจจุบัน การเสนอเรื่อง ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อใชประโยชนพื้นที่ เป็นตน และเรงรัดการรวบรวมสารสนเทศของหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเขามาในระบบรวมกับระบบสารสนเทศที่ได้จัดทําขึ้นในการคาดการณสถานการณ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่จะกระทบต่อระบบการบริหารจัดการแรเพื่อลดความซ้ําซอน และสะดวก ต่อการใช 1.3 สงเสริมสนับสนุนการแสวงหาแหลงวัตถุดิบแรที่สําคัญจากตางประเทศในชนิดแร ที่มีความจําเป็น และสามารถสรางมูลคาเพิ่มด้วยอุตสาหกรรมต่อเนื่องในประเทศ โดยการสรางความรวมมือ และผลักดันภาคเอกชนให้สามารถแสวงหาแหลงวัตถุดิบจากตางประเทศ 1.4 เพิ่มอัตราการสํารวจและจําแนกแหลงแร โดยสงเสริมการสํารวจในเขตสําหรับ ดําเนินการสํารวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร และสงเสริมให้ภาคเอกชนที่มีขีดความสามารถ เขามาชวยเป็นเครือขายการสํารวจ ด้วยการบูรณาการการทํางานรวมกับหนวยงานเจ้าของพื้นที่ การสนับสนุน แหลงทุนในการศึกษาวิจัยและสํารวจแร เพื่อให้ประเทศมีแผนที่ศักยภาพแร แหลงแรสํารอง การจําแนก พื้นที่ศักยภาพแร และบัญชีทรัพยากรแรเพื่อการบริหารจัดการและเป็นฐานสําหรับการพัฒนาประเทศ 1.5 ศึกษาทบทวนแนวทางการกําหนดคํานิยามพื้นที่แหลงตนน้ําหรือปาน้ําซับซึม ตามมาตรา 17 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 และกําหนดวิธีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ ตามคํานิยามดังกลาวหรือวิธีการอื่นใดที่สามารถระบุขอบเขตของพื้นที่ตามคํานิยามที่ชัดเจน สามารถ นําไปใชได้ในทางปฏิบัติ ภายในครึ่งแรกของระยะเวลาตามแผนแมบทฯ และนํามาปรับปรุงในแผนแมบท การบริหารจัดการแรต่อไป 1.6 ปรับปรุงกลไกการกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง โดยทําการศึกษาปญหา อุปสรรค และประเมินความเป็นไปได้ตาง ๆ ภายในปแรกของแผน เพื่อนําไปสูการกําหนดมาตรการ แนวทาง หรือแรงจูงใจในการสงเสริมสนับสนุนให้เกิดการสํารวจแรของภาคเอกชนที่เกิดผลเป็นรูปธรรม ภายใน 3 ปแรกของแผน 1.7 เตรียมความพรอมและกําหนดแนวทางในการนําการประเมินสิ่งแวดลอมระดับ ยุทธศาสตร (SEA) มาประยุกตใชกับการบริหารจัดการแร เมื่อกฎหรือระเบียบที่เกี่ยวของกับการประเมิน สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA) มีผลบังคับใช

7 3 1.8 ศึกษาวิเคราะห Critical Raw Materials (CRM) เพื่อนําไปสูการกําหนดพื้นที่ หรือรายชนิดแรที่สําคัญให้เกิดการกําหนด ปรับปรุง พัฒนานโยบายหรือแนวทางการบริหารจัดการแร โดยคํานึงถึงการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA) ในพื้นที่หรือชนิดแรที่จําเป็น 1.9 จัดทํานโยบายหรือแนวทางบริหารจัดการกลุ่มแรศักยภาพเปาหมายหรือรายชนิดแร โดยคํานึงถึงการสรางมูลคาเพิ่มให้แกวัตถุดิบแร และแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) 1.10. สนับสนุนและผลักดันให้มีการออกมาตรการสงเสริมการลงทุนสําหรับ อุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ทั้งในกระบวนการสํารวจ การทําเหมือง การแต่งแร และการประกอบโลหกรรมโดยกําหนดชนิดแร ประเภทของกิจกรรม รวมทั้งเงื่อนไขในการสงเสริม การลงทุนให้มีความเหมาะสมโดยคํานึงถึงความจําเป็น ความต้องการใชประโยชน การสงเสริมกิจการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และการดึงดูดการลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแขงขันของประเทศ

7 4 ตารางที่ 5 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน ( Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร 1 . ประเทศไทยมีบัญชีทรัพยากรแร และขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อเป็นฐาน สําหรับการบริหารจัดการแร โดยเฉพาะ ในชนิดแรเปาหมายที่สําคัญที่มี ความสอดคลองกับสภาพความเป็นจริง มีการเปรียบเทียบประโยชนเชิงเศรษฐกิจ และความคุมคาที่ได้จากการทําเหมือง เมื่อเทียบกับ ผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดลอม สุขภาพของประชาชน และความเสียหายทางสังคม โดยคํานึงถึง การตอบสนองความต้องการใชวัตถุดิบ แรในอุตสาหกรรมยุคใหมของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์ การใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางเหมาะสม และยั่งยืน 1 . รอยละของความสําเร็จในการจัดทํา ขอมูลดานแรเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจเชิงนโยบาย เชน ขอมูลอุปสงคและอุปทานแร ปริมาณแรคงคลัง ปริมาณแร สํารอง แหลงวัตถุดิบแรที่สําคัญ ในตางประเทศ และประเด็น สถานการณเรงดวนดานทรัพยากร แรเป็นตน รอยละ 100 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีผลการดําเนินการรอยละ 100 โดย เป็นการพัฒนาฐานขอมูลบางสวนตามที่ กําหนดไวในพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 มาตรา 16 และมาตรา 17 ที่ใชในการ กําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง ตามแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรกเทานั้น - ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จ ในภาพรวมของตัวชี้วัดในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป รอยละความสําเร็จในการจัดทําขอมูลดานแรเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจเชิงนโยบาย พิจารณาจากการดําเนินการเพื่อจัดทํา และพัฒนาระบบฐานขอมูลดานแร ตลอดจนการกําหนดเขตแหลงแร เพื่อการทําเหมือง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ทบทวนประเภท ลักษณะ แหลงขอมูล และขอมูลที่จําเป็น ต่อการบริหารจัดการแร และจัดทํารายการขอมูลที่จําเป็น ในแต่ละ ประเภทให้ชัดเจนและครบถวน ทั้งขอมูลที่มีลักษณะ เป็นพลวัต (dynamic) และขอมูลลักษณะสถิตคงที่ (static) ที่มี รอบระยะเวลาในการปรับปรุงฐานขอมูลชัดเจน รวมทั้งระบุ กลุ่มผู้ใชขอมูลในแต่ละรายการตลอดจนสิทธิ์การเขาถึงขอมูล อยางเหมาะสม 2. รวบรวมและเชื่อมโยงฐานขอมูลที่จําเป็นตามรายการที่กําหนด ในขอ 1. ไม่นอยกวารอยละ 80 ของจํานวนรายการฐานขอมูล 3. มีการปรับปรุงฐานขอมูลให้เป็นปจจุบันโดยอัตโนมัติ หรือตามรอบระยะเวลาที่กําหนดในขอ 1. โดยสามารถตรวจสอบ การปรับปรุงได้ตลอดเวลา เชน ให้มีการจัดทํารายงานการปรับปรุง หรือมีระบบ log file เป็นตน 4. มีแนวทาง/มาตรการปองกันความเสียหายและมีการสํารอง ขอมูลเป็นประจํา หรือมีการจัดทําแผนการบริหารความเสี่ยง ดานระบบฐานขอมูล

7 5 ตารางที่ 5 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร ( ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวชี้วัด 5 . มีระบบบริหารจัดการการเขาถึงขอมูล ( access right ) ที่ทันสมัย เหมาะสมกับกลุ่มผู้ใชงาน โดยต้องมีการเปดเผยและ สามารถให้ประชาชนทั่วไปเป็นกลุ่มหนึ่งที่สามารถเขาถึงขอมูล ที่จําเป็นได้ ทั้งนี้ กําหนดให้ประเมินผลสําเร็จของการดําเนินการ ในแต่ละขั้นตอน โดย ขั้นตอนที่ 1 คิดเป็นรอยละ 15 ขั้นตอนที่ 2 คิดเป็นรอยละ 30 ขั้นตอนที่ 3 คิดเป็นรอยละ 25 ขั้นตอนที่ 4 คิดเป็นรอยละ 15 ขั้นตอนที่ 5 คิดเป็นรอยละ 15 2 . เกิดการลงทุนเพื่อสํารวจทรัพยากรแร เปาหมายที่สําคัญต่อการปฏิรูปสู อุตสาหกรรมยุคใหมของประเทศ มากขึ้น เพื่อนําไปสูการกําหนดเป็น พื้นที่ศักยภาพแรที่สามารถตอบสนอง ความต้องการใชวัตถุดิบแรตามทิศทาง การพัฒนาประเทศ 2 . รอยละของพื้นที่ศักยภาพแร เปาหมายทั่วประเทศ ได้ถูกสํารวจ ทรัพยากรแร และจัดทําเป็น บัญชีทรัพยากรแรที่มีมาตรฐาน ไม่นอยกวาร อยละ 75 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะ เวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ได้มีการขยายระยะเวลาบังคับใชให้สิ้นสุด วันที่ 16 มกราคม 2566 ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2566 จึงมีการติดตามผลการดําเนินงาน จนถึงสิ้นป พ.ศ. 2565 โดยแผนที่ศักยภาพแรที่มีการจําแนก เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง ดําเนินการแล้วเสร็จจํานวน 11.584 พื้นที่ศักยภาพแร หมายถึง พื้นที่ใด ๆ ที่มีแนวโนมที่จะเป็น แหลงแร โดยมีหลักฐานบงชี้จากขอมูลการสํารวจทรัพยากรแร บัญชีทรัพยากรแร หมายถึง พื้นที่ศักยภาพแรที่มีขอมูลปริมาณ ทรัพยากรแร และมูลคาทรัพยากรแร รวมถึงมีการจําแนกพื้นที่ ออกเป็นพื้นที่ศักยภาพแร พื้นที่ที่มีศักยภาพในการทําเหมือง และพื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรแร คาเปาหมาย : พื้นที่เปาหมายมีทั้งหมด 50 ลานไรที่จะต้อง ดําเนินการให้แล้วเสร็จในป 2575 โดยในชวงป 2566 - 2570 ได้กําหนดคาเปาหมายจากโครงการจัดทําบัญชีทรัพยากรแร เพื่อการบริหารจัดการอยางสมดุลตามเปาหมายที่กําหนด

7 6 ตารางที่ 5 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร ( ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวชี้วัด ลานไร คิดเป็นรอยละ 115.84 จาก เปาหมาย 10 ลานไร ในป พ.ศ. 2564 ที่กําหนดขึ้นเป็นเปาหมายภายใต แผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับ แรก หรือคิดเป็นรอยละ 23.17 จาก เปาหมายทั้งหมด 50 ลานไร ที่กําหนด ขึ้นใหมในระหวางการจัดทําแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ที่รอยละ 75 ของ 50 ลานไร หรือเทากับ 37.5 ลานไร ซึ่งที่ผานมา ในหวงเวลา ของแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรกได้ดําเนินการไป แล้วจํานวน 11.584 ลานไร คงเหลือเปาหมายที่จะดําเนินการ ในหวงระยะเวลาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 อีกจํานวน 25.916 ลานไร โดยจําแนกคาเปาหมายเป็นรายป ปละ 5.1832 ลานไร โดยมีสูตรการคํานวณรอยละของพื้นที่ฯ ดังนี้ (พื้นที่ ศักยภาพแรที่ได้ถูกสํารวจทรัพยากรแร และจัดทําเป็นบัญชี ทรัพยากรแรที่มีมาตรฐาน (สะสม) (ลานไร) / พื้นที่ศักยภาพแร เปาหมายรวม 50 ลานไร) X 100 3 . มีการกําหนดนโยบายบริหารจัดการแร ที่มีความเฉพาะและเหมาะสมกับ แต่ละชนิดแรหรือแต่ละพื้นที่ให้ เกิดประโยชนสูงสุด โดยกําหนดพื้นที่ แหลงแรศักยภาพให้ชัดเจน และ กําหนดระยะเวลาในการนําแรแต่ละ ชนิดมาใชประโยชน รวมทั้งกําหนด กลไกการพัฒนาและวิเคราะหถึง ความจําเป็นและความต้องการใช ประโยชนของประเทศ เทคโนโลยี นวัตกรรม แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ 3 . จํานวนนโยบายหรือแนวทาง บริหารจัดการกลุ่มแรศักยภาพ เปาหมายหรือรายชนิดแรที่ สอดคลองกับความจําเป็นและ ความต้องการใชประโยชนของ ประเทศ การพัฒนาโครงสราง พื้ น ฐำ น ข นำ ด ใ ห ญ แ ล ะ ภาคอุตสาหกรรม ตามแผน ยุทธศาสตรชาติ ไม่นอยกวา 5 เรื่องภายในป พ.ศ. 2570 - ภำ ย ใ ต ร ะ ย ะ เ ว ลำ บั ง คั บ ใ ช ข อ ง แ ผ น แ ม บ ท กำ ร บ ริ หำ ร จั ด กำ ร แ ร พ.ศ. 2 560 - 2564 มีการจัดทํา นโยบายฯ จํานวน 3 เรื่อง ได้แก 1) กรอบนโยบายและยุทธศาสตรใน การบริหารจัดการทรัพยากรแรทองคํา 2) การศึกษาจัดทําแนวทางการบริหาร จัดการแร กลุ่มแรอุตสาหกรรมเซรามิก 3) การศึกษาจัดทําแนวทางการบริหาร จัดการทรัพยากรแร (แรควอตซ ยิปซัม ทรายแกว และเหล็ก) จํานวนนโยบาย มาตรการ หรือแนว ทางในการบริหาร จัดการแร หมายถึง จํานวนนโยบาย มาตรการ หรือแนวทาง ในการบริหารจัดการแร ที่กําหนดหรือออกโดยคณะกรรมการ นโยบายบริหารจัดการแร หรือคณะอนุกรรมการฯ ที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรมอบหมาย โดย นโยบาย มาตรการ หรือแนวทางในการบริหารจัดการแร ที่กําหนดต้องมีเอกสารแสดงความเชื่อมโยงกับความต้องการใช ประโยชนของประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ หรือความต้องการของภาคอุตสาหกรรมตามแผนยุทธศาสตร ชาติได้อยางชัดเจน

7 7 ตารางที่ 5 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร ( ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวชี้วัด เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สี เ ขี ย ว ( BCG Model) ร ว ม ถึ ง กำ ร ปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมเหมืองแร เพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลง ภาวะวิกฤติ และทิศทางการพัฒนาในอนาคต ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสํา เร็จ ในภาพรวมของตัวชี้วัดในยุทธศาสตรการ บริหารจัดการแร 20 ป

7 8 3.4.2 แนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร แรเป็นทรัพยากรที่ใชแล้วหมดไป ดังนั้นการสรางดุลยภาพของการใชทรัพยากรแร จึงเป็นประเด็นที่สําคัญของประเทศในการพัฒนาอยางยั่งยืนและเป็นปจจัยสําคัญในการเตรียมตัวสูอนาคต โดยการที่ประเทศจะสามารถบริหารจัดการแรได้อยางมีดุลยภาพนั้น จําเป็นต้องบริหารความสมดุล ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน รวมทั้งต้องมีการพัฒนากลไกและระบบ ในการประเมินศักยภาพการพัฒนาเพื่อใชประโยชน ความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการตัดสินใจลงทุน กิจการเหมืองแร และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมแบบองครวม (holistic view) โดยคํานึงถึง การมีสวนรวมของประชาชนซึ่งเป็นกลไกสําคัญในการสรางการยอมรับ และชวยนิยามความสมดุล ของแต่ละสังคม อีกทั้งยังต้องสรางความเขาใจกับสาธารณชนในภาพรวมและกลุ่มชุมชนในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง พรอมทั้งรับฟงภาคเอกชนและภาควิชาการที่จะสามารถให้คําแนะนําที่ถูกหลัก ของการสรางดุลยภาพด้วย รัฐจําเป็นต้องจัดให้มีการบริหารแหลงแรและพื้นที่ใกลเคียงที่เหมาะสม โดยสําหรับชุมชน ในระดับทองถิ่นที่ได้รับผลกระทบโดยตรง จะต้องมีการวิเคราะหและพิจารณาผลกระทบดานเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานสาธารณสุข และดานสิ่งแวดลอม ทั้งยังต้องกําหนดมาตรการในการจัดการที่มากกวา การเยียวยาทางการเงิน เพื่อให้อุตสาหกรรมเหมืองแรสามารถอยู่รวมกับชุมชนได้ นอกจากนี้ การพัฒนา กลไกและระบบการสรางผลประโยชน และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนที่เกี่ยวของในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมจากกิจกรรมในหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแรจะต้องถูกพัฒนาอยางเป็นรูปธรรม มีการปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ ให้สนับสนุนการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแรอยางมีดุลยภาพ แนวทางการพัฒนาดานการพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชน จากการใชทรัพยากรแร เป็นการพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแลให้โปรงใสและรวดเร็ว มีระบบกํากับ ติดตาม ตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการขออนุญาตอาชญาบัตรเพื่อการสํารวจแร และการขอประทานบัตรเพื่อการทําเหมืองแร ผานกลไกการทํางานของภาครัฐที่มีการบูรณาการรวมกัน ของหนวยงานที่เกี่ยวของอยางชัดเจน โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ตลอดจนการติดตาม ตรวจสอบเฝาระวังปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอม สุขภาพ และผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องจากกิจการเหมืองแร รวมถึงการจัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแรให้กับชุมชนในพื้นที่ทําเหมืองและพื้นที่ใกลเคียง อยางเป็นธรรมและทั่วถึง สอดคลองกับความต้องการในการปองกันแกไขปญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ ของชุมชนในระดับทองถิ่น 3.4.2.1 เปาประสงค 1. มีการทบทวน ปรับปรุง และพัฒนากลไกการอนุญาตที่โปรงใส รวดเร็ว และมีระบบ กํากับ ติดตาม ตรวจสอบการประกอบกิจการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงกระบวนการมีสวนรวม 2. มีการปรับปรุงระบบจัดสรรและใชผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแรอยางเป็นธรรม และทั่วถึงสอดคลองกับความต้องการในการปองกันแกไขปญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชน ในระดับทองถิ่น

79 3.4.2.2 ตัวชี้วัด 1. รอยละความสําเร็จของกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร ได้รับการทบทวนและปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดรับกับสถานการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคต ตามเปาหมายที่กําหนด รอยละ 100 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 2. รอยละที่เพิ่มขึ้นของการปรับปรุงกลไกการอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรรผลประโยชน ให้มีประสิทธิภาพและโปรงใส รอยละ 100 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 3. จํานวนกลไกที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนาและปรับปรุงระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับ ดูแล และการเฝาระวังของการ ทําเหมืองที่เป็นมาตรฐานและ มีประสิทธิภาพ จํานวน 5 เรื่อง ภายใน ป พ.ศ. 2570 4. รอยละความสําเร็จของเรื่องรองเรียนที่ได้รับการจัดการและการติดตามแกไขปญหา รอยละ 100 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 5. รอยละของสถานประกอบการกลุ่มเปาหมายที่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชน รอยละ 50 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 6. มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) เกี่ยวกับการใชประโยชนของกองทุนเฝาระวัง สุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อการปองกันแกไขปญหาผลกระทบ และพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนไม่นอยกวา 3 กรณีตัวอยาง ภายในป พ.ศ. 2570 3.4.2.3 กิจกรรมหลัก 2.1 วิเคราะหรายละเอียดกระบวนการอนุญาตของแต่ละหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษา และประเมินความเป็นไปได้ในการปรับปรุงแกไขกฎระเบียบในเรื่องที่เกี่ยวของเพื่อเอื้อต่อการพัฒนากลไก การอนุญาต กํากับดูแล การติดตามตรวจสอบการประกอบกิจการที่โปรงใส สะดวก รวดเร็ว โดยคํานึงถึง การมีสวนรวม เชน การพิจารณาอายุใบอนุญาตตาง ๆ ที่ใชประกอบการพิจารณาอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต ประทานบัตรให้สอดคลองกัน การให้สามารถดําเนินธุรกิจไปกอนในระหวางการพิจารณาต่ออายุใบอนุญาต จนกวาจะปฏิเสธการอนุญาต การใชเอกสารหรือดําเนินกระบวนการบางสวนรวมกันระหวางหนวยงาน การพัฒนาระบบการยื่นคําขออนุญาตผานระบบอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบ One Stop Service เป็นตน โดยดําเนินการศึกษาฯ ภายในปแรกของแผน และนําไปสูการขับเคลื่อนตามผลการศึกษาฯ ในระยะเวลา ที่เหลือของแผน 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการขออนุญาตอาชญาบัตร ประทานบัตร การขอต่ออายุ ประทานบัตรและใบครอบครองแรโดยรวมออกแบบกระบวนการทํางานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาชวยในการขจัดขั้นตอนการทํางานที่เกินความจําเป็น 2.3 พัฒนากลไก และรูปแบบของการจัดสรรสิทธิใหม ๆ เพื่อทดลองและปรับเปลี่ยน ให้ภาครัฐสามารถตอบสนองภาคสวนได้อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ ศึกษาการพัฒนาและทดลองใช วิธีการประมูลการให้สัมปทานแหลงแร เป็นตน เพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุดต่อประเทศและเป็นธรรม

8 0 2.4 ศึกษาวิเคราะหความเป็นไปได้และความเหมาะสมในการปรับปรุงสัดสวนการจัดสรร คาภาคหลวงแรแกทองถิ่นที่เป็นที่ตั้งของเหมืองโดยตรงให้มากขึ้น โดยดําเนินการศึกษาฯ ให้ได้ขอสรุป ภายในปแรกของแผนฯ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลเป็นรูปธรรมในชวงเวลาของแผนฯ รวมทั้งพัฒนากลไกการกํากับ ตรวจสอบการจัดสรรผลประโยชนให้ภาครัฐ ทองถิ่น และชุมชนที่เหมาะสมและเป็นธรรมด้วยความโปรงใส โดยการประยุกตใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือดิจิทัล และให้มีการเปดเผยต่อสาธารณะ ถึงการใชผลประโยชนที่ได้รับจากการใชเงินกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามเงื่อนไขแนบทายใบอนุญาตอยางต่อเนื่อง 2.5 พัฒนาระบบการกํากับดูแลการประกอบการที่เครงครัด ทันการณ สามารถที่จะปองกัน และแกไขปญหาได้รวดเร็ว สามารถเยียวยา และฟนฟูปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ของประชาชนโดยการประยุกตใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ ทั้งอากาศยานไรคนขับ ภาพถายทางอากาศ เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยี 3 มิติในการกํากับดูแล รวมทั้งการพัฒนาระบบเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน และจัดทําฐานขอมูลดานสิ่งแวดลอม และสุขภาพ รวมถึงการให้มีการเสนอ มาตรการปองกันผลกระทบสุขภาพ และมาตรการในการเฝาระวังสุขภาพประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับ ผลกระทบจากการประกอบกิจการแร รวมทั้งขอมูลการตรวจสุขภาพของประชาชนกอน ระหวาง และหลังปดกิจการ และเผยแพรขอมูลให้กับชุมชน โดยให้มีการศึกษาประเมินความเป็นไปได้เพื่อจัดทํา แผนการพัฒนาฯ ทั้งการปรับปรุงกฎระเบียบ แนวปฏิบัติ การบูรณาการระหวางสวนราชการภายในปแรก ของแผนฯ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อนในระยะเวลาที่เหลือของแผนให้เกิดผลเป็นรูปธรรม 2.6 บูรณาการกับเครือขายการเฝาระวัง การแจงเหตุเพื่อการตรวจสอบและจัดการ แกไขปญหา และการจัดการเรื่องอื่นในพื้นที่ให้มากยิ่งขึ้น อาทิ เครือขายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เครือขายสาธารณสุข เครือขายพัฒนาสังคม เป็นตน เพื่อให้เกิดการทํางานอยางบูรณาการและยั่งยืน 2.7 ติดตามและปรับปรุงพัฒนากระบวนการและระบบสารสนเทศสําหรับการรับ และติดตามแกไขปญหาขอรองเรียนอยางต่อเนื่อง โดยให้ผู้รองสามารถติดตามสถานะเรื่องรองเรียน ได้ผานระบบอิเล็กทรอนิกสออนไลน ทั้งนี้ ให้สามารถรักษาระยะเวลาโดยเฉลี่ยของการติดตามแกไขปญหา ขอรองเรียนไวได้ตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด หรือสามารถที่จะแจงผลการติดตามแกไขปญหาได้ทันที เมื่อมีการดําเนินการแล้วเสร็จหรือมีขอสรุปในประเด็นที่มีการรองเรียน 2.8 สงเสริมให้เกิดการใชทรัพยากรแรอยางคุมคา การสรางมูลคาเพิ่มของวัตถุดิบแร การคํานึงถึงความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการทําเหมืองแร และการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และรับผิดชอบต่อสังคมมากยิ่งขึ้นตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) การสรางสังคมคารบอนต่ํา (LCS) และขยายผลรวมทั้งสื่อสารและประชาสัมพันธ ให้สาธารณะชนได้รับทราบอยางต่อเนื่อง 2.9 สรางกลไกการคนหาแนวปฏิบัติในการจัดการที่เป็นเลิศ ( b est Practice) และการจัดการ ความรูในการจัดการแรทั้งระดับพื้นที่ และระดับประเทศ เพื่อให้เกิดการรวบรวม และเผยแพรขอมูล ความรูให้เหมาะสมกับกลุ่มเปาหมายให้เกิดการรับรู และความเขาใจรวมกันของการใชประโยชน ของกองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร

8 1 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน ( B aseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด แนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร 1 . มีการทบทวน ปรับปรุง และพัฒนา กลไกการอนุญาตที่โปรงใส รวดเร็ว และมีระบบกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ การประกอบกิจการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงกระบวนการ มีสวนรวม 1 . รอยละความสําเร็จของกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของ กับการบริหารจัดการแรได้รับ การทบทวนและปรับปรุงให้เหมาะสม และสอดรับกับสถานการณปจจุบัน และแนวโนมในอนาคตตามเปาหมาย ที่กําหนด รอยละ 100 จาก เปาหมายทั้งสิ้น 20 เรื่อง ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรแร 20 ป และแผนแมบท การบริหารจัดการแรฉบับแรก โดยจะเริ่ม ดําเนินการทบทวนปรับปรุงฯ ในป พ.ศ. 2566 ภายหลังจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 ที่มีผลบังคับใช มาครบ 5 ปแล้ว กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร หมายถึง กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรืออนุบัญญัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับการบริหารจั ดการแรทั้งโดยตรงและโดยออม ภายใต พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 โดยเป็นกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรืออนุบัญญัติที่ถูกกลั่นกรองและพิจารณาโดยหนวยงาน ที่เกี่ยวของวามีความสําคัญและสงผลอยางมีนัยสําคัญต่อการบริหาร จัดการแร เชน นโยบายในการบริหารจัดการแร การรังวัด การอนุญาตและการกํากับดูแลการทําเหมือง และการพัฒนา และสงเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร เป็นการทบทวนและปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ อนุบัญญัติ ให้เหมาะสมและสอดรับกับสถานการณปจจุบัน และแนวโนมในอนาคตตามเปาหมายที่กําหนดรวมทั้งสิ้น ไม่นอยกวา 20 เรื่อง ภายในป พ.ศ. 2570 โดยกําหนด เปาหมายของความสําเร็จเป็นรอยละเพื่อให้สอดคลองกับ หนวยวัดที่กําหนดในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และจําแนกเปาหมายเป็นรายป ดังนี้ ป 2566 = 2 เรื่อง คิดเป็นรอยละ 10 ป 2567 = 3 เรื่อง คิดเป็นรอยละ (สะสม) 25 ป 2568 = 5 เรื่อง คิดเป็นรอยละ (สะสม) 50 ป 2569 = 5 เรื่อง คิดเป็นรอยละ (สะสม) 75 ป 2570 = 5 เรื่อง คิดเป็นรอยละ (สะสม) 100

8 2 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 2 . รอยละที่เพิ่มขึ้นของการปรับปรุง ก ล ไ ก กำ ร อ นุ มั ติ อ นุ ญำ ต และกา รจัดสรรผลประโยชน ให้มีประสิทธิภาพ และโปรงใส รอยละ 100 ตา มขอบเขต ที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 หรือจํานวน 6 เรื่อง ในชวงป พ.ศ.2566 - 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ได้มีการดําเนินการแล้ว 3 เรื่อง ดังนี้ 1) ปรับปรุงและพัฒนาระบบออกใบอนุญาต สงแรออกนอกราชอาณาจักรและใบอนุญาต นําแรเขาในราชอาณาจักรเพื่อรองรับ การเชื่อมโยงกับระบบ National Single Window (NSW) จํานวน 1 เรื่อง 2) ปรับปรุงระบบคําขอประทานบัตร และอาชญาบัตร ให้มีประสิทธิภาพและ นํามาใชงานเพื่อบริการประชาชน จํานวน 1 เรื่อง 3) ปรับปรุงระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบออกใบอนุญาตสงออก - นําเขาแรฯ ให้สามารถรองรับการเชื่อมโยงขอมูล อิเล็กทรอนิกสแบบ B 2 G ผานระบบ NSW Single Form ระหวางผู้ประกอบการนําเขา/ สงออก กับกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร จํานวน 1 เรื่อง การปรับปรุงกลไกการอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรรผลประโยชน หมายถึง การปรับปรุงวิธีการ ขั้นตอน แนวทาง หรือรูปแบบการปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวกับกระบวนการอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรรลประโยชน เชน การลดขั้นตอน การใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงาน และประมวลผล การเปดเผยขอมูลต่อผู้มีสวนได้สวนเสีย เป็นตน โดยมีเปาหมายในการปรับปรุงกลไกฯ เพิ่มขึ้นจากแผนแมบท การบริหารจัดการแร ฉบับแรก รอยละ 100 ตามที่กําหนดในตัวชี้วัด ของยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป ซึ่งดําเนินการได้ 3 เรื่อง จึงมีเปาหมายในหวงระยะเวลาของแผนแมบทการบริหาร จัดการแร ฉบับที่ 2 จํานวน 6 เรื่อง และมีกลไกเปาหมายที่สําคัญ เชน - การลดขั้นตอนการขอต่ออายุใบอนุญาตในพื้นที่เดิมซึ่งอยู่ ในพื้นที่ลุมน้ําต่อคณะรัฐมนตรีโดยให้เชื่อมโยงกับการกําหนด เขตแหลงแรเพื่อการทําเหมืองและการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอมในเชิงพื้นที่แหลงแรรวมกับพื้นที่ลุมน้ํา - การกําหนดแนวปฏิบัติเพื่อแกไขปญหาความไม่สอดคลอง ของอายุใบอนุญาตในการเขาใชประโยชนพื้นที่ระหวางที่มีการขอ ต่ออายุใบอนุญาต - การปรับปรุงวิธีการยื่นคําขออนุญาตประทานบัตรผานระบบ อิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมโยงการทํางานของหนวยรับคําขออนุญาต ในสวนภูมิภาคกับหนวยงานพิจารณาในสวนกลาง

8 3 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีกา รกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จในภาพรวม ของตัวชี้วัดในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป - การปรับปรุงขอบเขตและชองทางการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของ กับการขออนุญาตและผลการพิจารณาอนุญาตสิทธิสํารวจ และทําเหมืองแรให้ผู้มีสวนได้เสียเขาถึงได้อยางรวดเร็ว มากยิ่งขึ้น เป็นตน โดยรอยละของกลไกฯ ที่ได้รับการปรับปรุงจะพิจารณาจาก เปาหมายในการปรับปรุงกลไกการอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรร ผลประโยชนฯ รวม 6 เรื่อง โดยใชการเปรียบเทียบกับผล ที่สามารถดําเนินการได้แบบสะสมในแต่ละป จากสูตรการคํานวณ ดังนี้ รอยละที่เพิ่มขึ้นของการปรับปรุงกลไกฯ = ((จํานวนกลไก การอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรรผลประโยชนฯ ที่ได้รับ การปรับปรุง (สะสม)/3) - 1 ) X 100 3 . จํานวนกลไกที่เพิ่มขึ้นของการพัฒนา และปรับปรุงระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และ การเฝาระวังของการทําเหมือง ที่เป็นมาตรฐานและ มีประสิทธิภาพ จํานวน 5 เรื่อง ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ได้มีการดําเนินการแล้ว จํานวน 3 เรื่อง ดังนี้ 1) พัฒนาระบบรายงานการทําเหมือง และรายงานผู้ใชแรผานอินเตอรเน็ต 2) ปรับปรุงระบบกํากับดูแลการทําเหมืองแร โดยปรับปรุงระบบฐานขอมูลโรงงานประกอบ กลไกในการพัฒนาและปรับปรุงระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวังของการทําเหมืองที่เป็นมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ ที่มุงหมายให้เกิดการสงเสริมให้ประชาชน มีสวนรวมในการติดตาม ตรวจสอบ และเฝาระวังปญหาผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายจํานวน 5 เรื่อง ได้แก 1) การปรับปรุงระบบฐานขอมูลของเครือขายภาคประชาชน ที่ได้จัดตั้งไวแล้ว

8 4 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด โลหกรรม โรงงานโม บดและยอยหิน และ โรงแต่งแรเพื่อให้เป็นหนึ่งเดียวและเชื่อมโยง ขอมูลกับฐานขอมูลโรงงานของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม 3) ปรับปรุงระบบการชําระคาภาคหลวงแร โดยปรับปรุงระบบขอมูลใบเสร็จรับเงิน คาภาคหลวงแรให้เชื่อมโยงกับระบบจัดสรร คาภาคหลวงแรให้กับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จในภาพรวม ของตัวชี้วัดในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป 2 ) การเพิ่มชองทางในการรายงานผลการเฝา ร ะวังคุณภาพ สิ่งแวดลอมของเครือขายภาคประชาชน 3) การจัดทําระบบฐานขอมูลการจัดการสิ่งแวดลอมเหมืองแร 4) การจัดทําสื่อการเรียนรูในรูปแบบ Infographic เกี่ยวกับ การจัดการสิ่งแวดลอม เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวของ มีความรูความเขาใจและสามารถนําไปปฏิบัติได้งายขึ้น 5) การจัดทําคู่มือการเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมจาก การประกอบการเหมืองแร ทั้งนี้ เป็นแนวทางที่สอดคลองกับขอเสนอทางวิชาการ ในเรื่องการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรแร 4 . ร อยละความสําเร็จของเรื่อง รองเรียนที่ได้รับการจัดการ และการติดตามแกไขปญหา รอยละ 100 ตามขอบเขตที่ กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีผลการดําเนินการรอยละ 100 โดยเป็น การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการรับ ขอรองเรียนตามขอบเขตตัวชี้วัดของ แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรก ดังต่อไปนี้ 1) ในป พ.ศ. 2560 ได้กําหนดขั้นตอน/ วิธีการ/แนวปฏิบัติในการรับขอรองเรียน ความสําเร็จของเรื่องรองเรียนที่ได้รับการจัดการและ ติดตาม แกไขปญหา พิจารณาจากกระบวนงานของการแกไขปญหา เรื่องรองเรียน รองทุกขของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ในเรื่องที่เกี่ยวกับการอนุญาต การกํากับดูแล ปญหาผลกระทบ สิ่งแวดลอมและสุขภาพที่เกิดจากการทําเหมืองหรือประกอบกิจการ เกี่ยวกับแร ที่มุงหมายให้เกิดการเปดชองทางให้ประชาชน สามารถรองเรียนปญหาดานสิ่งแวดลอมได้อยางรวดเร็ว มายังหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรง โดยมีขั้นตอนการพิจารณา แบงเป็น 6 ขั้นตอนดังต่อไปนี้

8 5 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด และการติดตามแกไขปญหา ขอรองเรียน ได้รับการเพิ่มประสิทธิภาพผานเว็บไซต์ และสื่อออนไลนของกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร 2) ในป พ.ศ. 2563 ได้กําหนดขั้นตอน/ วิธีการ/แนวปฏิบัติในการรับขอรองเรียน และการติดตามแกไขปญหา ขอรองเรียน ได้รับการเพิ่มประสิทธิภาพ โดยมีระบบ รองเรียนกลางกระทรวงอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง ระหวางหนวยงานตาง ๆ ภายในกระทรวง 3) ในป พ.ศ. 2563 ได้กําหนดขั้นตอน/ วิธีการ/แนวปฏิบัติในการรับขอรองเรียน และการติดตามแกไขปญหา ขอรองเรียน ได้ รั บการเพิ่ มประสิทธิภาพ ระหวาง ป พ.ศ. 2560 - 2564 จํานวน 6 วิธีการ ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จในภาพรวม ของตัวชี้วัดในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป 1 ) มีระบบการรับเรื่องรองเรียนที่มีชองทางการรับเรื่อง ไม่นอยกวา 3 ชองทาง โดยต้องเป็นชองทางที่สะดวก เขาถึงได้งาย ทั้งในรูปแบบ online และ offline 2) มีคู่มือหรือแนวทางการจัดการเรื่องรองเรียน และมีการจัด โครงสรางอํานาจหน้าที่ของการจัดการเรื่องรองเรียนอยางชัดเจน โดยมีการเผยแพรหรือเปดเผยให้สาธารณะทราบ (หากมี การเปดเผยอยู่แล้วสามารถใชที่มีอยู่ได้) 3) มีการสงเรื่องที่ได้รับแจงไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบ และ มีการติดตามผลการแกไขปญหาอยางต่อเนื่อง หรือเมื่อถึงระยะเวลา ตามที่คู่มือหรือแนวทางการจัดการเรื่องรองเรียนกําหนด 4) มีการแจงผู้รองเรียนทราบผลการดําเนินการภายใน ระยะเวลาที่กําหนด หรือเมื่อได้มีการแกไขปญหาแล้วเสร็จ หรือมีขอสรุปในประเด็นที่มีการรองเรียน โดยมีการแจงผลฯ ไม่นอยกวารอยละ 50 ของเรื่องรองเรียนที่ผานการคัดกรอง แล้ววาเป็นเรื่องรองเรียนที่เขาขายในดานการอนุญาต การกํากับ ดูแล ปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่เกิดจาก การทําเหมืองหรือประกอบกิจการเกี่ยวกับแร 5) มีการประเมินผลการแกไขเรื่องรองเรียน โดยในการประเมินผล อยางนอยต้องประกอบไปด้วย

8 6 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 5 . 1 ) ความพรอมและความทันสมัยของเทคโนโลยี ในการปฏิบัติงานเพื่อรับเรื่องและแจงผลการรองเรียน 5.2) ความรูความเขาใจของเจ้าหน้าที่ที่เป็นผู้แกไข และทําคําชี้แจงปญหาเรื่องรองเรียน 6) มีระบบการติดตามผลการรองเรียนที่ผู้รองเรียนสามารถ เขาตรวจสอบสถานะของเรื่องได้ด้วยตัวเองผานระบบ online โดยได้กําหนดการวัดความสําเร็จในการดําเนินการแต่ละขั้นตอน เป็นหนวยรอยละให้สอดคลองกับหนวยวัดที่กําหนดในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1) คิดเป็นรอยละ 10 ขั้นตอนที่ 2) คิดเป็นรอยละ 25 ขั้นตอนที่ 3) คิดเป็นรอยละ 50 ขั้นตอนที่ 4) คิดเป็นรอยละ 75 ขั้นตอนที่ 5) คิดเป็นรอยละ 85 ขั้นตอนที่ 6 ) คิดเป็นรอยละ 100 5 . รอยละของสถานประกอบการ กลุ่มเปาหมายที่ได้มาตรฐาน อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพ ของประชาชน รอยละ 50 ตาม - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีผลการดําเนินการรอยละ 229 ตามขอบเขต ของตัวชี้วัดของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรก ซึ่งกําหนดไววามีสถานประกอบการ สถานประกอบการกลุ่มเปาหมาย หมายถึง สถานประกอบการ ที่เขารวมโครงการหรือได้รับการให้คําแนะนําปรึกษาหรือฝกอบรม เพื่อผานเกณฑมาตรฐานฯ โดยเป็นสถานประกอบการที่ผาน การคัดเลือกและพิจารณาโดยหนวยงานผู้ประเมินแล้ววาเป็น สถานประกอบการที่มีความเหมาะสมและมีศักยภาพในการยกระดับ เขาสูเกณฑมาตรฐานที่กําหนดในแต่ละป

8 7 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ขอบเข ตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 เหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เขาสู เกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของ ประชาชนเพิ่มขึ้นสะสมในชวงเวลาของ แผนแมบทบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 ไม่นอยกวา 100 ราย โดยมีผลการดําเนินงาน ดังนี้ 1) สงเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแรและ อุตสาหกรรมพื้นฐานให้มีมาตรฐานความ รับผิดชอบต่อสังคม (CSR - DPIM) และมีสถาน ประกอบการอุตสาหกรรมแร ผานการประเมิน มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแร (CSR - DPIM) พ.ศ. 2560 - 2565 จํานวน 50 ราย 2) สงเสริมผู้ประกอบการเหมืองแรและ อุตสาหกรรมพื้นฐานให้เขาสูมาตรฐานเหมืองแร สีเขียว (Green Mining) พ.ศ. 2560 - 2565 จํานวน 179 ราย โดยมีสถานประกอบการเหมืองแรที่ผาน การประเมินมาตรฐานความรับผิดชอบต่อ สถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน หมายถึง สถาน ประกอบการ ที่ได้รับการรับรอง หรือได้รับรางวัลดานสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพ ของประชาชน จากสวนราชการที่เกี่ยวของ เชน กรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร ( Green Mining และ CSR - DPIM) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (EIA Monitoring Awards) และสวนราชการอื่นที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ได้กําหนดการวัดความสําเร็จในการดําเนินการเป็นหนวย รอยละให้สอดคลองกับหนวยวัดที่กําหนดในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป จากสูตรการคํานวณ ดังนี้ รอยละ ของสถานประกอบการกลุ่มเปาหมายที่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพของประชาชน = (จํานวนสถานประกอบการที่ผานเกณฑมาตรฐาน Green Mining + จํานวนสถานประกอบการที่ผานเกณฑมาตรฐาน CSR - DPIM + จํานวนสถานประกอบการที่ได้รับรางวัล EIA Monitoring Awards ในแต่ละป)/ (จํานวนสถานประกอบการที่สมัครเขารับการประเมิน รางวัลมาตรฐาน Green Mining + จํานวนสถานประกอบการ ที่สมัครเขารับการประเมินรางวัลมาตรฐาน CSR - DPIM + จํานวน สถานประกอบการที่สมัครเขารับการประเมินรางวัล EIA Monitoring Awards ในแต่ละป)

88 ตารางที่ 6 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด สังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแร (CSR - DPIM) และ/หรือผานเกณฑมาตรฐาน เหมืองแรสีเขียวรวมจํานวน 229 ราย โดย ในจํานวนนี้มีสถานประกอบการจํานวน 2 ราย ที่ผานทั้งการประเมินทั้งสองเกณฑ ดังกลาว ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จในภาพรวม ของตัวชี้วัดในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป 2 . มี การปรับปรุงระบบจัดสรรและใช ผลประโยชนจากการพัฒนาแหลงแร อยางเป็นธรรมและทั่วถึงสอดคลอง กับความต้องการในการปองกันแกไข ปญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ของ ชุมชนในระดับทองถิ่น 6 . มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( best practice) เกี่ยวกับการใชประโยชนของ กองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับ โครงการเหมืองแร และกองทุน พัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อการปองกัน แกไขปญหาผลกระทบ และพัฒนา ความเป็นอยู่ของชุมชนไม่นอยกวา 3 กรณีตัวอยางภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะสํารวจ ผลการใชประโยชนจากกองทุนฯ ในป พ.ศ. 2566 เ พื่ อ เ ป น ข อ มู ล พื้ น ฐำ น (baseline) และทิศทางสําหรับการจัดทํา best practice ตามเปาหมายที่ กํำ ห น ด ในแต่ละป - ได้กําหนดเปาหมายของเรื่องที่จะดําเนินการในแต่ละป ดังนี้ - ป พ.ศ. 2566 มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) เกี่ยวกับ การใชประโยชนของกองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับโครงการ เหมืองแร และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร 1 แนวทาง - ป พ.ศ. 2567 - 2569 ตัวอยางสถานประกอบการที่นํา วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) เกี่ยวกับการใชประโยชนของ กองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และกองทุน พัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแรไปปฏิบัติ 1 ตัวอยางต่อป

8 9 3.4.3 แนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร ประเทศไทยในปจจุบันกําลังเผชิญความทาทายสําคัญในหลายประการเนื่องจากระดับ การพัฒนาของประเทศอยู่ระหวางชวงรอยต่อของประเทศรายได้ปานกลางและรายได้สูง ตลอดจน การพยายามพลิกฟนเศรษฐกิจของประเทศภายหลังได้รับผลกระทบจากการแพรระบาดของ COVID - 19 ซึ่งนับเป็นโอกาสสําคัญของประเทศไทยหากสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจสังคม ให้มีศักยภาพเชิงระบบจากฐานรากของความสามารถได้ และมีโอกาสกาวขามกับดักรายได้ประเทศปานกลางได้ ทั้งนี้รัฐบาลได้จัดให้มีนโยบายสําคัญของการพัฒนาก็คือ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป และนโยบาย ประเทศไทย 4.0 ที่ต้องการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจสังคมให้มีการพัฒนาเชิงลึกและยั่งยืน ที่มุงเนนความสมดุล ระหวางภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งยังมุงให้เกิดนโยบายสนับสนุนการวิจัย และพัฒนา เทคโนโลยีและองคความรูที่จําเป็นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแรไทย อยางยั่งยืน สงเสริมให้เกิดการพัฒนาศักยภาพตลอดทั้งหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแร มุงให้เกิดนโยบาย สงเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในประเทศไทย ซึ่งหมายรวมถึงการเปลี่ยนของเสีย ให้เป็นผลิตภัณฑเพิ่มมูลคา การเพิ่มศักยภาพดานการแปรรูปกลับมาใชใหม (recycle) เพื่อบริหารจัดการ ทรัพยากรแรให้เกิดการใชประโยชนสูงสุด ในการพัฒนาและเพิ่มมูลคาอุตสาหกรรมแร ต้องคํานึงถึงการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม มาชวยลดของเสีย ( w aste) และสรางมูลคาเพิ่มในกระบวนการตลอดทั้งกระบวนการหวงโซคุณคา ของอุตสาหกรรมแร ซึ่งจะชวยลดการใชทรัพยากรและสรางโอกาสนํามาใชใหม หรือแต่งแรที่มีมูลคาเพิ่ม ได้ดีขึ้น เชน การปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของหินปูนที่เดิมเหมาะสมกับการใชเพื่อกอสรางให้สามารถใชได้ ในทางการแพทยและโภชนาการ การพัฒนาศักยภาพของแรโพแทชในอุตสาหกรรมเกษตร หรือนํามาเป็น วัตถุดิบในการผลิตแบตเตอรี่สําหรับแหลงพลังงานสํารอง เป็นตน ซึ่งการพัฒนาลักษณะนี้จําเป็นต้องอาศัย การวิจัยและพัฒนาในดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี การพัฒนาดานธุรกิจในการใชทรัพยากรเพื่อสราง ความสามารถในการแขงขัน ควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษยและกําลังคนในหวงโซคุณคา ของอุตสาหกรรมแร รวมถึงการสรางความตระหนักให้ประชาชนที่เกี่ยวของและได้รับผลกระทบ เพื่อให้ทุกภาคสวนสามารถปรับตัว ตอบสนอง และมีสวนรวมในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศได้ นอกจากการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมมาสรางมูลคาเพิ่มในกระบวนการเพื่อเพิ่มมูลคา ตลอดทั้งกระบวนการหวงโซคุณคาของอุตสาหกรรมแรแล้ว การใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการปองกัน แกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการพัฒนาแหลงแร และการฟนฟูพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแรแล้ว นับเป็นเครื่องมือที่มีความสําคัญอยางมากสําหรับการติดตามแกไขปญหาตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และ ปองกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม สุขภาพของประชาชน ตลอดจนระบบนิเวศที่เกี่ยวของ โดยจะต้องสรางความรวมมือและผลักดันให้ภาคสวนตาง ๆ เกิดการวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยี การปองกันและแกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากกิจการเหมืองแร และการจัดการพื้นที่ที่ผาน การทําเหมืองแรแล้วให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วย

9 0 3.4.3.1 เปาประสงค 1. เกิดการสรางและพัฒนาองคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นํามาใช ในการเพิ่มมูลคาแร การนําของเสียหรือวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหมให้เป็นแหลงวัตถุดิบทดแทนในอุตสาหกรรม ยุคใหมและอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ มีฐานวัตถุดิบดานแรที่มั่นคงและมีการพัฒนาอยางต่อเนื่อง ภายใตเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา ประเทศสูอุตสาหกรรมยุคใหม 2. มีการพัฒนาองคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการปองกันแกไข ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากพื้นที่การทําเหมืองทั้งในระหวางการทําเหมือง และภายหลังสิ้นสุดการทําเหมืองให้เกิดประโยชนสูงสุด การปองกันและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชน เพื่อเป็นองคประกอบไปสูการอยู่รวมกันของการพัฒนาแรและการพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน 3. ผู้ประกอบการดานแรได้รับการสงเสริม สนับสนุนและกํากับดูแลให้สถานประกอบการ ดําเนินกิจการที่มีมาตรฐานดานเศรษฐกิจหมุนเวียน 3.4.3.2 ตัวชี้วัด 1. รอยละของของเสีย ( w aste) ในกระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแรของสถานประกอบการ กลุ่มเปาหมาย ที่ถูกนํากลับมาใชประโยชนใหมได้เพิ่มขึ้น รอยละ 50 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 2. มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( b est practice) ในการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานการเพิ่มมูลคาแร 2) ดานการนําของเสียหรือวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหม และ 3) ดานการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ไม่นอยกวา 2 แนวทางในแต่ละดานภายในป พ.ศ. 2570 3. จํานวนผลงานวิจัยพัฒนาในการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต และการสราง มูลคาเพิ่มของแร หรือวัสดุทดแทนแร หรือแรทดแทน จํานวน 5 ผลงานภายในป พ.ศ. 2570 4. มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) สําหรับการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยี ดานการปองกันแกไขปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน และดานการใชประโยชน จากพื้นที่ผานการทําเหมืองไม่นอยกวา 2 กรณีตัวอยางในแต่ละดานภายในป พ.ศ. 2570 5. จํานวนพื้นที่ที่ผานการทําเหมืองแล้วที่สามารถผลักดันให้เกิดการฟนฟูและนํามาใช ประโยชนต่อได้ภายหลังสิ้นสุดการทําเหมือง 5 พื้นที่ ภายในป พ.ศ. 2570 6. รอยละของความสําเร็จในการสงเสริมให้ผู้ประกอบการกลุ่มเปาหมายปรับระบบ หรือกระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแรให้เป็นไปตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) รอยละ 100 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัดภายในป พ.ศ. 2570 3.4.3.3 กิจกรรมหลัก 3.1 สงเสริมสนับสนุนให้เกิดการวิจัยพัฒนานํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสมัยใหม มาปรับใชในกระบวนการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการใชวัตถุดิบแรตามทิศทางการปฏิรูป สูอุตสาหกรรมยุคใหม

9 1 3.2 เรงรัดให้มีการวิจัยพัฒนาการสรางมูลคาเพิ่ม และสงเสริมการลงทุนเพื่อเลือกใช เทคโนโลยีสมัยใหมที่เหมาะสมที่ชวยเพิ่มผลิตภาพในการผลิต เชน การใชระบบติดตามการทํางาน ของเครื่องจักรและระบบควบคุมการทํางานแบบอัตโนมัติตาง ๆ รวมทั้งระบบขอมูลแบบดิจิทัล และการประมวลผลแบบอัจฉริยะ เพื่อยกระดับการทําเหมืองไปสู Smart mining ให้สอดคลองกับ นโยบายอุตสาหกรรม 4.0 โดยบูรณาการการวิจัยรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดเปาหมาย การศึกษารูปแบบและวิธีการดําเนินการที่ทันสมัยและมีความคุมคาสูงสุด และการกําหนดเงื่อนไข ในการสงเสริมการลงทุนเพื่อให้การพัฒนาอุตสาหกรรมนี้เป็นไปอยางมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน ซึ่งหมายรวมถึงเครือขาย research cluster ของสถาบันการศึกษาและสถาบันวิชาการทั้งในและ/หรือ ตางประเทศ และหนวยงานสนับสนุนทุนวิจัยทุกแหลงทุนให้ผู้ประกอบการและนักวิจัยเขาถึงแหลงทุน หรือลดภาระดานการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.3 สงเสริมงานวิจัยและพัฒนาดานวัสดุผสม วัสดุทดแทนแรที่มีกระบวนการผลิต ที่ประเทศขาดศักยภาพ และแรที่มีการผลิตสงผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสังคมเพื่อสรางทางเลือกใหม ให้อุตสาหกรรมพรอมกับแกปญหาผลกระทบ ควบคู่ไปกับการวิจัยความต้องการของตลาด และความต้องการ หรือการแกไขจุดออนของการผลิตวัตถุดิบแรให้สอดคลองกัน 3.4 สงเสริมให้งานวิจัยดานแรที่มีศักยภาพไปสูการผลิตเชิงอุตสาหกรรม ทั้งสนับสนุน ตลาดเดิม และพัฒนาตลาดใหม เพื่อให้เกิดการบริหารที่สมดุลตลอดทั้งหวงโซคุณคา โดยทํางานรวม และสอดรับกับหนวยงานที่เกี่ยวของเชน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย และกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เป็นตน 3.5 สงเสริมการวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีในการปองกันและแกไขปญหา ผลกระทบจากกิจการเหมืองแร เชน การลดและปองกันปญหาฝุน PM 2.5/PM 10 จากการทําเหมือง การจัดการหางแร ของเสีย และวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการแต่งและและการประกอบโลหกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรหรือยานยนตพลังงานไฟฟาแทนการใชพลังงานฟอสซิลในกระบวนการ ผลิตเพื่อให้สอดรับกับเปาหมาย SDGs เป็นตน และวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีในการจัดการพื้นที่ ที่ผานการทําเหมืองแรแล้วเพื่อนําไปใชให้เกิดประโยชนต่อชุมชน เชน เทคโนโลยีการสํารวจภูมิประเทศ สามมติ ( 3 D Scan) ในขุมเหมืองสําหรับการออกแบบการใชประโยชนขุมเหมือง เป็นตน 3.6 บูรณาการการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการฟนฟู และปรับสภาพพื้นที่การประกอบการเหมืองแรให้มีความปลอดภัย มีสภาพกลมกลืนกับพื้นที่โดยรอบ คํานึงถึงการใชประโยชนของพื้นที่ภายหลังสิ้นสุดการทําเหมืองให้สอดคลองกับบริบทและความต้องการ ของชุมชน 3.7 สงเสริมให้เกิดการใชทรัพยากรแรอยางคุมคา และมีการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม มากยิ่งขึ้นตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy) ในกิจการหรือสถานประกอบการ กลุ่มเปาหมายที่จัดลําดับความสําคัญ หรือมีความต้องการที่จะให้ภาครัฐเขาไปสงเสริม

9 2 ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด แนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร 1 . เกิดการสรางและพัฒนาองค ความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นํามาใช ในการเพิ่มมูลคาแร การนําขอ งเสียหรือวัสดุเหลือใช กลับมาใชใหมให้เป็นแหลงวัตถุดิบ ท ด แ ท น ในอุตสาหกรรมยุคใหม และอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ มี ฐำ น วั ต ถุ ดิ บ ดำ น แ ร ที่ มั่ น ค ง และมีการพัฒนาอยางต่อเนื่อง ภายใตเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา ประเทศสูอุตสาหกรรมยุคใหม 1 . รอยละของของเสีย ( w aste) ในกระบวนการทําเหมืองหรือ การผลิตแรของสถานประกอบการ กลุ่มเปาหมาย ที่ถูกนํากลับ มาใชประโยชนใหมได้เพิ่มขึ้น รอยละ 50 ตามขอบเขตที่กําหนด ในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายใน ป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะเริ่ม ดําเนินการจากฐานขอมูลของของเสีย เปาหมายที่เกิดจากการทําเหมืองแร และการผลิตแรจากสถานประกอบการ ในป พ.ศ. 2566 เพื่อใชเป็น baseline data การดําเนินการตามตัวชี้วัดนี้ มุงเนนการจัดทําฐานขอมูล ของของเสียเปาหมายที่เกิดจากการทําเหมืองแรและการผลิตแร จากสถานประกอบการอุตสาหกรรมพื้นฐาน (โรงแต่งแร โรงงาน โม บด และยอยหิน และโรงประกอบโลหกรรม) ซึ่งประกอบด้วย คุณสมบัติและคุณลักษณะของของเสีย กระบวนการผลิต ที่กอกําเนิดของเสีย แนวทางและเทคโนโลยีการจัดเก็บหรือ กําจัดที่ดําเนินการในปจจุบัน คาใชจายในการจัดเก็บหรือกําจัด ของเสีย เพื่อให้ภาครัฐผลักดันและสงเสริมให้ผู้ประกอบการ นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการพัฒนาของเสีย กลับมาใชประโยชนใหมได้อยางมีประสิทธิภาพ ของเสียหรือวัสดุเหลือใช ( w aste) หมายรวมถึง สวนเหลือทิ้ง หรือเหลือใชที่มีองคประกอบของแร ที่เกิดจากกระบวนการ ทําเหมืองหรือการผลิตแรและโลหะ ซึ่งอาจมีมูลคาต่ํา หรือ ยังไม่สามารถใชให้เกิดประโยชนในชวงเวลาที่ผลิต ณ ขณะนั้น และต้องมีการลงทุนคาใชจายเพื่อดําเนินการการจัดเก็บหรือกําจัด ซึ่งเป็นของเสียในกระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแร สถานประกอบการกลุ่มเปาหมาย แบงเป็น 2 ประเภท ได้แก 1) สถานประกอบการประเภทเหมืองแรชนิดของเสีย -> บางสวนของเปลือกดิน หรือชั้นหินที่ต้องเปดออกเพื่อเขาถึงชั้น แรหลักตัวอยางการนํากลับไปใชประโยชน -> การนําไปถมกลับ

ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ในพื้นที่ที่กําหนดไวในแผนผั งโครงการ ทําเหมือง การแต่งแรซ้ํา เพื่อเก็บกลับคืน 2) สถานประกอบการประเภทโรงแต่งแรชนิดของเสีย -> หางแร หรือ แรเปอรเซ็นตต่ําตัวอยางการนํากลับไปใชประโยชน -> การแต่งแรซ้ําเพื่อเก็บกลับคืนแร ทั้งนี้ ในการประเมินความสําเร็จของการดําเนินการจะเริ่ม ดําเนินการจัดฐานขอมูลของของเสียเปาหมายที่เกิดจากการทํา เหมืองแรและการผลิตแรจากสถานประกอบการในป พ.ศ. 2566 เพื่อเป็น baseline data และคํานวณรอยละของ waste ที่ลดลง โดยเทียบกับป พ.ศ. 2566 เป็นปฐานตามที่เกิดขึ้นจริงเป็นรายป 2. มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( best practice) ในการประยุ กต ใช นวัตกรรมและเทคโนโลยี ในดาน ตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานการเพิ่มมูลคาแร 2) ดานการนําของเสียหรือวัสดุ เหลือใชกลับมาใชใหม 3 ) ดานการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ไม่นอยกวา 2 แนวทางในแต่ละดาน ภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหน ดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะสํารวจ ผลการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีฯ ในป พ.ศ. 2566 เพื่อใชเป็น baseline data และทิศทางสําหรับการจัดทํา best practice ตามเปาหมายที่กําหนดในแต่ละป การดําเนินการตามตัวชี้วัดนี้จะพิจารณาความสําเร็จจากจํานวน แนวทางการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการพัฒนา และปรับปรุงกระบวนการผลิต ที่มีการเผยแพรและผลักดันให้ สถานประกอบการเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานนําไป ประยุกตใช โดยมีเปาหมายหลัก 3 ประเด็น ได้แก 1) การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงหรือวัสดุทดแทน ที่มีกระบวนการผลิตที่ประเทศขาดศักยภาพ เพื่อรองรับการพัฒนา อุตสาหกรรมยุคใหมหรืออุตสาหกรรมศักยภาพของประเทศ 2) การหมุนเวียนของเสียหรือวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต นํากลับไปใชใหมเป็นแหลงวัตถุดิบทดแทน 3) การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเพื่อลดของเสีย และผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม 9 3

ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 3 . จํานวนผลงานวิจัยพัฒนาในการ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต และการสรางมูลคาเพิ่มของแร หรือ วัสดุทดแทนแร หรือแรทดแทน จํานวน 5 ผลงานภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะสํารวจ ความต้องการการจัดทํางานวิจัยในป พ.ศ. 2566 เพื่อเป็น baseline data และทิศทางสําหรับ การจัดทํางานวิจัยตามเปาหมายที่กําหนด ในแต่ละป การดําเนินการตามตัวชี้วัดนี้มุงเนนให้เกิดการสรางองคความรู และการวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี รองรับการพัฒนา สถานประกอบการอุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐาน โดยมีเปาหมายหลัก 3 ประเด็น ได้แก 1) การผลิตวัตถุดิบแรคุณภาพสูง รองรับการผลิตวัสดุขั้นสูง ที่สามารถตอบสนองความต้องการใชในการพัฒนาอุตสาหกรรม ยุคใหมและอุตสาหกรรมศักยภาพของประเทศ 2) การพัฒนาของเสีย (Waste) หรือวัสดุเหลือใชเพื่อเป็น แหลงวัตถุดิบทดแทน 3) การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานเพื่อลดการสูญเสียแรมีคาที่ปะปน ในของเสีย ( w aste) ลดผลกระทบสิ่งแวดลอม และลดตนทุนการผลิต 2 . มีการพัฒนาองคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการปองกัน แกไขปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากพื้นที่การทํา เหมืองทั้งในระหวางการทําเหมือง และภายหลังสิ้นสุดการทําเหมือง ให้เกิดประโยชนสูงสุด การปองกันและ ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชน เพื่อเป็นองคประกอบไปสูการอยู่รวมกัน 4 . มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) สํำหรั บการพั ฒนา และประยุกตใชเทคโนโลยีดาน การปองกันแกไขปญหาผลกระทบ ต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของ ประชาชน และดานการใชประโยชน จากพื้นที่ผานการทําเหมือง ไม่นอยกวา 2 กรณีตัวอยาง ในแต่ละดานภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแรฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะสํารวจ ผลการประยุกตใชเทคโนโลยีฯ ในป พ.ศ. 2566 เพื่อเป็น baseline data และทิศทางสําหรับ การจั ดทํำ best practice ตามเปำหมาย ที่กําหนดในแต่ละป การดําเนินการตามตัวชี้วัดนี้จะพิจารณาความสําเร็จจากจํานวน แนวทางการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดานการปองกัน แกไขปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน และดานการใชประโยชนจากพื้นที่ผานการทําเหมือง การฟนฟู พื้นที่ หรือการเยียวยาผลกระทบต่อพื้นที่ที่เกิดจากการทําเหมือง ภายใตแนวคิด BCG Model โดยมีเปาหมายหลัก 3 ประเด็น ได้แก 9 4

ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ของการพัฒนา แรและการพัฒนา ชุมชนอยางยั่งยืน 1 ) การพัฒนานวัตกรรมการควบคุมดูแลแกไขปญหามลพิษ ทางอากาศ น้ํา หรือดินที่เกิดจากการทําเหมืองแร แต่งแร หรือประกอบโลหกรรม 2) การใชเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตหรือในกิจกรรม การทําเหมืองแร แต่งแร หรือประกอบโลหกรรม เพื่อลดการปลอย Green House Gas (GHG) 3) การใชเทคโนโลยีในการพัฒนาหรือฟนฟูพื้นที่ผาน การทําเหมืองให้กลับมาใชประโยชนได้ใหม เชน การแกไขปญหา น้ําในขุมเหมืองเป็นกรดจากตะกอนดินที่ชะละลายตามธรรมชาติ ในขุมเหมืองเกา การใชเทคโนโลยี 3 D ในการออกแบบการใช ประโยชนพื้นที่ขุมเหมืองภายหลังสิ้นสุดการทําเหมืองแร เป็นตน 5 . จํานวนพื้นที่ที่ผานการทําเหมือง แล้วที่สามารถผลักดันให้เกิดการ ฟนฟูและนํามาใชประโยชน ต่อได้ภายหลังสิ้นสุดการทํา เหมือง 5 พื้นที่ ภายในป พ.ศ. 2570 จากผลการดําเนินการโดยกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแรระหวางป พ.ศ. 2561 - 2565 มีผลการดําเนินการ รวม 5 พื้นที่ พิจารณาจากพื้นที่ที่ได้รับการฟนฟูและปรับสภาพพื้นที่ การประกอบการเหมืองแรให้มีความปลอดภัย มีสภาพกลมกลืน กับพื้นที่โดยรอบ คํานึงถึงการใชประโยชนของพื้นที่ภายหลัง สิ้นสุดการทําเหมืองให้สอดคลองกับบริบทและความต้องการ ของชุมชน ที่มุงเนนการดําเนินการในแบบบูรณาการการทํางาน รวมกันระหวางภาครัฐ เอกชน และประชาชน 95

ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 3 . ผู้ประกอบการดานแรได้รับการสงเสริม ส นั บ ส นุ น แ ล ะ กํำ กั บ ดู แ ล ใ ห สถานประกอบการดําเนินกิจการที่ มีมาตรฐานดานเศรษฐกิจหมุนเวียน 6 . รอยละของความสําเร็จในการ ส ง เ ส ริ ม ใ ห ผู้ ป ร ะ ก อ บ กำ ร กลุ่มเปาหมายปรับระบบหรือ กระบวนการทําเหมืองหรือการ ผลิตแรให้เป็นไปตามหลักการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) รอยละ 100 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ทั้งในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป และแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรก - เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม จึงจะเริ่มจัดเก็บ ผลการดําเนินการตามขั้นตอนการสงเสริมฯ ตามคําอธิบายตัวชี้วัดในป พ.ศ. 2566 เป็น baseline data การดําเนินการตามตัวชี้วัดนี้ มุงเนนให้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมเหมืองแรและอุตสาหกรรมพื้นฐานได้รับการสงเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐให้นําหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) ไปประยุกตใชในองคกร โดยมีเปาหมาย ใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก 1 ) สถานประกอบการคํานึงถึงการใชประโยชนทรัพยากรแร อยางคุมคา 2) มีระบบการหมุนเวียนของเสียและวัสดุเหลือใชกลับมาใช ประโยชนใหมได้ 3) มีแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากร (เชน น้ํา ไฟฟา) อยางมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดเกณฑการประเมินระดับสําเร็จของการดําเนินการ ตามตัวชี้วัดเป็นหนวยรอยละ ดังนี้ - จัดทําหลักเกณฑการทําเหมืองหรือการผลิตแรตามหลัก เศรษฐกิจหมุนเวียน คิดเป็นระดับความสําเร็จรอยละ 20 - จัดทําคู่มือและระบบประเมินตามหลักเกณฑฯ คิดเป็น ระดับความสําเร็จรอยละ 40 - จัดการอบรมถายทอดองคความรูและหลักเกณฑฯ รวม 20 รายต่อป คิดเป็นระดับความสําเร็จรอยละ 60 9 6

ตารางที่ 7 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากแร (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด - จัดการอบรมถายทอดองคความรูและหลักเกณฑฯ รวม 40 รายต่อป คิดเป็นระดับความสําเร็จรอยละ 80 - ผู้ประกอบการสามารถนําองคความรูและหลักเกณฑ ที่ได้รับการถายทอดไปปรับใชและมีการดําเนินการผานเกณฑ ที่กําหนดจํานวน 10 รายต่อป คิดเป็นระดับความสําเร็จ รอยละ 100 97

98 3.4.4 แนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริม การมีสวนรวมภาคประชาชน การที่อุตสาหกรรมแรจะเติบโตแข็งแรงและแขงขันได้อยางยั่งยืนนั้น ต้องอาศัยการสนับสนุน จากผู้มีสวนได้สวนเสียรอบดาน โดยเฉพาะชุมชน หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ และภาคเอกชนตาง ๆ โดยที่ผานมา ด้วยขอจํากัดของขอมูลและการสื่อสารทําให้เกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อนระหวางภาคสวนที่เกี่ยวของ การทํางานไม่ประสานสอดคลองกัน เกิดแรงตานในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแรสงผลให้อุตสาหกรรมแร เติบโตได้ไม่รวดเร็วเทาที่ควร ดังนั้น การสื่อสารสรางความรูความเขาใจ และการสรางความรวมมือ ในการบริหารจัดการแรจึงมีความสําคัญเป็นอยางมากในการทําให้ทุกภาคสวนเล็งเห็นถึงวิสัยทัศนรวมกัน ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแรที่ผู้มีสวนได้สวนเสียทุกภาคสวนได้ประโยชนรวมกันอยางสมดุลและยั่งยืน แนวทางการพัฒนาดานการสรางความรูความเขาใจและสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน มุงทําให้เกิดการเปดเผยขอมูลที่จําเป็นของอุตสาหกรรมแรต่อสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเขาใจ สถานการณจริงรวมกันซึ่งเป็นพื้นฐานของการสรางความรวมมือในการบริหารจัดการและการปรับปรุง หลักเกณฑเพื่อเปดโอกาสให้ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการบริหารจัดการทุกขั้นตอน โดยคํานึงถึง การยกระดับการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแรใน 2 มิติ 0 1 ดังต่อไปนี้ มิติแรก คือ ลักษณะหรือระดับของการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร ที่สามารถ แบงได้เป็น 5 ระดับ 1 2 ได้แก 1) การแจงให้ทราบ (inform) 2) การปรึกษาหารือ (consult) 3) การเขามา มีบทบาท (involve) 4) การสรางความรวมมือ (collaborate) และ 5) การเสริมอํานาจ (empowerment) เพื่อใชในการประเมินวาปจจุบันแต่ละขั้นตอนยอยภายใตกระบวนการในการบริหารจัดการแร มีลักษณะ หรือการมีสวนรวมอยู่ในระดับใดและจะสามารถยกระดับไปสูขั้นที่สูงขึ้นได้หรือไม่อยางไร มิติที่สอง คือ ความครบถวนของการมีสวนรวมตลอดหวงโซของการบริหารจัดการแร เริ่มตั้งแต่ 1) การสํารวจพื้นที่ (exploration) 2) การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผน (feasibility and planning) 3) การเขาใชที่ดิน (land access) 4) การกอสราง (construction) 5) การดําเนินงาน (operations) 6) การเลิกดํา เนินงานหรือการปดเหมือง ( decommissioning and closure) และ 7) การดําเนินการหลังจากปดเหมือง (post closure) เพื่อใชเป็นกรอบในการประเมินวามีกระบวนการ มีสวนรวมในแต่ละขั้นตอนตาง ๆ หรือไม่อยางไร ซึ่งสามารถแบงกลุ่มตามลักษณะของขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1) ขั้นกอนการทําเหมือง เชน กระบวนการจัดทําหรือปรับปรุงแผนแมบทการบริหาร จัดการแร กระบวนการกําหนดนโยบายหรือแนวทางมาตรการในการบริหารจัดการแร กระบวนการกําหนด หลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร กระบวนการมีสวนรวมในการสํารวจแรของทั้งภาครัฐ และเอกชน กระบวนการมีสวนรวมในการขออนุญาตประทานบัตรและจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม เป็นตน 1 รายงานผลการศึกษาจากโครงการศึกษาจัดทําแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร ( มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย , 2562) 2 รายงานผลการศึกษาจากโครงการการศึกษา รวบรวม และประมวลผลขอมูลเพื่อจัดทํากรอบแนวคิดการมีสวนรวม ในการบริหารจัดการแรของประเทศ ( มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย , 2561)

99 2) ขั้นระหวางการทําเหมือง เชน กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ กํากับดูแลการประกอบการ โดยเฉพาะในรายที่มีปญหาการรองเรียน การเยียวยาผลกระทบจากการทําเหมือง กระบวนการจัดสรร ผลประโยชนเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชนควบคู่ไปกับการพัฒนาแหลงแร เป็นตน 3) ขั้นหลังการทําเหมือง เชน กระบวนการการฟนฟูพื้นที่เพื่อใชประโยชนให้สอดคลอง กับความต้องการของชุมชน 3.4.4.1 เปาประสงค 1. มีการเสริมสรางและสงเสริมการมีสวนรวม เพื่อมุงเนนให้ประชาชนทั่วไป และชุมชน ในระดับทองถิ่นมีความรู ความเขาใจ และความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการแรที่สูงขึ้น 2. เกิดการสนับสนุนให้เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการแรในกระบวนงานตาง ๆ และชุมชนในระดับทองถิ่นพรอมที่จะให้ความรวมมือในการรวมบริหารจัดการแร 3.4.4.2 ตัวชี้วัด 1. รอยละที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคม มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหาร จัดการแรของประเทศ รอยละ 20 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัดภายในป พ.ศ. 2570 2. รอยละที่เพิ่มขึ้นของชุมชนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมาย (ระดับพื้นที่) มีความรูความเขาใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของพื้นที่ รอยละ 40 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 3. ระดับความสําเร็จของการสนับสนุนให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการแร ระดับ 5 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัดภายในป พ.ศ. 2570 3.4.4.3 กิจกรรมหลัก 4.1 ศึกษาวิเคราะหและประเมินการรับรู ความเขาใจ และความตระหนักเกี่ยวกับ การบริหารจัดการแรของภาคประชาชนโดยทั่วไป เพื่อพัฒนากลไกในการประชาสัมพันธอยางมีทิศทาง และเอกภาพ เพื่อการประชาสัมพันธและสื่อสารขอมูลขอเท็จจริง ความกาวหน้าในการแกไขปญหาตาง ๆ การติดตามและรายงานเรื่องความเสี่ยงและการควบคุมต่อสาธารณะ โดยจัดทําและดําเนินการ ตามแผนการสื่อสารในระยะ 3 - 5 ป ที่ชัดเจน ผานสื่อโซเชียลมีเดีย อาจเป็นเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน เพื่อสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนักแกประชาชนโดยทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร โดยอาศัยเครือขายพันธมิตร อาทิ กรมประชาสัมพันธ เครือขายภาคเอกชน ภาคประชาชนและอื่น ๆ เป็นตน รวมทั้งศึกษาวิเคราะหเพื่อดําเนินการสรางความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อสรางความรู ความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรแกประชาชนทุกระดับในระยะยาว 4.2 ศึกษาวิเคราะหเพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมายไม่นอยกวา 4 ชุมชน ในชวงระยะเวลา ของแผน โดยพัฒนากลไกความรวมมือระหวางภาคเอกชนและภาครัฐในการสรางความสัมพันธกับ ผู้นําชุมชนและภาคีเครือขายตาง ๆ ให้ได้รับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะของขอมูลทั่วไป ที่เกี่ยวของกับทรัพยากรแร เชน แหลงแรสํารอง ปริมาณสํารองแร การจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแร

10 0 การบริหารจัดการ การแกปญหา การใชเงินกองทุนฟนฟูฯ การติดตาม ตรวจสอบ และเฝาระวังผลกระทบ คุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน เป็นตน รวมถึงขอมูลอื่น ๆ ที่เหมาะสมต่อกลุ่มเปาหมาย โดยให้มีการศึกษาจําแนกกลุ่มผู้มีสวนได้สวนเสีย และจัดทําแผนการสรางความรูความเขาใจการบริหาร จัดการแรต่อทองถิ่นและชุมชนให้แล้วเสร็จภายในปแรกของแผนแมบทการบริหารจัดการแร และดําเนินการ ตามแผนฯ ที่กําหนด 4.3 ศึกษาวิเคราะหความเป็นไปได้และจัดทําแผนการเสริมสรางการมีสวนรวม ในแต่ละกลุ่มเปาหมาย โดยเฉพาะภาคประชาชน เพื่อยกระดับการมีสวนรวมในแต่ละขั้นตอน ที่สามารถดําเนินการได้ตามแนวทางการเสริมสรางความรวมมือและประสานงานระหวางหนวยงาน ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแร เชน การปรับปรุงกลไก การมีสวนรวมระดับนโยบายในการพิจารณาการกําหนดพื้นที่ศักยภาพแร โดยคํานึงถึงนโยบาย การใชประโยชนที่ดินปาไม การทองเที่ยว พลังงาน ศิลปวัฒนธรรม สังคม และดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งพัฒนากลไกให้ชุมชนทองถิ่น มีชองทางในการแสดงความคิดเห็นต่อการปรับปรุงแผนการฟนฟู พื้นที่ที่กําหนดเป็นเงื่อนไขแนบทายใบอนุญาต หรือมีสวนรวมในการพัฒนาเหมืองแรเกาหรือสิ้นอายุ ประทานบัตรมาใชประโยชนตามความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมเพื่อให้สามารถสรางประโยชน เชิงเศรษฐกิจชุมชน

10 1 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด แนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน 1 . มีการเสริมสรางและสงเสริมการ มีสวนรวมเพื่อมุงเนนให้ประชาชน ทั่วไป และชุมชนในระดับทองถิ่น มีความรู ความเขาใจ และความเชื่อมั่น ในการบริหารจัดการแรที่สูงขึ้น 1 . รอยละที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคม มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของประเทศรอยละ 20 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีผลการดําเนินการ รอยละ 98 ซึ่งพิจารณา จากจํานวนผู้ที่เขารวมประชุมเวทีสาธารณะ ภายใตขอบเขตของตัวชี้วัดตามแผนแมบท การบริหารจัดการแรฉบับแรก ซึ่งยังไม่ ครอบคลุมตามวัตถุประสงคของตัวชี้วัด ในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ทั้งนี้ ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขต รายละเอียดเปาหมายความสําเร็จ ในภาพรวมของตัวชี้วัดในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป ภาคประชาสังคม หมายถึง ประชาชนโดยทั่วไปที่ไม่ได้ เขามามีสวนรวมในกระบวนการบริหารจัดการแรในขั้นตอนตาง ๆ ที่เกี่ยวของตามกระบวนการที่กฎหมายกําหนด แต่ได้รับรู รับทราบ สื่อประชาสัมพันธผานชองทางหรือรูปแบบตาง ๆ ที่หนวยงานที่เกี่ยวของได้ดําเนินการเผยแพรเป็นการทั่วไป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การบริหารจัดการแรกับประชาชนทั่วไปทุกระดับตามวิสัยทัศน ของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ที่ต้องการ ให้ประชาชนมีความเขาใจการบริหารจัดการแรอยางถูกต้องมากขึ้น เพื่อเป็นสวนสําคัญในการผลักดันการบริหารจัดการแรของประเทศ ให้มีความเขมแข็ง เป็นแนวทางที่สอดคลองกับขอเสนอแนวคิดทางวิชาการ ในประเด็นดานการมีสวนรวม ที่มุงหมายให้เกิดการสงเสริม ให้ประชาชนมีสวนรวมรับรูและให้ความคิดเห็นตั้งแต่ขั้นตอน การขออนุญาตเพื่อลดปญหาความขัดแยง สนับสนุนในเรื่อง ของการถายทอดความรู ขอมูล ขาวสาร และองคความรูที่เกี่ยวของ ให้กับประชาชน เป็นตน

10 2 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด แนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน กําหนดให้มีการจัดเก็บขอมูลระดับความรูความเขาใจ ทั้งกอนและหลังการรับรู รับทราบสื่อประชาสัมพันธเพื่อทํา การเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ได้กําหนดเกณฑการประเมินความรับรู ความเขาใจ และความตระหนักเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของประเทศไว 3 ระดับ ได้แก ระดับที่ 1 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับต่ํา หรือไม่รูไม่เขาใจเลย ระดับที่ 2 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับปานกลาง ระดับที่ 3 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับสูง โดยกําหนดเกณฑการประเมินความสําเร็จของตัวชี้วัด เป็นหนวยรอยละให้สอดคลองกับหนวยวัดที่กําหนดในยุทธศาสตร การบริหารจัดการแร 20 ป ดังนี้ รอยละที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคม มีความรู ความเขาใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของประเทศ = รอยละ ที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคม มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการบริหารจัดการแรของประเทศ = (จํานวนตัวอยาง ที่มีระดับการประเมินฯ เพิ่มขึ้นจากระดับ 1 ไประดับ 2 หรือ 3 + จํานวนตัวอยางที่มีระดับการประเมินฯ เพิ่มขึ้นจากระดับ 2

10 3 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ไประดับ 3 ในแต่ละป) / ( จํานวนตัวอยางทั้งหมดที่เขารวม การประเมินในแต่ละป) X 100 ทั้งนี้ ในการดําเนินกิจกรรมฯ จะต้องดําเนินการโดยระบุ จํานวนกลุ่มตัวอยางโดยคํานึงถึงการกระจายตัวและการเป็นตัวแทน ของกลุ่มประชากรได้ตามหลักวิชาการทางสถิติ 2. รอยละที่เพิ่มขึ้นของชุมชนทองถิ่น ในพื้นที่เปาหมาย (ระดับพื้นที่) มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของพื้นที่ รอยละ 40 ตามขอบเขต ที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ยังไม่เคยมีการกําหนดขอบเขตรายละเอียด เปาหมายความสําเร็จในภาพรวมของตัวชี้วัด ในยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร 20 ป โดยจะเริ่มจัดทําฐานขอมูลความรูความเขาใจฯ ของประชาชนกลุ่มเปาหมายระดับพื้นที่ ในป พ.ศ. 2566 เป็น baseline data ชุมชนในพื้นที่เปาหมาย หมายถึง ประชาชนในระดับพื้นที่ ที่เขามามีสวนรวมในกระบวนการบริหารจัดการแรในขั้นตอน ตาง ๆ ที่เกี่ยวของตามกระบวนการที่กฎหมายกําหนด หรือ ตามแนวทางมาตรการที่หนวยงานกําหนด ในขั้นตอนและ กระบวนการเฉพาะที่เกี่ยวของกับการขออนุญาตประทานบัตร การขออนุญาตอาชญาบัตรพิเศษกรณีแรทองคําตามนโยบายฯ ทองคํา การติดตาม ตรวจสอบแกไขปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชนจากการทําเหมืองตามกฎหมายแร การฟนฟูพื้นที่ผานการทําเหมืองแร และการจัดสรร/ใชประโยชน จากเงินกองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร เป็นแนวทางที่สอดคลองกับขอเสนอทางวิชาการในเรื่อง แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแรในประเด็นดานการมีสวนรวม ที่มุงหมายให้เกิดการสงเสริมให้ประชาชนมีสวนรวมรับรู และให้ความคิดเห็นตั้งแต่ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อลดปญหา ความขัดแยง สนับสนุนในเรื่องของการถายทอดความรู ขอมูล ขาวสาร และองคความรูที่เกี่ยวของให้กับประชาชน สงเสริม

10 4 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด งานดานชุมชนสัมพันธแบบไตรภาคี คือ ภาครัฐ ผู้ประกอบการ และประชาชน เป็นตน สําหรับกรณีที่มีการทํากิจกรรม ให้จัดเก็บขอมูลความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรในเรื่องที่จะดําเนิน กิจกรรมทั้งกอนและหลังการทํากิจกรรมเพื่อเปรียบเทียบระดับ ความรูความเขาใจฯ ทั้งนี้ ได้กําหนดเกณฑการประเมินความรับรู ความเขาใจ และความตระหนักเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของประเทศไว 3 ระดับ ได้แก ระดับที่ 1 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับต่ํา หรือไม่รูไม่เขาใจเลย ระดับที่ 2 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับปานกลาง ระดับที่ 3 คือความรับรู ความเขาใจ และความตระหนัก อยู่ในระดับสูง รอยละที่เพิ่มขึ้นของชุมชนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมาย (ระดับ พื้นที่) มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของพื้นที่ = (จํานวนตัวอยางที่มีระดับการประเมินฯ เพิ่มขึ้นจาก ระดับ 1 ไประดับ 2 หรือ 3 + จํานวนตัวอยางที่มีระดับ การประเมินฯ เพิ่มขึ้นจากระดับ 2 ไประดับ 3 ในแต่ละป) / (จํานวนตัวอยางทั้งหมดที่เขารวมการประเมินในแต่ละป) X 100 ทั้งนี้ ให้กําหนดจํานวนชุมชนเปาหมายไม่นอยกวา 4 ชุมชนในชวงเวลาของแผน

10 5 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 2 . เกิดการสนับสนุนให้เขามามีสวนรวม ในการบริหารจัดการแรในกระบวนงาน ตาง ๆ และชุมชนในระดับทองถิ่น พรอมที่จะให้ความรวมมือในการรวม บริหารจัดการแร 3 . ระดับความสําเร็จของการสนั บสนุน ให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวม ในการบริหารจัดการแร ระดับ 5 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 - ภายใตระยะเวลา บังคับใช ของแผนแมบท การบริหารจัดการแร พ.ศ. 2560 - 2564 มีผลการดําเนินการรอยละ 17.17 ตาม ขอบเขตตัวชี้วัดในแผนแมบทการบริหาร จัดการแรฉบับแรก ซึ่งพิจารณาจากสัดสวน ของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ทองถิ่น ชุมชน และภาคีเครือขายตาง ๆ ที่เขามามี สวนรวมในการบริหารจัดการแร ตามประกาศ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร แห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑการมีสวนรวม ของภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการบริหารจัดการแร ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2564 โดยพิจารณาจากจํานวนกลุ่มภาค ประชาชนที่เขารวมการประชุมเวทีสาธารณะ (public h earing) เพื่อรับฟงความคิดเห็น ต่อ (ราง) แผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ที่มีจํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ จํานวนภาคประชาชนที่เขารวมในการจัดทํา แผนแมบทแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับแรก การมีสวนรวมในการบริหารจัดการแร หมายถึง การมีสวนรวม ในการบริหารจัดการแรทั้งระบบ ทั้งในสวนที่ต้องดําเนินการ ตามที่กฎหมายกําหนด เชน การรับฟงความคิดเห็นในกระบวนการ ขออนุญาตประทานบัตร การลงประชามติ การรับฟงความคิดเห็น ในการจัดทํารายงาน EIA เป็นตน และสวนที่ไม่ได้มีกฎหมาย กําหนดไว เชน การดําเนินการตามหลักเกณฑการมีสวนรวม ที่คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติหรือตาม แนวทางมาตรการที่สวนราชการกําหนด โดยกําหนดระดับ การมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรแรใน 2 มิติ มิติแรก คือ ลักษณะหรือระดับของการมีสวนรวมในการบริหาร จัดการแร 5 ระดับ เพื่อใชในการประเมินวาปจจุบันแต่ละขั้นตอนยอย ภายใตกระบวนการในการบริหารจัดการแรอยู่ในระดับใด และจะสามารถยกระดับไปสูขั้นที่สูงขึ้นได้หรือไม่อยางไร ได้แก 1) การแจงให้ทราบ (inform) 2) การปรึกษาหารือ (consult) 3) การเขามามีบทบาท (involve) 4) การสรางความรวมมือ (collaborate) 5) การเสริมอํานาจ (empowerment) มิติที่ 2 ความครบถวนของการมีสวนรวมตลอดหวงโซ ของการบริหารจัดการทรัพยากรแร เริ่มตั้งแต่ 1) การสํารวจพื้นที่

10 6 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด ( e xploration) 2 ) การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผน (feasibility and planning) 3) การเขาใชที่ดิน (land access) 4) การกอสราง (construction) 5) การดําเนินงาน (operations) 6) การเลิกดําเนินงานหรือการปดเหมือง (decommissioning and closure) และ 7) การดําเนินการหลังจากปดเหมือง (post closure) เพื่อใชเป็นกรอบในการประเมินวามีกระบวนการ มีสวนรวมในแต่ละขั้นตอนตาง ๆ หรือไม่อยางไร ซึ่งสามารถ แบงกลุ่มตามลักษณะของขั้นตอนหลักได้ดงนี้ 1) ขั้นกอนการทําเหมือง ซึ่งได้แก กระบวนการจัดทําหรือ ปรับปรุงแผนแมบทการบริหารจัดการแร กระบวนการกําหนด นโยบายหรือแนวทางมาตรการในการบริหารจัดการแร กระบวนการ กําหนดหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแร กระบวนการมีสวนรวมในการสํารวจแรของทั้งภาครัฐและเอกชน กระบวนการมีสวนรวมในการขออนุญาตประทานบัตรและจัดทํา รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม เป็นตน 2) ขั้นระหวางการทําเหมือง เชน กระบวนการติดตาม ตรวจสอบกํากับดูแลการประกอบการโดยเฉพาะในรายที่มีปญหา การรองเรียน การเยียวยาผลกระทบจากการทําเหมือง กระบวนการจัดสรรผลประโยชนเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและ ชุมชนควบคู่ไปกับการพัฒนาแหลงแร เป็นตน

10 7 ตารางที่ 8 เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน และคําอธิบายตัวชี้วัด ตามแนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน (ต่อ) เปาประสงค ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน (Baseline Data) คําอธิบายเพิ่มเติมตัวช ี ้ วัด 3 ) ขั้นหลังการทําเหมื อง เชน กระบวนการการฟนฟูพื้นที่ เพื่อใชประโยชนให้สอดคลองกับความต้องการของชุมชน ทั้งนี้ กําหนดเกณฑการพิจารณาระดับความสําเร็จของ การดําเนินการตามตัวชี้วัดในแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ระบุและจําแนกระดับการมีสวนรวมใน แต่ละขั้นตอนของการบริหารจัดการแรได้อยางครบถวน ระดับที่ 2 มีการวิเคราะหความเป็นไปได้และจัดทํา แผนการเสริมสรางการมีสวนรวมในแต่ละกลุ่มเปาหมาย โดยเฉพาะภาคประชาชน เพื่อยกระดับการมีสวนรวม ในแต่ละขั้นตอนที่สามารถดําเนินการได้โดยแผนฯ ต้องผาน ความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการเสริมสรางการมีสวนรวมฯ ระดับที่ 3 มีการยกระดับการมีสวนรวมตามแผนฯ ที่กําหนดไม่นอยกวา 1 กระบวนการ ระดับที่ 4 มีการยกระดับการมีสวนรวมตามแผนฯ ที่กําหนดไม่นอยกวา 3 กระบวนการ ระดับที่ 5 มีการยกระดับการมีสวนรวมตามแผนฯ ที่กําหนดไม่นอยกวา 5 กระบวนการ

1 08 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม แนวทางการพัฒนาดานที่ 1 : การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร 1 . รอยละของความสําเร็จในการจัดทํา ขอมูลดานแร เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ เชิงนโยบาย เชน ขอมูลอุปสงคและ อุปทานแร ปริมาณแรคงคลัง ปริมาณแร สํำ ร อ ง แ ห ล ง วั ต ถุ ดิ บ แ ร ที่ สํำ คั ญ ในตางประเทศ และประเด็นสถานการณ เรงดวนดานทรัพยากรแร เ ป น ต น รอยละ 100 ตามขอบเขตที่กําหนด ในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 15 45 70 85 100 100 1 . 1 ศึกษาวิเคราะหเพื่อออกแบบระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับนโยบายตลอดทั้ง หวงโซคุณคา พรอมทั้งเทคโนโลยีสนับสนุนที่จําเป็น พัฒนาวิธีการใชประโยชนจากขอมูลขนาดใหญ (Big data) ในปแรกของแผน และดําเนินการเพื่อ นําไปสูการเป็น One Map ทั้งหนวยงานดานความ มั่นคงทางทหาร หนวยงานที่ดูแลการใชประโยชน ที่ดิน พื้นที่ลุมน้ํา การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การบริหารจัดการน้ํา การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ปา การดูแลพื้นที่สงวนหวงหาม เป็นตน หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวปา และพันธุพืช - กรมปาไม - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง - สํานักงานการปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - กรมศิลปากร - กระทรวงกลาโหม 1 . 2 ศึกษาวิเคราะหสารสนเทศรวมถึงการปรับปรุง กระบวนการที่จําเป็นต่อการกําหนดเขตแหลงแร เพื่อการทําเหมือง และการบริหารจัดการแรเชิงนโยบาย โดยดําเนินการในปแรกของแผน เชน การทบทวน รายการขอมูลสารสนเทศ การปรับปรุงหลักเกณฑ การประเมินเพื่อกําหนดเขตแหลงแรเพื่อการทําเหมือง หลักเกณฑการใชประโยชนพื้นที่และสภาพการใช ประโยชนพื้นที่ในปจจุบัน การเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อใชประโยชนพื้นที่ เป็นตน และเรงรัดการรวบรวม สารสนเทศของหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และ

1 09 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม เอกชนเขามาในระบบรวมกับระบบสารสนเท ศ ที่ได้จัดทําขึ้นในการคาดการณสถานการณ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่จะกระทบต่อระบบ การบริหารจัดการแรเพื่อลดความซ้ําซอน และ สะดวกต่อการใช 1.3 สงเสริมสนับสนุนการแสวงหาแหลงวัตถุดิบแร ที่สําคัญจากตางประเทศในชนิดแรที่มีความจําเป็น และสามารถสรางมูลคาเพิ่มด้วยอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ในประเทศ โดยการสรางความรวมมือและผลักดัน ภาคเอกชนให้สามารถแสวงหาแหลงวัตถุดิบจาก ตางประเทศ หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กระทรวงพาณิชย - ก ระทรวงการตางประเทศ 2 . รอยละของพื้นที่ศักยภาพแรเปาหมา ย ทั่วประเทศได้ถูกสํารวจทรัพยากรแร และจัดทําเป็นบัญชีทรัพยากรแรที่มี มาตรฐานไม่นอยกวารอยละ 75 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 30 . 75 41 . 81 52 . 88 63 . 94 75 75 1 . 4 เพิ่มอัตราการสํารวจและจําแนกแหลงแร โดยสงเสริมการสํารวจในเขตสําหรับดําเนินการสํารวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร และสงเสริมให้ภาคเอกชนที่มีขีดความสามารถเขามา ชวยเป็นเครือขายการสํารวจด้วยการบูรณาการ การทํางานรวมกับหนวยงานเจ้าของพื้นที่ การสนับสนุน แหลงทุนในการศึกษาวิจัยและสํารวจแร เพื่อให้ประเทศ มีแผนที่ศักยภาพแร แหลงแรสํารอง การจําแนก เขตศักยภาพแร และบัญชีทรัพยากรแรเพื่อการ บริหารจัดการและเป็นฐานสําหรับการพัฒนาประเทศ หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - สํานักงานการปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - กรมปาไม

11 0 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 1 . 5 ศึกษาทบทวนแนวทางการกําหนดคํานิยามพื้นที่ แหลงตนน้ําหรือปาน้ําซับซึม ตามมาตรา 17 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2560 และกําหนด วิธีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ตามคํานิยามดังกลาว หรือวิธีการอื่นใดที่สามารถระบุขอบเขตของพื้นที่ ตามคํานิยามที่ชัดเจน สามารถนําไปใชได้ในทางปฏิบัติ ภายในครึ่งแรกของระยะเวลาตามแผนแมบทฯ และนํามาปรับปรุงในแผนแมบทการบริหารจัดการแร ต่อไป หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - กรมปาไม - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวปา และพันธุพืช 1 . 6 ปรับปรุงกลไก การกําหนดเขตแหลงแรเพื่อ การทําเหมือง โดยทําการศึกษาปญหา อุปสรรค และ ประเมินความเป็นไปได้ตาง ๆ ภายในปแรกของแผน เพื่อนําไปสูการกําหนดมาตรการแนวทาง หรือแรงจูงใจ ในการส งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสํำรวจแร ของภาคเอกชนที่เกิดผลเป็นรูปธรรมภายใน 3 ปแรก ของแผน หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร

11 1 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 3 . จํานวนนโยบายหรือแนวทางบริหาร จัดการกลุ่มแรศักยภาพเปาหมายหรือ รายชนิดแรที่สอดคลองกับความจําเป็น และความต้องการใชประโยชนของประเทศ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญและ ภาคอุตสาหกรรม ตามแผนยุทธศาสตรชาติ ไม่นอยกวา 5 เรื่อง ภายในป พ.ศ. 2570 1 1 2 1 5 1 . 7 เตรียมความพรอมและกําหนดแนวทางในการนํา การประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA) มาประยุกตใชกับการบริหารจัดการแร เมื่อกฎหรือ ระเบียบที่เกี่ยวของกับการประเมินสิ่งแวดลอม ระดับยุทธศาสตร (SEA) มีผลบังคับใช หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร 1 . 8 ศึกษาวิเคราะห Critical Raw Materials (CRM) เพื่อนําไปสูการกําหนดพื้นที่หรือรายชนิดแรที่สําคัญ ให้เกิดการกําหนด ปรับปรุง พัฒนานโยบายหรือ แนวทางการบริหารจัดการแร โดยคํานึงถึงการประเมิน สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA) ในพื้นที่ หรือชนิดแรที่ จําเป็น หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร 1 . 9 จัดทํานโยบายหรือแนวทางบริหารจัดการ กลุ่มแรศักยภาพเปาหมายหรือรายชนิดแร โดยคํานึงถึงการสรางมูลคาเพิ่มให้แกวัตถุดิบแร และแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) 1.10 สนับสนุนและผลักดันให้มีการออกมาตรการ สงเสริมการลงทุนสําหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ทั้งในกระบวนการสํารวจ การทําเหมือง การแต่งแร และ การประกอบโลหกรรม โดยกําหนดชนิดแร ประเภทของกิจกรรม รวมทั้ง เงื่อนไขในการสงเสริมการลงทุนให้มีความเหมาะสม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร - กรมทรัพยากรธรณี - สํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการลงทุน

11 2 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม เงื่อนไขในการสงเสริมการลงทุนให้มีความเหมาะสมโดย คํานึงถึงความจําเป็น ความต้องการใชประโยชน การ ส ง เ ส ริ ม กิ จ กำ ร ที่ เ ป น มิ ต ร ต อ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม และการดึงดูดการลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ สนับสนุน - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม แนวทางการพัฒนาดานที่ 2 : การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนจากการใชทรัพยากรแร 1 . รอยละความสําเร็จของกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหาร จัดการแร ได้รับการทบทวนแ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ใ ห เหมาะสมและสอดรับกับสถานการณ ปจจุบันและแนวโนมในอนาคตตาม เปาหมายที่กําหนด รอยละ 100 จาก เปาหมายทั้งสิ้น 20 เรื่องตามขอบเขตที่ กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 10 25 50 75 100 100 2 . 1 วิเค ราะหรายละเอียดกระบวนการอนุญาต ของแต่ละหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษาและ ประเมินความเป็นไปได้ในการปรับปรุงแกไข กฎระเบียบในเรื่องที่เกี่ยวของเพื่อเอื้อต่อการ พัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล การติดตาม ตรวจสอบการประกอบกิจการที่โปรงใส สะดวก รวดเร็ว โดยคํานึงถึงการมีสวนรวม เชน การพิจารณา อายุใบอนุญาตตาง ๆ ที่ใชประกอบการพิจารณา อนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตประทานบัตรให้สอดคลอง กัน การให้สามารถดําเนินธุรกิจไปกอนในระหวาง การพิจารณาต่ออายุใบอนุญาตจนกวาจะปฏิเสธ การอนุญาต การใชเอกสารหรือดําเนินกระบวนการ บางสวนรวมกันระหวางหนวยงาน การพัฒนา ระบบการยื่นคําขออนุญาตผานระบบอิเล็กทรอนิกส ในรูปแบบ One Stop Serviceเป็นตน โดยดําเนินการ หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร - สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดทุกจังหวัด สนับสนุน - กรมปาไม - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง - สํานักงานการปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - กรมศิลปากร

11 3 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม ศึกษาฯ ภายในปแรกของแผน และนําไปสูการขับเคลื่อน ตามผลการศึกษาฯ ในระยะเวลาที่เหลือของแผน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กระทรวงมหาดไทย 2 . รอยละที่เพิ่มขึ้นของการปรับปรุง กลไก การอนุมัติ อนุญาต และการจัดสรร ผลประโยชนให้มีประสิทธิภาพ และ โปรงใส รอยละ 100 ตามขอบเขต ที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัดภายใน ป พ.ศ. 2570 - (2 เรื่อง) - (3 เรื่อง) 33 (4 เรื่อง) 67 (5 เรื่อง) 100 (6 เรื่อง) 100 2 . 2 เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการขออนุญาต อาชญาบัตร ประทานบัตร การขอต่ออายุประทานบัตร และใบครอบครองแรโดยรวมออกแบบกระบวนการ ทํางานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และนําเทคโนโลยี ดิจิทัลมาชวยในการขจัดขั้นตอนการทํางาน ที่เกินความจําเป็น หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร - สํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดทุกจังหวัด สนับสนุน - กรมปาไม - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง - สํานักงานการปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - กรมศิลปากร - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กระทรวงมหาดไทย

11 4 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 2 . 3 พัฒนากลไก และรูปแบบของการจัดสรร สิทธิใหม ๆ เพื่อทดลองและปรับเปลี่ยนให้ภาครัฐ สามารถตอบสนองภาคสวนได้อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ ศึกษาการพัฒนาและทดลองใชวิธีการประมูล การให้สัมปทานแหลงแร เพื่อให้เกิดประโยชนสูงสุด ต่อประเทศ และเป็นธรรม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กรมทรัพยากรธรณี 2 . 4 ศึกษาวิเคราะหควำมเป็นไปได้และความเหมาะสม ในการปรับปรุงสัดสวนการจัดสรรคาภาคหลวงแร แกทองถิ่นที่เป็นที่ตั้งของเหมืองโดยตรงให้มากขึ้น โดยดําเนินการศึกษาฯ ให้ได้ขอสรุปภายในปแรก ของแผนฯ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ในชวงเวลาของแผนฯ รวมทั้งพัฒนากลไกการกํากับ ตรวจสอบการจัดสรรผลประโยชนให้ภาครัฐ ทองถิ่น และชุมชนที่เหมาะสมและเป็นธรรม ด้วยความโปรงใส โดยการประยุกตใชเครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือดิจิทัล และให้มี การเปดเผยต่อสาธารณะถึงการใชผลประโยชน ที่ได้รับจากการใชเงินกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามเงื่อนไข แนบทายใบอนุญาตอยางต่อเนื่อง หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น

11 5 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 3 . จํานวนกลไกที่เพิ่มขึ้นของการ พัฒนา และปรับปรุงระบบการติดตาม ตรวจสอบ การกํากับดูแล และการเฝาระวังของการทํา เหมืองที่เป็นมาตรฐานและ มีประสิทธิภาพ จํานวน 5 เรื่อง ภายในป พ.ศ. 2570 1 1 1 1 5 2 . 5 พัฒนาระบบการกํากับดูแลการประกอบการ ที่เครงครัด ทันการณ สามารถที่จะปองกันและ แกไขปญหาได้รวดเร็ว สามารถเยียวยา และฟนฟู ปญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพของ ประชาชนโดยการประยุกตใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ ทั้งอากาศยานไรคนขับ ภาพถายทางอากาศ เทคโนโลยี ดิจิทัล เทคโนโลยี 3 มิติในการกํากับดูแล รวมทั้ง การพัฒนาระบบเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพของประชาชน และจัดทําฐานขอมูล ดานสิ่งแวดลอม และสุขภาพ รวมทั้งขอมูล การตรวจสุขภาพของประชาชนกอนระหวาง และ หลังปดกิจการ และเผยแพรขอมูลให้กับชุมชน โดยให้มีการศึกษาประเมินความเป็นไปได้เพื่อ จัดทําแผนการพัฒนาฯ ทั้งการปรับปรุงกฎระเบียบ แนวปฏิบัติ การบูรณาการระหวางสวนราชการ ภายในปแรกของแผนฯ เพื่อดําเนินการขับเคลื่อน ในระยะเวลาที่เหลือของแผนให้เกิดผลเป็นรูปธรรม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - กรมควบคุมมลพิษ - กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย 2 . 6 บูรณาการกับเครือขายการเฝาระวังและ การจัดการเรื่องอื่นในพื้นที่ให้มากยิ่งขึ้น อาทิ เครือขายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร

11 6 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม เครือขายสาธารณสุข เครือขายพัฒนาสังคม เป็นตน เพื่อให้เกิดการทํางานอยางบูรณาการและยั่งยืน สนับสนุน - กรมทรัพยากรธรณี - กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย 4. รอยละความสําเร็จของเรื่องรองเรียน ที่ได้รับการจัดการและการติดตามแกไข ปญหา รอยละ 100 ตามขอบเขต ที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายใน ป พ.ศ. 2570 75 75 75 85 100 100 2 . 7 ติดตามและปรับปรุงพัฒนากระบวนการและ ระบบสารสนเทศสําหรับการรับและติดตามแกไข ปญหาขอรองเรียนอยางต่อเนื่อง โดยให้ผู้รอง สามารถติดตามสถานะเรื่องรองเรียนได้ผานระบบ อิเล็กทรอนิกสออนไลน ทั้งนี้ ให้สามารถรักษา ระยะเวลาโดยเฉลี่ยของการติดตามแกไขปญหา ขอรองเรียนไวได้ตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด หรือสามารถที่จะแจงผลการติดตามแกไขปญหาได้ ทันทีเมื่อมีการดําเนินการแล้วเสร็จหรือมีขอสรุป ในประเด็นที่มีการรองเรียน หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กรมทรัพยากรธรณี - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - สํานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย - สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรี - สํานักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี

11 7 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 5 . รอยละของสถานประกอบการกลุ่ม เปาหมายที่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม สังคม และ สุขภาพของประชาชน รอยละ 50 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบาย ตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 50 50 50 50 50 50 2 . 8 สงเสริมให้เกิดการใชทรัพยากรแรอยางคุมคา การสรางมูลคาเพิ่มของวัตถุดิบแร การคํานึงถึง ความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการทําเหมืองแร และ การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมและรับผิดชอบ ต่อสังคมมากยิ่งขึ้นตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เศรษฐกิจสีเขียว ( Green Economy) การสรางสังคมคารบอนต่ํา (LCS) และขยายผลรวมทั้งสื่อสารและประชาสัมพันธ ให้สาธารณะชนได้รับทราบอยางต่อเนื่อง หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร - สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม สนับสนุน - กรมทรัพยากรธรณี - กรมควบคุมมลพิษ - กรมโรงงานอุตสาหกรรม - องคการบริหารจัดการ กาซเรือนกระจก - สถาบันสิ่งแวดลอ มไทย 6 . มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( best practice) เกี่ยวกับการใชประโยชนของกองทุนเฝาระวัง สุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และ กองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อการปองกันแกไข ปญหาผลกระทบ และพัฒนาความเป็นอยู่ ของชุมชนไม่นอยกวา 3 กรณีตัวอยาง ภายในป พ.ศ. 2570 1 แนวทาง 1 ตัวอยาง 1 ตัวอยาง 1 ตัวอยาง 4 2 . 9 สรางกลไกการคนหาแนวปฏิบัติในการจัดการ ที่เป็นเลิศ (Best Practice) และการจัดการความรู ในการจัดการแรทั้งระดับพื้นที่ และระดับประเทศ เพื่อให้เกิดการรวบรวม และเผยแพรขอมูลความรู ให้เหมาะสมกับกลุ่มเปาหมายให้เกิดการรับรู และความเขาใจรวมกันของการใชประโยชนของ กองทุนเฝาระวังสุขภาพสําหรับโครงการเหมืองแร และกองทุนพัฒนาหมู่บ้านรอบพื้นที่เหมืองแร หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร

1 18 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม แนวทางการพัฒนาดานที่ 3 : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร 1 . ร อยละของของเสี ย ( Waste) ใน กระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแร ของสถานประกอบการกลุ่มเปาหมาย ที่ถูกนํากลับมาใชประโยชนใหมได้ เพิ่มขึ้นรอยละ 50 ตามขอบเขตที่กําหนด ในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 10 20 30 40 50 50 3 . 1 สงเสริม สนับสนุนให้เกิดการวิจัยพัฒนา นํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสมัยใหม มาปรับใช ในกระบวนการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการใช วัตถุดิบแรตามทิศทางการปฏิรูปสูอุตสาหกรรมยุคใหม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม - กระทรวงสาธารณสุข - สภาการเหมืองแร - สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย 2. มีแนวทางปฏิบัติที่ดี ( Best practice) ในการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานการเพิ่มมูลคาแร 2) ดานการนําของเสียหรือวัสดุเหลือใช กลับมาใชใหม 3) ดานการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ไม่นอยกวา 2 แนวทางในแต่ละดาน ภายในป พ.ศ. 2570 1 1 1 1 4 3 . 2 เรงรัดให้มีการวิจัยพัฒนาการสรางมูลคาเพิ่ม โดยบูรณาการการวิจัยรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งหมายรวมถึงเครือขาย research cluster ของ สถาบันการศึกษาและสถาบันวิชาการทั้งในและ/ หรือตางประเทศ และหนวยงานสนับสนุนทุนวิจัย ทุกแหลงทุนให้ผู้ประกอบการและนักวิจัยเขาถึง แหลงทุนหรือลดภาระดานการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม - กระทรวงสาธารณสุข - สภาการเหมืองแร - สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย

11 9 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 3 . จํานวนผลงานวิจัยพัฒนาในการ เพิ่ม ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต และการสราง มูลคาเพิ่มของแร หรือวัสดุทดแทนแร หรือแรทดแทน จํานวน 5 ผลงาน ภายใน ป พ.ศ. 2570 1 1 1 1 1 5 3 . 3 สงเสริมงานวิจัยและพัฒนาดานวัสดุผสม วัสดุทดแทนแรที่มีกระบวนการผลิตที่ประเทศ ขาดศักยภาพ และแรที่การผลิตสงผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอมและสังคมเพื่อสรางทางเลือกใหม ให้อุตสาหกรรมพรอมกับแกปญหาผลกระทบ ควบคู่ไปกับการวิจัยความต้องการของตลาด และความต้องการหรือการแกไขจุดออนของการผลิต วัตถุดิบแรให้สอดคลองกัน หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงพาณิชย - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม - สภาการเหมืองแร - สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย 3 . 4 สงเสริมให้งานวิจัย ดานแรที่มีศักยภาพไปสู การผลิตเชิงอุตสาหกรรม ทั้งสนับสนุนตลาดเดิม และพัฒนาตลาดใหม เพื่อให้เกิดการบริหารที่สมดุล ตลอดทั้งหวงโซคุณคา โดยทํางานรวมและสอดรับ กับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เป็นตน 4 . มี วิธี ปฏิบัติที่เป นเลิศ ( Best practice) สําหรับการพัฒนาและประยุกตใช เทคโนโลยีดานการปองกันแกไขปญหา ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพ 1 1 1 1 4 3 . 5 สงเสริมให้เกิดการวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีในการปองกันและแกไขปญหาผลกระทบ จากกิจการเหมืองแร เชน การลดและปองกัน ปญหาฝุน PM 2.5/PM 10 จากการทําเหมืองแร หลัก - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร

12 0 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม ของประชาชน และดานการใช ประโยชน จากพื้นที่ผานการทําเหมือง ไม่นอยกวา 2 กรณีตัวอยางในแต่ละดาน ภายใน ป พ.ศ. 2570 การจัดการหางแร ของเสีย และวัสดุเหลือทิ้งจาก กระบวนการแต่งและและการประกอบโลหกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรหรือยานยนต พลังงานไฟฟาแทนการใชพลังงานฟอสซิล ในกระบวนการผลิตเพื่อให้สอดรับกับเปาหมาย SDGs เป็นตน และวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีในการจัดการพื้นที่ที่ผานการทําเหมือง แรแล้วเพื่อนําไปใชให้เกิดประโยชนต่อชุมชน เชน เทคโนโลยีการสํารวจ ภูมิประเทศสามมิติ ( 3 D Scan) ในขุมเหมืองสําหรับการออกแบบการใช ประโยชนขุมเหมือง เป็นตน สนับสนุน - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงพาณิชย - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม - สภาการเหมืองแร - สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย 5 . จํานวนพื้นที่ที่ผานการทําเหมือง แล้ว ที่สามารถผลักดันให้เกิดการฟนฟู และนํามาใชประโยชนต่อได้ภายหลัง สิ้นสุดการทําเหมือง 5 พื้นที่ ภายใน ป พ.ศ. 2570 1 1 1 1 1 5 3 . 6 บูรณาการการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการฟนฟูและปรับสภาพ พื้นที่การประกอบการเหมืองแรให้มีความปลอดภัย มีสภาพกลมกลืนกับพื้นที่โดยรอบ คํานึงถึงการใช ประโยชนของพื้นที่ภายหลังสิ้นสุดการทําเหมือง ให้สอดคลองกับบริบทและความต้องการของชุมชน 6 รอยละของความสําเร็จในการ สงเสริม ให้ผู้ประกอบการกลุ่มเปาหมายปรับระบบ หรือกระบวนการทําเหมืองหรือการผลิตแร 40 60 80 100 100 100 3 . 7 สงเสริมให้เกิดการใชทรัพยากรแรอยางคุมคา และมีการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น ตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy)

12 1 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม ให้เป็นไปตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ร อยละ 100 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 ในกิจการ หรือสถานประกอบการกลุ่มเปาหมาย ที่จัดลําดับความสําคัญ หรือมีความต้องการ ที่จะให้ภาครัฐเขาไปสงเสริม แนวทางการพัฒนาดานที่ 4 : การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมภาคประชาชน 1 . รอยละที่เพิ่ มขึ้นของภาค ประชาสังคม มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการ บริหารจัดการแรของประเทศ รอยละ 20 ตามขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 5 10 15 20 20 4 . 1 ศึกษาวิเคราะหและประเมินการรับรู ความเขาใจ และความตระหนักเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร ของภาคประชาชนโดยทั่วไป เพื่อพัฒนากลไก ในการประชาสัมพันธอยางมีทิศทาง และเอกภาพ เพื่อการประชาสัมพันธและสื่อสารขอมูลขอเท็จจริง ความกาวหน้าในการแกไขปญหาตาง ๆ การติดตาม และรายงานเรื่องความเสี่ยงและการควบคุมต่อ สาธารณะ โดยจัดทําและดําเนินการตามแผนการสื่อสาร ในระยะ 3 - 5 ปที่ชัดเจน ผานสื่อโซเชียลมีเดีย อาจเป็นเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน เพื่อสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนักแกประชาชน โดยทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการแร โดยอาศัย เครือขายพันธมิตรอาทิ กรมประชาสัมพันธ เครือขาย ภาคเอกชน ภาคประชาชน และอื่น ๆ เป็นตน รวมทั้ง ศึกษาวิเคราะหเพื่อดําเนินการสรางความรวมมือ ห ลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กรมประชาสัมพันธ - มหาวิทยาลัย/สถาบัน การศึกษา - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

12 2 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม กับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อสรางความรูความเขาใจ ที่ ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรแกประชาชน ทุกระดับในระยะยาว 2 . รอยละที่เพิ่มขึ้นของชุมชน ทองถิ่น ในพื้นที่เปาหมาย (ระดับพื้นที่) มีความรู ความเขาใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหาร จัดการแรของพื้นที่ รอยละ 40 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 10 20 30 40 40 4 . 2 ศึกษาวิเคราะหพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมาย ไม่นอยกวา 4 ชุมชน ในชวงระยะเวลาของแผน โดยพัฒนากลไกความรวมมือระหวางภาคเอกชน และภาครัฐในการสรางความสัมพันธกับผู้นําชุมชน และภาคีเครือขายตาง ๆ ให้ได้รับทราบและเขาถึงขอมูล หรือขาวสารสาธารณะของขอมูลทั่วไปที่เกี่ยวของกับ ทรัพยากรแร เชน แหลงแรสํารอง ปริมาณสํารองแร การจําแนกเขตพื้นที่ศักยภาพแร การบริหารจัดการ การแกปญหา การใชเงิน กองทุนฟนฟูฯ การติดตาม ตรวจสอบ และเฝาระวังผลกระทบคุณภาพสิ่งแวดลอม และสุขภาพ เป็นตน รวมถึงขอมูลอื่น ๆ ที่เหมาะสม ต่อกลุ่มเปาหมายโดยให้มีการศึกษา จําแนกกลุ่ม ผู้มีสวนได้สวนเสีย และจัดทําแผนการสรางความรู ความเขาใจการบริหารจัดการแรต่อทองถิ่นและชุมชน ให้แล้วเสร็จภายในปแรกของแผนแมบทการบริหาร จัดการแร และดําเนินการตามแผนฯ ที่กําหนด หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กรมประชาสัมพันธ - มหาวิทยาลัย/สถาบัน การศึกษา - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - สภาการเหมืองแร - สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย

12 3 ตารางที่ 9 สรุปตัวชี้วัด คาเปาหมายรายป กิจกรรมหลัก และหนวยงานขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาของแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 ( ต่อ) ตัวชี้วัด คาเปาหมาย กิจกรรมหลัก หนวยงานขับเคลื่อน 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 3 . ระดับความสําเร็จของการ สนับสนุน ให้ภาคสวนตาง ๆ เขามามี สวนรวม ในการบริหารจัดการแร ระดับ 5 ตาม ขอบเขตที่กําหนดในคําอธิบายตัวชี้วัด ภายในป พ.ศ. 2570 1 2 3 4 5 5 4 . 3 ศึกษาวิเคราะหความเป็นไปได้และจัดทําแผน การเสริมสรางการมีสวนรวมในแต่ละกลุ่มเปาหมาย โดยเฉพาะภาคประชาชน เพื่อยกระดับการมีสวนรวม ในแต่ละขั้นตอนที่สามารถดําเนินการได้ตาม แนวทางการเสริมสรางความรวมมือและประสานงาน ระหวางหนวยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแร เชน การปรับปรุงกลไกการมีสวนรวมระดับนโยบาย ในการพิจารณาการกําหนดพื้นที่ศักยภาพแร โดยคํานึงถึงนโยบายการใชประโยชนที่ดินปาไม การทองเที่ยว พลังงาน ศิลปวัฒนธรรม สังคม และ ดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งพัฒนากลไกให้ ชุมชนทองถิ่น มีชองทางในการแสดงความคิดเห็น ต่อการปรับปรุงแผนการฟนฟูพื้นที่ที่กําหนดเป็น เงื่ อนไขแนบทำยใบอนุ ญาต หรื อมี ส วนร วม ในการพัฒนาเหมืองแรเกาหรือสิ้นอายุประทานบัตร มาใชประโยชนตามความเหมาะสมกับสภาพแวดลอม เพื่อให้สามารถสรางประโยชนเชิงเศรษฐกิจชุมชน หลัก - กรมทรัพยากรธรณี - กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร สนับสนุน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กรมประชาสัมพันธ - มหาวิทยาลัย/สถาบัน การศึกษา - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ส่วนที่ 4 การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติและติดตามประเมินผล ความสําเร็จของการขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่การปฏิบัติขึ้นอยู่กับ ปัจจัยสําคัญหลายประการ ประกอบด้วย ความชัดเจนของสาระของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ การรับรู้ เข้าใจ ความตระหนักถึงภารกิจ และความรับผิดชอบร่วมกันของทุกภาคส่วนในสังคม ต่อการบริหารจัดการแร่ของประเทศภายใต้ทิศทางที่ได้ร่วมกันกําหนดขึ้น ระบบและกลไกการบริหาร จัดการจากแผนสู่การปฏิบัติที่มีความเชื่อมโยงกันในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ชาติที่เชื่อมต่อกับ แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่และแผนปฏิบัติราชการ โดยนอกจากจะต้องดําเนินการตามแนวทาง การขับเคลื่อนที่กําหนดไว้อย่างเป็นระบบแล้ว ยังต้องมีการผลักดันให้ต้องมีการดําเนินงานแบบบูรณาการ ร่วมกันของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน และการปรับปรุงระบบการติดตามและประเมินผล แบบมีส่วนร่วมที่ มีประสิทธิภาพและสะท้อนการถ่ายทอดจากแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและหน่วยงานที่สอดคล้องกันตามเป้าหมายและตัวชี้วัดในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของการพัฒนา น อกจากนี้ ระบบติดตามและประเมินผล การดําเนินงาน ตามแนวทางการพัฒนา และการประเมินผลการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐจะต้องมีความสอดคล้อง กัน โดยจะต้องมีการกําหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่มีความเชื่อมโยงสอดรับกัน รวมถึงการกําหนดตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงานและการขับเคลื่อนประเด็นบูรณาการร่วมที่เหมาะสม 4.1 การขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่การปฏิบัติ แนวทางการขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่สู่การปฏิบัติ 1 ) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงความสําคัญและพร้อมเข้าร่วม ในการผลักดันยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแร่ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580 ) และแผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติ โดยกลไกที่สําคัญ คือ คณะกรรมการนโยบายบริหาร จัดการแร่แห่งชาติ และคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องภายใต้คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่ แห่งชาติ โดยเร่งสร้างความเข้าใจกับภาคีทุกภาคส่วนถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแผนแม่บทการบริหาร จัดการแร่ ผ่านกระบวนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่าง ๆ อย่างเหมาะสม สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพผ่านบุคคลและสื่อมวลชนทั้งระดับชาติและท้องถิ่น กิจกรรมสื่อสมัยใหม่ ที่เข้าใจง่าย รวมทั้งการสร้างเครือข่ายให้ข้อมูลข่าวสารกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และต่อเนื่อง 2 ) คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ และคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง ภายใต้คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ต้องดําเนินการผลักดันให้ประเด็นการดําเนินงาน ในแต่ละแนวทางการพัฒนาแปลงสู่การปฏิบัติผ่านแผนงานระดับกระทรวงสู่พื้นที่ระดับต่าง ๆ ผสมผสาน อยู่ในภารกิจหลักของหน่วยงานที่ต้องมีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 12 4

12 5 ร่วมติดตามและประเมินผลแผนดังกล่าวที่สะท้อนความสอดคล้องและบรรลุเป้าหมายของแนวทาง การพัฒนาที่ถูกกําหนดในแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ รวมถึงให้ความสําคัญกับการบูรณาการแผนงาน โครงการทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 3 ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษาเป้าหมาย เป้าประสงค์ในแต่ละแนวทางการพัฒนา ตัวชี้วัด และกิจกรรมหลัก เพื่อให้การจัดทําแผนงาน โครงการ และกิจกรรมมีความเชื่อมโยงและสอดคล้อง กับแนวทางการพัฒนาภายใต้แผนแม่บท และสามารถขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ ได้อย่างแท้จริง 4) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับส่วนราชการ (ซึ่งรวมถึงจังหวัดและท้องถิ่น) ในการจัดทํา รายละเอียดแผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรมหลัก เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ ประจําปีของส่วนราชการ 5 ) นําเสนอข้อมูลและเหตุผลความจําเป็นในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนแผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ให้สํานักงบประมาณ สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ฯลฯ โดยเฉพาะในประเด็นที่มีความสําคัญระดับสูงเพื่อเป็นกลไกสําคัญ ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ งบประมาณ และระบบราชการ 6 ) ผลักดันให้เกิดการพัฒนาเครื่องมือที่สําคัญโดยการจัดทําฐานข้อมูลแร่และข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สาธารณชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ และพัฒนาระบบฐานข้อมูลแร่ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชน พร้อมทั้ งปรับปรุงข้อมูล ให้ทันสมัยเป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะเฉพาะของแต่ละพื้นที่ที่สามารถนํามาวิเคราะห์เชื่อมโยงให้สอดคล้อง กับแนวทางในแนวทางการพัฒนาของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่เพื่อนําไปสู่การจัดทําแผนปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาและการบริหารจัดการแร่ในแต่ละพื้นที่ 7 ) สร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และเข้าร่วมกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแร่อย่างกว้างขวาง ทั้งระดับนโยบายและพื้นที่ โดยเปิดพื้นที่สาธารณะ ให้ทุกภาคีใช้ประโยชน์ในการจัดเวทีระดมความคิดเห็นในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดเวทีประชาคม การสานเสวนา รวมถึงใช้ช่องทางเครือข่ายออนไลน์สําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ 8 ) ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเหมืองแร่มีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และเสริมสร้างสังคมที่ดียึดหลักบรรษัทภิบาล และยกระดับการมีส่วนร่วมกับชุมชนในแต่ละขั้นตอน เชื่อมโยงเป้าหมายทางธุรกิจกับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ควบคู่กับความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และสร้างเครือข่ายความรับผิดชอบทางสังคมของกลุ่มธุรกิจต่าง ๆ นําไปสู่ การทํากิจกรรมเพื่อสังคมร่วมกัน 9 ) ส่งเสริมให้สื่อมวลชนเข้าใจและตระหนักถึงประโยชน์ของการพัฒนาอุตสาหกรรม เหมืองแร่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกในการอนุมัติอนุญาต และกระบวนการกํากับดูแลการทําเหมืองแร่ รวมทั้งพัฒนาบทบาทการเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเชิงสร้างสรรค์และข้อเท็จจริง ที่มุ่งประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก

12 6 4 . 2 การติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ การติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ต้องมีการกําหนดหน่วยงาน ผู้รับผิดชอบในการประเมินตัวชี้วัดของแต่ละแนวทางการพัฒนาภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ให้มีความเป็นระบบชัดเจน มีความเข้าใจที่ตรงกัน มีการประเมินตัวชี้วัดผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสม่ําเสมอ เพื่ อให้หน่วยงานหลักที่ รับผิดชอบและหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องรับทราบความคืบหน้า ในการดําเนินงาน รวมทั้งร่วมกันกําหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือเร่งรัดหากพบว่ามีผลการดําเนินงานล่าช้า หรือไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการติดตามและประเมินผลแผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา และทบทวนข้อมูลสาระสําคัญของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ได้แก่ แนวทาง การพัฒนา เป้าประสงค์ ตัวชี้ วัด และกลยุทธ์ กําหนดกรอบและแนวทางการติดตามและประเมินผล การดําเนินงานแต่ละตัวชี้วัดเพื่อพิจารณาผลสําเร็จการดําเนินการตามแนวทางการพัฒนา โดยในการประเมิน ระดับความก้าวหน้า/ระดับความสําเร็จในภาพรวมของแต่ละแนวทางการพัฒนากําหนดให้ประเมิน โดยเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักของแต่ละตัวชี้วัดภายใต้แนวทางการพัฒนานั้น ตัวชี้วัดละเท่าๆ กัน 2) กําหนดรูปแบบ ระยะเวลา เครื่องมือในการติดตามและประเมินผลราย แนวทาง การพัฒนาภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ผ่านระบบสารสนเทศเพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และจัดทําฐานข้อมูลตัวชี้วัด ตลอดจนการดําเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรม ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ เพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามผลการดําเนินงานต่อไป 3) ในการประเมินระดับความก้าวหน้า/ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตาม แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ได้กําหนดเกณฑ์การประเมินระดับความก้าวหน้า/ระดับความสําเร็จฯ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ดังนี้ ▪ ระดับต่ํามาก หรือระดับคะแนนเท่ากับ 1 หมายถึง มีความสําเร็จตามหลักเกณฑ์ และรายละเอียดของตัวชี้วัดที่กําหนด ต่ํากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ลงมา ▪ ระดับต่ํา หรือระดับคะแนนเท่ากับ 2 หมายถึง มีความสําเร็จตามหลักเกณฑ์ และรายละเอียดของตัวชี้วัดที่กําหนด สูงกว่าร้อยละ 60 ถึงร้อยละ 70 ▪ ระดับปานกลาง หรือระดับคะแนนเท่ากับ 3 หมายถึง มีความสําเร็จตามหลักเกณฑ์ และรายละเอียดของตัวชี้วัดที่กําหนด สูงกว่าร้อยละ 70 ถึงร้อยละ 80 ▪ ระดับสูง หรือระดับคะแนนเท่ากับ 4 หมายถึง มีความสําเร็จตามหลักเกณฑ์ และรายละเอียดของตัวชี้วัดที่กําหนด สูงกว่าร้อยละ 80 ถึงร้อยละ 90 ▪ ระดับสูงมาก หรือระดับคะแนนเท่ากับ 5 หมายถึง มีความสําเร็จตามหลักเกณฑ์ และรายละเอียดของตัวชี้วัดที่กําหนด สูงกว่าร้อยละ 90 ขึ้นไป โดยในการประเมินระดับความก้าวหน้า/ระดับความสําเร็จในภาพรวมของแต่ละ แนวทางการพัฒนากําหนดให้ประเมินโดยเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักของแต่ละตัวชี้วัดภายใต้แนวทางการพัฒนานั้น ตัวชี้วัดละเท่า ๆ กัน

1 27 4) จัดเก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลทุกหนึ่งปีตามปฏิทินงบประมาณ และจัดทําสรุปผล การดําเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะครึ่งแผนแม่บท การบริหารจัดการแร่ เป็นการติดตามประเมินผลความก้าวหน้าในระยะที่กําลังดําเนินงานได้ครึ่งแผน เพื่อศึกษาว่ามีปัญหาอุปสรรคใดบ้างในการดําเนินงาน ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินงาน และระยะหลังการดําเนินงานเสร็จ เป็นการประเมินผลเพื่อสรุปผลสิ้นสุดแผนแล้ว ได้รับความสําเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้มากน้อยเพียงใด มีผลผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ภายหลังจากสิ้นสุดแผน เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตลอดจนผลกระทบทั้งทางบวกและลบ และข้อเสนอแนะสําหรับคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติและคณะรัฐมนตรีต่อไป 5) ในการประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ฉบับที่ 2 ในระยะสิ้นสุดแผน จะต้องเร่งดําเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เพื่อจะได้ใช้ผลการประเมินดังกล่าวซึ่งเป็นข้อมูลที่สอดคล้องกับ สถานการณ์เมื่อใกล้สิ้นสุดแผน เป็นข้อมูลในการประมวลและวิเคราะห์ในการจัดทําแผนแม่บทการบริหาร จัดการแร่ ฉบับที่ 3 ต่อไปด้วย 6) เผยแพร่รายงานการติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ระยะสิ้นสุดแผน ที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ ให้หน่วยงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาและสาธารณชนได้รับทราบ เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผนต่อไป

129 ภาคผนวก ก บัญชีทรัพยากรแร 1 2 8

1 29 ป พ.ศ. 2564 (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2564 ) ประเทศไทยพบทรัพยากรแรมากกวา 40 ชนิด ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 95 , 038 ตารางกิโลเมตร (60 ลานไร) หรือคิดเป็นรอยละ 19 ของประเทศ ปริมาณทรัพยากรแรทั้งประเทศรวมประมาณ 30 ลานลานตัน ประเมินมูลคาแรเบื้องตน รวมกวา 49 , 000ลานลานบาท จําแนกเป็น ( 1) แรเชื้อเพลิงและพลังงาน ได้แก ถานหิน (ลิกไนต) มีประมาณ 2 , 000 ลานตัน คิดเป็นมูลคาประมาณ 2 ลานลานบาท ( 2) หินอุตสาหกรรม ได้แก หินปูน หินบะซอลต หินแกรนิต หินแอนดีไซต์ หินไรโอไลต หินทราย หินควอรตไซต์ และหินออน ปริมาณ ทรัพยากรแรรวมประมาณ 9 , 422 , 064 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 1 , 718 ลานลานบาท ( 3 ) หินประดับ ได้แก หินแกรนิต หินทราย หินออน และหินไนส มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 70 , 354 ลานลูกบาศกเมตร คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 363 ลานลานบาท ( 4 ) แรเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต ได้แก หินปูน หินดินดาน และยิปซัม มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 1 , 244 , 239 ลานตัน คิดเป็น มูลคารวมประมาณ 312 ลานลานบาท ( 5 ) โลหะมีคาและหินมีคา ได้แก ทองคํา (โลหะ) มีปริมาณ ทรัพยากรแรประมาณ 213 ตัน คิดเป็นมูลคาประมาณ 0.40 ลานลานบาท ( 6 ) โลหะพื้นฐาน ได้แก สังกะสี ดีบุก ทองแดง (โลหะ) และพลวง มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 27 , 609 ลานตัน คิดเป็น มูลคารวมประมาณ 7 , 875.18 ลานลานบาท ( 7 ) เหล็กและโลหะผสมเหล็ก ได้แก เหล็ก มีปริมาณ ทรัพยากรแรรวมประมาณ 235 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 0.81 ลานลานบาท ( 8 ) แรอุตสาหกรรม เซรามิก ได้แก เฟลดสปาร ดินขาว บอลลเคลย ควอตซ และทรายแกว มีปริมาณทรัพยากรแรรวม ประมาณ 3 , 497 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 2.17 ลานลานบาท ( 9 ) แรอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก โดโลไมต แบไรต ฟลูออไรต เกลือหิน โพแทช ไพโรฟลไลต และหินปูน (เพื่ออุตสาหกรรมเคมี และเพื่ออุตสาหกรรมอื่น ๆ) มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 19 , 366 , 732 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวม ประมาณ 38 , 485 ลานลานบาท และ ( 10 ) โลหะเบาและแรหายาก ได้แก ธาตุหายาก (โลหะ) มีปริมาณทรัพยากรแรรวมประมาณ 5 ลานตัน คิดเป็นมูลคารวมประมาณ 4.20 ลานลานบาท หากพิจารณากรณีรายชนิดแร พบวาเกลือหินเป็นแรที่มีปริมาณมากที่สุดในประเทศ มีประมาณ 18 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 59.87 ของปริมาณทรัพยากรแรทั้งประเทศ ทั้งนี้ หากไม่รวม เกลือหินพบวาทรัพยากรแรที่มีปริมาณสูงสุด 5 อันดับถัดมา ได้แก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง มีประมาณ 8 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 73.42 ของปริมาณทรัพยากรแรในสวนที่ไม่นับรวมเกลือหิน หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต มีประมาณ 1 ลานลานตัน คิดเป็นรอยละ 10.27 หินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมอื่น ๆ มีประมาณ 7 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 6.60 แรโพแทช มีประมาณ 4 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 3.37 และหินทราย มีประมาณ 2 แสนลานตัน คิดเป็นรอยละ 2.17 ตามลําดับ ทรัพยากรแรเหลานี้ถูกนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมพื้นฐานและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เชน เกลือหิน ใชในอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมการยอมและฟอกหนัง อุตสาหกรรมการผลิตปุยและตัวยาฆาวัชพืช หรือใชทําเกลือสําหรับประกอบการทําอาหารหรือเก็บรักษาอาหาร แรโพแทชใชในอุตสาหกรรมการผลิต ปุยโพแทสเซียม สวนหินปูนใชในอุตสาหกรรมซีเมนตและอุตสาหกรรมกอสราง เป็นตน

13 0 รูปแสดงแผนที่ทรัพยากรแรประเทศไทย (ดัดแปลงจากกรมทรัพยากรธรณี , 2564 )

) , . , , , . , . , . , . , . , . , . . , . : , , . , . , , . , . : , . : , . , , . , . , . , . 1 31

, , . , . , , , . , , . , . . , … , . , . , , . , . . , . , … , , , , . , , , . , . , . ** . 1 32

www.dpim.go.th , , , , , - . ** ppm La Ce Pr Nd Y htttp://www.metal-pages.com … … . . 1 33

, , , , 1 34

, . , . . , . . , . , . . , . . , … , . . , … , . . , … . . , … , … … … … … … … . , , , : : , . , … . 1 35

, . , . . , . . , . , … . , … , . . , … , . . , … , . . , … . . , … . . , … , … … … … , , , : : 1 36

13 7

  • . - . Thailand Mineral Framework Classification : TMFC 13 8

13 9

140

141

142

143

144

145

146

147

148

149

150

151

152

153

154

155

156

157

158

159

160

161

162

163

164

165

166

167

168

169

170

171

172

173

174

175

176

177

178

179

180

181

182

183

184

185

186

187

188

189

190

191

193 19 2

(technical meeting) technical meeting) ) technical meeting) ) focus group) ) public hearing) ) ) technical meeting focus group) ) public hearing) road map) - ( - )

  • ) - - Strategic Environmental Assessment: SEA) … …

technical meeting) ) ) ) - ) Sustainable development) security) resources) feasibility)

      • priority - - - -
      • one stop service - - - - - -

              • material flow) -
  • advanced materials) - - - -


    • added value) - - - best practice ) - - - - -



        • Master Plan -
                  • deploy -

focus group ) technical meeting) ) focus group) ) public hearing) technical meeting) focus group) hybrid onsite) online COVID - roadmap focus group) 212

focus group) : focus group ( ( ( 213

advance materials research cluster case by case PM PM SDGs focus group Open data ( 214

focus group One map Smart EIA One map GISTDA focus group ( 215

focus group Thailand Mineral Framework Classification : TMFC TMFC TMFC session 216

focus group one stop service 3 rd party open floor 217

One stop service focus group ( ( 218

focus group ( ( ( ) ( ) ( ) Green Mining CSR - DPIM 219

220

public hearing ) technical meeting) ) focus group) ) public hearing) technical meeting) focus group) public hearing hybrid) onsite) online) (COVID - 19) 22 Ģ

: 22 ģ

22 3

: 22 ĥ

22 Ħ

22 ħ

: 22 Ĩ

22 ĩ

: 22 Ī

best practice) 2 3ġ

(overlay) 2 3Ģ

baseline data) 2 3ģ

2 33

2 3 4

2 3 5

TOWS Matrix 2 3 6

s trengths (S) w eaknesses (W) S S S S W W W W W W W W W

Opportunities (O) (SO) (WO) O Rare Earth) O O . Circular Economy O O O O COVID - supply chain S O O Circular Economy S O S O O S S O O S O S O Big data W O W O O W O W O O W O O W O

Threats (T) (ST) (WT) T T T S T S T S T W W T W T S S W

SEA 240

(Strategic Environmental Assessment : SEA) (Strategic Environmental Assessment : SEA) (SEA) SEA SEA SEA SEA SEA) SEA . SEA SEA SEA SEA SEA

SEA . SEA SEA SEA SEA One size fit all SEA

SEA . technical meeting) focus group) public hearing) . SEA

SEA . SEA SEA SEA SEA . SEA SEA technical meeting) focus group) public hearing) SEA

245

  • SWOT analysis SEA-Strategic Environmental Assessment) technical meeting) focus group) public hearing) 246

247

248

249

250

251

252

253

254

255

256

257

258

259

260

261

262

263

264

265

ความเชื่อมโยงของแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2 กับยุทธศาสตร ์ และแผนที่เกี่ยวข ้ อง ยุทธศาสตร์ชาติ ( 2561 – 2580 ) ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งข ัน ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป ็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แผนแม่บท ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 4.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 4.2.2 อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร 4.4 โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ข ้อ 4.4.1 เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร ้รอยต่อ ข ้อ 4.4.2 สร ้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4.5 พ ัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ ข ้อ 4.5.5 ปรับบทบาทและโอกาสการเข ้าถึงบริการภาครัฐ 4.1 สร้างการเติบโตอย่างย ั่งยืนบนส ังคมเศรษฐกิจสีเขียว 4.1.5 ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 4.4 พ ัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 4.4.1 จัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตาม ศักยภาพ และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป ็ นเอกภาพ 4.6 ยกระด ับกระบวนท ัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ 4.6.2 พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดล ้อม 4.6.3 จัดโครงสร ้างเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นร่วม ด ้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อมที่สาคัญ (4) อุตสาหกรรมและ บริการแห่งอนาคต มุ่ง ข ับเคลื่อน ภาคอุตสาหกรรมและ บริการด้วยเทคโนโลยี และนว ัตกรรม บนฐาน ของการใช้ประโยชน์ จากทร ัพยากรแร่เป ็ น ว ัตถุดิบ • แผนย่อยอุตสาหกรรม และบริการการแพทย์ครบ วงจร • แผนย่อยการพัฒนา ระบบนิเวศอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต (9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ เน้นการข ับเคลื่อนการ พ ัฒนาเชิงพื้นที่ที่สาค ัญ ใช้ประโยชน์จาก ทร ัพยากรในพื้นที่ผสาน เทคโนโลยี รวมท ั ้ง อนุร ักษ์และฟื้นฟู ทร ัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • แผนย่อยการพัฒนา EEC • แผนย่อยการพัฒนา SEC • แผนย่อยการพัฒนาเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน (18) การเติบโตอย่างย ั่งยืน ให้ ความสาค ัญก ับการเติบโตอย่าง ย ั่งยืนบนคุณภาพชีวิตที่เป ็ นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป ็ นการเติบโต ที่เน้นหล ักของการใช้ประโยชน์ การอนุร ักษ์ ร ักษา ฟื ้ นฟูและ สร้างใหม่ฐานทร ัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างย ั่งยืน • แผนย่อยการสร ้างการเติบโตอย่าง ยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว • แผนย่อยการยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกำหนดอนาคต (23) การวิจ ัยและพ ัฒนานว ัตกรรม ให้ การดำเนินการวิจ ัยและพ ัฒนา นว ัตกรรมของประเทศไทยสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของ ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศ ยกระด ับภาคการผลิตและบริการ แก้ไขปัญหาของส ังคม พ ัฒนาการ บริหารจ ัดการภาคร ัฐ รวมท ั ้งร ักษาและ ฟื้นฟูทร ัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศ • แผนย่อยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ด ้านเศรษฐกิจ • แผนย่อยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ด ้านสิ่งแวดล ้อม แผนปฏิรูป ประเทศ (25 ก . พ . 2564) ด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การเป็น ศูนย์กลางด ้านการค ้าและการ ลงทุนของไทยในภูมิภาค ( Regional Trading/ Investment Center) ประเด็นสาคัญ 1) พัฒนา ด ้านโลจิสติกส์เพื่อสร ้างความ เชื่อมโยง ( Connectivity) เป้าหมาย ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางด ้านการค ้าและการ ลงทุนในภูมิภาค ตัวชี้วัด 2.3) อันดับของมูลค่า การลงทุนทางตรงจาก ต่างประเทศในประเทศไทยอยู่ ในอันดับ 1 ใน 3 ของอาเซียน 3. ฐานการผลิตยานยนต์ ไฟฟ ้ ำที่สาค ัญของโลก กลยุทธ์ 3. แผนการเปลี่ยนผ่าน ไปสู่ ยานยนต์ไฟฟ้าตลอดทั้ง ห่วงโซ่อุปทานในระยะ 5 ปี 3.1 ) ส่งเสริมให ้ไทยเป็น ศูนย์กลางฐานการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า และส่งเสริมให ้ ผู ้ประกอบการสามารถผลิต ชิ้นส่วนที่เป็นเทคโนโลยีหลัก 3.3 ) สร ้างฐานการผลิตแบตเตอรี่ รวมถึงชิ้นส่วนสาคัญ 3.8 ) ศึกษาแนวทางการกำจัด ซากรถยนต์และชิ้นส่วน และ ส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน กลยุทธ์ 4 . ขีดความสามารถของ ผู ้ประกอบการในผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า แบตเตอรี่และชิ้นส่วน สาคัญ 4.3 ) ส่งเสริมการนาเทคโนโลยี มาใช ้ในการบริหารจัดการการ ผลิต 4 . ศูนย์กลางทาง การแพทย์และสุขภาพ มูลค่าสูง กลยุทธ์ 3. การสร ้าง มูลค่าเพิ่มให ้ อุตสาหกรรมทางการ แพทย์และสุขภาพ 3.3 ส่งเสริมการลงทุน และการนำผลิตภัณฑ์ ทางการแพทย์และ สุขภาพออกสู่ตลาด 10 . เศรษฐกิจหมุนเวียนและส ังคมคาร์บอนต ่า กลยุทธ์ 1 . การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการตามหลัก CE & LCS 1.1 ) เพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมและบริการ โดยการพัฒนาสินค ้า บริการและตลาดที่สร ้างมูลค่าเพิ่ม 1.2 ) เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค ้าและบริการ กลยุทธ์ 3 . การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มประสิทธิภาพการใช ้ ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดบนหลักคิด SEP 3.1 ) ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทาง ชีวภาพ 3.2 ) สร ้างฐานทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตให ้เพียงพอและมีการ ใช ้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 ) ใช ้ทรัพยากรธรรมชาติจากส่วนเหลือให ้เกิดประโยชน์ที่ หลากหลายปราศจากเศษเหลือและของเสียจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม Food waste 3.4 ) กำหนดเขตพื้นที่เพื่อการใช ้ประโยน์ให ้เหมาะสมกับศักยภาพ ของทรัพยากร กลยุทธ์ 4 . การพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และกลไกสนับสนุน CE & LCS 4.3 ) พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการลดและหมุนเวียน การใช ้ทรัพยากร และเพิ่มมูลค่าของเสีย 4.4 ) ส่งเสริมเทคโนโลยีการดักจับ การใช ้ประโยขน์ และการกักเก็บ คาร์บอน ( Carbon Capture, Utilization and storage: CCUS) 4.6 ) พัฒนาฐานข ้อมูล / องค์ความรู ้ / มาตรฐาน / กฎหมาย / มาตรการ สนับสนุนและสร ้างแรงจูงใจ กลยุทธ์ 5 . การปรับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและการดำรงชีพเข ้าสู่วิถี ชีวิตใหม่อย่างยั่งยืน 5.1 ) สร ้างความตระหนักรู ้ให ้เกิดในสังคม 5.2 ) สร ้างแรงจูงใจ และทัศนคติในการดำรงชีวิตของผู ้บริโภคเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่การบริโภคที่ยั่งยืน 13 . ภาคร ัฐที่ท ันสม ัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน กลยุทธ์ 1 . พัฒนาคุณภาพการให ้บริการ ภาครัฐที่ตอบโจทย์ สะดวก และประหยัด 1.2 ) ทบทวนกระบวนการทำงานของ ภาครัฐควบคู่กับพัฒนาการบริการภาครัฐ ในรูปแบบดิจิทัลแบบเบ็ดเสร็จ กลยุทธ์ 2 . ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ และโครงสร ้างของภาครัฐให ้ยืดหยุ่น เชื่อมโยง เปิดกว ้าง และมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการ พัฒนาประเทศ 2.2 ) สร ้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใส ในการทำงานของภาครัฐ กลยุทธ์ 3 ปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาล ดิจิทัลที่ใช ้ข ้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาประเทศ 3.1 ) ปรับเปลี่ยนข ้อมูลภาครัฐทั้งหมดให ้ เป็นดิจิทัล 3.2 ) ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานภาครัฐ เป็นดิจิทัล กลยุทธ์ 4 . สร ้างระบบบริหารภาครัฐที่ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนและพัฒนา บุคลากร ให ้มีทักษะ ที่จาเป็นในการ ให ้บริการภาครัฐ ดิจิทัล และปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ มาตรการภาครัฐให ้เอื้อ ต่อการพัฒนาประเทศ แผน พ ัฒนาฯ ฉบ ับที่ 13 ยุทธศาสตร์การ 20 ปี (256 1 -25 80 ) ยุทธศาสตร์ด้านการพ ัฒนากลไกการบริหารระด ับ นโยบาย และการจ ัดการโครงสร้างพื้นฐานรองร ับการ พ ัฒนาอุตสาหกรรมแร่ ประเด็น 1.1 การพัฒนาระบบข ้อมูลเพื่อใช ้ในการบริหารจัดการ การ ตัดสินใจ และคาดการณ์สถานการณ์ในอนาคต 1.2 การปรับกฎหมาย กฎระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมแร่ 1.3 การส่งเสริมเชิงนโยบายเพื่อให ้เกิดแรงขับเคลื่อนในการ ผลิตแร่ที่มีความต ้องการสูง หรือเป็นแร่ที่จาเป็นต่อ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ( Demand Driven ) 1.4 การส่งเสริมนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy) ยุทธศาสตร์ด้านบริหารจ ัดการแร่ตลอดห่วงโซ่คุณค่า และเสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งข ัน ประเด็น 2.1 การเตรียมแร่พื้นฐานให ้ตอบสนองและทันต่อความต ้องการ ของภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาโครงสร ้างพื้นฐานของ ประเทศในอนาคต 2.2 การพัฒนาศักยภาพของผู ้ประกอบการ บุคลากร พร ้อมทั้ง ส่งเสริมการใช ้เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร ้างประโยชน์ ตลอดทั้งกระบวนการห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมแร่เพื่อสร ้าง ความได ้เปรียบทางการแข่งขันของประเทศ 2.3 การพัฒนากระบวนการของรัฐในการจัดการสิทธิ และการให ้ อนุญาตในอุตสาหกรรมแร่ที่เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ 2.4 การวิจัยพัฒนาแร่ที่มีศักยภาพ ( Potential) ให ้เป็นแร่ ยุทธศาสตร์ของประเทศ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างดุลยภาพการ บริหารจ ัดการแร่อย่างย ั่งยืน ประเด็น 3.1 การพัฒนากลไกและระบบ การจัดทำการ ประเมินสิ่งแวดล ้อมระดับยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ 3.2 การจัดการผลกระทบต่อชุมชน สังคม สาธารณสุข และสิ่งแวดล ้อมอย่างบูรณาการ 3.3 การพัฒนากลไกและระบบการสร ้าง ผลประโยชน์ และความเป็นอยู่ที่ดีของ ประชาชนที่เกี่ยวข ้องในด ้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล ้อมจากกิจกรรมในห่วงโซ่คุณค่า ของอุตสาหกรรมแร่ ยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสาร และการสร้างการมี ส่วนร่วมตามหล ักธรรมาภิบาล ประเด็น 4.1 การบริหารจัดการผู ้มีส่วนได ้เสียในการเปิดข ้อมูล สาธารณะ ( Open data) เพื่อธรรมาภิบาล 4.2 การบูรณาการร่วมมือและการสร ้างการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการแร่ตลอดทั้ง ห่วงโซ่คุณค่าอย่างสร ้างสรรค์ 4.3 การจัดการผลประโยชน์จากการพัฒนาแหล่งแร่ ให ้กับชุมชนท ้องถิ่นและพื้นที่ใกล ้เคียงที่ได ้รับ ผลกระทบ นโยบาย และ แผนการ ส่งเสริม และ รักษา คุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ (2560- 2579) นโยบายที่ 3 ยกระด ับมาตรการในการบริหารจ ัดการ ทร ัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 3.2 ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช ้เครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม ข ้อ 3.2.1 ส่งเสริมการใช ้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล ้อมและ นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล ้อม ข ้อ 3.2.3 ผลักดันให ้มีการใช ้เครื่องมือเชิงนโยบายเพื่อการตัดสินใจในการ พัฒนาพื้นที่ขนาดใหญ่ นโยบายที่ 1 จ ัดการฐานทร ัพยากรธรรมชาติอย่างม ั่นคงเพื่อความสมดุล เป ็ นธรรม และย ั่งยืน นโยบายที่ 1.1 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช ้ประโยชน์ฐานทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล ยั่งยืน และเป็นธรรม ประเด็น 1.1.5 การจัดการทรัพยากรธรณี ข ้อ 1.1.5.1 อนุรักษ์ทรัพยากรแร่ ข ้อ 1.1.5.2 จัดทาฐานข ้อมูลพื้นที่ศักยภาพแร่ของประเทศ ข ้อ 1.1.5.3 ควบคุม และกำกับดูแลการบริหารจัดการเหมืองแร่ให ้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล ้อมและสุขภาพ ด้านการปร ับสมดุลและพ ัฒนาระบบการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ 4.1 ภาคร ัฐที่ยึดประชาชนเป ็ นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 4.1.1 การให ้บริการสาธารณะของภาครัฐได ้มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนวหน ้าของภูมิภาค 4.1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให ้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา ประยุกต์ใช ้ 4.4 ภาคร ัฐมีความท ันสม ัย 4.4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให ้ทันสมัย 4.7 กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมก ับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป ็ น 4.7.1 ภาครัฐจัดให ้มีกฎหมายที่สอดคล ้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลง ( 20 ) การบริการ ประชาชนและ ประสิทธิภาพภาคร ัฐ • แผนย่อยการพัฒนา บริการประชาชน • แผนย่อยการพัฒนาระบบ บริหารงานภาครัฐ การพ ัฒนากลไกการอนุญาต กาก ับดูแล และการจ ัดสรรผลประโยชน์จาก การใช้ทร ัพยากรแร่ 1. มีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนากลไกการอนุญาต กำกับดูแลที่โปร่งใสและ รวดเร็ว โดยคานึงถึงกระบวนการมีส่วนร่วม และมีระบบกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การประกอบกิจการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ 2. มีการปรับปรุงระบบจัดสรรและใช ้ผลประโยชน์จากการพัฒนาแหล่งแร่อย่างเป็น ธรรมและทั่วถึงสอดคล ้องกับความต ้องการในการป้องกันแก ้ไขปัญหาและพัฒนา ความเป็นอยู่ของชุมชนในระดับท ้องถิ่น การพ ัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจ ัดการแร่ 1. ประเทศไทยมีบัญชีทรัพยากรแร่และข ้อมูลที่เกี่ยวข ้องเพื่อเป็นฐานสาหรับการบริหารจัดการแร่ โดยเฉพาะในชนิดแร่เป้าหมายที่สาคัญ โดยสอดคล ้องกับสภาพความเป็นจริง ผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล ้อมและสุขภาพของประชาชน และคานึงถึงการตอบสนองความต ้องการใช ้วัตถุดิบแร่ใน อุตสาหกรรมยุคใหม่ของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์การใช ้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อย่างเหมาะสมและยั่งยืน 2. เกิดการลงทุนเพื่อสารวจทรัพยากรแร่เป้าหมายที่สาคัญต่อการปฏิรูปสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่ของ ประเทศมากขึ้น เพื่อนาไปสู่การกำหนดเป็นพื้นที่ศักยภาพแร่สาหรับรองรับการตอบสนองความ ต ้องการใช ้วัตถุดิบแร่ตามทิศทางการพัฒนาประเทศ 3. มีการกำหนดนโยบายบริหารจัดการแร่ให ้เกิดประโยชน์สูงสุดที่มีความเฉพาะและเหมาะสมกับชนิด แร่หรือพื้นที่นั้น ๆ โดยคานึงถึงความจาเป็นและความต ้องการใช ้ประโยชน์ของประเทศเป็นหลัก แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ( BCG Model) รวมถึงการ ปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมเหมืองแร่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภาวะวิกฤติและทิศทางใหม่ในอนาคต การวิจ ัยพ ัฒนานว ัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์จากแร่ 1. เกิดการสร ้างและพัฒนาองค์ความรู ้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่นามาใช ้ในการเพิ่มมูลค่าแร่ การนาของเสียหรือ วัสดุเหลือใช ้กลับมาใช ้ใหม่ให ้เป็นแหล่งวัตถุดิบทดแทนในอุตสาหกรรมยุคใหม่และอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ มีฐาน วัตถุดิบด ้านแร่ที่มั่นคงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ภายใต ้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียน และสอดคล ้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่ 2. มีการพัฒนาองค์ความรู ้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการป้องกันแก ้ไขปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อม และการ ใช ้ประโยชน์จากพื้นที่การทำเหมืองทั้งในระหว่างการทำเหมือง และภายหลังสิ้นสุดการ ทาเหมืองให ้เกิดประโยชน์สูงสุด การป้องกันและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชนเพื่อเป็นองค์ประกอบไปสู่ การอยู่ร่วมกันของการพัฒนาและแร่และการ พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน 3. ผู ้ประกอบการด ้านแร่ได ้รับการส่งเสริม สนับสนุนและกำกับดูแลให ้สถานประกอบการดาเนินกิจการ ที่มีมาตรฐานด ้าน เศรษฐกิจหมุนเวียน การสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 1. มีการเสริมสร ้างและส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อมุ่งเน ้นให ้ประชาชนทั่วไป และชุมชนในระดับ ท ้องถิ่นมีความรู ้ ความเข ้าใจ และความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการแร่ที่สูงขึ้น 2. เกิดการสนับสนุนให ้เข ้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแร่ในกระบวนงานต่าง ๆ และชุมชนใน ระดับท ้องถิ่นพร ้อมที่จะให ้ความร่วมมือในการร่วมบริหารจัดการแร่ แผนแม่บทการ บริหารจ ัดการแร่ ฉบ ับที่ 2 ด้านทร ัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 2) มีระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อมที่มี ประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ เพื่อลดความ เหลื่อมล้า สร ้างความเป็นธรรม สอดคล ้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข ้องและ ข ้อตกลงระหว่างประเทศ ที่ประเทศไทยเป็น ภาคีสมาชิก โดยยึดถือผลประโยชน์ของ ประเทศ ตัวชี้วัด อันดับของประเทศด ้านความยั่งยืน และคุณภาพสิ่งแวดล ้อมในระดับโลก ( SDGs) ปี 64-65 ไทยอยู่ในอันดับต่ากว่า 50 ประเทศแรกของโลก เป้าหมาย 3) ทรัพยากรธรรมชาติได ้รับการ รักษาและฟื้นฟูให ้มีความสมบูรณ์และยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล ้อม เป้าหมาย 4) เกิดความสมดุลระหว่างการ อนุรักษ์และการใช ้ประโยชน์ ลดความขัดแย ้ง ของการพัฒนาที่ใช ้ฐานทรัพยากรธรรมาติ บรรเทาผลกระทบสิ่งแวดล ้อม และลดภัย พิบัติทางธรรมชาติ ตัวชี้วัด อันดับความหลากหลายทางพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และถิ่นที่อยู่ในระดับโลก ( BHI) ปี 64-65 ไทยอยู่ในอันดับต่ากว่า 114 ประเทศ แรกของโลก แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 แผนระดับ 3 แผนระดับ 2 แผนระดับ 2 บริหารจ ัดการแร่ 26 5 266

267

ภายนอก การวิเคราะหสถานการณและแนวโนมที่เกี่ยวของ ภายใน 268

การวิเคราะหสภาพแวดลอม (SWOT) ในการบริหารจัดการแร 269

เปาหมาย มีบัญชีทรัพยากรแรที่สมบูรณ … เกิดการกําหนดนโยบาย บริหารจัดการแร ให้เกิดประโยชนสูงสุด กลไกการกํากับ ดูแล และอํานวยความสะดวก มีความโปรงใส มีประสิทธิภาพ ระบบจัดสรร ผลประโยชนมีความเป็นธรรม เกิดการพัฒนาองคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการปองกันแกไขปญหาผลกระทบ ต่อสิ่งแวดลอม และการใชประโยชน จากพื้นที่การทําเหมือง ผู้ประกอบการ มีการประกอบการ ที่สอดคลองกับเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน และหลักการของเศรษฐกิจ หมุนเวียน สาธารณชนและชุมชนทองถิ่น มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญ ของประโยชนจากการใช ทรัพยากรแร … 4 แนวทางการพัฒนา ดานที่ 2 การพัฒนากลไกการอนุญาต กํากับดูแล และการจัดสรร ผลประโยชนจากการใช ทรัพยากรแร แนวทางการพัฒนา ดานที่ 3 การวิจัยพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนจากแร แนวทางการพัฒนา ดานที่ 4 การสรางความรูความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวม ภาคประชาชน 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 เปาหมาย วิสัยทัศนและแนวทางการพัฒนาภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการแร ฉบับที่ 2 แนวทางการพัฒนา ดานที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการแร “ ต่อยอดการปฏิรูปการบริหารจัดการแรให้มีประสิทธิภาพ โปรงใส ประชาชนเขาใจและมีสวนรวม และสงเสริมให้เกิดนวัตกรรมเพื่อนําทรัพยากรแรที่มีอยู่มาใชให้เกิดประโยชนสูงสุดอยางยั่งยืน” วิสัยทัศน 270

➢ กฎหมาย / ระเบียบ ▪ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ จากภาคส่วนต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกัน ▪ บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและรัดกุม ▪ ลดขั้นตอน กระบวนการที่เป็นปัญหาอุปสรรคเพื่อเอื้อให้เกิดการลงทุน ▪ ปรับปรุงแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่เป็นระยะโดยไม่ต้องรอระยะ 5 ปี ➢ กลไกปฏิบัติของภาครัฐ ▪ One stop service ครอบคลุมทุกกระบวนการ ▪ มุ่งเน้นการส่งเสริมพัฒนามากกว่าการควบคุม ▪ กำกับดูแลการประกอบการอย่างโปร่งใส ▪ ลดกระบวนงานที่ใช้ดุลยพินิจ ▪ ไม่เอื้อประโยชน์แก่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการเฉพาะ ▪ ทำความเข้าใจร่วมกับผู้ประกอบการ ➢ ระบบฐานข้อมูล ▪ ครอบคลุมทั้งมิติห่วงโซ่คุณค่า และมิติรายชนิดแร่ ▪ สนับสนุนฐานข้อมูลแก่ภาคเอกชน ▪ ใช้เทคโนโลยีในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ใน การติดตามตรวจสอบการประกอบการ ▪ บูรณาการข้อมูลหรือระบบฐานข้อมูล การใช้ประโยชน์ฯ ข้อมูลวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการใช้ประโยชน์ ▪ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เผยแพร่ให้เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก ➢ ทรัพยากรบุคคล ▪ พัฒนาบุคลากรภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ▪ สนับสนุนให้ทำงานร่วมกับภาคเอกชน ▪ หารือร่วมภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชนในทุกมิติ ▪ เพิ่มอัตราทรัพยากรบุคคลให้เพียงพอ ➢ เขตแหล่งแร่เพื่อการทำเหมือง ▪ จัดทำ Mining Zone ให้ชัดเจน ทั้งในพื้นที่ของรัฐและเอกชนที่มีศักยภาพ ▪ ความชัดเจนการขออาชญาบัตรไปถึงการกาหนดเขต Mining Zone ▪ ขอให้ Mining Zone ตามแผนฯ ฉบับแรก ดำเนินการต่อไปได้ ▪ กำหนด Mining Zone ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1 ได้ตามเงื่อนไขและไม่ต้องขอ ครม . ความต ้ องการและความคาดหวังต ่ อการบริหารจัดการแร ่ กับแนวทางการพัฒนาในแผนแม ่ บทการบริหารจัดการแร ่ ฉบับที่ 2 ➢ การจัดสรรผลประโยชน์แก่ท้องถิ่นและชุมชน ▪ ขยายขอบเขตชุมชนที่ได้รับประโยชน์ให้กว้างขึ้น ครอบคลุมพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบทางอ้อม ▪ เพิ่มการตรวจสอบและติดตามการจัดสรรผลประโยชน์ ➢ ประเด็นอื่น ๆ ▪ ส่งเสริมผู้ประกอบการวิจัย พัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม ▪ พัฒนาเทคโนโลยีการทำเหมืองให้ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ➢ การมีส่วนร่วม ▪ เปิดเผยข้อเท็จจริง ให้ข้อมูล และประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อป้องการข่าวปลอม ▪ กำหนดความเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ชัดเจน ▪ เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมในการวางแผนหรือบริหารงบประมาณของกองทุนให้สอดคล้อง กับความต้องการของชุมชน ▪ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นและการตัดสินใจในเรื่องสำคัญ แนวทางฯ 1 แนวทางฯ 1 แนวทางฯ 2 แนวทางฯ 3 แนวทางฯ 2 แนวทางฯ 2 แนวทางฯ 4 แนวทางฯ 1 2 3 4 271

2 72

2 73

2 74

2 75

2 76

2 77

2 78

2 79

2 80

2 81

2 82

2 83

: - - 2 8 4

2 8 5

Baseline data) Buffer zone) 2 8 6

2 8 7

2 8 8

baseline data 2 8 9

290

291

292

293

294

295

296

297

298

299

300

301

302

303

304

305

306

307

308

309

310

Social Media) Technical Meeting) 3 24

Focus Group) Public Hearing) 3 25

3 26

สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแห่งชาติ กรมทรัพยากรธรณี 75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2621 9783 โทรสาร 0 2354 2508