Fri Jun 30 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580


ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580

ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 การบินพลเรือนเป็นภาคส่วนที่มีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของประเทศ ในช่วงระยะเวลากว่า 18 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่รัฐบาลได้ดาเนินนโยบายเปิดเสรีการบิน ส่งผลให้จานวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่า ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเข้าถึงบริการ การขนส่งทางอากาศของประชาชน ในปี พ.ศ. 2562 สภาเศรษฐกิ จโลก ( World Economic Forum : WEF ) ได้จัดอันดับให้ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและ การท่องเที่ยว ดังนี้ (1) มีขนาดการผลิตบริการขนส่งผู้โดยสารทางอากาศในเส้นทางภายในประเทศสูงที่สุด เป็นอันดับ 13 ของโลก (2) มีขนาดการผลิตบริการขนส่งผู้โดยสารทางอากาศในเส้นทางระหว่างประเทศ สูงที่สุดเป็นอันดับ 11 ของโลก และ (3) มีจำนวนสายการบินให้บริการมากที่สุดเป็น อันดับ 9 ของโลก นอกจากนี้ กิจการการบินพลเรือนโดยเฉพาะการขนส่งทางอากาศเชิงพาณิชย์ ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้ กับประเทศผ่านการเชื่อมโยงจุดหมายปลายทางทั่วโลก สนับสนุนการเติบโต ของการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ตลอดจนขับเคลื่อนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ความท้าทายรูปแบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมถึงความผันผวนของสถานการณ์ต่าง ๆ ส่งผลต่อนโยบายการบินพลเรือน จึงจำเป็นต้องบูรณาการการเรียนรู้ความสำเร็จและความผิดพลาด เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาในระดับ นโยบาย และรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้เสียที่สาคัญอย่างรอบด้าน เพื่อมุ่งสู่ การบร รลุเป้าหมายร่วมกัน กล่าวคือ ความต้องการที่จะเกิดการพัฒนาและความก้าวหน้าของกิจการ การบินพลเรือนของประเทศ ครอบคลุมภาคส่วนหลักด้านการบินพลเรือนอย่างครบถ้วน ทั้งการขนส่ง ทางอากาศเชิงพาณิชย์ การทางานทางอากาศ การบินทั่วไป การบริการท่าอากาศยาน การบริการ กา รเดินอากาศ การผลิตอากาศยานและชิ้นส่วน การซ่อมบารุงอากาศยาน การพัฒนาบุคลากรด้านการบิน และการกากับดูแลด้านการบินพลเรือน ที่ผ่านมาประเทศไทยประสบความสำเร็จจากการกาหนด นโยบาย ด้านมาตรฐานการบินที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ นโยบายอานวยความสะดวกในการบินพลเรือนแห่งชำติ นโยบายการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ และนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ บัดนี้ มีความจาเป็นต้องกาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุน และส่งเสริมความสำเร็จของกิจการการบินของประเทศให้มั่นคงยิ่งขึ้น เพื่อให้ การพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทยในระยะ 16 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2565 - 2580) ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 วรรคหนึ่ง (1) (3) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และที่แก้ไขเพิ่มเติม คณะกรรมการการบินพลเรือน จึงมีมติในคราวประชุมครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565 กาหนดนโยบายด้านการบิน ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

พลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เห็นชอบนโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ ตามที่คณะกรรมการการบินพลเรือนเสนอ ตามนัยมาตรา 15 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และที่แก้ไขเพิ่มเติม คณะกรรมการการบินพลเรือนจึงออกประกาศเพื่อให้ทราบโดยทั่วกัน และให้ถือปฏิบัติให้เป็นไป ตามนโยบายดังกล่าว ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกา ศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการการบินพลเรือน เรื่อง นโยบาย ด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 มีเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ (1) เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยระบบคมนาคมขนส่งทางอากาศที่มีคุณภาพ ต้นทุนเหมาะสม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศและการเป็น ศูนย์กลางการบินของภูมิภาค (2) มีระบบการบินที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล (3) มีความพ ร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต (4) ก่อให้เกิดผลประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนในทุกมิติ ข้อ 4 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ดาเนินการตามอานาจหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไป ตามนโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ข้อ 5 ให้สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีหน้าที่กำกับดูแลและควบคุม การดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ข้อ 6 นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ให้ประกอบด้วย นโยบายด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 6.1 ด้านเศรษฐกิจการบิน กิจกรรมการบินพลเรือนมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมาย ตามยุทธศาสตร์ชาติในการช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจการบิน ซึ่งนอกจากจะมีความสำคัญต่อกิจการการบินพลเรือนของประเทศทั้งระบบแล้ว ยังเป็นปัจจัยหลักในการ ขั บเคลื่อนให้อุตสาหกรรมการบินของประเทศเติบโต ส่งผลต่อการเติบโตด้านเศรษฐกิจและยกระดับ รายได้ของประเทศในภาพรวม เศรษฐกิจการบิน เริ่มตั้งแต่การทาความตกลงว่าด้วยบริการเดินอากาศ ซึ่งมีความสาคัญยิ่งต่อการเข้าสู่ตลาดเส้นทางการบินระหว่างประเทศของผู้ประกอบการสายการบิ น การแข่งขันด้านราคาเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี้ ค่าบริการในการใช้บริการท่าอากาศยานและบริการการเดินอากาศยังเป็นภาระต้นทุนสำคัญของผู้โดยสาร การกำกับดูแลเศรษฐกิจการบินควรมีเป้าหมายเพื่อการสร้างผลประโยชน์สาธารณะเป็นส่ วนรวม ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลผลประโยชน์ระหว่างผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ และผู้ผลิตหรือ ผู้ให้บริการ เพื่อให้ตลาดสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน กิจการแต่ละประเภทมีระดับความจาเป็น ที่ต้องกำกับดูแลแตกต่างกัน จึงต้องกาหนดกลไกในการกากับดูแลที่สอดคล้ องกับลักษณะเฉพาะ ของประเภทกิจการ รวมถึงการอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับกิจการการบินพลเรือน ถือเป็นเครื่องมือ ทางนโยบายในการกากับดูแลซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการ จึงควรอยู่บนหลักการ ของการกำกับเท่าที่จำเป็นเฉพาะกิจการที่อาจส่งผลกระทบต่อสาธารณ ะหรืออยู่ในโครงสร้างตลาดที่กลไก การแข่งขันโดยเสรีไม่สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อไม่เป็นอุปสรรคต่อการประกอบกิจการ และการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ นอกจากด้านผู้ประกอบการแล้ว เศรษฐกิจการบินจะต้องครอบคลุมถึงผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการใ ห้บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ จึงต้องยึดหลักการตามกฎหมายระหว่างประเทศ รวมทั้งหลักสิทธิมนุษยชนเพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ใช้บริการให้ได้มากที่สุด ดังนั้น จึงควรกาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจการบินให้ครอบคลุม ในเรื่องต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกา รบินให้บรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ 6.1.1 นโยบายระบบเศรษฐกิจการบิน (1) ระบบบริหารนโยบายเศรษฐกิจการบินพลเรือนที่ช่วยขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน (2) ผู้ประกอบการไทยในกิจการการบินพลเรือนเข้มแข็งและ มีขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล 6.1.2 นโยบายความตกลงว่าด้วยบริการเดินอากาศและการเปิดเสรีการขนส่ง ทางอากาศ (1) การมีบริการการขนส่งทางอากาศที่หลากหลายและโครงข่าย การเชื่อมต่อเที่ยวบินเพื่อการเป็นศูนย์กลางการบินระดับภูมิภาค (2) การทาให้สายกำรบินสัญชาติไทยเข้าสู่ตลาดเส้นทางบินระหว่างประเทศ ได้อย่างเป็นธรรมและสามารถเติบโตอย่างต่อเนื่อง (3) การทาให้ประชาชนเข้าถึงบริการขนส่งทางอากาศในเส้นทางการบิน ภายในประเทศได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 6.1.3 นโยบายการกำหนดอัตราค่าบริการ (1) การกำหน ดระดับราคาต้องเข้าถึงได้และเป็นธรรม (2) การจัดให้มีกฎเกณฑ์ในการกำกับดูแลอัตราค่าบริการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ อย่างเป็นรูปธรรม 6.1.4 นโยบายการกากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดำเนินงานสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศ ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

(1) การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการในกิจการขนส่งทางอากาศ เพื่อการพาณิชย์เพื่อให้ผู้ให้บริการสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน (2) การมุ่งสร้างผลประโยชน์ให้กับส่วนรวมและมุ่งสู่การเป็นผู้นำด้าน โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางอากาศของภูมิภาคในกิจการสนามบินสาธา รณะและบริการการเดินอากาศ (3) การสร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในกิจการการทำงาน ทางอากาศ 6.1.5 นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบินพลเรือน การส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันอย่างสร้างสรรค์และการพัฒนาที่ยั่งยืน ในการกำกับดูแลเกี่ยวกับการอนุญาตกิจกำรด้านการบินพลเรือน 6.1.6 นโยบายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน การพัฒนากลไกการคุ้มครองผู้บริโภคให้ครอบคลุม ตั้งแต่ก่อนเข้ารับบริการ ระหว่างการรับบริการ และหลังการรับบริการ ภายใต้ความสมดุลระหว่างการคุ้มครองกับ การแข่งขันในอุตสาหกรรม 6.2 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพื้นฐานของระบบการบินพลเรือน ประกอบด้วย โครงสร้างพื้นฐาน ทางกายภาพตั้งแต่ระบบห้วงอากาศและระบบการเดินอากาศ ถือเป็นทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการบินที่สำคัญยิ่งของประเทศทั้งการบินพลเรือนและความมั่นคง จึงจำเป็นอย่ำงยิ่งที่ต้องรักษาและ พัฒนาระบบห้วงอากาศและระบบการเดินอากาศให้สามารถตอบสนองการใช้ประโยชน์ได้ทั้งสองมิติ สร้างทางเลือกและคุณค่าให้กับสาธารณะได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยการเพิ่มขีดความสามารถในการ รองรับและประสิทธิภาพการให้บริการ ช่วยยกระดับการพัฒนาเครือ ข่ายการเชื่อมโยงเส้นทางการบิน ในระดับโลกซึ่งจะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตส่วนองค์ประกอบอีกประการที่สาคัญ ได้แก่ โครงสร้างด้านระบบท่าอากาศยาน โดยเฉพาะท่าอากาศยานพาณิชย์ที่รองรับกิจกรรมการขนส่ง ทางอากาศเชิงพาณิชย์เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของป ระเทศ คุณภาพของโครงสร้างพื้นฐานและ การดาเนินงานท่าอากาศยานพาณิชย์ถือเป็นองค์ประกอบที่สาคัญสาหรับโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ที่ส่งผลโดยตรงต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นอกจากองค์ประกอบทางกายภาพ ทั้งสองประการดังกล่าวแล้ว ระบบกฎหมายและองค์กรกากับดูแลถื อเป็นเครื่องมือที่กาหนดทิศทาง การพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศ เป็นปัจจัยหลักที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้อุตสาหกรรมการบิน ของประเทศเจริญก้าวหน้า ภายใต้กฎหมายและกฎเกณฑ์กำกับกิจการการบินที่มีเนื้อหายืดหยุ่น พร้อมปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อ ย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การพัฒนาบุคลากร ในอุตสาหกรรมการบินให้เพียงพอและมีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมการบิน รวมทั้งการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมการบินและการพัฒนาขีดความสามารถอย่างต่อเนื่อง ล้วนเป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรที่สาคัญที่จะช่วยสร้ำงความยั่งยืนของกิจการการบินพลเรือน ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

ของประเทศไทย ดังนั้น นโยบายนี้จึงให้ความสาคัญต่อโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางกายภาพและมิใช่ กายภาพเพื่อตอบสนองต่อการเติบโตที่เพิ่มขึ้นและเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้สอดคล้อง และครอบคลุมในมิติสาคัญตามเป้าหมายยุทธศาสต ร์ชาติ โดยมีนโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ 6.2.1 นโยบายการพัฒนาระบบห้วงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ (1) การพัฒนาความสามารถในการจัดสรรและจัดการห้วงอากาศ อย่างทั่วถึงและคุ้มค่า (2) การบูรณาการการพัฒนาระบบการ เดินอากาศอย่างเชื่อมโยง (3) การมุ่งเน้นคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการการเดินอากาศ ในระดับชั้นนำของภูมิภาค (4) การพัฒนาระบบห้วงอากาศและระบบการเดินอากาศที่ยั่งยืน 6.2.2 นโยบายการพัฒนาระบบท่าอากาศยานของประเทศ (1) การพัฒนาระบบท่าอากาศยานเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุน สังคมและชุมชนในพื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง (2) การบูรณาการและการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนา และดาเนินงานท่าอากาศยาน (3) การพัฒนาให้เกิดระบบท่าอากาศยานอัจฉริยะที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ตอบส นองความต้องการของประชาชน (4) การมุ่งพัฒนาระบบท่าอากาศยานที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับทุกชีวิต 6.2.3 นโยบายการพัฒนาองค์กรกำกับและกฎหมาย (1) การมีระบบและองค์กรกำกับที่มีทรัพยากรที่เพียง พอ มีความสามารถในการรองรับการเปลี่ยนแปลง มีความโปร่งใส และมีค วามเป็นอิสระในการดาเนินการ ตามมาตรฐานสากลได้อย่างมีประสิทธิภา พ (2) การมีกฎหมายที่สามารถสร้างผลลัพธ์ได้ตามเป้าหมายเชิงนโยบาย ด้านการบินพลเรือน สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างคล่องตัว และทันท่วงที 6.2.4 นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนส่งทางอากาศและอุตสาหกรรม การบิน การพัฒนาทุนมนุษย์และทุนปัญญาที่สอดคล้องกับมาตรฐานและ ความต้องการในปัจจุบันและอนาคต สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 6.2.5 นโยบายการส่งเสริมกิจการการบินพลเรือน ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

(1) การเพิ่มความสามารถของกิจกำรการบินพลเรือนในการสนับสนุน การพัฒนา และแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ (2) การทาให้เกิดผลงานวิจัยและนวัตกรรม และใช้ประโยชน์ได้จริง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 6.3 ด้านมาตรฐานการบิน การบินพลเรือนเป็นกิจการบริการสาธารณะที่ต้องมีการกำกับดูแลเ พื่อให้เป็นไป ตามบทบัญญัติในอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ มาตรฐาน และข้อพึงปฏิบัติ นโยบาย รวมทั้งแผนงานต่าง ๆ ที่สาคัญขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตลอดจน มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มาตรฐานและนโยบายที่สำคัญซึ่งประเทศไทยได้กำ หนดไว้แล้ว ตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวม 3 ด้าน ได้แก่ นโยบาย นิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ นโยบายการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ และ นโยบายการอานวยความสะดวกในการบินพลเรือนแห่งชาติ นอกจากนี้ ปัจจุบันประชา คมโลกได้ให้ ความสาคัญและร่วมกันผลักดันให้กิจการการบินมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ดังนั้น จึงได้ กำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมการบินขึ้น โดยถือเป็นมาตรฐานการบินลักษณะหนึ่งของการบินพลเรือน สมัยใหม่ และได้ใช้โอกาสนี้ทบทวนนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชำติซึ่งครบกาหนดวาระแล้ว นโยบายด้านมาตรฐานการบินจึงประกอบด้วยนโยบายใหม่และนโยบายที่มีการทบทวน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย ดังต่อไปนี้ 6.3.1 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมการบิน (1) การมุ่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกิจการการบิน (2) การมุ่งลดผลกระทบทางเสียงจาก อากาศยาน 6.3.2 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ (1) การจัดทาแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้มีประสิทธิผล ผ่านการระบุชี้สภาวะอันตรายและจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ที่จะช่วยส่งเสริมความปลอดภัย และประสิทธิภาพของระบบการบินของประเทศ ซึ่งรวม ถึงการจัดให้มีระบบการกำกับดูแล ด้านความปลอดภัย เพื่อให้มั่นใจว่ามีการดาเนินการตามมาตรฐานสากลที่กาหนดไว้ และมีการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านความปลอดภัยเพื่อใช้ในการกำหนดภาพความเสี่ยง ( Risk Profile ) ขององค์กรด้านการบินพลเรือน (2) พัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านการบินพลเรือนของประเทศ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานและข้อพึงปฏิบัติขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ โดยคานึงถึง ความเหมาะสม โปร่งใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

(3) สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ สอบสวนอุบัติเหตุแล ะอุบัติการณ์ของอากาศยาน และคณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยาน ประสบภัยแห่งชาติต้องได้รับการจัดสรรทรัพยากรทางการเงินและทรัพยากรบุคคลอย่างเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดการด้านนิรภัยและการกากับดูแลด้านความปลอดภัยของระบบการบินพลเรือน ของประเทศมีประสิทธิผล รวมถึงมีการบริหารจัดการความสามารถของบุคลากรของสานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ของอากาศยาน ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (4) ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวกในระบบการบิน ของประเทศทั้งหมด โดยส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศ ด้านความปลอดภัยระหว่างองค์กรด้านการบินพลเรือน รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการบิน และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประ เทศไทยเพื่อวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านความปลอดภัยและการจัดการด้านความปลอดภัยเชิงรุก (5) ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมในระบบการบิน ของประเทศโดยส่งเสริมให้บุคคลหรือองค์กรเกิดความเชื่อมั่นในการรายงานปัญหาด้านความปลอดภัย หรือข้อกังวล โดยปราศจากการดาเนินการใด ๆ และจะมีการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่มีเจตนา จงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (6) ดำเนินการตามนโยบายการบังคับใช้กฎหมายที่สอดคล้องกับ หลักการของวัฒนธรรมการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม (7) เผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยและสารสนเทศด้านความปลอดภัย ที่สำคัญ รวมถึงคู่มือแนะนำเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการด้านนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงาน ด้านการบินในอุตสาหกรรมการบิน (8) สร้างความร่วมมือภายในอุตสาหกรรมการบินของไทยในประเด็น ความปลอดภัย และความเ สี่ยง รวมถึงกาหนดมาตรการในการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมร่วมกัน (9) ติดตามสมรรถนะด้านความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบิน ของประเทศผ่านการกำหนดระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย ตัวชี้วัดและเป้าหมายสมรรถนะความปลอดภัย (10) ดาเนิ นการตามกฎหมายว่าด้วยการพิทักษ์ข้อมูลด้านความปลอดภัย และสารสนเทศด้านความปลอดภัย เพื่อให้แน่ใจว่ามีการรักษาความลับของข้อมูล และจะนาไปใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการพัฒนาและบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในการบินพลเรือนเท่านั้น ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

(11) การแก้ไขประเด็นปัญหาความปลอดภั ย โดยความร่วมมือและ การทำงานร่วมกันขององค์กรด้านการบินพลเรือนให้มีประสิทธิผล ข้อ 7 นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 มีรายละเอียด แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 25 6 6 อธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการการบินพลเรือน ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 156 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 2565-2580)

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ พ . ศ. 2565 - 2580 การบินพลเรือนเป็นภาคสวนที่มีความสําคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ของประเทศ ในชวงระยะเวลากวา 18 ปที่ผานมา นับตั้งแต่รัฐบาลได้ดําเนินนโยบายเปดเสรีการบินสงผลให้ จํานวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นกวา 3 เทา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเขาถึงบริการการขนสงทางอากาศ ของประชาชน ในป พ.ศ. 2562 สภาเศรษฐกิจโลก ( World Economic Forum: WEF) ได้จัดอันดับให้ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันดานการเดินทางและการทองเที่ยว ดังนี้ (1 ) มีขนาดการผลิต บริการขนสงผู้โดยสารทางอากาศในเสนทางภายในประเทศสูงที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก (2 ) มีขนาดการผลิต บริการขนสงผู้โดยสารทางอากาศในเสนทางระหวางประเทศสูงที่สุดเป็นอันดับ 11 ของโลก และ (3 ) มีจํานวน สายการบินให้บริการมากที่สุดเป็นอันดับ 9 ของโลก นอกจากนี้ กิจการการบินพลเรือนโดยเฉพาะการขนสง ทางอากาศเชิงพาณิชยได้สรางความเปลี่ยนแปลงให้กับประเทศผานการเชื่อมโยงจุดหมายปลายทางทั่วโลก สนับสนุนการเติบโตของการคา การลงทุน และการทองเที่ยว ขับเคลื่อนความกาวหน้าทางเศรษฐกิจ อยางต่อเนื่อง อยางไรก็ตาม ความทาทายรูปแบบใหม การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม รวมถึงความผันผวนของสถานการณตาง ๆ สงผลต่อนโยบายการบินพลเรือน จึงจําเป็นต้อง บูรณาการการเรียนรูความสําเร็จและความผิดพลาด เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาในระดับนโยบาย และ รับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญอยางรอบดาน เพื่อมุงสูการบรรลุเปาหมาย รวมกัน กลาวคือ ความต้องการที่จะเกิดการพัฒนาและความกาวหน้าของกิจการการบินพลเรือนของประเทศ ครอบคลุมภาคสวนหลักดานการบินพลเรือนอยางครบถวน ทั้งการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชย การทํางาน ทางอากาศ การบินทั่วไป การบริการทาอากาศยาน การบริการการเดินอากาศ การผลิตอากาศยานและชิ้นสวน อากาศยาน การซอมบํารุงอากาศยาน การพัฒนาบุคลากรดานการบิน และการกํากับดูแลดานการบินพลเรือน ที่ผานมาประเทศไทยประสบความสําเร็จจากการกําหนดนโยบายดานมาตรฐานการบินที่มีประสิทธิภาพ ได้แก นโยบายอํานวยความสะดวกในการบินพลเรือนแห่งชาติ นโยบายรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ และนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ บัดนี้ มีความจําเป็นต้องกําหนดนโยบายดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุน สงเสริมความสําเร็จของกิจการการบินของประเทศให้มั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทยดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการการบินพลเรือนจึงกําหนดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 และได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2566 โดยมีเปาหมายหลักของนโยบายฯ ดังกลาว ดังต่อไปนี้ (1 ) เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันด้วยระบบคมนาคมขนสงทางอากาศที่มีคุณภาพ ตนทุนเหมาะสม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศและการเป็นศูนยกลาง การบินของภูมิภาค (2 ) มีระบบการบินที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล (3 ) มีความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต (4 ) กอให้เกิดผลประโยชนแกประเทศชาติและประชาชนในทุกมิติ

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 25 6 5 - 25 8 0 ) 2 ทั้งนี้ นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580 ให้ประกอบด้วยนโยบาย ดานตาง ๆ ดังต่อไปนี้ 1 . ดานเศรษฐกิจการบิน กิจกรรมการบินพลเรือนมีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ ในการชวยเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจการบินซึ่งนอกจากจะมีความสําคัญ ต่อกิจการการบินพลเรือนของประเทศทั้งระบบแล้ว ยังเป็นปจจัยหลักในการขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรมการบิน ของประเทศเติบโต สงผลต่อการเติบโตดานเศรษฐกิจและยกระดับรายได้ของประเทศในภาพรวม เศรษฐกิจการบิน เริ่มตั้งแต่การทําความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศซึ่งมีความสําคัญยิ่งต่อการเขาสูตลาดเสนทางการบิน ระหวางประเทศของผู้ประกอบการสายการบิน การแขงขันดานราคาเป็นปจจัยสําคัญที่สงผลต่อความยั่งยืน ของอุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี้ คาบริการในการใชบริการทาอากาศยานและบริการการเดินอากาศ ยังเป็นภาระตนทุนสําคัญของผู้โดยสาร การกํากับดูแลเศรษฐกิจการบินควรมีเปาหมายเพื่อการสรางผลประโยชน สาธารณะเป็นสวนรวม โดยให้ความสําคัญกับการสรางสมดุลผลประโยชนระหวางผู้บริโภคหรือผู้ใชบริการ และ ผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ เพื่อให้ตลาดสามารถเติบโตได้อยางยั่งยืน กิจการแต่ละประเภทมีระดับความจําเป็น ที่ต้องกํากับดูแลแตกตางกัน จึงต้องกําหนดกลไกในการกํากับดูแลที่สอดคลองกับลักษณะเฉพาะของประเภท กิจการ รวมถึงการอนุญาตที่เกี่ยวของกับกิจการการบินพลเรือน ถือเป็นเครื่องมือทางนโยบายในการกํากับดูแล ซึ่งสงผลโดยตรงต่อการเขาสูตลาดของผู้ประกอบการ จึงควรอยู่บนหลักการของการกํากับเทาที่จําเป็นเฉพาะ กิจการที่อาจสงผลกระทบต่อสาธารณะหรืออยู่ในโครงสรางตลาดที่กลไกการแขงขันโดยเสรีไม่สามารถทํางานได้ อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อไม่เป็นอุปสรรคต่อการประกอบกิจการพัฒนาความสามารถในการแขงขันของ ผู้ประกอบการ นอกจากดานผู้ประกอบการแล้ว เศรษฐกิจการบินจะต้องครอบคลุมถึงผู้บริโภคในอุตสาหกรรม การให้บริการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจจึงต้องยึดหลักการตามกฎหมายระหวางประเทศ รวมทั้งหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใชบริการให้ได้มากที่สุด ดังนั้น จึงควรกําหนดนโยบายดานเศรษฐกิจการบิน ให้ครอบคลุม เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการบินในเรื่องตาง ๆ ให้บรรลุเปาหมาย ดังต่อไปนี้

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 25 6 5 - 25 8 0 ) 3 1.1 นโยบายระบบเศรษฐกิจการบิน (1 ) ระบบบริหารนโยบายเศรษฐกิจการบินพลเรือนที่ชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศให้กาวหน้าได้อยางยั่งยืน (2 ) ผู้ประกอบการไทยในกิจการการบินพลเรือนเขมแข็งและมีขีดความสามารถ ในการแขงขันในระดับสากล 1.2 นโยบายความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศและการเปดเสรีการขนสง ทางอากาศ (1 ) การมีบริการการขนสงทางอากาศที่หลากหลายและโครงขายการเชื่อมต่อ เที่ยวบินเพื่อการเป็นศูนยกลางการบินระดับภูมิภาค (2 ) การทําให้สายการบินสัญชาติไทยเขาสูตลาดเสนทางบินระหวางประเทศได้ อยางเป็นธรรมและสามารถเติบโตอยางต่อเนื่อง (3 ) การทําให้ประชาชนเขาถึงบริการขนสงทางอากาศในเสนทางการบิน ภายในประเทศได้อยางทั่วถึงและเทาเทียม 1.3 นโยบายการกําหนดอัตราคาบริการ (1 ) การกําหนดระดับราคาต้องเขาถึงได้และเป็นธรรม (2 ) การจัดให้มีกฎเกณฑในการกํากับดูแลอัตราคาบริการที่มุงผลสัมฤทธิ์ อยางเป็นรูปธรรม 1.4 นโยบายการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศ (1 ) การสรางความพึงพอใจให้กับผู้ใชบริการในกิจการขนสงทางอากาศ เพื่อการพาณิชยเพื่อให้ผู้ให้บริการสามารถเติบโตได้อยางยั่งยืน (2 ) การมุงสรางผลประโยชนให้กับสวนรวมและมุงสูการเป็นผู้นําดานโครงสราง พื้นฐานการขนสงทางอากาศของภูมิภาคในกิจการสนามบินสาธารณะและบริการการเดินอากาศ (3 ) การสรางโอกาสและเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจในกิจการการทํางานทางอากาศ 1.5 นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบินพลเรือน การสงเสริมให้เกิดการแขงขันอยางสรางสรรคและการพัฒนาที่ยั่งยืนในการกํากับ ดูแลเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือน 1.6 นโยบายคุมครองสิทธิผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน การพัฒนากลไกการคุมครองผู้บริโภคให้ครอบคลุม ตั้งแต่กอนเขารับบริการระหวาง การรับบริการ และหลังการรับบริการ ภายใตความสมดุลระหวางการคุมครองกับการแขงขันในอุตสาหกรรม 2 . ดานโครงสรางพื้นฐาน โครงสรางพื้นฐานของระบบการบินพลเรือน ประกอบด้วย โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ตั้งแต่ระบบหวงอากาศและระบบการเดินอากาศ ถือเป็นทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐานดานการบินที่สําคัญ ยิ่งของประเทศทั้งการบินพลเรือนและความมั่นคง จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ต้องรักษาและพัฒนาระบบหวงอากาศ และระบบการเดินอากาศให้สามารถตอบสนองการใชประโยชนได้ทั้งสองมิติ สรางทางเลือกและคุณคาให้กับ สาธารณะได้อยางต่อเนื่องและยั่งยืน โดยการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับและประสิทธิภาพการให้บริการ ชวยยกระดับการพัฒนาเครือขายการเชื่อมโยงเสนทางการบินในระดับโลกซึ่งจะชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศให้เติบโต สวนองคประกอบอีกประการที่สําคัญ ได้แก โครงสรางดานระบบทาอากาศยาน

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 25 6 5 - 25 8 0 ) 4 โดยเฉพาะทาอากาศยานพาณิชยที่รองรับกิจกรรมการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชยเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ คุณภาพของโครงสรางพื้นฐานและการดําเนินงานทาอากาศยานพาณิชยถือเป็นองคประกอบ ที่สําคัญสําหรับโครงขายการคมนาคมขนสงที่สงผลโดยตรงต่อขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ นอกจากสององคประกอบทางกายภาพดังกลาวแล้ว ระบบกฎหมายและองคกรกํากับดูแลถือเป็นเครื่องมือ ที่กําหนดทิศทางการพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศ เป็นปจจัยหลักที่จะสนับสนุนสงเสริมให้อุตสาหกรรม การบินของประเทศเจริญกาวหน้า ภายใตกฎหมายและกฎเกณฑกํากับกิจการการบินที่มีเนื้อหายืดหยุน พรอมปรับตัวให้สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อยางรวดเร็ว นอกจากนี้ การพัฒนาบุคลากร ในอุตสาหกรรมการบินให้เพียงพอและมีคุณภาพสอดคลองกับความต้องการอุตสาหกรรมการบิน รวมทั้ง การสงเสริมให้เกิดนวัตกรรมการบินและการพัฒนาขีดความสามารถอยางต่อเนื่อง ลวนเป็นโครงสรางพื้นฐาน ดานทรัพยากรที่สําคัญที่จะชวยสรางความยั่งยืนของกิจการการบินพลเรือนของประเทศไทย ดังนั้น นโยบายนี้ จึงให้ความสําคัญต่อโครงสรางพื้นฐานทั้งทางกายภาพและมิใชกายภาพเพื่อตอบสนองต่อการเติบโตที่เพิ่มขึ้น และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันให้สอดคลองและครอบคลุมในมิติสําคัญตามเปาหมายของ ยุทธศาสตรชาติ โดยมีนโยบายดานโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ เพื่อบรรลุเปาหมาย ดังต่อไปนี้ 2.1 นโยบายการพัฒนาระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ (1 ) การพัฒนาความสามารถในการจัดสรรและจัดการหวงอากาศอยางทั่วถึง และคุมคา (2 ) การบูรณาการการพัฒนาระบบการเดินอากาศอยางเชื่อมโยง (3 ) การมุงเนนคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการการเดินอากาศในระดับ ชั้นนําของภูมิภาค (4 ) การพัฒนาระบบหวงอากาศและระบบการเดินอากาศที่ยั่งยืน 2.2 นโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยานของประเทศ (1 ) การพัฒนาระบบทาอากาศยานเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนสังคม และชุมชนในพื้นที่ให้มีความเขมแข็ง (2 ) การบูรณาการและการมีสวนรวมอยางแทจริงในการพัฒนาและดําเนินงาน ทาอากาศยาน (3 ) การพัฒนาให้เกิดระบบทาอากาศยานอัจฉริยะที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของประชาชน (4 ) การมุงพัฒนาระบบทาอากาศยานที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับทุกชีวิต 2.3 นโยบายการพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมาย (1 ) การมีระบบและองคกรกํากับที่มีทรัพยากรที่เพียงพอ มีความสามารถ ในการรองรับการเปลี่ยนแปลง มีความโปรงใส และมีความเป็นอิสระในการดําเนินการตามมาตรฐานสากลได้ อยางมีประสิทธิภาพ (2 ) การมีกฎหมายที่สามารถสรางผลลัพธได้ตามเปาหมายเชิงนโยบายดานการบิน พลเรือน สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคลองกับสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้อยางคลองตัวและทันทวงที 2.4 นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนสงทางอากาศและอุตสาหกรรมการบิน การพัฒนาทุนมนุษยและทุนปญญาที่สอดคลองกับมาตรฐานและความต้องการ ในปจจุบันและอนาคต สามารถแขงขันได้ในระดับสากล

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 25 6 5 - 25 8 0 ) 5 2.5 นโยบายการสงเสริมกิจการการบินพลเรือน (1 ) การเพิ่มความสามารถของกิจการการบินพลเรือนในการสนับสนุนการพัฒนา และแกปญหาอยางบูรณาการ (2 ) การทําให้เกิดผลงานวิจัยและนวัตกรรม และใชประโยชนได้จริงทั้งใน เชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม 3 . ดานมาตรฐานการบิน การบินพลเรือนเป็นกิจการบริการสาธารณะที่ต้องมีการกํากับดูแลเพื่อให้เป็นไปตาม บทบัญญัติในอนุสัญญาการบินพลเรือนระหวางประเทศ มาตรฐาน และขอพึงปฏิบัติ นโยบายที่เกี่ยวของ รวมทั้งแผนงานตาง ๆ ที่สําคัญขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ ตลอดจนมาตรฐานที่ ได้รับ การยอมรับในระดับสากลมาตรฐานและนโยบายที่สําคัญซึ่งประเทศไทยได้กําหนดไวแล้วตามพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 (ฉบับที่ 14 ) พ.ศ. 2562 รวม 3 ดาน ได้แก นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติ นโยบายการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ และนโยบายการอํานวยความสะดวก ในการบินพลเรือนแห่งชาติ นอกจากนี้ ปจจุบันประชาคมโลกได้ให้ความสําคัญและรวมกันผลักดันให้กิจการ การบินเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมมากขึ้น ดังนั้น จึงได้กําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอมการบินขึ้น โดยถือเป็น มาตรฐานการบินลักษณะหนึ่งของการบินพลเรือนสมัยใหม และได้ใชโอกาสนี้ทบทวนนโยบายนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติซึ่งครบกําหนดวาระแล้ว นโยบายดานมาตรฐานการบิน จึงประกอบด้วยนโยบายใหมและ นโยบายที่มีการทบทวน ดังต่อไปนี้ 3.1 นโยบายดานสิ่งแวดลอมการบิน (1 ) การมุงลดการปลอยกาซเรือนกระจกในกิจการการบิน (2 ) การมุงลดผลกระทบทางเสียงจากอากาศยาน 3.2 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ (1 ) การจัดทําแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้มีประสิทธิผล ผานการระบุและจัดการความเสี่ยงดานความปลอดภัย ที่จะชวยสงเสริมความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ของระบบการบินของประเทศ ซึ่งรวมถึงการจัดให้มีระบบการกํากับดูแลดานความปลอดภัย เพื่อให้มั่นใจวา มีการดําเนินการตามมาตรฐานสากลที่กําหนดไว และมีการวิเคราะหขอมูลดานความปลอดภัยเพื่อใช ในการกําหนดภาพความเสี่ยง ( Risk Profile) ขององคกรดานการบินพลเรือน (2 ) พัฒนามาตรฐานความปลอดภัยดานการบินพลเรือนของประเทศให้ สอดคลองกับมาตรฐานและขอพึงปฏิบัติขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ โดยคํานึงถึง ความเหมาะสม โปรงใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (3 ) สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณของอากาศยาน และคณะกรรมการคนหาและชวยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ ต้องได้รับการจัดสรรทรัพยากรทางการเงินและทรัพยากรบุคคลอยางเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจวาการจัดการ ดานนิรภัยและการกํากับดูแลดานความปลอดภัยของระบบการบินพลเรือนของประเทศมีประสิทธิผล รวมถึง มีการบริหารจัดการความสามารถของบุคลากรของสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย และ คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณของอากาศยาน ที่มีหน้าที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยเป็นไป อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

นโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ (พ.ศ. 25 6 5 - 25 8 0 ) 6 (4 ) สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวกในระบบการบินของประเทศ ทั้งหมด โดยสงเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยระหวาง องคกรดานการบินพลเรือน รวมถึงผู้ที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมการบิน และสํานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงคในการพัฒนาการวิเคราะหขอมูลดานความปลอดภัยและการจัดการ ดานความปลอดภัยเชิงรุก (5 ) สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรมในระบบการบินของ ประเทศโดยสงเสริมให้บุคคลหรือองคกรเกิดความเชื่อมั่นในการรายงานปญหาดานความปลอดภัยหรือขอกังวล โดยปราศจากการดําเนินการใด ๆ และจะมีการปฏิบัติอยางเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวของ เวนแต่มีเจตนา จงใจ หรือ การประมาทเลินเลออยางรายแรง (6 ) ดําเนินการตามนโยบายการบังคับใชกฎหมายที่สอดคลองกับหลักการของ วัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรม (7 ) เผยแพรขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัย ที่สําคัญ รวมถึงคู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการดานนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงานดานการบิน ในอุตสาหกรรมการบิน (8 ) สรางความรวมมือภายในอุตสาหกรรมการบินของไทยในประเด็น ความปลอดภัย และความเสี่ยง รวมถึงกําหนดมาตรการในการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมรวมกัน (9 ) ติดตามสมรรถนะดานความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบินของประเทศ ผานการกําหนดระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ วัตถุประสงคดานความปลอดภัย ตัวชี้วัดและ เปาหมายสมรรถนะดานความปลอดภัย (10 ) ดําเนินการตามกฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย เพื่อให้แนใจวามีการรักษาความลับของขอมูล และจะนําไปใช เพื่อวัตถุประสงคในการพัฒนาและบริหารจัดการดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนเทานั้น (11 ) การแกไขประเด็นความปลอดภัย โดยความรวมมือและการทํางานรวมกัน ขององคกรดานการบินพลเรือนให้มีประสิทธิผล

รายละเอียดของนโยบาย ดานการบินพลเรือนของประเทศ พ.ศ. 2565 - 2580

สารบัญ นโยบายดานเศรษฐกิจการบิน … 1 นโยบายระบบเศรษฐกิจการบิน… 1 นโยบายความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศและการเปดเสรีการขนสงทางอากาศ … 5 นโยบายการกําหนดอัตราคาบริการ… 12 นโยบายกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศ … 15 นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบินพลเรือน… 22 นโยบายคุมครองสิทธิผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน … 24 นโยบายดานโครงสรางพื้นฐาน … 26 นโยบายการพัฒนาระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ … 26 นโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยานของประเทศ … 32 นโยบายการพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมาย … 39 นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนสงทางอากาศและอุตสาหกรรมการบิน … 43 นโยบายการสงเสริมกิจการการบินพลเรือน … 46 นโยบายดานมาตรฐานการบิน … 49 นโยบายดานสิ่งแวดลอมการบิน … 49 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ … 53

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 1 รายละเอียดของนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศ 1 ) นโยบายดานเศรษฐกิจการบิน กิจกรรมการบินพลเรือนมีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติในการชวยเพิ่มมูลคา ทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจการบิน ซึ่งนอกจากจะมีความสําคัญต่อกิจการการบินพลเรือน ของประเทศทั้งระบบแล้ว ยังเป็นปจจัยหลักในการขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรมการบินของประเทศเติบโต และสงผลต่อการเติบโตดานเศรษฐกิจ รวมถึงยกระดับรายได้ของประเทศในภาพรวม ระบบเศรษฐกิจการบินเริ่ม ตั้งแต่การทําความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศซึ่งมีความสําคัญยิ่งต่อการเขาสูตลาดเสนทางการบินระหวาง ประเทศของผู้ประกอบการสายการบิน การแขงขันดานราคาเป็นอีกปจจัยสําคัญที่สงผลต่อความยั่งยืนของ อุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี้ คาบริการในการใชบริการทาอากาศยานและบริการการเดินอากาศยังเป็นภาระ ตนทุนสําคัญของผู้โดยสาร การกํากับดูแลทางเศรษฐกิจการบินควรมีเปาหมายเพื่อการสรางผลประโยชนสาธารณะ เป็นสวนรวม โดยให้ความสําคัญกับการสรางสมดุลผลประโยชนระหวางผู้บริโภคหรือผู้ใชบริการ และผู้ผลิตหรือ ผู้ให้บริการ เพื่อให้ตลาดสามารถเติบโตได้อยางยั่งยืน กิจการแต่ละประเภทมีระดับความจําเป็นที่ต้องกํากับดูแล แตกตางกัน จึงต้องกําหนดกลไกในการกํากับดูแลที่สอดคลองกับลักษณะเฉพาะของประเภทกิจการ รวมถึง การอนุญาตที่เกี่ยวของกับกิจการการบินพลเรือน ถือเป็นเครื่องมือทางนโยบายในการกํากับดูแลซึ่งสงผลโดยตรง ต่อการเขาสูตลาดของผู้ประกอบการ จึงควรอยู่บนหลักการของการกํากับเทาที่จําเป็นเฉพาะกิจการที่อาจสงผล กระทบต่อสาธารณะหรืออยู่ในโครงสรางตลาดที่กลไกการแขงขันโดยเสรีไม่สามารถทํางานได้อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อไม่เป็นอุปสรรคต่อการประกอบกิจการพัฒนาความสามารถในการแขงขันของผู้ประกอบการ นอกจากดาน ผู้ประกอบการแล้ว ระบบเศรษฐกิจการบินจะต้องครอบคลุมถึงผู้บริโภคในอุตสาหกรรมบินและการให้บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจจึงต้องยึดหลักการตามกฎหมายระหวางประเทศและหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้ใชบริการให้ได้มากที่สุด ดังนั้น จึงควรกําหนดนโยบายดานเศรษฐกิจการบินให้ครอบคลุม เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการบินในเรื่องตาง ๆ ให้บรรลุเปาหมาย ประกอบด้วย 6 นโยบาย ได้แก นโยบาย ระบบเศรษฐกิจการบิน นโยบายความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศและการเปดเสรีการขนสงทางอากาศ นโยบายการกําหนดอัตราคาบริการ นโยบายกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะและผู้ให้บริการการเดินอากาศ นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบิน พลเรือน และนโยบายคุมครองสิทธิของผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ( 1 . 1 ) นโยบายระบบเศรษฐกิจการบิน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ยุทธศาสตรชาติได้ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจอยางต่อเนื่อง การกระจายรายได้ การยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน และการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม กิจกรรมการบิน พลเรือนมีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการบรรลุเปาหมายดังกลาว ที่ชวยเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจตามภารกิจของ การปฏิบัติการบิน สงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสรางโอกาสให้กับผู้ประกอบการธุรกิจรายใหม เกิดการกระจายรายได้และสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจได้อยางต่อเนื่องตามเปาหมายยุทธศาสตรประเทศ การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 ระบบบริหารนโยบายเศรษฐกิจการบินพลเรือนที่ชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศให้กาวหน้าได้อยางยั่งยืน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 กิจกรรมการบินพลเรือนสรางผลประโยชนทางเศรษฐกิจให้กับประเทศเพิ่มขึ้น

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 2 - กลยุทธ • จัดทําและปรับปรุงการบริหารนโยบายเศรษฐกิจการบินพลเรือน โดยประยุกตใชขอแนะนํา เชิงนโยบายขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) และพัฒนาอยางต่อเนื่อง • จัดเก็บและใชขอมูลเชิงประจักษเพื่อการบริหารนโยบายฯ จากการติดตามและประเมินผล การดําเนินงานตามนโยบาย • การติดตามประเมินผลที่มุงการบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจจากกิจกรรมการบินพลเรือน • จัดทําและใชระบบการมีสวนรวมของผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญในการบริหารนโยบาย เศรษฐกิจการบินพลเรือน • จัดให้มีระบบติดตาม วิเคราะหและรายงานขอมูลที่สําคัญทางเศรษฐกิจที่บงชี้สภาพตลาด แต่ละกลุ่มกิจการการบินพลเรือน • เผยแพรขอมูลที่สําคัญทางเศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการและสาธารณะ • กําหนดบทบาทผู้ดําเนินงานกิจการการบินพลเรือนที่เป็นภาครัฐให้ชัดเจน และเพิ่มการมี สวนรวมของภาคเอกชนในกิจการของรัฐให้มากขึ้น นโยบายที่ 2 ผู้ประกอบการไทยในกิจการการบินพลเรือนเขมแข็งและมีขีดความสามารถ ในการแขงขันในระดับสากล - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือนชาวไทยมีขีดความสามารถและมีความเขมแข็ง เพิ่มขึ้นทั้งในดานการแขงขันกับผู้ประกอบการตางชาติและมีการขยายการลงทุนในตางประเทศเพิ่มขึ้น - กลยุทธ • ลดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ และลดตนทุนที่ไม่จําเป็นสําหรับผู้ประกอบกิจการ • สงเสริมปจจัยที่มีความสําคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของผู้ประกอบการ • สงเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการสามารถดําเนินและขยายธุรกิจได้อยางเต็มศักยภาพ • สงเสริมขยายการลงทุนและการดําเนินงานในตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจ ดานการบินพลเรือน • จัดให้มีระบบติดตาม วิเคราะหและรายงานขอมูลที่สําคัญทางเศรษฐกิจที่บงชี้สภาพตลาด แต่ละกลุ่มกิจการการบินพลเรือน • เผยแพรขอมูลที่สําคัญทางเศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการและสาธารณะ • กําหนดบทบาทผู้ดําเนินงานกิจการการบินพลเรือนที่เป็นภาครัฐให้ชัดเจน และเพิ่มการมีสวนรวม ของภาคเอกชนในกิจการของรัฐให้มากขึ้น โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย ขอแนะนําระดับสากลดานเศรษฐกิจการบินพลเรือน การเป็นศูนยกลางทางการบิน การแขงขันและการสราง ขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย การรองรับเทคโนโลยีที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ การลดอุปสรรค และตนทุนที่มาจากภาครัฐของผู้ประกอบการ และการพัฒนาคุณภาพการให้บริการและทางเลือกผู้ใชบริการ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 3 นโยบายระบบเศรษฐกิจการบิน วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1. ระบบบริหารนโยบาย เศรษฐกิจการบินพลเรือนที่ ชวยขับเคลื่อน เศรษฐกิจ ของประเทศให้กาวหน้า ได้ อยางยั่งยืน (1) ขอแนะนําระดับสากล ดานเศรษฐกิจการบินพลเรือน (2 ) กำ ร เ ป น ศู น ย ก ลำ ง ทางการบิน (3) การแขงขันและการสราง ขีดความสามารถของผู้ประกอบ การไทย (4) การรองรับเทคโนโลยีที่มี ศักยภาพทางเศรษฐกิจ (5) กำ ร ล ด อุ ป ส ร ร ค แ ล ะ ตนทุนที่มาจากภาครัฐของ ผู้ประกอบการ (6 ) กำ ร พั ฒ นำ คุ ณ ภำ พ การให้บริการและทางเลือก ผู้ใชบริการ กิจกรรมการบินพลเรือนสราง ผลประโยชนทางเศรษฐกิจให้กับ ประเทศเพิ่มขึ้น จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ร ะ ดั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ทำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ จำ ก กิ จ ก ร ร ม การบินพลเรือนทุกภาคสวน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) ( 1 ) จัดทําและปรับปรุงการบริหารนโยบาย เศรษฐกิจการบินพลเรือน โดยประยุกตใช ขอแนะนําเชิงนโยบายขององคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) และ พัฒนาอยางต่อเนื่อง (2) จัดเก็บและใชขอมูลเชิงประจักษ เพื่อการบริหารนโยบายฯ จากการ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ตามนโยบาย (3) การติดตามประเมินผลที่มุงการ บรรลุผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจจาก กิจกรรมการบินพลเรือน (4) จัดทําและใชระบบการมีสวนรวม ของผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญในการบริหาร นโยบายเศรษฐกิจการบินพลเรือน (5) ลดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ และลดตนทุนที่ไม่จําเป็นสํา หรั บ ผู้ประกอบกิจการ (6) สงเสริมปจจัยที่มีความสําคัญต่อ การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของผู้ประกอบการ ระยะสั้น กพท. สศช. คค. (สปค.) สนข. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) สนข. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) สนข. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 2 . ผู้ ป ร ะ ก อ บ กำ ร ไ ท ย ในกิจการการบินพลเรือน เขมแข็งและมีขีดดวามสามารถ ในการแขงขันในระดับสากล ผู้ ประกอบการกิ จการการบิ น พลเรือนชาวไทยมีขีดความสามารถ และมีความเขมแข็งเพิ่มขึ้นทั้งใน ดานการแขงขันกับผู้ประกอบการ ตางชาติและมีการขยายการลงทุน ในตางประเทศเพิ่มขึ้น จากประเด็นนโยบาย ( 3 ) (1) สหสัมพัทธระหวางอัตรา การเปลี่ยนแปลงระหวางกําไร สุทธิของผู้ประกอบการกิจการ การบินพลเรือนชาวไทยเทียบ กับอัตราความเปลี่ยนแปลง ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ มีกลยุทธรองรับ ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) ผู้ประกอบการสายการบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 4 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม (2) อัตราการเพิ่มขึ้นของ ป ริ มำ ณ กำ ร ล ง ทุ น ใ น ตางประเทศของผู้ประกอบการ กิจการการบินพลเรือนชาวไทย มีกลยุทธรองรับ ( 8 ) ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) (3 ) ส ว น แ บ ง กำ ร ต ลำ ด เ ชิ ง สั ม พั ท ธ ร ะ ห วำ ง ผู้ประกอบการกิจการการบิน พลเรือนชาวไทยเปรียบเทียบ กับผู้ประกอบการตางชาติ ในแต่ละประเภทกิจการ มีกลยุทธรองรับ ( 8 ) ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) (7) สงเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ สามารถดําเนินและขยายธุรกิจได้อยาง เต็มศักยภาพ (8) สงเสริมขยายกำร ลง ทุ นแ ล ะ การดําเนินงานในตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจดานการบิน พลเรือน (9) จัดให้มีระบบติดตาม วิเคราะหและ รายงานขอมูลที่สําคัญทางเศรษฐกิจ ที่บงชี้สภาพตลาดแต่ละกลุ่มกิจการ การบินพลเรือน (10) เ ผ ย แ พร ข อมู ล ที่สํำคัญ ทาง เศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการและ สาธารณะ (11) กําหนดบทบาทผู้ดําเนินงาน กิจการการบินพลเรือนที่เป็นภาครัฐ ให้ชัดเจน และเพิ่มการมีสวนรวมของ ภาคเอกชนในกิจการของรัฐให้มากขึ้น ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) พณ. SME ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) พณ. กต. SME ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 5 ( 1 . 2 ) นโยบายความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศและการเปดเสรีการขนสงทางอากาศ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศมีความสําคัญยิ่งต่อการเขาสูตลาดเสนทางการบินระหวาง ประเทศของผู้ประกอบการสายการบิน ในชวงเวลาที่ผานมา การดําเนินนโยบายเปดเสรีการบินอยางคอยเป็นคอยไป ได้สงผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณการเดินทางและการขนสงทางอากาศในเสนทางการบินระหวางประเทศ อยางชัดเจน และเพื่อให้การเติบโตของตลาดเป็นไปอยางต่อเนื่อง และเกิดการเขาสูตลาดและการแขงขัน อยางเป็นธรรม ประเทศไทยจึงทบทวนนโยบายเพื่อกําหนดแนวทางในการจัดทําความตกลงวาด้วยบริการ การเดินอากาศกับประเทศตาง ๆ ให้สอดคลองกับสถานการณในปจจุบันและสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงแนวทางที่องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศได้กําหนด เพื่อสงเสริมการพัฒนาการขนสงทางอากาศ ระหวางประเทศอยางยั่งยืน การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การมีบริการการขนสงทางอากาศที่หลากหลายและโครงขายการเชื่อมต่อเที่ยวบิน เพื่อการเป็นศูนยกลางการบินระดับภูมิภาค - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 คุณภาพบริการการขนสงทางอากาศในเสนทางระหวางประเทศและเสนทางบิน ภายในประเทศดีขึ้น เปาหมายที่ 2 ความสามารถในการเชื่อมต่อเที่ยวบินทั้งเสนทางการบินภายในประเทศและ ระหวางประเทศเพิ่มขึ้น เปาหมายที่ 3 ปริมาณการขนสงผู้โดยสารและสินคาเพิ่มขึ้นอยางสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจ - กลยุทธ • สงเสริมการพัฒนาบริการการขนสงทางอากาศอยางต่อเนื่อง • จัดทําระบบติดตามประเมินผล บริการการขนสงทางอากาศทั้งเสนทางการบินภายในประเทศ และระหวางประเทศ • บูรณาการระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถในการเชื่อมต่อ เที่ยวบิน • จัดทําฐานขอมูลตนทาง - ปลายทางการขนสงที่แทจริงของประเทศสําหรับตลาดเสนทางบิน ระหวางประเทศและเสนทางบินภายในประเทศ • สงเสริมการแขงขันที่สรางสรรคเพื่อพัฒนาบริการและระดับราคาระหวางผู้ให้บริการ ให้เกิดประโยชนสูงสุดต่อผู้โดยสารและผู้ใชบริการอยางยั่งยืน • ใชเครื่องมือทางนโยบายเพื่อปองกัน และ/หรือแกไขปญหาความไม่เพียงพอ ตนทุน และคุณภาพของโครงสรางพื้นฐานและปจจัยการดําเนินงานที่เกี่ยวของที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา และดําเนินงานการบริการขนสงทางอากาศ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 6 นโยบายที่ 2 การทําให้สายการบินสัญชาติไทยเขาสูตลาดเสนทางบินระหวางประเทศได้ อยางเป็นธรรมและสามารถเติบโตอยางต่อเนื่อง - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ความตกลงวาด้วยบริการเดินอากาศไม่เป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มปริมาณ การขนสงระหวางประเทศตามสภาวะตลาด (กรณีเสนทางบินภายใตขอตกลงฯ ที่จํากัด) เปาหมายที่ 2 สายการบินสัญชาติไทยได้รับการอนุญาตเที่ยวบินและการจัดสรรเวลาการบิน จากคู่ประเทศภาคีอยางเป็นธรรม - กลยุทธ • จัดทําการศึกษาเพื่อประเมินทางเลือกในการจัดทําความตกลงด้วยบริการเดินอากาศ (Position Paper) เพื่อใชในการกําหนดทาทีเจรจาและจัดทําความตกลงวาด้วยบริการเดินอากาศ • จัดให้มีการรวมหารือเป็นการภายใน ( Internal Consultation) กับทั้งหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของกอนการเจรจา • ใชขอมูลจากผลการประเมินการดําเนินงานภายใตความตกลงฯเดิมทั้งความสําเร็จ ปญหา ขอขัดของและประเด็นคนพบอื่นใดที่มีนัยสําคัญต่อความตกลงวาด้วยบริการเดินอากาศ ประกอบการพิจารณาทางเลือก • สงเสริมการพัฒนาความสามารถในการเชื่อมต่อทางอากาศผานการขยายเครือขายเสนทางบิน • สงเสริมให้เกิดการเพิ่มทางเลือกให้กับผู้ใชบริการ ให้ความสําคัญกับเสนทางบินตรง เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทาง/ขนสงและเพิ่มระดับการแขงขันอยางสรางสรรคเพื่อลดระดับราคา และ/หรือ เพิ่มคุณภาพการบริการ • กําหนดกรอบการดําเนินงานของขอบทภายใตความตกลงวาด้วยบริการเดินอากาศ ให้เอื้ออํานวยต่อการกํากับดูแลให้เกิดความเป็นธรรม • กําหนดเงื่อนไขการพิ จารณาจัดสรรสิ ทธิ และอนุ ญาตให้ บริ การเส นทางการบิ น ระหวางประเทศที่มีสิทธิจํากัดโดยคําถึงถึงประโยชนสาธารณะ ดําเนินการอยางโปรงใส • ลดขั้นตอนที่ไม่จําเป็นสําหรับการอนุญาตให้บริการเสนทางการบินระหวางประเทศ ที่มีสิทธิไม่จํากัด • กําหนดให้สายการบินนําสงขอมูลที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผลดานตลาด และระดับบริการการขนสงทางอากาศในเสนทางบินระหวางประเทศ • บูรณาการขอมูลจากระบบการประเมินผลการดําเนินงานสายการบินและระบบ การติดตามสุขภาพทางการเงินสายการบิน เพื่อการกํากับดูแลและสงเสริมบริการการขนสงทางอากาศ ในเสนทางบินภายระหวางประเทศ นโยบายที่ 3 การทําให้ประชาชนเขาถึงบริการขนสงทางอากาศในเสนทางการบินภายในประเทศ ได้อยางทั่วถึงและเทาเทียม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 เสนทางการบินและความถี่เที่ยวบินในเสนทางบินภายในประเทศเพิ่มขึ้น อยางสอดคลองกับความต้องการการใชบริการ เปาหมายที่ 2 เพิ่ม/รักษาระดับการบริการในเสนทางบินให้มีความสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ในเสนทางบินยอย

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 7 - กลยุทธ • กําหนดเงื่อนไขการพิจารณาจัดสรรสิทธิและอนุญาตให้บริการเสนทางการบินในประเทศ โดยคําถึงถึงประโยชนสาธารณะ และดําเนินการอยางโปรงใส • จัดให้มีระบบการอุดหนุนเสนทางการบินยอยภายในประเทศที่มีความจําเป็น (Essential Air Services) • สงเสริมให้เกิดการเพิ่มทางเลือกที่หลากหลายแกผู้โดยสารและผู้ใชบริการ • กําหนดให้สายการบินนําสงขอมูลที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผลดานตลาด และระดับบริการการขนสงทางอากาศในเสนทางบินภายในประเทศ • บูรณาการขอมูลจากระบบการประเมินผลการดําเนินงานสายการบินและระบบการติดตาม สุขภาพทางการเงินสายการบินเพื่อการกํากับดูแลและสงเสริมบริการการขนสงทางอากาศในเสนทางบิน ภายในประเทศ โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานดานเศรษฐกิจการบินพลเรือนในระดับสากล สงเสริมการเป็นศูนยกลางทางการบิน การสราง ขีดความสามารถในการแขงขันอยางเป็นธรรม เสนทางบินและเครือขายการบิน การจัดสรรเวลาเที่ยวบิน ความสัมพันธระหวางประเทศ และความสมดุลและยั่งยืน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 8 นโยบายความตกลงวาด้วยบริการการเดินอากาศและการเปดเสรีการขนสงทางอากาศ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . การ มี บริ การการขนส ง ทางอากาศที่หลากหลายและ โครงขายการเชื่อมต่อเที่ยวบิน เพื่อการเป็นศูนยกลางการบิน ระดับภูมิภาค (1) มาตรฐานดานเศรษฐกิจ การบินพลเรือนในระดับสากล (2) การเป็นศูนยกลางทางการบิน (3) การสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันอยางเป็นธรรม (4) เสนทางบินและเครือขาย การบิน (5) การจัดสรรเวลาเที่ยวบิน (6) ความสัมพันธระหวา ง ประเทศ (7) ความสมดุลและยั่งยืน (1) คุณภาพบริการการขนสง ทางอากาศในเสนทางระหวาง ป ร ะ เ ท ศ และเส นทา ง บิ น ภายในประเทศดีขึ้น จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 3 ) ดัชนี คุณภาพบริการการขนสงทางอากาศ ในเส นทางระหวำงประเทศ และ เสนทางบินภายในประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) (1) สงเสริมการพัฒนาบริการการขนสง ทางอากาศอยางต่อเนื่อง (2) จัดทําระบบติดตามประเมินผล บริการการขนสงทางอากาศทั้งเสนทาง การบินภายในประเทศและระหวาง ประเทศ (3 ) บูรณาการระหวางหนวยงาน ที่เกี่ยวของเพื่อให้เกิดการพัฒนา ความสามารถในการเชื่อมต่อเที่ยวบิน (4) จัดทําฐานขอมูลตนทาง - ปลายทาง การขนสงที่แทจริงของประเทศสําหรับ ตลาดเสนทางบินระหวางประเทศและ เสนทางบินภายในประเทศ (5) สงเสริมการแขงขันที่สรางสรรคเพื่อ พัฒนาบริการและระดับราคาระหวาง ผู้ให้บริการให้เกิดประโยชนสูงสุดต่อ ผู้โดยสารและผู้ใชบริการอยางยั่งยืน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน (2 ) ค วำ ม สำ มำ ร ถ ใ น กำ ร เชื่อมต่อเที่ยวบินทั้งเสนทาง การบินภายในประเทศและ ระหวางประเทศเพิ่มขึ้น จากประเด็นนโยบาย ( 2 ) ( 4 ) - ดัชนีความสามารถในการเชื่อมต่อทาง อากาศของทาอากาศยานศูนยกลางหลัก และทาอากาศยานศูนยกลางรอง มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) - อัตราการเพิ่มขึ้นของผู้โดยสารเปลี่ยน เที่ยวบิน ณ ทาอากาศยานศูนยกลาง หลักและทาอากาศยานศูนยกลางรอง มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน คค. (สปค.) กต. (3) ปริมาณการขนสงผู้โดยสาร และสินคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับ สภาวะเศรษฐกิจ จากประเด็นนโยบาย ( 3 ) สหสัมพัทธของอัตราการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณการขนสงทางอากาศเทียบกับ อัตราการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑมวลรวม ประชาชาติ มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) กก. ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) สกค. สคบ. ผู้ประกอบการสายการบิน ผู้ประกอบการสนามบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 9 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม (6) ใชเครื่องมือทางนโยบายเพื่อ ป อ ง กั น แ ล ะ / ห รื อ แ ก ไ ข ป ญ หำ ความไม่เพียงพอ ตนทุน และคุณภาพ ของโครงสรางพื้นฐานและปจจัย การดําเนินงานที่เกี่ยวของที่อาจเป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาและดําเนินงาน การบริการขนสงทางอากาศ (7) จัดทําการศึกษาเพื่อประเมิ น ทางเลือกในการจัดทําความตกลงด้วย บริการเดินอากาศ ( Position Paper) เพื่อใชในการกําหนดทาทีเจรจาและ จั ด ทํำ ควำ ม ต ก ล ง วำ ด ว ย บ ริ กำ ร เดินอากาศ ( 8 ) จั ด ใ ห มี กำ ร ร ว ม หำ รื อ เ ป น การภายใน (Internal Consultation) กับทั้งหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ที่เกี่ยวของกอนการเจรจา (9) ใชขอมูลจากผลการประเมิน การดําเนินงานภายใตความตกลงฯเดิม ทั้งความสําเร็จ ปญหา ขอขัดของและ ประเด็นคนพบอื่นใดที่มีนัยสําคัญต่อ ความตกลงวาด้วยบริการเดินอากาศ ประกอบการพิจารณาทางเลือก (10) สงเสริมการพัฒนาความสามารถ ใ น กำ ร เ ชื่ อ ม ต อ ทำ ง อำ กำ ศ ผำ น การขยายเครือขายเสนทางบิน ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) สนข. มท. กก. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน 2 . การทําให้สายการ บิ น สั ญ ชำ ติ ไ ท ย เ ขำ สู ต ลำ ด เสนทางบินระหวางประเทศ ไ ด อ ยำ ง เ ป น ธ ร ร ม แ ล ะ สามารถเติบโตอยางต่อเนื่อง (1) ความตกลงวาด้วยบริการ เดินอากาศไม่เป็นอุปสรรคต่อ การเพิ่มปริมาณการขนสงระหวาง ประเทศตามสภาวะตลาด (กรณีเสนทางบินภายใตขอตกลง ที่จํากัด) จากประเด็นนโยบาย ( 6 ) (2) สายการบินสัญชาติไทย ได้รับการอนุญาตเที่ยวบินและ การจัดสรรเวลาการบินจาก คู่ประเทศภาคีอยางเป็นธรรม จากประเด็นนโยบาย ( 5 ) ( 6 ) - ป ริ มำ ณ กำ ร ข น ส ง ทำ ง อำ กำ ศ ในเสนทางบินระหวางประเทศไทยและ ประเทศคู่ภาคีเปรียบเทียบกับจํานวน ควา มถี่ /ควา มจุ ที่กํำ ห นดภำยใต ขอตกลง มีกลยุทธรองรับ ( 7 ) ( 8 ) ( 9 ) ( 10 ) ( 15 ) - ความแตกตางของระยะเวลาที่ใชในการ อนุญาตเที่ยวบินของประเทศไทยและ ประเทศคู่ภาคี มีกลยุทธรองรับ ( 9 ) ( 10 ) ( 14 ) - ความแตกตางของจํานวนครั้งที่ได้รับ การปฏิเสธเวลาเที่ยวบินที่สายการบิน สัญชาติไทยขอรับการจัดสรรเทียบกับ สายการบินสัญชาติคู่ประเทศภาคี ขอรับการจัดสรร มีกลยุทธรองรับ ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) ( 12 ) ( 13 ) ( 14 ) ( 15 ) ( 16 ) ระยะสั้น กพท. กก. กต. คค. (สปค.) ผู้ประกอบการสายการบิน ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. กก. กต. คค. (สปค.) ผู้ประกอบการสายการบิน ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) กก. ผู้ประกอบการสายการบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 10 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม (11) สงเสริมให้เกิดการเพิ่มทางเลือก ให้กับผู้ใชบริการ ให้ความสําคัญกับ เสนทางบินตรงเพื่อลดระยะเวลาในการ เดินทาง/ขนสงและเพิ่มระดับการแขงขัน อยางสรางสรรคเพื่อลดระดับราคา และ/ หรือเพิ่มคุณภาพการบริการ (12) กําหนดกรอบการดําเนินงานของ ขอบทภายใตความตกลงวาด้วยบริการ เดินอากาศให้เอื้ออํานวยต่อการกํากับ ดูแลให้เกิดความเป็นธรรม (13) กําหนดเงื่อนไขการพิจารณา จัดสรรสิทธิและอนุญาตให้บริการ เสนทางการบินระหวางประเทศที่มีสิทธิ จํากัดโดยคําถึงถึงประโยชนสาธารณะ ดําเนินการอยางโปรงใส (14) ลดขั้นตอนที่ไม่จําเป็นสําหรับ การอนุญาตให้บริการเสนทางการบิน ระหวางประเทศที่มีสิทธิไม่จํากัด (15) กําหนดให้สายการบินนําสงขอมูล ที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผล ดานตลาดและระดับบริการการขนสง ทางอากาศในเสนทางบินระหวาง ประเทศ ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 11 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม (16) บูรณาการขอมูลจากระบบ การประเมินผลการดําเนินงานสายการบิน และระบบการติดตามสุขภาพทาง การเงินสายการบินเพื่อการกํากับดูแล และสงเสริมบริการการขนสงทางอากาศ ในเสนทางบินภายระหวางประเทศ (17) กําหนดเงื่อนไขการพิจารณาจัดสรร สิทธิและอนุญาตให้บริการเสนทางการบิน ในประเทศโดยคํานึงถึ งประโยชน สาธารณะ และดําเนินการอยางโปรงใส (18) จัดให้มีระบบการอุดหนุนเสนทาง กำ ร บิ น ย อ ย ภำ ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ความจําเป็น (Essential Air Services) (19) สงเสริมให้เกิดการเพิ่มทางเลือกที่ หลากหลายแกผู้โดยสารและผู้ใชบริการ (20) กําหนดให้สายการบินนําสงขอมูล ที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผล ดานตลาดและระดับบริการการขนสง ทางอากาศในเสนทางบินภายในประเทศ (21) บูรณาการขอมูลจากระบบ กำ ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล กำ ร ดํำ เ นิ น งำ น สายการบินและระบบการติดตาม สุขภาพทางการเงินสายการบินเพื่อการ กํากับดูแลและสงเสริมบริการการขนสง ทางอากาศในเสนทางบิภายในประเทศ ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน 3 . การทําให้ประชาชนเขาถึง บ ริการขน สงทางอำกำศ ในเสนทางการบินภายในประเทศ ได้อยางทั่วถึงและเทาเทียม (1 ) เ ส น ทำ ง กำ ร บิ น แ ล ะ ความถี่เที่ยวบินในเสนทางบิน ภายในประเทศเพิ่มขึ้นอยาง สอดคลองกับความต้องการ การใชบริการ จากประเด็นนโยบาย ( 4 ) ( 5 ) - อัตราการเพิ่มขึ้นของปริมาณ การขนสง ทางอากาศในเสนทางบินภายในประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 17 ) ( 18 ) ( 19 ) ( 20 ) - จํานวนเที่ยวบินเฉลี่ยต่อวันต่อ เสนทางบิน มีกลยุทธรองรับ ( 17 ) ( 18 ) ( 19 ) ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ระยะกลาง กพท. คค. (สปค.) กค. ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน (2) เพิ่ม/รักษาระดับกำ ร บริการในเสนทางบินให้มี ความสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ในเสนทางบินยอย จากประเด็นนโยบาย ( 4 ) - จํานวนเสนทางบินยอยเสนทางให ม ภายในประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 17 ) ( 18 ) ( 19 ) ( 20 ) - จํานวนเสนทางบินยอยภายในประเทศ ที่รักษาระดับการให้บริการไม่นอย กวาเดิม สม่ําเสมอ/ต่อเนื่อง มีกลยุทธรองรับ ( 17 ) ( 18 ) ( 19 ) ( 20 ) ( 21 ) ระยะสั้น กพท . ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสายการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 12 ( 1 . 3 ) นโยบายการกําหนดอัตราคาบริการ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ การแขงขันดานราคาเป็นปจจัยสําคัญที่ทําให้อุตสาหกรรมการบินมีความยั่งยืน การขนสงทางอากาศ เป็นรูปแบบการขนสงที่คาใชจายโดยเฉลี่ยสูงกวาการขนสงทางถนนและทางรางในภาพรวม แต่สรางประโยชน ดานผลิตภาพและตอบสนองดานคุณคาของเวลามากกวาอยางมีนัยสําคัญจากระยะเวลาในการขนสงที่นอยกวา อยางไรก็ตาม ระดับราคามีความสัมพันธโดยตรงกับระดับการแขงขันและโครงสรางตลาดในแต่ละตลาด เสนทางการบิน ซึ่งในอดีตที่ผานมาปรากฏทั้งเสนทางบินที่มีระดับการแขงขันสูงและระดับราคาต่ํามาก และหลายเสนทางที่ไม่มีการแขงขันและระดับราคาสูง การกําหนดนโยบายและระบบการกํากับดูแลที่เกี่ยวของกับ ระดับราคาจึงมีความสัมพันธอยางยิ่งกับการกํากับดูแลดานเศรษฐกิจในสวนการแขงขันและการคุมครองผู้บริโภค นอกจากนี้ คาบริการที่เกี่ยวของกับการใชบริการทาอากาศยานและบริการการเดินอากาศยังเป็นภาระตนทุน ที่สําคัญกับทั้งผู้โดยสารและผู้ใชบริการ ดังนั้น เพื่อเป็นการกําหนดทิศทางที่ชัดเจนต่อการกํากับดูแลที่เกี่ยวของกับ อัตราคาบริการของประเทศ สงเสริมให้เกิดการแขงขันของผู้ประกอบการและการคุมครองผู้บริโภค ตลอดจน การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ จึงกําหนดนโยบายการกําหนดอัตราคาบริการเพื่อเป็นแนวทาง ในการกํากับดูแลผู้ประกอบการและคุมครองผู้บริโภคต่อไป การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การกําหนดระดับราคาต้องเขาถึงได้และเป็นธรรม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ระดับอัตราคาบริการที่ผู้ใชบริการเขาถึงได้และสะทอนตนทุนที่แทจริง เปาหมายที่ 2 การแขงขัน/กํากับดูแลตามกลไกตลาดเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถ ลดระดับราคาและ/หรือเพิ่มคุณภาพการบริการอยางต่อเนื่อง - กลยุทธ • จัดให้มีระบบการติดตาม ประเมินผลและรายงานระดับอัตราคาบริการที่เป็นบริการ สาธารณะ • กําหนดให้สายการบินนําสงขอมูลที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผลดานราคา ในเสนทางบินภายในประเทศและระหวางประเทศ • สําหรับกิจการบินพลเรือนอยู่ภายใตตลาดที่มีการแขงขันได้โดยเสรี ให้ทบทวนรายการสินคา และ/หรือบริการที่ถูกกํากับดูแลตามกฎหมาย โดยยึดถือหลักการการกํากับดูแลเทาที่จําเป็น ไม่เพิ่มภาระให้กับ ผู้ประกอบการ นโยบายที่ 2 การจัดให้มีกฎเกณฑในการกํากับดูแลอัตราคาบริการที่มุงผลสัมฤทธิ์อยางเป็นรูปธรรม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 กฎระเบียบที่เกี่ยวของและระบบการกํากับดูแลอัตราคาบริการได้รับ การปรับปรุงอยางต่อเนื่องให้สอดคลองกับนโยบายการบินพลเรือนและสภาพการณทางเศรษฐกิจและสังคม เปาหมายที่ 2 อัตราคาบริการสอดคลองกับคุณภาพการบริการและความคุมคา - กลยุทธ • สําหรับกิจการบินพลเรือนอยู่ภายใตตลาดที่มีการแขงขันได้โดยเสรี ให้ทบทวนรายการสินคา และ/หรือบริการที่ถูกกํากับดูแลตามกฎหมาย โดยยึดถือหลักการการกํากับดูแลเทาที่จําเป็น ไม่เพิ่มภาระให้กับ ผู้ประกอบการ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 13 • สําหรับกิจการสนามบินสาธารณะ บริการการเดินอากาศ และกิจการการบินพลเรือน ที่อยู่ในโครงสรางตลาดผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด ให้ทบทวน ปรับปรุงและบังคับใชหลักเกณฑ เงื่อนไข วิธีการ คํานวนอัตราคาบริการ และอัตราคาบริการให้สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม • ใชกระบวนการในการรวมหารือ ( Consultation Process) สําหรับผู้ใชบริการ และกลุ่มผลประโยชนที่ได้รับผลกระทบ เมื่อมีการทบทวนคาบริการ หรือการกําหนดคาบริการประเภทใหม (กรณีกิจการสนามบินสาธารณะ บริการการเดินอากาศ) โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย การแขงขันดานราคา ระดับราคาคาโดยสารสูงในบางเสนทางบิน การกํากับดูแลคุณภาพการให้บริการ การกํากับ ดูแลอัตราคาบริการ และความสมดุลและยั่งยืน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 14 นโยบายการกําหนดอัตราคาบริการ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงานที่เกี่ยวของ หลัก รวม 1. การกําหนดระดับราคา ต้องเขาถึงได้และเป็นธรรม (1 ) การแขงขันดานราคา (2) ระดับราคาคาโดยสารสูง ในบางเสนทางบิน (3) การกํากับดูแลคุณภาพ การให้บริการ (4) การกํากับดูแลอัตรา คาบริการ (5) ความสมดุลและยั่งยืน (1) ระดับอัตราคาบริการที่ผู้ใชบริการ เขาถึงได้และสะทอนตนทุนที่แทจริง จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 4 ) อัตราคาบริการเฉลี่ยเปรียบเทียบกับ ตนทุนการดําเนินงานต่อหนวย มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 1 ) จัดให้มีระบบการติดตาม ประเมินผล และรายงานระดับอัตราคาบริการที่เป็น บริการสาธารณะ (2) กําหนดให้สายการบินนํา สง ข อ มู ล ที่สําคัญต่อการติดตามและประเมินผล ดานราคาในเสนทางบินภายในประเทศ และระหวางประเทศ (3) สําหรับกิจการบินพลเรือนอยู่ภายใตตลาด ที่มีการแขงขันได้โดยเสรี ให้ทบทวนรายการ สินคาและ/หรือบริการที่ถูกกํากับดูแลตาม กฎหมาย โดยยึดถือหลักการการกํากับดูแล เทาที่จําเป็น ไม่เพิ่มภาระให้กับผู้ประกอบการ (4) สําหรับกิจการสนามบินสาธารณะ บริการ การเดินอากาศ และกิจการการบินพลเรือนที่อยู่ ในโครงสรางตลาดผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด ให้ทบทวน ปรับปรุงและบังคับใชหลักเกณฑ เงื่อนไข วิธีการคํานวนอัตราคาบริการ และอัตราคาบริการให้สอดคลองกับสภาพ เศรษฐกิจและสังคม ระยะสั้น กพท. สขค. สคบ. ผู้ประกอบการ สายการบิน (2) การแขงขัน/กํากับดูแลตามกลไก ตลาดเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถ ลดระดับราคาและ/หรือเพิ่มคุณภาพ การบริการอยางต่อเนื่อง จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ค วำ ม แ ต ก ตำ ง ร ะ ห วำ ง อั ต รำ การเปลี่ยนแปลงระดับอัตราคาบริการ เฉลี่ยและอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนี ราคาผู้บริโภค มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ระยะสั้น กพท. สขค. สคบ. ผู้ประกอบการ สายการบิน 2 . การจัดให้มีกฏเกณฑใน กำร กํำกั บ ดู แ ล อั ต รำ คาบริการที่มุงผลสัมฤทธิ์ อยางเป็นรูปธรรม (1) กฎระเบียบที่เกี่ยวของและระบบ การกํากับดูแลอัตราคาบริการได้รับการ ปรับปรุงอยางต่อเนื่องให้สอดคลองกับ นโยบายการบินพลเรือนแลสภาพการณ ทางเศรษฐกิจและสังคม จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 4 ) ( 5 ) ระดับความพึงพอใจของผู้มีสวนได้เสีย ที่ สํำ คั ญ ข อ ง ก พ ท . ใ น มิ ติ ดำ น ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ กำ ร กํำ กั บ ดู แ ล อั ต รำ คาบริการ มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 4 ) ระยะสั้น กพท. ทย. ทอท. บวท. ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ สายการบิน (2) อัตราคาบริการสอดคลองกับ คุณภาพการบริการและความคุมคา จากประเด็นนโยบาย ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ระดับความพึงพอใจของผู้ใชบริการ ใ น มิ ติ ดำ น ค วำ ม คุ ม คำ ( สํำ ห รั บ สายการบิน) มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ระยะสั้น กพท . ทย . ทอท . บวท . ภาคเอกชน (5 ) ใ ช ก ร ะ บ ว น กำ ร ใ น กำ ร ร ว ม หำ รื อ (Consultation Process) สําหรับผู้ใชบริการ และกลุ่มผลประโยชนที่ได้รับผลกระทบ เมื่อมีการทบทวนคาบริการ หรือการกําหนด คาบริการประเภทใหม (กรณีกิจการสนามบิน สาธารณะ บริการการเดินอากาศ) ระยะสั้น กพท. ทย. ทอท. บวท. ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ สายการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 25 6 5 - 25 67 ระยะกลาง : 25 68- 25 69 ระยะยาว : 25 7 0 - 25 8 0

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 15 ( 1 . 4 ) นโยบายกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบิน สาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ กิจกรรมการบินพลเรือนมีบทบาทสําคัญยิ่งต่อการบรรลุเปาหมายการพัฒนาประเทศตามแนวทาง ที่กําหนดภายใตยุทธศาสตรชาติที่ได้ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจอยางต่อเนื่องและการกระจายรายได้ การยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน และการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม การกํากับดูแล ทางเศรษฐกิจควรมีเปาหมายเพื่อการสรางผลประโยชนสาธารณะเป็นสวนรวม โดยให้ความสําคัญกับการสราง สมดุลระหวางผลประโยชนของผู้บริโภค/ผู้ใชบริการ กับผู้ผลิต/ผู้ให้บริการ เพื่อให้ตลาดสามารถเติบโตได้ อยางยั่งยืนผานกลไกแรงจูงใจในการผลิตและการบริโภคโดยการแทรกแซงตลาดของภาครัฐเทาที่จําเป็น กิจการการบินพลเรือนมีความหลากหลายของประเภทกิจการและโครงสรางตลาด กิจการในกลุ่ม โครงสรางพื้นฐานทั้งบริการทาอากาศยานและบริการการเดินอากาศตางเป็นกิจการที่มีความผูกขาด โดยธรรมชาติ กิจการการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชยมีโครงสรางตลาดที่หลากหลายตามตลาดเสนทางการบิน ที่อยู่ทั้งในตลาดแขงขันโดยสมบูรณ ตลาดผู้เลนนอยราย ตลาดกึ่งผูกขาด และตลาดผูกขาด กิจการการทํางาน ทางอากาศมีลักษณะเฉพาะมิได้ให้บริการสาธารณะในวงกวางดังเชนการขนสงทางอากาศสาธารณะ รวมถึง กิจการการบินประเภทอื่น ๆ กิจการแต่ละประเภทมีระดับความจําเป็นที่ต้องกํากับดูแลแตกตางกัน และ ต้องการกลไกในการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจที่สอดคลองกับลักษณะเฉพาะของประเภทกิจการ การกําหนด นโยบายกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศมีความสําคัญยิ่ง การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การสรางความพึงพอใจให้กับผู้ใชบริการในกิจการขนสงทางอากาศเพื่อการพาณิชย เพื่อให้ผู้ให้บริการสามารถเติบโตได้อยางยั่งยืน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 กฎเกณฑและกระบวนการกํากับดูแลที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการ การขนสงทางอากาศเชิงพาณิชยมีประสิทธิภาพ และสามารถสงเสริมการเติบโตอยางยั่งยืน เปาหมายที่ 2 ผู้ประกอบการมีการดําเนินงานที่ไม่บิดเบือนกลไกตลาด แขงขันอยางเป็นธรรม เปาหมายที่ 3 การยกเลิกเที่ยวบินและเที่ยวบินลาชาลดลง ผู้โดยสารมีความพึงพอใจ จากการใชบริการสายการบิน - กลยุทธ • ทบทวนและปรับปรุง กฎเกณฑและระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจสําหรับสายการบิน ให้ครอบคลุมมิติดานการแขงขัน คุณภาพการบริการ การคุมครองผู้บริโภค และการขยายการลงทุนเพื่อประโยชน ของประเทศ • บูรณาการกระบวนการกํากับดูแลตั้งแต่ขั้นตอนการอนุญาต การตรวจสอบ การบังคับใช กฎหมาย การเพิกถอนใบอนุญาต และการประเมินผลการกํากับดูแลและพัฒนากระบวนการกํากับดูแลอยาง ต่อเนื่อง • จัดทําและบูรณาการระบบการประเมินสุขภาพทางการเงินและระบบประเมินผลดําเนินงาน สายการบินสัญชาติไทยและตางประเทศเขากับระบบการกํากับดูแลและระบบการบริหารนโยบาย

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 16 • จัดทําบันทึกความเขาใจในการกําหนดกระบวนงานและวิธีปฏิบัติมาตรฐานรวมกับสํานักงาน คณะกรรมการการแขงขันทางการคา และสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผู้บริโภค เพื่อการกํากับดูแล ทางเศรษฐกิจ และให้ดําเนินการติดตามประเมินผลรวมกันอยางต่อเนื่อง • ทบทวนและปรับปรุงระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจสําหรับสายการบินให้ครอบคลุมมิติ ดานการแขงขัน คุณภาพการบริการ และการคุมครองผู้บริโภค • จัดทําและดําเนินงานตามระบบการประเมินผลการดําเนินงานผู้ดําเนินงานสนามบิน สาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศโดยอางอิงตามระบบจัดการสมรรถนะ (Doc 9082 ) นโยบายที่ 2 การมุงสรางผลประโยชนให้กับสวนรวมและมุงสูการเป็นผู้นําดานโครงสราง พื้นฐานการขนสงทางอากาศของภูมิภาคในกิจการสนามบินสาธารณะและบริการการดินอากาศ - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ผู้โดยสารและผู้ใชบริการสนามบินสาธารณะและบริการการเดินอากาศ มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ เปาหมายที่ 2 สมรรถนะการดําเนินงานของผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะและผู้ให้บริการ การเดินอากาศเป็นไปตามเปาหมายที่กําหนดไว - กลยุทธ • บูรณาการกระบวนการกํากับดูแลตั้งแต่ขั้นตอนการอนุญาต การตรวจสอบ การบังคับใช กฎหมาย การเพิกถอนใบอนุญาต และการประเมินผลการกํากับดูแลเพื่อพัฒนากระบวนการกํากับดูแลอยางต่อเนื่อง • ทบทวนและปรับปรุงระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจสําหรับสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศให้ครอบคลุมมิติดานการแขงขัน คุณภาพการบริการ และการคุมครองผู้บริโภค • จัดทําและดําเนินงานตามระบบการประเมินผลการดําเนินงานผู้ดําเนินงานสนามบิน สาธารณะและผู้ให้บริการการเดินอากาศโดยอางอิงตามระบบจัดการสมรรถนะ (Doc 9082 ) นโยบายที่ 3 การสรางโอกาสและเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจในกิจการการทํางานทางอากาศ - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 กฎเกณฑ และกระบวนการกํากับดูแลที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการ ทํางานทางอากาศมีประสิทธิภาพและสามารถสงเสริมการเติบโตอยางยั่งยืน เปาหมายที่ 2 การขยายตัวของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กและเพิ่มผลประโยชน ทางเศรษฐกิจ - กลยุทธ • บูรณาการกระบวนการกํากับดูแลตั้งแต่ขั้นตอนการอนุญาต การตรวจสอบ การบังคับใช กฎหมาย การเพิกถอนใบอนุญาต และการประเมินผลการกํากับดูแลเพื่อทั้งพัฒนากระบวนการกํากับดูแลอยางต่อเนื่อง • ทบทวน ปรับปรุง และกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไขการพิจารณา และประเภทกิจการการบิน พลเรือนที่ต้องกํากับดูแลทางเศรษฐกิจ โดยให้ยึดหลักการกํากับดูแลเทาที่จําเป็นตามสัดสวนที่เหมาะสมกับระดับ ความเสี่ยง • กําหนดและใชระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจให้ครอบคลุมมิติที่จําเป็น สอดคลองกับ รูปแบบการดําเนินงานและกลุ่มผู้ซื้อ/ใชบริการ • สงเสริมให้เกิดการริเริ่มและพัฒนากิจการประเภทใหมที่สรางประโยชนให้กับสาธารณะ โดยไม่ลาชาและเสียโอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 17 โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานดานเศรษฐกิจการบินพลเรือนในระดับสากล ประเทศไทยต้องการเป็นศูนยกลางการบินของภูมิภาค การพัฒนาเทคโนโลยีดานการบิน สรางความเขมแข็งให้ผู้ประกอบการ และความคาดหวังของผู้มีสวนได้เสีย

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 18 นโยบายกํากับดูแลทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะ และผู้ให้บริการการเดินอากาศ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . การสรางความพึงพอใจ ให้กับผู้ใชบริการในกิจการ ขน สงทางอากาศเพื่ อ กำร พาณิชยเพื่อให้ผู้ให้บริการ สามารถเติบโตได้อยางยั่งยืน (1) มาตรฐานดานเศรษฐกิจ การบินพลเรือนในระดับสากล (2) ประเทศไทยต้องการเป็น ศูนยกลางการบินของภูมิภาค (3) การพัฒนาเทคโ นโลยี ดานการบิน (4) สรางความเขมแข็งให้ ผู้ประกอบการ (5) ความคาดหวังของผู้มีสวนได้เสีย (1) กฎเกณฑและกระบวนการกํากับ ดูแลที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการ การขนสงทางอากาศเชิงพาณิชย มีประสิทธิภาพ และสามารถสงเสริม การเติบโตอยางยั่งยืน จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) (1) ระดับความพึงพอใจของ ผู้ ประกอบการต อกฎเกณฑ และกระบวนการกํากับดูแล มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) (2) ระดับความพึงพอใจของ ผู้ประกอบการต่อพฤติกรรมการ แขงขันของสายการบินในตลาด มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) (1) ทบทวนและปรับปรุง กฎเกณฑและระบบ การกํากับดูแลทางเศรษฐกิจสําหรับสายการบิน ให้ครอบคลุมมิติดานการแขงขัน คุณภาพ การบริการ การคุมครองผู้บริโภค และการขยาย การลงทุนเพื่อประโยชนของประเทศ (2) บูรณาการกระบวนการกํากับดูแลตั้งแต่ ขั้นตอนการอนุญาต การตรวจสอบ การบังคับ ใชกฎหมาย การเพิกถอนใบอนุญาต และการ ประเมิ นผลการกํำกั บดู แลและ พั ฒนา กระบวนการกํากับดูแลอยางต่อเนื่อง (3) จัดทําและบูรณาการระบบการประเมิน สุขภาพทางการเงินและระบบประเมินผล การดําเนินงานสายการบินสัญชาติไทย และตางประเทศเขากับระบบการกํากับดูแล และระบบการบริหารนโยบาย (4) จัดทําบันทึกความเขาใจในการกําหนด กระบวนงานและวิธีปฏิบัติมาตรฐานรวมกับ สํานักงานคณะกรรมการการแขงขันทางการคา และสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผู้บริโภค เพื่อการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจ และให้ ดํำเนิ นการติ ดตามประเมิ นผลร ว มกั น อยางต่อเนื่อง ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) สขค. สคบ. พณ. ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ สายการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ สายการบิน (2) ผู้ประกอบการมีการดําเนินงาน ที่ไม่บิดเบือนกลไกตลาด แขงขัน อยางเป็นธรรม จากประเด็นนโยบาย ( 4 ) ( 5 ) ดัชนีการแขงขัน: การเบี่ยงเบนจาก นโยบายและกลไกที่กําหนด มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 4 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สายการบิน ระยะสั้น กพท. สขค. สคบ. ทย. ทอท. บวท.

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 19 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 3 ) การยกเลิกเที่ยวบินและเที่ยวบิน ลาชาลดลง ผู้โดยสารมีความพึงพอใจ จากการใชบริการสายการบิน จากประเด็นนโยบาย ( 5 ) ( 1 ) อัตราสวนจํานวนเที่ยวบินที่ถูก ยกเลิกต่อจํานวนเที่ยวบินทั้งหมด ในเสนทางการบินภายในประเทศ และเส นทางการบินระหวาง ประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 5 ) ( 6 ) (2) อัตราสวนจํานวนเที่ยวบิน ลาชาต่อจํานวนเที่ยวบินทั้งหมด ในเสนทางการบินภายใน ประเทศ และเสนทางการบินระหวำง ประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 6 ) (3) ระดับความพึงพอใจของ ผู้โดยสารจากการใช บริ การ สายการบินในเสนทางการบิน ภายในประเทศ และเสนทาง การบินระหวางประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 6 ) ( 5 ) ทบทวนและปรับปรุงระบบการกํากับดูแล ทางเศรษฐกิจสําหรับสนามบินสาธารณะและ ผู้ให้บริการการเดินอากาศให้ครอบคลุมมิติ ดานการแขงขัน คุณภาพการบริการ และ การคุมครองผู้บริโภค (6 ) จั ด ทํำ แ ล ะ ดํำ เ นิ น งำ น ตำ ม ร ะ บ บ การประเมินผลการดําเนินงานผู้ดําเนินงาน ส นำ ม บิ น สำ ธำ ร ณ ะ แ ล ะ ผู้ ใ ห บ ริ กำ ร การเดินอากาศโดยอางอิงตามระบบจัดการ สมรรถนะ (Doc 9082 ) (7) ทบทวน ปรับปรุง และกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไขการพิจารณา และประเภทกิจการการ บินพลเรือนที่ต้องถูกกํากับดูแลทางเศรษฐกิจ โดยให้ยึดหลักการกํากับดูแลเทาที่จําเป็นตาม สัดสวนที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง (8) กําหนดและใชระบบการกํากับดูแลทาง เศรษฐกิจให้ครอบคลุมมิติที่จําเป็น สอดคลอง กับรูปแบบการดําเนินงานและกลุ่มผู้ซื้อ/ ใชบริการ ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน บวท. ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 2 . การมุงสรางผลประโยชน ให้กับสวนรวมและมุงสูการเป็น ผู้นําดานโครงสรางพื้ นฐาน การขนสงทางอากาศของภูมิภาค ในกิจการสนามบินสาธารณะ และบริการการดินากาศ ( 1 ) ผู้โดยสารและผู้ใชบริการสนามบิน สาธารณะและบริการการเดินอากาศ มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการบริการ จากประเด็นนโยบาย ( 5 ) ระดับความพึงพอใจต่อคุณภาพ การบริการของผู้โดยสารและ ผู้ใชบริการสนามบินสาธารณะ และบริการการเดินอากาศ มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 5 ) ( 6 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 20 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 2 ) สมรรถนะการดําเนินงานของ ผู้ดําเนินงานสนามบินสาธารณะและ ผู้ให้บริการการเดินอากาศเป็นไปตาม เปาหมายที่กําหนดไว จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 3 ) ( 4 ) ระดับผลสัมฤทธิ์ดานความปลอดภัย คุณภาพการบริการ ผลิตภาพ และ ประสิทธิผลของตนทุนที่ได้กําหนด รวมกันระหวางผู้ให้บริการและ ผู้รับบริการ (สําหรับทาอากาศยาน และบริการการเดินอากาศ) มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 6 ) ( 9 ) สงเสริมให้เกิดการริเริ่มและพัฒนากิจการ ประเภทใหมที่สรางประโยชนให้กับสาธารณะ โดยไม่ลาชาและเสียโอกาสในการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ ระยะสั้น กพท. สขค. สคบ. ผู้ประกอบการสายการบิน 3 . การสรางโอกาสและเพิ่ม มูลคาทางเศรษฐกิจในกิจการ การทํางานทางอากาศ (1) กฎเกณฑ และกระบวนการกํากับดูแล ที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการ การทํางานทางอากาศมีประสิทธิภาพ และสามารถสงเสริมการเติบโต อยางยั่งยืน จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 3 ) ( 4 ) ร ะ ดั บ ค วำ ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ ประกอบการต อกฎเกณฑ และกระบวนการกํากับดูแล มีกลยุทธรองรับ ( 7 ) ( 8 )

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 21 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 2 ) การขยายตัวของผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดเล็กและเพิ่ม ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ จากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 3 ) ( 4 ) (1) จํานวนผู้ประกอบการรายใหม/ กิจการประเภทใหมในกิจการ การบินพลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 8 ) ( 9 ) (2) ผลกระทบทางเศรษฐกิจจาก ผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดเล็กใ นกิ จกำรกำ ร บิ น พลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 8 ) ( 9 ) (3 ) อั ต รำ ส ว น ข อ ง จํำ น ว น ผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดเล็ กในกิ จการกำ ร บิ น พลเรือนที่ต้องยุ ติกิ จการต่อ จํานวนผู้ประกอบการที่สามารถ ดําเนินกิจการได้อยางต่อเนื่อง มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 8 ) ( 9 ) ( 4 ) ร ะ ดั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ทำ ง เศรษฐกิจจากผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดเล็กใน กิจการการบินพลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 8 ) ( 9 ) หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 22 ( 1 . 5 ) นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบินพลเรือน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ การอนุญาตที่เกี่ยวของกับกิจการการบินพลเรือนถือได้วาเป็นเครื่องมือทางนโยบายผานการใช อํานาจตามกฎหมายในการกํากับดูแล เพื่อใชกําหนดประเภทกิจการที่ต้องกํากับดูแลผานกฎเกณฑและเงื่อนไขของ การได้รับอนุญาต ซึ่งสงผลโดยตรงต่อการเขาสูตลาดของผู้ประกอบการและการดําเนินงาน/กิจกรรมของ ผู้ดําเนินงาน/กิจกรรมดานการบินพลเรือน การกําหนดประเภทกิจการที่ต้องได้รับการอนุญาตจึงควรอยู่บน หลักการของการกํากับเทาที่จําเป็นเฉพาะกิจการที่อาจสงผลกระทบต่อสาธารณะในวงกวางและ/หรืออยู่ ในโครงสรางตลาดที่กลไกการแขงขันโดยเสรีไม่สามารถทํางานได้อยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ภาครัฐจึงจําเป็นต้อง กํากับดูแลกิจการการบินพลเรือนประเภทนั้น ๆ เพื่อไม่ให้กฎเกณฑและการอนุญาตเป็นอุปสรรคต่อการประกอบ กิจการพัฒนาความสามารถในการแขงขันของผู้ประกอบการ และการดําเนินงาน/กิจกรรมของผู้ดําเนินงาน/ กิจกรรมดานการบินพลเรือน การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การสงเสริมให้เกิดการแขงขันอยางสรางสรรคและการพัฒนาที่ยั่งยืนในการกํากับ ดูแลเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การมีกฎเกณฑเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือนเทาที่จําเป็น และสอดคลองกับมาตรฐานและขอแนะนําระดับสากล เปาหมายเชิงนโยบายในการพัฒนา และปจจัยแวดลอม ที่สําคัญ เปาหมายที่ 2 ระบบเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือนมีความสะดวก รวดเร็ว โปรงใส ทันสมัย และสามารถปรับตัวเขากับสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้ เปาหมายที่ 3 การกํากับดูแลเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือน สงเสริมให้ เกิดการจัดตั้ง ดําเนินงานและพัฒนากิจการการบินพลเรือนทั้งกิจการประเภทเดิมและกิจการประเภทใหม สรางผลลัพธได้ตามเปาหมายเชิงนโยบาย และปจจัยแวดลอมที่สําคัญ เพื่อให้เกิดประโยชนแกสาธารณะ - กลยุทธ • กําหนดและปรับปรุงกฎเกณฑ เงื่อนไขเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือน ให้สอดคลองกับเปาหมายเชิงนโยบายและปจจัยแวดลอมที่สําคัญ • ยกระดับระบบการอนุญาตกิจการดานการบินพลเรือนโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่ออํานวยความสะดวก รวดเร็ว เกิดความโปรงใส และปรับตัวเขากับสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้ • ทบทวนประเภทกิจการที่ต้องได้รับอนุญาตให้สอดคลองกับระดับผลกระทบของกิจการ และความจําเป็นที่ภาครัฐต้องกํากับดูแล • บูรณาการขอกําหนด เงื่อนไข และกระบวนการเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบิน พลเรือนเขากับกระบวนการกํากับดูแลขั้นตอนอื่น และกระบวนการบริหารนโยบายอยางเป็นระบบ และปรับปรุงอยางต่อเนื่อง • กําหนดและปรับปรุงเงื่อนไขเกี่ยวกับการอนุญาตให้เหมาะสมกับประเภทของกิจการ การบินพลเรือนและพัฒนาการของอุตสาหกรรมการบิน โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ประกอบด้วย ขอจํากัดในการประกอบธุรกิจ การแขงขันในอุตสาหกรรม มาตรฐานและขอแนะนําระดับสากลดานการบินพลเรือน ความยั่งยืนของอุตสาหกรรม และการตรวจติดตามและพัฒนากฎระเบียบ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 23 นโยบายเกี่ยวกับการอนุญาตในกิจการการบินพลเรือน วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1. การสงเสริมให้เกิด กำ ร แ ข ง ขั น อ ยำ ง สรางสรรคและการพัฒนา ที่ยั่งยืนในการกํากับดูแล เ กี่ ย ว กั บ กำ ร อ นุ ญำ ต กิ จ กำ ร ดำ น กำ ร บิ น พลเรือน (1) ขอจํากัดในการประกอบ ธุรกิจ (2) การแขงขันในอุตสาหกรรม (3) มาตรฐานและขอแนะนํา ระดับสากลดานการบินพลเรือน (4) ความยั่งยืนของอุตสาหกรรม (5) การตรวจติดตามและ พัฒนากฎระเบียบ (1 ) การมีกฎเกณฑเกี่ยวกับการอนุญาต กิจการดานการบินพลเรือนเทาที่จําเป็น และสอดคลองกับมาตรฐานและขอแนะนํา ระดับสากล เปาหมายเชิงนโยบายในการ พัฒนา และปจจัยแวดลอมที่สําคัญ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 4 ) ( 5 ) ระดับความพึงพอใจของผู้มีสวนได้ เสียที่สําคัญที่มีต่อกฎเกณฑเกี่ยวกับ การอนุญาตกิจการดานการบิน พลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) (1) กําหนดและปรับปรุงกฎเกณฑ เงื่อนไขเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการ ดานการบินพลเรือน ให้สอดคลอง กับเปาหมายเชิงนโยบายและปจจัย แวดลอมที่สําคัญ (2) ยกระดับระบบการอนุญาตกิจการ ดานการบินพลเรือนโดยใชเทคโนโลยี ทีทันสมัยเพื่ออํานวยความสะดวก รวดเร็ว เกิดความโปรงใส และปรับตัว เขากับสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้ (3) ทบทวนประเภทกิจการที่ต้องได้รับ อนุ ญาตให้ สอดคล องกั บระดั บ ผลกระทบของกิจการและความจําเป็น ที่ภาครัฐต้องกํากับดูแล (4) บูรณาการขอกําหนด เงื่อนไข และ กระบวนการเกี่ยวกับการอนุญาต กิจการดานการบินพลเรือนเขากับ กระบวนการกํากับดูแลขั้นตอนอื่น และกระบวนการบริหารนโยบายอยาง เป็นระบบ และปรับปรุงอยางต่อเนื่อง (5) กําหนดและปรับปรุงเงื่อนไข เกี่ยวกับการอนุญาตให้เหมาะสมกับ ประเภทของกิจการการบินพลเรือน และพัฒนาการของอุตสาหกรรม การบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) สคก. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การบิน (2) ระบบเกี่ยวกับการอนุญาตกิจการ ดานการบินพลเรือน มีความสะดวก รวดเร็ว โปรงใส ทันสมัย และสามารถปรับตัวเขากับ สภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 5 ) ระดับความพึงพอใจของผู้ มีส วน ได้เสียที่สําคัญที่มีต่อกระบวนการ เกี่ยวกับการอนุญาตกิจการดานการบิน พลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การบิน (3) การกํากับดูแลเกี่ยวกับการอนุญาต กิจการดานการบินพลเรือน สงเสริมให้เกิด การจัดตั้ง ดําเนินงานและพัฒนากิจการ การบินพลเรือนทั้งกิจการประเภทเดิม และกิจการประเภทใหม สรางผลลัพธ ได้ตามเปาหมายเชิงนโยบาย และปจจัย แวดลอมที่สําคัญ เพื่อให้เกิดประโยชนแก สาธารณะ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) ( 3 ) ( 5 ) อัตราการเติบโตของปริมาณกิจกรรม การบินพลเรือนในระยะเวลา 5 ป แ ร ก ห ลั ง จำ ก ไ ด รั บ อ นุ ญำ ต ใ ห ดําเนินงาน มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การบิน อัตราการเติบโตของปริมาณการผลิต และ/หรือปริมาณกิจกรรมการบิน พลเรือนที่ไม่ต้องได้รับอนุญาต มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ระยะสั้น กพท . คค. (สปค. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรม การบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 25 6 5 - 25 67 ระยะกลาง : 25 68- 25 69 ระยะยาว : 25 7 0 - 25 8 0

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 24 ( 1 . 6 ) นโยบายคุมครองสิทธิผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ผู้ที่เกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมการบินประกอบด้วย (1) ผู้ซื้อสินคา และ (2) ผู้ใชบริการ ในภาคอุตสาหกรรมการบิน ได้แก ผู้โดยสารและบุคคลอื่น ๆ เชน ผู้สงของ ผู้ใชบริการในทาอากาศยานที่ไม่ได้เป็น ผู้โดยสาร เป็นตน ซึ่งผู้ที่เกี่ยวของมีความหลากหลายทั้งในสวนของประเภทการซื้อสินคาและใชบริการ และลักษณะของผู้ซื้อสินคาและผู้ใชบริการครอบคลุมถึงทุกเพศ ทุกวัย และทุกเชื้อชาติ ดังนั้น การให้บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจจึงต้องยึดหลักการตามกฎหมายระหวางประเทศ หลักสิทธิมนุษยชน และการคุมครอง ผู้บริโภคตามที่องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศกําหนด รวมถึงการมีสวนรวมเป็นพื้นฐาน เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้ใชบริการให้ได้มากที่สุด การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การพัฒนากลไกการคุมครองผู้บริโภคให้ครอบคลุมตั้งแต่กอนเขารับบริการ ระหวางการรับบริการและหลังการรับบริการภายใตความสมดุลระหวางการคุมครองกับการแขงขัน ในอุตสาหกรรม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การมีกฎเกณฑดานการคุมครองผู้บริโภคที่ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้บริโภค ในอุตสาหกรรมการบิน เปาหมายที่ 2 การมีระบบการกํากับและดูแลดานการคุมครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ และสามารถจัดการประเด็นดานการคุมครองผู้บริโภคอยางสัมฤทธิ์ผล เปาหมายที่ 3 ผู้บริโภครับรูถึงสิทธิที่ได้รับการคมครองตามกฎหมายไทย และมีระบบ การสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผู้บริโภคกับภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและสอดคลองกับความคาดหวัง ของผู้บริโภค - กลยุทธ • ปรับปรุงกฎหมายทุกระดับให้สอดคลองกับการคุมครองผู้บริโภค • ปรับปรุงโครงสรางองคกรและกระบวนงานเพื่อรองรับการคุมครอง • สรางกลไกการดําเนินงานการจัดการเรื่องรองเรียน • การบูรณาการความรวมมือดานการคุมครองผู้บริโภคกับหนวยงานอื่น • จัดทําระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผู้บริโภคกับภาครัฐที่ทันสมัยและสะดวก ต่อการใชงาน • ให้ความรูเรื่องสิทธิและชองทางในกรณีเกิดขอพิพาทในการใชบริการ โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย การให้บริการที่คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน และการให้บริการที่ปรับให้เขากับสถานการณ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 25 นโยบายคุมครองสิทธิผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการบิน วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . กำ ร พั ฒ นำ ก ล ไ ก การคุมครองผู้บริโภคให้ ครอบคลุ ม ตั้ งแต่ ก อน เขารับบริการ ระหวางการรับ บริการและหลังการรับบริการ ภายใตความสมดุลระหวาง การคุมครองกับการแขงขัน ในอุตสาหกรรม (1) การให้บริการที่คํานึงถึง สิทธิมนุษยชน (2) การให้บริการที่ปรับให้เขา กับสถานการณ (1) การมีกฎเกณฑดานการคุมครองผู้บริโภค ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้บริโภคในอุตสาหกรรม การบิน จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) - มีกฎหมายที่ครอบคลุมผู้บริโภค ทุกกลุ่มในอุตสาหกรรมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) - ความพึงพอใจของผู้มีสวนได้เสียที่ สําคัญดานการคุมครองผู้บริโภคต่อ กฎเกณฑดานการคุมครองผู้บริโภค มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) (1) ปรั บปรุ งกฎหมายทุ กระดั บ ให้สอดคลองกับการคุมครองผู้บริโภค (2) ปรับปรุงโครงสรางองคกรและ กระบวนงานเพื่อรองรับการคุมครอง สิทธิ (3) สรางกลไกการดําเนินงาน การจัดการเรื่องเรียน ( 4) การบู รณาการความร วมมื อ ดานการคุมครองผู้บริโภคกับหนวยงานอื่น (5) จัดทําระบบการสื่อสารแลกเปลี่ยน ขอมูลระหวางผู้บริโภคกับภาครัฐ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใชงาน (6) ให้ความรูเรื่องสิทธิและชองทาง ใน กรณีเกิดขอพิพาทในการใชบริการ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. คค. (สปค. ) สคก. (2) การมีระบบการกํากับและดูแลดานการ คุมครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพและ สามารถจัดการประเด็นดานการคุมครอง ผู้บริโภคอยางสัมฤทธิ์ผล จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ความพึงพอใจของผู้มีสวนได้เ สีย ที่สําคัญดานการคุมครองผู้บริโภค ที่ มี ต อ ร ะ บ บ กำ ร กํำ กั บแ ล ะ ดูแ ล ดานการคุมครองผู้บริโภค มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ระยะสั้น กพท. - ระยะสั้น กพท. ผู้บริโภคใน อุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) สคก. สขค. สคบ. กสทช. (3) ผู้บริโภครับรูถึงสิทธิที่ได้รับการคุมครอง ตามกฎหมายไทย และมีระบบการสื่อสาร แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผู้บริโภคกับ ภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและสอดคลองกับ ความคาดหวังของผู้บริโภค จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) - ระดับการรับรูของผู้บริโภคที่มีต่อสิทธิ ที่ได้รับการคุมครองตามกฎหมายไทย มีกลยุทธรองรับ ( 5 ) ( 6 ) - อัตราสัมฤทธิ์ผลของการจัดการประเด็น รองเรียนดานการคุมครองผู้บริโภค มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 5 ) ระยะสั้น กพท. ผู้บริโภคใน อุตสาหกรรมการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้บริโภคใน อุตสาหกรรมการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 26 ( 2 ) นโยบายดานโครงสรางพื้นฐาน โครงสรางพื้นฐานของระบบการบินพลเรือน ประกอบไปด้วยโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ตั้งแต่ระบบ หวงอากาศและระบบการเดินอากาศ โครงสรางดานระบบทาอากาศยาน การดําเนินการขององคกรกํากับ และกฎหมาย การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมการบิน และการสงเสริมผู้ดําเนินการเดินอากาศและการบินทั่วไป ดังนั้น จึงได้กําหนดนโยบายเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของระบบการบินพลเรือนอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติครอบคลุมมิติที่สําคัญ ทั้งขีดความสามารถในการรองรับ ประสิทธิภาพ การดําเนินงาน คุณภาพการให้บริการ และการบูรณาการการพัฒนารวมกัน โดยมีนโยบายในเรื่องตาง ๆ ในการขับเคลื่อนนโยบายดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อให้บรรลุเปาหมาย ประกอบด้วย 5 นโยบาย ได้แก นโยบาย การพัฒนาระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ นโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยาน ของประเทศ นโยบายการพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมาย นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนสงทางอากาศ และอุตสาหกรรมการบิน และนโยบายการสงเสริมผู้ดําเนินการบิน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ( 2 . 1 ) นโยบายการพัฒนาระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ระบบหวงอากาศและระบบการเดินอากาศถือเป็นทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐานดานการบิน ที่สําคัญยิ่งของประเทศทั้งการบินพลเรือนและความมั่นคง จึงจําเป็นอยางยิ่งที่ต้องรักษาและพัฒนาระบบ หวงอากาศและระบบการเดินอากาศให้สามารถสรางทางเลือกและคุณคาให้กับสาธารณะได้อยางต่อเนื่อง และยั่งยืน ทั้งการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับและประสิทธิภาพการให้บริการให้กับสายการบินให้ สามารถขยายบริการผานการเพิ่มจํานวนเที่ยวบิน ลดความลาชาของเที่ยวบิน ชวยยกระดับการพัฒนาเครือขาย การเชื่อมโยงเสนทางการบินในระดับโลกซึ่งจะชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโต ดังนั้น จึงจําเป็นอยางยิ่งที่จะต้องมีการกําหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของระบบ หวงอากาศและระบบการเดินอากาศของประเทศให้สามารถรองรับปริมาณจราจรทางอากาศที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งในปจจุบันและอนาคต เพื่อให้เกิดความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และเป็นการเพิ่มศักยภาพในการเป็น ศูนยกลางดานการคมนาคมของภูมิภาคในอนาคต เพื่อให้การพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทยดําเนินไป อยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การพัฒนาความสามารถในการจัดสรรและจัดการหวงอากาศอยางทั่วถึงและคุมคา - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การใชหวงอากาศเพียงพอต่อความต้องการการใชงานของทุกกิจกรรมการบิน - กลยุทธ • กําหนดประเภทหวงอากาศและการใชหวงอากาศทุกประเภท และให้มีการประเมินผล การใชหวงอากาศ • จัดสรรและใชประโยชนหวงอากาศอยางคุมคาและสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ • สงเสริมกิจกรรมการบินที่มีความหลากหลายให้สามารถใชงานหวงอากาศได้โดยสะดวก และปลอดภัย • สรางชองทางการมีสวนรวมกับผู้มีสวนได้เสียในอุตสาหกรรมการบินในการพัฒนา และให้บริการการเดินอากาศ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 27 นโยบายที่ 2 การบูรณาการการพัฒนาระบบการเดินอากาศอยางเชื่อมโยง - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ระบบการเดินอากาศเพียงพอและไม่เป็นขอจํากัดในการเติบโต ของทุกประเภทกิจกรรมการบิน - กลยุทธ • กําหนดประเภทหวงอากาศและการใชหวงอากาศทุกประเภท และให้มีการประเมินผล การใชหวงอากาศ • จัดสรรและใชประโยชนหวงอากาศอยางคุมคาและสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ • สงเสริมกิจกรรมการบินที่มีความหลากหลายให้สามารถใชงานหวงอากาศได้โดยสะดวก และปลอดภัย • จัดทํา/ปรับปรุงและขับเคลื่อนแผนแมบทการพัฒนาระบบการเดินอากาศให้สอดคลองกับ แผนการเดินอากาศสากล (Global Air Navigation Plan: GANP ) รวมทั้งนโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยาน และนโยบายอื่นที่เกี่ยวของ • พัฒนาความรวมมือระหวางประเทศเพื่อความสอดคลองและสงเสริมเปาหมายการพัฒนา ระบบการเดินอากาศของประเทศและภูมิภาคให้เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับและประสิทธิภาพในการบริการ เดินอากาศอยางไรรอยต่อ • สรางชองทางการมีสวนรวมกับผู้มีสวนได้เสียในอุตสาหกรรมการบินในการพัฒนา และให้บริการการเดินอากาศ นโยบายที่ 3 การมุงเนนคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการการเดินอากาศในระดับชั้นนํา ของภูมิภาค - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 คุณภาพและประสิทธิภาพการบริการการเดินอากาศของประเทศเทียบเคียง ได้กับประเทศชั้นนําในภูมิภาคเอเชีย - กลยุทธ • จัดทํา/ปรับปรุงและขับเคลื่อนแผนแมบทการพัฒนาระบบการเดินอากาศให้สอดคลองกับ แผนการเดินอากาศสากล ( Global A ir Navigation P lan: GANP ) รวมทั้งนโยบายการพัฒนาระบบ ทาอากาศยานและนโยบายอื่นที่เกี่ยวของ • พัฒนาความรวมมือระหวางประเทศเพื่อความสอดคลองและสงเสริมเปาหมายการพัฒนา ระบบการเดินอากาศของประเทศและภูมิภาคให้เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับและประสิทธิภาพ ในการบริการเดินอากาศอยางไรรอยต่อ • สรางชองทางการมีสวนรวมกับผู้มีสวนได้เสียในอุตสาหกรรมการบินในการพัฒนา และให้บริการการเดินอากาศ • กําหนดเปาหมายและแผนงาน/มาตรการดานคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการให้ ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้ใชบริการ • สงเสริมให้เกิดการแขงขันอยางสรางสรรคในการพัฒนาการบริการและยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันให้เทียบเคียงได้กับผู้ดําเนินงานบริการการเดินอากาศชั้นนําในตางประเทศ • สงเสริมการใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับรูปแบบและลักษณะเฉพาะของการบริการ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 28 • ยกระดับขีดความสามารถในการรองรับ ประสิทธิภาพและคุณภาพการบริการการเดินอากาศ ทั้งระบบ โดยสงเสริมให้ผู้ใชบริการเลือกใชเทคโนโลยีที่สอดคลองกับระบบการเดินอากาศ (Best Equipped Best Served) แต่ไม่ละเลยกลุ่มผู้ใชบริการที่มีขอจํากัดในการใชเทคโนโลยีที่สอดคลองกับระบบการเดินอากาศ โดยยังคงได้ระดับคุณภาพบริการที่เหมาะสม • พัฒนาบริการการเดินอากาศอยางต่อเนื่องให้สอดคลองกับความต้องการและความคาดหวัง ของผู้ใชบริการ มุงเปาหมายสูการยกระดับการบริการการเดินอากาศในระดับชั้นนําของประเทศในภูมิภาคเอเชีย นโยบายที่ 4 การพัฒนาระบบหวงอากาศและระบบการเดินอากาศที่ยั่งยืน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่ลดลงจากการปรับปรุง/พัฒนาบริการการเดินอากาศ รวมกันของหนวยงานที่เกี่ยวของ - กลยุทธ • บูรณาการกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับกิจกรรม ในระบบหวงอากาศและระบบการเดินอากาศ • พัฒนาขีดความสามารถในการรองรับสภาวะวิกฤตของหนวยงานในระบบการเดินอากาศ ให้สามารถให้บริการได้อยางต่อเนื่องและเหมาะสม โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานสากลดานการบินพลเรือน การใชหวงอากาศรวมกัน การจัดสรรและใชงานหวงอากาศและบริการ การเดินอากาศดานการบินพลเรือน การพัฒนาเทคโนโลยีดานการบิน คุณภาพการบริการและประสิทธิภาพ การดําเนินงานการเดินอากาศ โดยมีการคํานึงถึงผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การบูรณาการการทํางานระหวาง หนวยงาน และความยั่งยืนของอุตสาหกรรม

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 29 นโยบายการพัฒนาระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศของประเทศ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . การพัฒนาความสามารถ ในการจัดสรรและจัดการ หวงอากาศอยางทั่วถึงและ คุมคา (1) มาตรฐานสากลดานการบิน พลเรือน (2) การใชหวงอากาศรวมกัน (3) การจั ดสรรและใช งาน ห ว ง อำ กำ ศ แ ล ะ บ ริ กำ ร การเดินอากาศดานการบิน พลเรือน (4) การพัฒนาเทคโนโลยีดาน การบิน (5) คุณภาพการบริการและ ประสิทธิภาพการดําเนินงาน การเดินอากาศ (6) ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (7) การบูรณาการการทํางาน ระหวางหนวยงาน (8) ความยั่งยืนของอุตสาหกรรม (1) การใชหวงอากาศเพียงพอ ต่อความต้องการการใชงานของ ทุกกิจกรรมการบิน จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) มีการจัดสรรพื้นที่หวงอากาศ สําหรับทุกกิจกรรมการบินใน ปริมาณที่สอดคลองกับอัตรา การเพิ่มขึ้นของการใชงาน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 6 ) (1 ) กําหนดประเภทหวงอากาศและการใช หวงอากาศทุกประเภท และให้มีการประเมินผล การใชหวงอากาศ (2) จัดสรรและใชประโยชนห ว ง อำ กำ ศ อยางคุมคาและสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ (3) สงเสริมกิจกรรมการบินที่มีความหลากหลาย ให้สามารถใชงานหวงอากาศได้โดยสะดวก และปลอดภัย (4 ) จัดทํา/ปรับปรุงและขับเคลื่อนแผนแมบท การพัฒนาระบบการเดินอากาศให้สอดคลองกับ แผนการเดินอากาศสากล (Global Air Navigation Plan: GANP ) รวมทั้งนโยบายการพัฒนาระบบ ทาอากาศยานและนโยบายอื่นที่เกี่ยวของ (5) พัฒนาความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อความสอดคลองและสงเสริมเปาหมาย การพัฒนาระบบการเดินอากาศของประเทศ และภูมิภาคให้เพิ่มขีดความสามารถในการ รองรับและประสิทธิภาพในการบริ การ เดินอากาศอยางไรรอยต่อ ระยะสั้น กพท. คค. (สปค. ) กห. กษ. ทส. ทย. ทอท. บวท. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา อินเตอร เนชั่นแนล เอวิเอชั่น ระยะสั้น บวท. ระยะสั้น กพท. 2 . การบูรณาการการพัฒนา ร ะ บ บ กำ ร เ ดิ น อำ กำ ศ อยางเชื่อมโยง (1) ร ะ บบกำ ร เ ดินอำ กำ ศ เพียงพอและไม่เป็นขอจํากัด ในการเติบโตของทุกประเภท กิจกรรมการบิน จากป ระเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ( 7 ) อัตราการใชประโยชนพื้นที่ หวงอากาศแต่ละประเภ ท กิจกรรมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ระยะสั้น กพท. บวท. กห. ระยะกลาง กต. บวท. กพท.

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 30 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 6 ) สรางชองทางการมีสวนรวม กับผู้มีสวนได้เสีย ในอุตสาหกรรมการบินในการพัฒนาและ ให้บริการการเดินอากาศ (7) กําหนดเปาหมายและแผนงาน/มาตรการ ดานคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการให้ ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของ ผู้ใชบริการ (8) สงเสริมให้เกิดการแขงขันอยางสรางสรรค ในการพัฒนาการบริการและยกระดับขีด ความสามารถในการแขงขันให้เทียบเคียงได้กับ ผู้ดําเนินงานบริการการเดินอากาศชั้นนํา ในตางประเทศ (9) สงเสริมการใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับ รูปแบบและลักษณะเฉพาะของการบริการ (10) ยกระดับขีดความสามารถในการรองรับ ประสิทธิภาพและคุณภาพการบริการการ เดินอากาศทั้งระบบโดยสงเสริมให้ผู้ใชบริการ เลือกใชเทคโนโลยีที่สอดคลองกับระบบการ เดินอากาศ (Best Equipped Best Served) แต่ ไม่ละเลยกลุ่มผู้ใชบริการที่มีขอจํากัดในการใช เทคโนโลยีที่สอดคลองกับระบบการเดินอากาศ โดยยังคงได้ระดับคุณภาพบริการที่เหมาะสม ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) สนข. ทย. ทอท. บวท. กห. กษ. ทส. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา อินเตอร เนชั่นแนลเอวิเอชั่น 3 . การมุงเนนคุณภาพและ ประสิทธิภาพการบริการ การเดินอากาศในระดับ ชั้นนําของภูมิภาค (1) คุณภาพและประสิทธิภาพ การบริการการเดินอากาศของ ปร ะ เ ทศเ ทีย บเ คีย ง ได้กั บ ประเทศชั้นนําในภูมิภาคเอเชีย จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 5 ) ระดับคาเปาหมายของตัวชี้วัด ห ลั ก ดำ น คุ ณ ภำ พ แ ล ะ ปร ะ สิ ทธิ ภำ พกำ ร บ ริ กำ ร เ ดิ น อำ กำ ศ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ป ร ะ เ ท ศ เปาหมาย มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) ( 8 ) ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) ระยะสั้น กพท. ทย. ทอท. บวท. กห. กษ. ทส. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา อินเตอร เนชั่นแนลเอวิเอชั่น ระยะกลาง กพท. บวท. ผู้ประกอบการสนามบิน ระยะกลาง บวท. คค. (สปค. ) กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ระยะสั้น บวท. คค. (สปค.) กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบกิจการอื่น ที่ใชบริการหวงอากาศ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 31 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 11 ) พัฒนาบริการการเดินอากาศอยางต่อเนื่อง ให้สอดคลองกับความต้องการและความ คาดหวังของผู้ใชบริการ มุงเปาหมายสูการ ยกระดับการบริการการเดินอากาศในระดับ ชั้นนําของประเทศในภูมิภาคเอเชีย (12) บูรณาการกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับ กิ จกรรมในระบบห วงอากาศแ ล ะ ร ะ บ บ การเดินอากาศ (13) พัฒนาขีดความสามารถในการรองรับ ส ภำ ว ะ วิ ก ฤ ต ข อ ง ห น ว ย งำ น ใ น ร ะ บ บ การเดินอากาศให้สามารถให้บริการได้ อยางต่อเนื่องและเหมาะสม ระยะกลาง บวท. กพท. 4 . การพัฒนาระบบหวงอากาศ และระบบการเดินอากาศ ที่ยั่งยืน (1) ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่ ลดลงจากการปรับปรุง/พัฒนา บริการการเดินอากาศรวมกัน ของหนวยงานที่เกี่ยวของ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 6 ) ( 8 ) ระดับประสิทธิภาพในการใช พลังงานของเที่ยวบินสูงขึ้น จากผลการปรับปรุงพัฒนา บริการการเดินอากาศ มีกลยุทธรองรับ ( 12 ) ( 13 ) ระยะสั้น บวท. ผู้ประกอบการสนามบิน ผู้ประกอบการสายการบิน ภาคเอกชน กพท. ระยะสั้น บวท. กพท. กห. ผู้ใชบริการในหวงอากาศ หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 32 ( 2 . 2 ) นโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยานของประเทศ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ทาอากาศยานเป็นโครงสรางพื้นฐานดานการบินที่มีบทบาทสําคัญยิ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยเฉพาะทาอากาศยานพาณิชยที่รองรับกิจกรรมการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชย คุณภาพ ของโครงสรางพื้นฐานและการดําเนินงานทาอากาศยานพาณิชยถือได้วาเป็นองคประกอบที่สําคัญสําหรับโครงขาย การคมนาคมขนสงที่สงผลโดยตรงต่อขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ดังนั้น ในการพัฒนาระบบ ทาอากาศยานจึงควรพัฒนาให้ครอบคลุมมิติที่สําคัญทั้งขีดความสามารถในการรองรับ ประสิทธิภาพ การดําเนินงาน คุณภาพการให้บริการ มาตรฐานดานความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม รวมถึงการบูรณาการการพัฒนารวมกับระบบหวงอากาศและการเดินอากาศ ระบบการเขาถึงทาอากาศยาน พาณิชย และแผนการใชประโยชนที่ดิน ทั้งนี้ นอกจากทาอากาศยานพาณิชยแล้ว ยังมีทาอากาศยานรูปแบบอื่น ๆ ที่มีบทบาทที่สําคัญ ในการรองรับกิจกรรมการบินที่หลากหลาย รวมถึงเทคโนโลยีอากาศยานสมัยใหมที่กําลังพัฒนาอยางรวดเร็ว ในประเทศชั้นนําทั่วโลก ซึ่งประเทศไทยต้องอาศัยโอกาสเหลานี้ ทั้งจากการใชประโยชนและรวมพัฒนา เทคโนโลยีการบินแห่งอนาคตเพื่อเพิ่มผลประโยชนทางเศรษฐกิจ การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบทาอากาศยานเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนสังคม และชุมชนในพื้นที่ให้มีความเขมแข็ง - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การมีขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร สินคา และเที่ยวบินของ ทาอากาศยานที่สอดคลองกับปริมาณการใชงาน เปาหมายที่ 2 การเพิ่มประโยชนจากการใชทาอากาศยานทุกประเภทต่อเศรษฐกิจและสังคม เปาหมายที่ 3 มูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและการจางงานจากการดําเนินงานทาอากาศยานพาณิชย - กลยุทธ • พัฒนาโครงสรางพื้นฐานตลอดจนบริการเกี่ยวเนื่อง เพื่อรองรับการใชงานอากาศยานประเภทใหม เชน อากาศยานที่ใชระบบขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟา และอากาศยานที่ใชเชื้อเพลิงการบินที่ยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel: SAF) • ทบทวน กําหนดประเภท บทบาท มาตรฐาน ความเป็นเจ้าของ แนวทางการพัฒนา และการดําเนินงานทาอากาศยานให้สอดคลองกับความต้องการและนโยบายการพัฒนาระดับประเทศ • สงเสริมการพัฒนาระบบนิเวศทาอากาศยานที่เอื้อต่อการดําเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม • สงเสริมการใชประโยชนทาอากาศยานรูปแบบตาง ๆ ที่หลากหลาย • ดําเนินการติดตามและประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของทาอากาศยาน • กําหนดมาตรการในการบูรณาการการพัฒนาและการดําเนินงานทาอากาศยานเขากับ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการดําเนินงานโครงสรางที่เกี่ยวของกับการเขาถึงทาอากาศยาน ระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศ • จัดการการจัดสรรเวลาเที่ยวบินให้สอดคลองกับปริมาณความต้องการและขีดความสามารถ ในการรองรับของทาอากาศยาน หวงอากาศและระบบบริการการเดินอากาศ • วางแผนการใชประโยชนที่ดินโดยรอบทาอากาศยานอยางบูรณาการ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 33 นโยบายที่ 2 การบูรณาการและการมีสวนรวมอยางแทจริงในการพัฒนาและดําเนินงาน ทาอากาศยาน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ความสมดุลของขีดความสามารถในการรองรับของระบบโครงสรางพื้นฐาน และการดําเนินงานหลักที่เกี่ยวของกับทาอากาศยาน เปาหมายที่ 2 การยอมรับและความรูสึกเป็นเจ้าของทาอากาศยานในพื้นที่ - กลยุทธ • กําหนดมาตรการในการบูรณาการการพัฒนาและการดําเนินงานทาอากาศยานเขากับ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการดําเนินงานโครงสรางที่เกี่ยวของกับการเขาถึงทาอากาศยาน ระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศ • จัดการการจัดสรรเวลาเที่ยวบินให้สอดคลองกับปริมาณความต้องการและขีดความสามารถ ในการรองรับของทาอากาศยาน หวงอากาศและระบบบริการการเดินอากาศ • วางแผนการใชประโยชนที่ดินโดยรอบทาอากาศยานอยางบูรณาการ • ประเมินผลความพึงพอใจกลุ่มผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญและผู้ใชบริการทาอากาศยาน • เพิ่มระดับการมีสวนรวมอยางสรางสรรคและมีนัยสําคัญของภาคสวนทองถิ่นที่เป็นที่ตั้ง ของทาอากาศยาน • เผยแพรแผนพัฒนาสนามบินแกสาธารณะผานชองทางที่สามารถเขาถึงได้โดยสะดวก • กําหนดและใชกลไกการมีสวนรวมให้เกิดประโยชนกับการพัฒนาและการดําเนินงาน ของทาอากาศยาน นโยบายที่ 3 การพัฒนาให้เกิดระบบทาอากาศยานอัจฉริยะที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของประชาชน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 คุณภาพและประสิทธิภาพการดําเนินงานทาอากาศยานของประเทศ เป็นที่ยอมรับและได้รับการชื่นชมจากผู้ใชบริการ เปาหมายที่ 2 ทาอากาศยานของประเทศมีขีดความสามารถในการแขงขันและเป็นที่ยอมรับ ระดับชั้นนําในภูมิภาคเอเชีย - กลยุทธ • พัฒนาโครงสรางพื้นฐานตลอดจนบริการเกี่ยวเนื่องเพื่อรองรับการใชงานอากาศยานประเภทใหม เชน อากาศยานที่ใชระบบขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟา และอากาศยานที่ใชเชื้อเพลิงการบินที่ยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel: SAF) • ทบทวน กําหนดประเภท บทบาท มาตรฐาน ความเป็นเจ้าของ แนวทางการพัฒนา และการดําเนินงานทาอากาศยานให้สอดคลองกับความต้องการและนโยบายการพัฒนาระดับประเทศ • สงเสริมการพัฒนาระบบนิเวศทาอากาศยานที่เอื้อต่อการดําเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม • สงเสริมการใชประโยชนทาอากาศยานรูปแบบตาง ๆ ที่หลากหลาย • ประเมินผลความพึงพอใจกลุ่มผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญและผู้ใชบริการทาอากาศยาน • เพิ่มระดับการมีสวนรวมอยางสรางสรรคและมีนัยสําคัญของภาคสวนทองถิ่นที่เป็นที่ตั้ง ของทาอากาศยาน • เผยแพรแผนพัฒนาสนามบินแกสาธารณะผานชองทางที่สามารถเขาถึงได้โดยสะดวก

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 34 • กําหนดและใชกลไกการมีสวนรวมให้เกิดประโยชนกับการพัฒนาและการดําเนินงาน ของทาอากาศยาน • พัฒนา บังคับใช และปรับปรุงระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจกิจการสนามบินสาธารณะ อยางต่อเนื่อง • เพิ่มขีดความสามารถในการดําเนินงานและการแขงขันของทาอากาศยาน • ยกระดับขีดความสามารถการแขงขันเทียบเคียงทาอากาศยานชั้นนําในตางประเทศ • แลกเปลี่ยนและใชประโยชนขอมูลสารสนเทศและทรัพยากรที่สําคัญเพื่อประโยชน สาธารณะ นโยบายที่ 4 การมุงพัฒนาระบบทาอากาศยานที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับทุกชีวิต - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอมที่ลดลงจากการดําเนินงานทาอากาศยาน โดยการบูรณาการความรวมมือของหนวยงานที่เกี่ยวของ - กลยุทธ • กําหนดบทบาท ความรับผิดชอบและกลไกการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการจัดการดานสิ่งแวดลอมให้ชัดเจน • เผยแพรขอมูลที่เป็นประโยชนต่อสาธารณะในการสรางความตระหนักรูดานผลกระทบ ทางสิ่งแวดลอม • กําหนดมาตรการให้ผู้ประกอบการทาอากาศยานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินงาน ตามแนวทางที่สอดคลองกับแนวปฏิบัติสากลดานการจัดการสิ่งแวดลอม • พัฒนาขีดความสามารถในการรองรับสภาวะวิกฤตให้สามารถให้บริการได้อยางต่อเนื่อง และเหมาะสม โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย การเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับของระบบทาอากาศยาน การมีสวนรวมในการพัฒนาและการเพิ่มมูลคา ทางเศรษฐกิจ การกําหนดประเภทและการใชประโยชนทาอากาศยานเพื่อตอบสนองทุกกิจกรรม การบูรณาการ การพัฒนาและดําเนินงานทาอากาศยาน คุณภาพการบริการและประสิทธิภาพการดําเนินงานทาอากาศยาน การกําหนดบทบาทและยุทธศาสตรการพัฒนาทาอากาศยาน ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การพัฒนาศักยภาพ ทาอากาศยาน ทาอากาศยานที่ชาญฉลาด (Smart Airport) และความยั่งยืนของอุตสาหกรรม

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 35 นโยบายการพัฒนาระบบทาอากาศยานของประเทศ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . กำ ร พั ฒ นำ ร ะ บ บ ทาอากาศยานเพื่อสงเสริม เศรษฐกิจและสนับสนุนสังคม และชุมชนในพื้นที่ให้มีความ เขมแข็ง (1) การเพิ่มขีดความสามารถ ในการรองรับของระบบ ทาอากาศยาน (2) การมีสวนรวมในการพัฒนา และการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ (3) การกําหนดประเภท แ ล ะ กำ ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ทาอากาศยานเพื่อตอบสนอง ทุกกิจกรรม (4) การบูรณาการการพัฒนา และดําเนินงานทาอากาศยาน (5) คุณภาพการบริการและ ประสิทธิภาพการดําเนิน งานทาอากาศยาน (6) การกําหนดบทบาทและ ยุ ท ธ ศำ ส ต ร กำ ร พั ฒ นำ ทาอากาศยาน (7 ) ผ ล ก ร ะ ท บ ดำ น สิ่งแวดลอม (8) การพัฒนาศักยภาพ ทาอากาศยาน (1) การมีขีดความสามารถในการ รองรับผู้โดยสาร สินคา และ เที่ยวบินของทาอากาศยานที่ สอดคลองกับปริมาณการใชงาน จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) อัตราสวนปริมาณการใชงาน ต่อขีดความสามารถในการ รองรับในชั่วโมงเรงดวน ระดับผลกระทบทางเศรษฐกิจ และปริมาณการจางงานจาก กิจการทากาศยาน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4) ( 6) ( 7) ( 1 ) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานตลอดจน บริการเกี่ยวเนื่องเพื่อรองรับการใชงาน อากาศยานประเภทใหม เชน อากาศยานที่ ใชระบบขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟา และ อากาศยานที่ใชเชื้อเพลิงการบินที่ยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel: SAF) (2) ทบทวน กําหนดประเภท บทบาท มาตรฐาน ความเป็นเจ้าของ แนวทางการ พัฒนาและการดําเนินงานทาอากาศยาน ให้สอดคลองกับความต้องการแ ล ะ นโยบายการพัฒนาระดับประเทศ (3) สงเสริมการพัฒนาระบบนิเวศ ทาอากาศยานที่เอื้อต่อการดําเนินธุรกิจ ของผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมยุคใหม (4 ) สงเสริมการใชประโยชนทาอากาศยาน รูปแบบตาง ๆ ที่หลากหลาย (5) ดําเนินการติดตามและประเมินผล กระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของ ทาอากาศยาน ระยะสั้น กพท. กห. DES สนข. ทย. ทอท. บวท. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภาฯ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ สายการบิน (2) การเพิ่มประโยชนจากการใช ทาอากาศยานทุกประเภทต่อ เศรษฐกิจและสังคม จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 3 ) อั ต รำ กำ ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ทาอากาศยาน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) ( 8 ) ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) กห. DES สนข. ทย. ทอท. บวท. สสว. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ผู้ประกอบการ สายการบิน ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ภาคเอกชน (3) มูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและ การจางงานจากการดําเนินงาน ทาอากาศยานพาณิชย จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) ระดับผลกระทบทางเศรษฐกิจ และปริมาณการจางงานจากกิจการ ทาอากาศยาน มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) ( 8 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 36 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 2 . กำ ร บู ร ณำ กำ ร แ ล ะ การมีสวนรวมอยางแทจริงใน การพัฒนาและดําเนินงาน ทาอากาศยาน ( 9 ) ทาอากาศยานที่ชาญ ฉลาด (Smart Airport) (1 0 ) ค วำ ม ยั่ ง ยื น ข อ ง อุตสาหกรรม (1 ) ค วำ ม ส ม ดุ ล ข อ ง ขี ด ความสามารถในการรองรับ ของระบบโครงสรางพื้นฐาน และการดํำเนิ นงานหลั กที่ เกี่ยวของกับทาอากาศยาน จากประเด็นนเชิงโยบาย ( 4 ) ( 6 ) ความลาชา และ/หรือ ความ หนาแนนของปริมาณการใชงาน ของเที่ยวบิน ผู้โดยสาร สินคา และไปรษณียภัณฑ มีกลยุทธรองรับ ( 6 ) ( 7 ) ( 8 ) (6) กําหนดมาตรการในการบูรณาการ การพัฒนาและการดําเนินงานทาอากาศยาน เขากับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการดําเนินงานโครงสรางที่เกี่ยวของกับ การเขาถึงทาอากาศยาน ระบบหวงอากาศ และการเดินอากาศ (7) จัดการการจัดสรรเวลาเที่ยวบินให้ สอดคลองกับปริมาณความต้องการและ ขีดความสามารถในการรองรั บข อง ทาอากาศยาน หวงอากาศและระบบ บริการการเดินอากาศ (8 ) วางแผนการใชประโยชนที่ดิน โดยรอบทาอากาศยานอยางบูรณาการ (9) ประเมินผลความพึงพอใจกลุ่ม ผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญและผู้ใชบริการ ทาอากาศยาน (10) เพิ่มระดับการมีสวนรวมอยาง สรางสรรคและมีนัยสําคัญของภาคสวน ทองถิ่นที่เป็นที่ตั้งของทาอากาศยาน (11) เผยแพรแผนพัฒนาสนามบิน แกสาธารณะผานชองทางที่สามารถเขาถึง ได้โดยสะดวก ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) กห. DES สนข. ทย. ทอท. บวท. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. บวท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ผู้ประกอบการ สายการบิน ระยะสั้น ผู้ประกอบการ ทาอากาศยาน กพท. ภาคเอกชน กรมโยธาธิการและ ผังเมือง (2) การยอมรับและความรูสึก เป็นเจ้าของทาอากาศยานในพื้นที่ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) ร ะ ดั บ ค วำ ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น การมีสวนรวมของภาคส วนที่ เกี่ยวของ มีกลยุทธรองรับ ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) ( 12 ) ระยะสั้น ผู้ประกอบการ ทาอากาศยาน กพท. ผู้มีสวนได้เสียและ ผู้ใชทาอากาศยาน ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน สํานักงานจังหวัด ภาคเอกชน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ผู้มีสวนได้เสีย ในอุตสาหกรรม การบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 37 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม ( 12 ) กําหนดและใชกลไกการมีสวนรวม ให้เกิดประโยชนกับการพัฒนาและ การดําเนินงานของทาอากาศยาน (13) พัฒนา บังคับใช และปรับปรุง ระบบการกํากับดูแลทางเศรษฐกิจ กิจการสนามบินสาธารณะ อยางต่อเนื่อง (14 ) เพิ่มขีดความสามารถในการดําเนินงาน และการแขงขันของทาอากาศยาน (15) ยกระดับขีดความสามารถการแขงขัน เที ยบเคี ยงทำอากาศยานชั้ นนํำใน ตางประเทศ (16) แลกเปลี่ยนและใชประโยชนขอมูล สารสนเทศและทรัพยากรที่สําคัญ เพื่อประโยชนสาธารณะ (17 ) กําหนดบทบาท ความรับผิดชอบและ กลไกการดําเนินงานของหนวยงานที่ เกี่ยวของในการจัดการดานสิ่งแวดลอมให้ ชัดเจน ระยะสั้น กพท. กห. DES สนข. ทย. ทอท. บวท. บมจ. การบินกรุงเทพ บจก. อูตะเภา ภาคเอกชน 3 . การพัฒนาให้เกิดระบบ ทาอากาศยานอัจฉริยะที่มี คุณภาพและประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ( 1 ) คุณภาพและประสิทธิภาพ การดําเนินงานทาอากาศยาน ของประเทศเป็นที่ยอมรับและ ได้รับการชื่นชมจากผู้ใชบริการ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 5 ) ( 1 ) ระดับความพึงพอใจของ ผู้ใชบริการ มีกลยุทธรองรับ ( 9 ) ( 10 ) ( 11 ) ( 12 ) ( 13 ) ( 16 ) (2) ผลการจัดอันดับทาอากาศยาน ของประเทศไทยในระดับนานาชาติ มีกลยุทธรองรับ ( 13 ) ( 14 ) ( 15 ) ( 16 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน คค. (สปค.) สนข. กพท. ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน คค. (สปค.) สนข. กพท. ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน คค. (สปค) กพท. สํานักงานจังหวัด กรมโยธาธิการและ ผังเมือง (2) ทาอากาศยานของประเทศมี ขีดความสามารถในการแขงขัน และเป็นที่ยอมรับระดับชั้นนํา ในภูมิภาคเอเชีย จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 8 ) ( 9 ) อันดับขีดความสามารถในการ แขงขันของโครงสรางพื้นฐาน ดานการเดินทางทางอากาศ มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 14 ) ( 15 ) ระยะสั้น กพท. สนข. บวท. สผ. ผู้ประกอบการ สนามบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 38 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 4 . กำ ร มุ ง พั ฒ นำ ร ะ บ บ ทาอากาศยานที่ยั่งยืนและเป็น มิตรกับทุกชีวิต ( 1 ) ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม ที่ ล ด ล ง จำ ก การดําเนินงาน ทาอากาศยาน โดยการบูรณาการ ความรวมมือของหนวยงานที่ เกี่ยวของ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 7 ) ( 10 ) (1 ) ร ะ ดั บ สั ม ฤ ท ธิ์ ผ ล ตำ ม แผนงาน/โครงการ/มาตรการ ระหวางหนวยงาน มีกลยุทธรองรับ ( 17 ) (2) สนามบินมีขอมูลแผนที่ เสนเทียบเทาระดับเสียง (noise contour) ในแต่ละระยะการ พัฒนา และเผยแพรแกสาธารณะ มีกลยุทธรองรับ ( 18 ) ( 19 ) (3) ระดับประสิทธิภาพในการใช พลังงานภายในทาอากาศยาน สูงขึ้นจากผลการปรับปรุงพัฒนา ข อ ง ผู้ ดํา เ นินงำ นส นา มบิน สาธารณะผู้ประกอบการและ ผู้ดําเนินงานในทาอากาศยาน มีกลยุทธรองรับ ( 18 ) ( 19 ) ( 20 ) (18 ) เผยแพรขอมูลที่เป็นประโยชนต่อ สาธารณะในการสรางความตระหนักรู ดานผลกระทบทางสิ่งแวดลอม (19 ) กําหนดมาตรการให้ผู้ประกอบการ ทำ อำ กำ ศ ยำ น ร ว ม กั บ ห น ว ย งำ น ที่เกี่ยวของดําเนินงานตามแนวทาง ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ น ว ป ฏิ บั ติ สำ ก ล ดานการจัดการสิ่งแวดลอม (20 ) พัฒนาขีดความสามารถในการ รองรับสภาวะวิกฤตให้สามารถให้บริการ ได้อยางต่อเนื่องและเหมาะสม ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน สนข. กพท. สผ. ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ สนามบิน ผู้ประกอบการ สายการบิน บวท. ระยะสั้น ผู้ประกอบการ สนามบิน กพท. ผู้ประกอบการ สายการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 39 ( 2 . 3 ) นโยบายการพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมาย บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ อุตสาหกรรมการบินเป็นอุตสาหกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมอยางรวดเร็ว และมีแนวทางในการกํากับดูแลทั้งดานความปลอดภัยและดานเศรษฐกิจที่เป็นมาตรฐานสากลต้องปฏิบัติตาม ดังนั้น องคกรการกํากับและกฎหมายในฐานะกลไกขับเคลื่อน กํากับ และกําหนดทิศทางของนโยบายการบิน พลเรือนของประเทศให้สามารถเติบโตอยางยั่งยืนและมีขีดความสามารถในการแขงขันทัดเทียมนานาอารยะ ประเทศ จึงต้องดําเนินงานอยางชาญฉลาด (Smart R egulator, Smart R egulation) และสามารถดําเนินการได้ อยางเป็นอิสระภายใตกฎหมายและกฎเกณฑกํากับกิจการการบินที่มีเนื้อหายืดหยุนพรอมปรับตัวไปกับเทคโนโลยี การบินและกิจกรรมทางอากาศของยุคสมัย ขณะเดียวกันยังคงดํารงรักษามาตรฐานความปลอดภัยและ ความสมควรในการเดินอากาศไวได้อยางเหมาะสมสอดคลองกับหลักสากลและความผูกพันตามพันธกรณีระหวาง ประเทศ ซึ่งที่ผานมาถึงแมวาประเทศไทยได้มีการจัดตั้งองคกรการกํากับและกฎหมายขึ้นมาเป็นการเฉพาะ เพื่อให้หนวยงานมีความเป็นอิสระแล้ว แต่ในทางปฏิบัติหนวยงานยังคงมีความอิสระไม่เพียงพอและกฎหมาย ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สําคัญยังมีขอจํากัดหลายดานที่กอให้เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการบิน ดังนั้น การพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมายจะต้องดําเนินการอยางเป็นรูปธรรม รองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อยางรวดเร็วของอุตสาหกรรมการบินและวิกฤตการณในกิจการการบินของประเทศ รวมทั้งคํานึงถึงการสงเสริม และลดอุปสรรคต่อการพัฒนาของอุตสาหกรรมการบินของประเทศได้ยั่งยืนอีกด้วย การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การมีระบบและองคกรกํากับที่มีทรัพยากรที่เพียงพอ มีความสามารถในการ รองรับการเปลี่ยนแปลง มีความโปรงใส และมีความเป็นอิสระในการดําเนินการตามมาตรฐานสากล ได้อยางมีประสิทธิภาพ - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การมีองคกรกํากับที่มีเอกภาพ อิสระ และมีความคลองตัว เปาหมายที่ 2 การมีองคกรกํากับที่มีหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง มีหลัก นิติธรรม โปรงใส ยึดหลักคุณธรรมและการมีสวนรวม มีความรับผิดชอบและให้ความสําคัญกับความคุมคา เปาหมายที่ 3 การมีองคกรกํากับที่มีความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากร มีเงินทุน เพียงพอต่อการดําเนินงานตามภารกิจและสามารถรองรับสถานการณวิกฤตหรือการเปลี่ยนแปลง เปาหมายที่ 4 บุคลากรขององคกรกํากับทํางานแบบมืออาชีพ มีการพัฒนาความรู สม่ําเสมอ ปรับตัวได้ดีกับทุกสถานการณ - กลยุทธ • ทบทวน จัดลําดับความสําคัญและปรับปรุงกฎหมายการจัดตั้งองคกรให้มีความเป็นอิสระ และมีความคลองตัว • จัดทําแผนดําเนินงานและปรับปรุงแผนพัฒนาองคกรกํากับสูความเป็นเลิศ • จัดทําแผนแมบทการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและทรัพยากรที่สําคัญ • พัฒนากฎหมายให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • พัฒนาการมีสวนรวมและสรางความรวมมือกับผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญในอุตสาหกรรมการบิน • จัดให้มีระบบประเมินผลกระทบของการใชกฎหมายต่ออุตสาหกรรมการบินและผู้ใชบริการ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 40 นโยบายที่ 2 การมีกฎหมายที่สามารถสรางผลลัพธได้ตามเปาหมายเชิงนโยบายดานการบิน พลเรือน สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคลองกับสภาพการณที่เปลี่ยนแปลงได้อยางคลองตัวและทันทวงที - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 กฎหมายที่มีความชัดเจนและสงเสริมในอุตสาหกรรมการบินและทันต่อ การเปลี่ยนแปลง เปาหมายที่ 2 กระบวนการในการออก/ปรับปรุงกฎหมายมีความคลองตัว เปาหมายที่ 3 การบังคับใชกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ทั่วถึง และเป็นธรรม - กลยุทธ • ทบทวน จัดลําดับความสําคัญและปรับปรุงกฎหมายให้มีความสอดคลองกับมาตรฐานสากล เหมาะสมให้ปฏิบัติได้ • พัฒนากฎหมายให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลง ในอนาคต • พัฒนาการมีสวนรวมและสรางความรวมมือกับผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญในอุตสาหกรรมการบิน • จัดให้มีระบบประเมินผลกระทบของการใชกฎหมายต่ออุตสาหกรรมการบินและผู้ใชบริการ โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ประกอบด้วย ความเป็นอิสระตามหลักการที่เป็นมาตรฐานสากล ลดอุปสรรคที่มีผลกระทบกับการพัฒนาอุตสาหกรรม และการพัฒนาอุตสาหกรรมให้มีความยั่งยืน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 41 นโยบายการพัฒนาองคกรกํากับและกฎหมาย วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1. การมีระบบและองคกร กํำกั บที่ มี ทรั พยากรที่ เพียงพอมีความสามารถ ใ น กำ ร ร อ ง รั บ กำ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง มี ค วำม โป ร งใ ส แ ล ะ มีความเป็นอิสระในการ ดํำ เ นิ น กำ ร ตำ ม มาตรฐานสากลได้อยางมี ประสิทธิภาพ 1. ควา มเ ป นอิ สร ะ ตาม หลักการที่เป็นมาตรฐานสากล 2. ลดอุปสรรคที่มีผลกระทบ กับการพัฒนาอุตสาหกรรม 3. การพัฒนาอุตสาหกรรม ให้มีความยั่งยืน 1. การมีองคกรกํากับที่มีเอกภาพ อิสระ และมีความคลองตัว มาจากประเด็นนโยบาย ( 1 ) 1. มีกฎหมายที่เอื้อให้องคกร มีความเป็นอิสระมากขึ้น มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 5 ) (1 ) ทบทวน จัดลําดับความสําคัญและ ปรับปรุงกฎหมายการจัดตั้งองคกรให้มี ความเป็นอิสระและมีความคลองตัว (2) จัดทําแผนดําเนินงานและปรับปรุง แผนพัฒนาองคกรกํากับสูความเป็นเลิศ (3) จัดทําแผนแมบทการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานและทรัพยากรที่สําคัญ (4) ทบทวน จัดลําดับความสําคัญและ ปรับปรุงกฎหมายให้มีความสอดคลองกับ มาตรฐานสากลเหมาะสมให้ปฏิบัติได้ (5 ) พั ฒ นำ ก ฎ ห มำ ย ใ ห ร อ ง รั บ กั บ การเปลี่ยนแปลงในอนาคต (6 ) พั ฒ นำ กำ ร มี ส ว น ร ว ม แ ล ะ ส รำ ง ความรวมมือกับผู้มีสวนได้เสียที่สําคัญ ในอุตสาหกรรมการบิน (7 ) จัดให้มีระบบประเมินผลกระทบของ การใชกฎหมายต่ออุตสาหกรรมการบินและ ผู้ใชบริการ ระยะสั้น กพท. สคก. คค. (กม.) 2. การมีองคกรกํากับที่มีหลัก ธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง มีหลักนิติธรรม โปรงใส ยึดหลักคุณธรรมและการมีสวนรวม มีความรับผิดชอบและให้ความสําคัญ กับความคุมคา มาจากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) 1. มีความรวมมือเกิดขึ้นใน อุตสาหกรรมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 6 ) ( 7 ) ระยะสั้น กพท. - 2. ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการ การมีสวนรวมของผู้มีสวนได้เสีย ภายนอกต่ออุตสาหกรรมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 6 ) ระยะสั้น กพท. - 3. ระดับการประเมินผลคุณธรรม และความโปรงใส (ITA) มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ( 7 ) ระยะสั้น กพท. สคก. คค. (กม.) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 4. ความสําเร็จขององคกร TQA หรือ Awards ตาง ๆ มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) 3 . กำ ร มี อ ง ค ก ร กํำ กั บ ที่ มี ความสามารถในการบริหารจัดการ ทรัพยากร มีเงินทุนเพียงพอต่อการ ดําเนินงานตามภารกิจและสามารถ รองรับสถานการณ วิ กฤ ตหรื อ การเปลี่ยนแปลง มาจากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) 1. ระยะเวลาในการดําเนินการ เป็นไปตามที่กําหนด มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 2. มีระบบเทคโนโลยีที่นํามาใช ในการบริหารจัดการ มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 3. มีผู้นําที่สามารถบริหารการ เปลี่ยนแปลงและมีบุคลากรดาน การกํากับดูแลที่เพียงพอและมี มาตรฐาน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ระยะยาว กพท. สคก. คค. (กม.) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 42 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 4 . บุคลากรขององคกรกํากับ ทํางานแบบมืออาชีพ มีการพัฒนา ความรูสม่ําเสมอ ปรับตัวได้ดีกับ ทุกสถานการณ มาจากประเด็นนโยบาย ( 2 ) ( 3 ) บุคลากรดานการกํากับดูแล มี คุ ณ ส ม บั ติ ตำ ม ป ร ะ ม ว ล จรรยาบรรณผู้ตรวจสอบดานการบิน (Aviation Inspector Code of Conducts) มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) 2 . กำ ร มี ก ฎ ห มำ ย ที่ สามารถสรางผลลัพธได้ ตามเปาหมายเชิงนโยบาย ดำ น กำ ร บิ น พ ล เรื อ น สามารถปรับเปลี่ยนให้ สอดคลองกับสภาพการณ ที่เปลี่ยนแปลงได้อยาง คลองตัวและทันทวงที 1. กฎหมายที่มีความชัดเจนและ สงเสริมในอุตสาหกรรมการบิน และทันต่อการเปลี่ยนแปลง มาจากประเด็นนโยบาย ( 2 ) ( 3 ) 1. มีกฎหมายที่สอดคลองกับ มาตรฐานสากลและเปาหมาย เชิงนโยบายการบินพลเรือนของ ประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 7 ) 2. กระบวนการในการออก/ ปรับปรุงกฎหมายมีความคลองตัว มาจากประเด็นนโยบาย ( 2 ) ( 3 ) 1. ร ะ ย ะ เ ว ลำ ใ น กำ ร แ ก ไข ก ฎ ห มำ ย ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ การเปลี่ยนแปลง มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) 2. ความพึงพอใจของผู้มีสวนได้เสีย ภายนอกต่ออุตสาหกรรมการบินที่มี ต่อความสําเร็จดานการพัฒนา กฎหมายการบินพลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) 3. การบังคับใชกฎหมายที่มี ประสิทธิภาพ ทั่วถึงและเป็นธรรม มาจากประเด็นนโยบาย ( 2 ) 1. จํานวนขอรองเรียนของผู้มีสวน ได้เสียในอุตสาหกรรมการบิน ที่เกี่ยวของกับกฎหมาย/การกํากับ ดูแล มีกลยุทธรองรับ ( 5 ) ( 6 ) ( 7 ) หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 43 ( 2 . 4 ) นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนสงทางอากาศและอุตสาหกรรมการบิน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ บุคลากรเป็นปจจัยสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จของอุตสาหกรรม ซึ่งความหมายของบุคลากร ครอบคลุมทั้งกําลังแรงงานที่เพิ่งเขาสูตลาดและแรงงานที่มีอยู่ในอุตสาหกรรมการในปจจุบัน รวมถึงแรงงานใหม ที่จะปอนเขาสูอุตสาหกรรมในอนาคต เนื่องด้วยการพัฒนาบุคลากรใชตนทุนคอนขางสูงและต้องการพัฒนา อยางต่อเนื่องเพื่อให้มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน อีกทั้งที่ผานมาประเทศไทยยังขาดการสรางความตระหนักรู เกี่ยวกับสาขาอาชีพและเสนทางการพัฒนาที่หลากหลายในอุตสาหกรรมในระดับที่เหมาะสม สงผลให้อุตสาหกรรม การบินของไทยประสบปญหาความไม่สมดุลของความต้องการและความสามารถในการผลิตบุคลากร ดังนั้น ความทาทายของการพัฒนาบุคลากรจึงต้องเริ่มตั้งแต่การผลิต ซึ่งสถาบันการศึกษาและฝกอบรมตาง ๆ ต้องได้รับ มาตรฐานในระดับสากลและเพียงพอทุกสาขา รวมถึงการผลักดันงานวิจัยและสรางนวัตกรรมดานการบินเชิงบูรณาการ เพื่อสนองตอบความต้องการของสังคมและเทาทันประชาคมโลก นอกจากนี้ หนวยงานกํากับดูแลต้องสราง มาตรฐานการรับรองใบอนุญาตผู้ประจําหน้าที่ให้มีมาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับของตางประเทศเพื่อยกระดับ มูลคาของแรงงานไทยเมื่อเทคโนโลยีการบินเปลี่ยนแปลง มีความจําเป็นต้องเสริมทักษะใหม ( Reskill) ตามเทคโนโลยี หรือเพิ่มทักษะความสามารถให้สูงยิ่งขึ้น (Upskill) รวมทั้งหนวยงานกํากับยังมีบทบาทสําคัญ ในการเชื่อมต่อประสานหนวยงานของรัฐและเอกชน เพื่อดึงความสามารถและทรัพยากรจากฝ่ายตาง ๆ มาใชสนับสนุนการจัดเตรียมบุคลากรให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดและสามารถแขงขันได้ในระดับสากล การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การพัฒนาทุนมนุษยและทุนปญญาที่สอดคลองกับมาตรฐานและความต้องการ ในปจจุบันและอนาคต สามารถแขงขันได้ในระดับสากล - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 สถาบันการศึกษาและหลักสูตรดานการบินที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เปาหมายที่ 2 บุคลากรในอุตสาหกรรมการบินมีมาตรฐานและสอดคลองกับความต้องการ ของอุตสาหกรรมการบิน เปาหมายที่ 3 การสรางบุคลากรให้เพียงพอต่อการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการบิน - กลยุทธ • พัฒนาสถาบันการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล • กําหนดทิศทางการพัฒนาบุคลากรที่จําเป็นกับอุตสาหกรรมการบินโดยเทียบเคียงกับ มาตรฐานบุคลากรทางการบินรุนใหม (Next Generation of Aviation Professional: NGAP) ตามที่องคการ การบินพลเรือนระหวางประเทศกําหนดเป็นกรอบแนวทางสําหรับการพัฒนา • สงเสริมความรวมมือกับหนวยงานกํากับดูแลในตางประเทศเพื่อให้ใบอนุญาตและใบรับรอง ของไทยเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ • สรางความรวมมือกับผู้ประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคลองกับความต้องการ • การเสริมสรางความรูความเขาใจในอุตสาหกรรมการบินในอาชีพที่เกี่ยวของ เชน การจัด Road Show การจัดสรรพื้นที่ในทาอากาศยานให้เยาวชนได้เรียนรู เป็นตน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 44 โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย การสรางมาตรฐานบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถให้ได้มาตรฐานดานการบินพลเรือน รวมถึงมาตรฐาน หลักสูตรในการผลิตบุคลากร การพัฒนาบุคลากรให้สอดคลองกับความต้องการ การสงเสริมเยาวชนให้สนใจ ดานการบิน การตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและสรางรายได้ให้กับประเทศมากยิ่งขึ้น

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 45 นโยบายการพัฒนาบุคลากรในการขนสงทางอากาศและอุตสาหกรรมการบิน วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1 . การพัฒนาทุนมนุษย และทุนปญญาที่สอดคลอง กั บ มำ ต ร ฐำ น แ ล ะ ความต้องการในปจจุบัน และอนาคต สามารถแขงขัน ได้ในระดับสากล 1. สรางมาตรฐานบุคลากรเพื่อ ยกระดับความสามารถให้ได้ มาตรฐานดานการบินพลเรือน 2. มาตรฐานหลักสูตรในการผลิต บุคลากร 3 . กำ ร พั ฒ นำ บุ ค ลำ ก ร ใ ห สอดคลองกับความต้องการ 4. การสงเสริมเยาวชนให้สนใจ ดานการบิน 5. การตอบสนองต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน 6. การสรางรายได้ให้กับประเทศ 1. สถาบันการศึกษาและหลักสูตร ดานการบินที่มีมาตรฐานเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล มาจากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) 1. จํานวนสถาบันการศึกษา ที่ได้มาตรฐานตามที่กําหนด มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 3 ) (1) พัฒนาสถาบันการศึกษาให้ได้ มาตรฐานสากล (2 ) กําหนดทิศทางการพัฒนาบุคลากร ที่ จํำเป นกั บอุ ตสาหกรรมการบิ น โดยเทียบเคียงกับมาตรฐานบุคลากรทาง การบิ นรุ นใหม ( Next Generation of Aviation Professional: NGAP) ตำ ม ที่ องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ กําหนดเป็นกรอบแนวทางสําหรับการ พัฒนา (3) สงเสริมความรวมมือกับหนวยงานกํากับ ดูแลในตางประเทศเพื่อให้ใบอนุญาตและ ใบรับรองของไทยเป็นที่ยอมรับในระดับ นานาชาติ (4.) สรางความรวมมือกับผู้ประกอบการใน การพัฒนาหลักสูตรให้สอดคลองกับ ความต้องการ (5) การเสริมสรางความรูความเขาใจใน อุตสาหกรรมการบินในอาชีพที่เกี่ยวของ เชน การจัด Road Show การจัดสรรพื้นที่ ในทาอากาศยานให้เยาวชนได้เรียนรู เป็นตน ระยะสั้น กพท. สถาบันฝกอบรม ดานการบิน อว. คค. (กยผ. ) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 2. บุคลากรในอุตสาหกรรมการบิน มีมาตรฐานและสอดคลองกับความ ต้องการของอุตสาหกรรมการบิน มาจากประเด็นนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 5 ) ( 6 ) 1. บุคลากรในอุตสาหกรรม การบินมีมาตรฐานสากลและ สอดคลองกับความต้องการ ในอุตสาหกรรมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ( 3 ) ระยะกลาง กพท. สถาบันฝกอบรม ดานการบิน อว. คค. (กยผ.) ระยะกลาง กพท. สถาบันฝกอบรม ดานการบิน หนวยงานกํากับดูแล ในตางประเทศ 2. อัตราการวางงานของบุคลากร ในอุตสาหกรรมการบินมีจํานวน ลดลง มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ( 4 ) ระยะกลาง กพท. สถาบันฝกอบรม ดานการบิน ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน 3. การสรางบุคลากรให้เพียงพอ ต่อการรองรับการเติบโตของ อุตสาหกรรมการบิน มาจากประเด็นนโยบาย ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) และ ( 6 ) 1 . เยาวชนมีความสนใจในสาขา อาชี พอุ ตสาหกร รมกำ ร บิ น มีแนวโนมสูงขึ้น มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ( 5 ) ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. สบพ. อว. คค. (กยผ.) ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 46 ( 2 . 5 ) นโยบายการสงเสริมกิจการการบินพลเรือน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ กิจการการบินพลเรือน ทั้งกิจการการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป ถือเป็นกิจการที่สรางผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมให้กับประเทศทั้งในระดับ มหภาคและจุลภาค โดยเฉพาะกิจการการบินทั่วไปซึ่งถือเป็นกิจการการบินพลเรือนขั้นพื้นฐานที่ชวยสรางความรู ความเขาใจดานการบินพลเรือนให้กับประชาชนได้ในวงกวาง และยังชวยสรางบุคลากรดานการบิน สนับสนุน การพัฒนากิจการการขนสงทางอากาศเชิงพาณิชย และการทํางานทางอากาศ การสงเสริมให้เกิดการพัฒนา กิจการการบินพลเรือนแต่ละภาคสวนอยางสมดุลและสนับสนุนซึ่งกันและกันในเชิงนิเวศ จึงชวยให้เกิดความมั่นคง ในระดับรากฐานของกิจการการบินของประเทศ และรองรับการพัฒนาในอนาคตได้อยางยั่งยืน และ ยังชวยเพิ่มความสามารถในการรองรับสภาวะความผันผวนและความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมได้ อยางมีเสถียรภาพอีกด้วย การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การเพิ่มความสามารถของกิจการการบินพลเรือนในการสนับสนุนการพัฒนา และแกปญหาอยางบูรณาการ - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การลดอุปสรรคจากการกํากับดูแลที่ไม่จําเป็นต่อการดําเนินกิจการการขนสง ทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป เปาหมายที่ 2 กิจการการทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไปสามารถเขาถึงการใชงาน โครงสรางพื้นฐานดานการบินเพิ่มขึ้น เปาหมายที่ 3 การพัฒนากิจการการขนสงทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไปมีความสอดคลองและสงเสริมสนับสนุนกัน - กลยุทธ • ปรับปรุงและพัฒนากฎระเบียบและระบบการกํากับดูแลให้เหมาะสมและไม่เป็นอุปสรรค ต่อการดําเนินงานและพัฒนากิจการการขนสงทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป • การจัดสรรและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการบินทั้งสนามบินและบริการการเดินอากาศ ให้กับการทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไปอยางเหมาะสม • จัดทํา ดําเนินงาน และทบทวนแผนยุทธศาสตรการสงเสริมกิจการการบินพลเรือน ของประเทศ นโยบายที่ 2 การทําให้เกิดผลงานวิจัยและนวัตกรรม และใชประโยชนได้จริงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การมีกลไกและเกิดการสงเสริมการผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมดานการบิน พลเรือน และเกิดการใชผลงานอยางเป็นรูปธรรมให้เกิดประโยชนดานเศรษฐกิจ สังคม และ/หรือสิ่งแวดลอม - กลยุทธ • จัดทํา ดําเนินงาน และทบทวนแผนยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรมดานการการบิน พลเรือนของประเทศ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 47 โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ประกอบด้วย การพัฒนาและสงเสริมการขนสงทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศและการบินทั่วไป การสงเสริมการพัฒนาให้มีความสามารถในการรองรับนวัตกรรมทางการบินในอนาคต การมีมาตรฐานการบิน ที่เพียงพอและเหมาะสมสําหรับการบินแต่ละประเภท และการพัฒนาการบินทุกประเภทที่มุงสูความยั่งยืน ของอุตสาหกรรมการบินในภาพรวม

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 48 นโยบายการสงเสริมกิจการการบินพลเรือน วัตถุประสงค ของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รวม 1. การ เพิ่มความสามารถ ข อ ง กิ จ กำ ร กำ ร บิ น พลเรือนในการสนับสนุน การพัฒนาและแกปญหา อยางบูรณาการ 1. การพัฒนาและสงเสริม การขนสงทางอา กำ ศ เ พื่ อ กำ ร พำ ณิ ช ย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป 2. การสงเสริมการพัฒนา ให้มีความสามารถในการ รองรั บนวั ตกรรมทาง การบินในอนาคต 3. การมีมาตรฐานดาน การบินที่เพียงพอและ เหมาะสมสําหรับการบิน แต่ละประเภท 4. การพั ฒนาการบิ น ทุกประเภทที่มุงสูความ ยั่งยืนของอุตสาหกรรม การบินในภาพรวม (1 ) การลดอุปสรรคจากการกํากับ ดูแลที่ไม่จําเป็นต่อการดําเนิน กิจการการขนสงทางอากาศเพื่อ การพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1) ( 2) ระดับความพึงพอใจของผู้มีสวนได้ สวนเสียที่สําคัญที่มีต่อกฎระเบียบ และระบบการกํากับดูแลการขนสง ทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางาน ทางอากาศ และการบินทั่วไป มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) (1) ปรับปรุงและพัฒนา กฎระเบียบและ ระบบการกํากับดูแล ให้เหมาะสมและ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการดําเนินและพัฒนา กิจการการขนสงทางอากาศเพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป (2) การจัดสรรและพัฒนาโครงสราง พื้นฐานดานการบินทั้งสนามบินและบริการ การเดินอากาศให้กับ การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไปอยางเหมาะสม (3) จัดทํา ดําเนินงาน และทบทวนแผน ยุทธศาสตรการสงเสริมกิจการการบิน พลเรือนของประเทศ (4) จัดทํา ดําเนินงาน และทบทวนแผน ยุ ทธ ศา ส ตร กำ ร วิ จั ยแ ละ นวั ตกรรม ดานการการบินพลเรือนของประเทศ ระยะสั้น คค. (สปค.) สคก. กพท. ผู้ดําเนินกิจการ การขนสงทางอากาศ เพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป (2) กิจการการทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไปสามารถเขาถึง การใชงานโครงสรางพื้นฐาน ดานการบินเพิ่มขึ้น จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) ระดับความพึงพอใจของผู้มีสวนได้ สวนเสียที่สําคัญที่มีต่อระดับการเขาถึง และใชงานโครงสรางพื้นฐานดานการบิน สําหรับกิจการการทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป มีกลยุทธรองรับ ( 2 ) ระยะสั้น กพท. ผู้ดําเนินกิจการ การขนสงทางอากาศ เพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป ( 3 ) การพัฒนากิจการการขนสง ทา ง อำ กำ ศเ พื่อ กำ ร พา ณิชย การทํางานทางอากาศ และการบิน ทั่วไปมี ควา มสอ ด คล อ ง แ ล ะ สงเสริมสนับสนุนกัน จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 3 ) ( 4 ) ร ะ ดั บ ค วำ ม สั ม ฤ ท ธิ์ ผ ล ข อ ง การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร การสงเสริมกิจการการบินพลเรือน มีกลยุทธรองรับ ( 3 ) ระยะกลาง กพท. ผู้ดําเนินกิจการ การขนสงทางอากาศ เพื่อการพาณิชย การทํางานทางอากาศ และการบินทั่วไป 2 . การทําให้เกิดผ ล งานวิจัยและนวัตกรรม และใชประโยชนได้จริง ทั้ งใ น เชิ งเศ ร ษ ฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม (1) การมีกลไกและเกิดการสงเสริม การผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมดาน การบินพลเรือน และเกิดการใช ผลงานอยางเป็นรูปธรรมให้เกิด ประโยชนดานเศรษฐกิจ สังคม และ/หรือสิ่งแวดลอม จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 4 ) ร ะ ดั บ ค วำ ม สั ม ฤ ท ธิ์ ผ ล ข อ ง การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร การวิจัยและนวัตกรรมดานการการบิน พลเรือนของประเทศ มีกลยุทธรองรับ ( 4 ) ระยะสั้น กพท. อว. สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 49 ( 3 ) นโยบายดานมาตรฐานการบิน การบินพลเรือนเป็นกิจการสาธารณะที่ต้องมีการกํากับดูแลเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติในอนุสัญญา การบินพลเรือนระหวางประเทศ มาตรฐาน และขอพึงปฏิบัติ/นโยบาย รวมทั้งแผนงานตาง ๆ ที่สําคัญขององคการ การบินพลเรือนระหวางประเทศ ตลอดจนมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มาตรฐานและนโยบายที่สําคัญ ซึ่งประเทศไทยได้กําหนดไวแล้วตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศฯ รวม 3 ดาน ได้แก นโยบายนิรภัยในการบิน พลเรือนแห่งชาติ นโยบายการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ และนโยบายการอํานวยความสะดวก ในการบินพลเรือนแห่งชาติ อยางไรก็ตาม ปจจุบันประชาคมโลกได้ให้ความสําคัญและมีแรงผลักดันให้กิจการ การบินมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมมากขึ้น ดังนั้น จึงได้กําหนดนโยบำยดานสิ่งแวดลอมการบินขึ้น และได้ทบทวนนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติซึ่งครบกําหนดวาระการทบทวน ทําให้มีนโยบาย ดานมาตรฐานการบิน ซึ่งประกอบด้วยนโยบายใหมและนโยบายที่มีการทบทวน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ( 3 . 1 ) นโยบายดานสิ่งแวดลอมการบิน บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ ประชาคมโลกให้ความสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่สงผลให้เกิดสภาวะโลกรอน จากกาซเรือนกระจกมาอยางต่อเนื่อง โดยมีความพยายามที่จะลดและควบคุมกิจกรรมตาง ๆ ให้มีความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดลอมมากขึ้น สําหรับในกิจการการบินพลเรือนก็เชนกัน องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ได้กําหนดให้การดําเนินการดานสิ่งแวดลอมที่มีผลต่อ การชวยลดมลภาวะที่เกิดจากกิจกรรมทางการบินเป็นหนึ่งในเปาหมายสําคัญ จึงกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร เปาหมาย และแผนการดําเนินการ เพื่อผลักดันให้ทุกประเทศนําไปดําเนินการตามมาตรการภาคบังคับ ควบคู่ ไปกับการสงเสริมให้มีการนําพลังงานสะอาดเขาใชงาน การปรับปรุงประสิทธิภาพดานการปฏิบัติการเพื่อลด ปริมาณการใชเชื้อเพลิง การปรับปรุงพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน รวมถึงการนําเทคโนโลยีใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกเขาใชงานในกิจการการบินพลเรือน การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การมุงลดการปลอยกาซเรือนกระจกในกิจการการบิน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 อัตราการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ( CO 2 ) ภาคการบินของประเทศไทย ลดลง - กลยุทธ • สงเสริมให้เกิดการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากทุกกิจกรรม • สงเสริมให้นําอากาศยานหรือนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมมาใชงาน • นําเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอมมาใชงาน • ผลักดันและนําแผนแมบทอนุรักษ์พลังงานและลดกาซเรือนกระจกภาคการบินสูการปฏิบัติ • แกไขกฎหมายพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 50 นโยบายที่ 2 การมุงลดผลกระทบทางเสียงจากอากาศยาน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับอากาศยานที่ได้รับการรับรองเสียงเป็นไป ตามมาตรฐานขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ ภาคผนวกที่ 16 (ICAO Annex 16 - Environmental Protection) และการใชอากาศยานที่มีเสียงเกินระดับมาตรฐานลดลง เปาหมายที่ 2 การจํากัดพื้นที่ได้รับผลกระทบทางดานเสียงของสนามบินสาธารณะ - กลยุทธ • บูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ • ดําเนินการตามมาตรฐานตามภาคผนวก ICAO และเอกสารที่เกี่ยวของรวมถึงกฎหมาย ดานสิ่งแวดลอมของไทย • จัดทําบัญชีแหลงกําเนิดมลพิษ โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญเรื่อง การพัฒนาทางเศรษฐกิจควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดลอม และการปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศอยางรอบคอบมาเป็นปจจัยในการพิจารณา

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 51 นโยบายดานสิ่งแวดลอมการบิน วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก สนับสนุน 1 . การมุงลดการปลอย กำ ซ เ รื อ น ก ร ะ จ ก ในกิจการการบิน ( 1 ) กำ ร พั ฒ นำ ทำ ง เศรษฐกิจควบคู่กับการ รักษาสิ่งแวดลอม ( 2 ) กำ ร ป ฏิ บั ติ ตำ ม พั น ธ ก ร ณี ร ะ ห วำ ง ประเทศอยางรอบคอบ (1) อัตราการปลอยกาซคารบอน ไดออกไซด (CO 2 ) ภาคการบินของ ประเทศไทยลดลง จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 1 ) ( 2 ) (1) CO 2 Emissions /RTK ลดล ง เมื่อเทียบกับปฐาน มีกลยุทธรองรับ ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) (1) ส งเสริ มให้ เกิ ดการลดปริ มาณ การปลอยกาซเรือนกระจกจากทุกกิจกรรม (2) สงเสริมให้นําอากาศยานห รื อ นวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอมมาใชงาน (3 ) นํำ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ป น มิ ต ร กั บ สิ่งแวดลอมมาใช (4) ผลักดันและนําแผนแมบทอนุรักษ์ พ ลั ง งำ น แ ล ะ ล ด กำ ซ เ รื อ นก ร ะ จ ก ภาคการบินสูการปฏิบัติ (5) แก ไขกฎหมายพระราชบั ญญั ติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 ( 6) บูร ณำ กำ ร กำ ร ทํา งำ นร วมกับ หนวยงานที่เกี่ยวของ (7) ดําเนินการตามมาตรฐา นตาม ภาคผนวก ICAO และเอกสารที่เกี่ยวของ รวมถึงกฎหมายดานสิ่งแวดลอมของไทย ระยะสั้น กพท. คค. (สปค.) กห. กษ. ทส. บวท. ผู้ประกอบการสายการบิน ผู้ประกอบการสนามบิน กลุ่มผู้ผลิตชิ้นสวนอากาศยาน ระยะยาว กพท. คค. (สปค.) GISDA กลุ่มผู้ผลิตชิ้นสวนอากาศยาน ระยะยาว บวท. กพท. คค.(สปค.) ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น กพท. ผู้ประกอบการสนามบิน บวท. สนข. ทส. ผู้ประกอบการสายการบิน ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. สคก. คค. (สปค.) สนข. ผู้ประกอบการสายการบิน 2 . การมุงลดผลกระทบ ทางเสียงจากอากาศยาน ( 1 ) การจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับ อากาศยานที่ได้รับการรับรองเสียง เป็นไปตามมาตรฐานขององคการ การบินพลเรือนระหวางประเทศ ภาคผนวกที่ 16 (ICAO Annex 16 - Environmental Protection) แ ล ะ การใชอากาศยานที่มีเสียงเกินระดับ มาตรฐานลดลง จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) (1) ควำ มสํำ เ ร็ จ ข อ ง กา รจั ดทํา ฐานขอมูลดานสิ่งแวดลอมการบิน มีกลยุทธรองรับ ( 6 ) (2) การใชจํานวนอากาศยานที่มีเสียง ดังลดลง (เฉลี่ยรอยละ) มีกลยุทธรองรับ ( 7 ) ระยะสั้น กพท. กห. กษ. ทส. บวท. ผู้ประกอบการสายการบิน ผู้ประกอบการสนามบิน ระยะกลาง กพท. กห. กษ. ทส. บวท. ผู้ประกอบการสายการบิน ผู้ประกอบการสนามบิน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 52 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก สนับสนุน (2) การจํากัดพื้นที่ได้รับผลกระทบ ทำ ง ดำ น เ สี ย ง ข อ ง ส นำ ม บิ น สาธารณะ จากประเด็นเชิงนโยบาย ( 2 ) (1) จํานวนสนามบินสาธารณะที่มีพื้นที่ ได้รับผลกระทบทางเสียงในแต่ละป (Yearly Noise Contour Map) ไม่เกิน กวาพื้นที่คาดการณในแต่ละระยะของ แผนพัฒนาสนามบิน มีกลยุทธรองรับ ( 8 ) (8) จัดทําบัญชีแหลงกําเนิดมลพิษ ระยะกลาง กพท. กห. กษ. ทส. บวท. ผู้ประกอบการสายการบิน ผู้ประกอบการสนามบิน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 53 ( 3 . 2 ) นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ บทสรุปผู้บริหาร บริบทสําคัญ การจัดการดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนระดับประเทศเป็นแรงผลักดันที่สําคัญ ในการสงเสริมการจัดการความเสี่ยงดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนทั่วทั้งระบบการบินของประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการกํากับดูแลดานความปลอดภัยที่เหมาะสมให้เป็นไปตามมาตรฐานและสูงกวา ระดับมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของ ซึ่งนโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาตินี้จะแสดงให้เห็นถึงความมุงมั่น ในการพัฒนาดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนของคณะกรรมการการบินพลเรือน (กบร.) และหนวยงานรัฐ ดานการบินที่เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรดานการบินพลเรือน ผู้มีสวนได้เสียในอุตสาหกรรมการบิน หนวยงานของรัฐ ที่เกี่ยวของต้องถือปฏิบัติตามนโยบายนิรภัยดานการบินพลเรือนนี้ การกําหนดนโยบาย นโยบายที่ 1 การจัดทําแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้มีประสิทธิผล ผานการระบุและ จัดการความเสี่ยงดานความปลอดภัย ที่จะชวยสงเสริมความปลอดภัยและประสิทธิภาพของระบบ การบินของประเทศ ซึ่งรวมถึงการจัดให้มีระบบการกํากับดูแลดานความปลอดภัย เพื่อให้มั่นใจวามีการ ดําเนินการตามมาตรฐานสากลที่กําหนดไว และมีการวิเคราะหขอมูลดานความปลอดภัยเพื่อใชในการกําหนด ภาพความเสี่ยง ( Risk Profile) ขององคกรดานการบินพลเรือน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีการดําเนินการตามแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ (State Safety Programme: SSP) อยางมีประสิทธิภาพ เปาหมายที่ 2 มีระบบการตรวจติดตามดานความปลอดภัยแบบ Risk- based Surveillance - กลยุทธ (1 ) ปรับปรุงแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติให้เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน (2 ) ปรับปรุงระบบการตรวจติดตามดานความปลอดภัย โดยมีการดําเนินการและมีการตรวจ ติดตามดานความปลอดภัยในรูปแบบ Risk- based Surveillance โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย แผนนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ (State Safety Programme: SSP) ของไทย เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการนําขอมูลดานความปลอดภัยมาวิเคราะหเพื่อใชในการกําหนดภาพความเสี่ยงขององคกรดานการบิน พลเรือน นโยบายที่ 2 พัฒนามาตรฐานความปลอดภัยดานการบินพลเรือนของประเทศให้สอดคลอง กับมาตรฐานและขอพึงปฏิบัติขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ โดยคํานึงถึงความเหมาะสม โปรงใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีขีดความสามารถในการกํากับดูแลดานความปลอดภัยของประเทศไทยมีประสิทธิภาพ - กลยุทธ (1 ) จัดทําและดําเนินการตามกฎขอบังคับเฉพาะดาน (Specific Operating Regulations) (2 ) กําหนดและนําขั้นตอน เครื่องมือ และวิธีการตาง ๆ ในการออกใบอนุญาต ใบรับรอง การ ตรวจติดตามดานความปลอดภัย และการแกไขประเด็นความปลอดภัยเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 54 โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ การออกกฎ ขอบังคับเฉพาะดาน (Specific Operating Regulations) ที่สอดคลองกับมาตรฐานขององคการการบินพลเรือน ระหวางประเทศอยางเหมาะสม โปรงใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล นโยบายที่ 3 สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณของอากาศยาน และคณะกรรมการคนหาและชวยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ ต้องได้รับการจัดสรรทรัพยากรทางการเงินและทรัพยากรบุคคลอยางเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจวาการจัดการ ดานนิรภัยและการกํากับดูแลดานความปลอดภัยของระบบการบินพลเรือนของประเทศมีประสิทธิผล รวมถึงมีการบริหารจัดการความสามารถของบุคลากรของสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณของอากาศยาน ที่มีหน้าที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย เป็นไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีขีดความสามารถในการกํากับดูแลดานความปลอดภัยของประเทศไทย ที่มีประสิทธิภาพ โดยมีความรวมมือของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ - กลยุทธ (1 ) จัดทําและดําเนินการตามบันทึกความเขาใจระหวางหนวยงาน (2 ) หนวยงานมีแผนบริหารจัดการทุนมนุษย และมีการจัดการสมรรถนะของบุคลากร รวมทั้งแผนบริหารจัดการทรัพยากรทางการเงิน โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย ความรวมมือในการประสานงานรวมกันระหวางคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและ อุบัติการณของอากาศยาน คณะกรรมการคนหาและชวยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ และสํานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย รวมทั้งการสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาให้ความรูแกบุคลากรที่เกี่ยวของ ในรูปแบบตาง ๆ รวมกันตามความเหมาะสม อันจะนําไปสูการปรับปรุง แกไข และพัฒนาความปลอดภัย ในการบินของประเทศ นโยบายที่ 4 สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวกในระบบการบินของประเทศ ทั้งหมด โดยสงเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัย ระหวางองคกรดานการบินพลเรือน รวมถึงผู้ที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมการบิน และสํานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงคในการพัฒนาการวิเคราะหขอมูลดานความปลอดภัย และการจัดการดานความปลอดภัยเชิงรุก - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีระบบการรายงานดานความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ เปาหมายที่ 2 มีการทํางานรวมกันและสื่อสารดานความปลอดภัยภายในระบบการบิน ของประเทศ และกับตางประเทศ - กลยุทธ (1 ) ประเมินประสิทธิภาพของระบบการรายงานดานความปลอดภัยขององคกรดานการบินพลเรือน (2 ) จัดทําและดําเนินการตามกฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 55 (3 ) จัดทําระบบในการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยกับหนวยงานภายในและภายนอกประเทศ โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ มีการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกที่จะชวย สนับสนุนการสรางวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวก (Positive Safety Culture) นโยบายที่ 5 สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรมในระบบการบินของประเทศ โดยสงเสริมให้บุคคลหรือองคกรเกิดความเชื่อมั่นในการรายงานปญหาดานความปลอดภัยหรือขอกังวล โดยปราศจากการดําเนินการใด ๆ และจะมีการปฏิบัติอยางเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวของ เวนแต่มีเจตนา จงใจ หรือการประมาทเลินเลออยางรายแรง - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีนโยบาย ขั้นตอน และเครื่องมือในการสงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติ อยางเป็นธรรม - กลยุทธ (1 ) จัดทํานโยบายและขั้นตอนการบังคับใชกฎหมาย (Enforcement Policy and Procedure) (2 ) จัดทําและดําเนินการตามกฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วยมีการนําหลักการของวัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรมมาใชเป็นสวนหนึ่งของระบบ การรายงานเหตุการณดานความปลอดภัยทั้งภาคบังคับและสมัครใจ รวมทั้งกิจกรรมการตรวจติดตาม ดานความปลอดภัย โดยวัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรมต้องให้การคุมครองและพิทักษ์ผู้รายงานประเด็น ปญหาดานความปลอดภัย เวนแต่พิสูจนได้วาประเด็นปญหาดานความปลอดภัยนั้นมีสาเหตุจากการจงใจ ประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือละเลยไม่เอาใจใสทั้งที่รูวาความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ นโยบายที่ 6 ดําเนินการตามนโยบายการบังคับใชกฎหมายที่สอดคลองกับหลักการของ วัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรม - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีนโยบาย ขั้นตอน และเครื่องมือในการสงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติ อยางเป็นธรรม - กลยุทธ (1 ) ดําเนินการตามนโยบายและขั้นตอนการบังคับใชกฎหมาย (Enforcement Policy and Procedure) โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย มีการนําหลักการของวัฒนธรรมการปฏิบัติอยางเป็นธรรมมาใชเป็นสวนหนึ่งของระบบการรายงานเหตุการณ ดานความปลอดภัยทั้งภาคบังคับและสมัครใจ รวมทั้งกิจกรรมการตรวจติดตามดานความปลอดภัย โดยวัฒนธรรม การปฏิบัติอยางเป็นธรรมต้องให้การคุมครองและพิทักษ์ผู้รายงานประเด็นปญหาดานความปลอดภัย เวนแต่พิสูจน ได้วาประเด็นปญหาดานความปลอดภัยนั้นมีสาเหตุจากการจงใจ ประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือละเลย ไม่เอาใจใสทั้งที่รูวาความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 56 นโยบายที่ 7 เผยแพรขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยที่สําคัญ รวมถึงคู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการดานนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงานดานการบิน ในอุตสาหกรรมการบิน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีคู่มือแนะนําและขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัย ไปใชในการจัดการดานนิรภัยในภายในองคกร - กลยุทธ (1 ) มีการเผยแพรขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยที่สําคัญ (2 ) มีคู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการดานนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงาน ดานการบินในอุตสาหกรรมการบิน โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา ซึ่งประกอบด้วย มีการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอก และมีการจัดทําคู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการจัดการดานนิรภัยที่สอดคลองกับหลักการของ องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ นโยบายที่ 8 สรางความรวมมือภายในอุตสาหกรรมการบินของไทยในประเด็นความปลอดภัย และความเสี่ยง รวมถึงกําหนดมาตรการในการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมรวมกัน - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การเกิดอากาศยานอุบัติเหตุที่มีผู้เสียชีวิตในประเทศไทยมีแนวโนมลดลง เปาหมายที่ 2 การเกิดอากาศยานอุบัติเหตุที่ไม่มีผู้เสียชีวิตและอุบัติการณรุนแรงในประเทศ ไทยมีแนวโนมลดลง เปาหมายที่ 3 เหตุการณดานความปลอดภัยที่มีความเสี่ยงสูงมีแนวโนมลดลง - กลยุทธ (1 ) สรางกลไกในการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยภายในอุตสาหกรรมการบินของไทย โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ มีการแลกเปลี่ยนขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกที่จะชวย สนับสนุนการสรางวัฒนธรรมความปลอดภัยเชิงบวก (Positive Safety Culture) นโยบายที่ 9 ติดตามสมรรถนะดานความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบินของประเทศ ผานการกําหนดระดับสมรรถนะความปลอดภัยที่ยอมรับได้ วัตถุประสงคดานความปลอดภัย ตัวชี้วัด และเปาหมายสมรรถนะดานความปลอดภัย - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 การจัดการสมรรถนะดานความปลอดภัยของประเทศมีประสิทธิภาพ - กลยุทธ (1 ) มีการกําหนดเปาหมายดานความปลอดภัย (2 ) มีการกําหนดวัตถุประสงคดานความปลอดภัย (3 ) มีการกําหนดระดับสมรรถะดานความปลอดภัยที่ยอมรับได้ (Acceptable Level of Safety Performance: ALoSP)

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 57 โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ มีการติดตามสมรรถนะดานความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบินของประเทศตามหลักการที่องคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศแนะนํา นโยบายที่ 10 ดําเนินการตามกฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย เพื่อให้แนใจวามีการรักษาความลับของขอมูล และจะนําไปใช เพื่อวัตถุประสงคในการพัฒนาและบริหารจัดการดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนเทานั้น - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 นําขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัยไปใช เพื่อวัตถุประสงคในพัฒนาและบริหารจัดการดานความปลอดภัยในการบินพลเรือนเทานั้น - กลยุทธ (1 ) ดําเนินการตามกฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัย (2 ) จัดทําเอกสารแนะนําให้องคกรดานการบินพลเรือนและบุคลากรภายในสํานักงาน การบินพลเรือนแห่งประเทศไทยสําหรับการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศดานความปลอดภัย โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ มีการติดตามสมรรถนะดานความปลอดภัยทั้งหมดของระบบการบินของประเทศตามหลักการที่องคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศแนะนํา นโยบายที่ 11 การแกไขประเด็นความปลอดภัย โดยความรวมมือและการทํางานรวมกันของ องคกรดานการบินพลเรือนให้มีประสิทธิผล - เปาหมาย เปาหมายที่ 1 มีขีดความสามารถในการกํากับดูแลดานความปลอดภัยของประเทศไทย มีประสิทธิภาพ เพื่อลดแนวโนมการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติการณรุนแรง - กลยุทธ (1 ) สรางกลไกให้องคกรดานการบินพลเรือนมีสวนรวมในการแกไขประเด็นดานความปลอดภัย โดยในการกําหนดนโยบายได้นําประเด็นสําคัญที่เกี่ยวของดังต่อไปนี้มาเป็นปจจัยในการพิจารณา คือ การเปด โอกาสให้องคกรดานการบินพลเรือนเขามามีสวนรวม

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 58 นโยบายนิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง 1 . กำร จั ด ทํำแผ น นิ รภั ยใน กำ ร บิ น พ ล เ รื อ น แ ห ง ชำ ติ ให้มีประสิทธิผล ผานการระบุ และจัดการความเสี่ยงดาน ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย ที่ จ ะ ช ว ย สงเสริมความป ลอด ภั ยแล ประสิทธิภาพของระบบการบิน ของประเทศ ซึ่งรวมถึงการจัด ใ ห มี ร ะ บ บ กำ ร กํำ กั บ ดู แ ล ดานความปลอดภัย เพื่อให้ มั่นใจวามีการดําเนินการตาม มาตรฐานสากลที่กําหนดไว และมีการวิเคราะหขอมูลดาน ความปลอดภัยเพื่อใชในการ กําหนดภาพความเสี่ยง (Risk profile) ข อ ง อ ง ค ก ร ดำ น การบินพลเรือน (1) แผนนิรภัยในกา ร บิน พ ล เ รื อ น แ ห ง ชำ ติ ( State Safety Programme: SSP) ข อ ง ไทย เ ปนร ะ บ บ แ ล ะ มี ประสิทธิภาพ (2 ) มี กำ ร นํำ ข อ มู ล ดำ น ความปลอดภัยมาวิเคราะห เพื่อใชในการกําหนดภาพ ความเสี่ยงขององคกรดาน การบินพลเรือน (1) มีการดําเนินการตามแผน นิรภัยในการบินพลเรือนแห่งชาติ (State Safety Programme: SSP) อยางมีประสิทธิภาพ ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ที่ เกี่ยวของกับ SSP (1) ปรับปรุงแผนนิรภัยในการบินพลเรือน แห่งชาติให้เหมาะสมกับสถานการณ ปจจุบัน ระยะสั้น กพท. - กสอ. 0 1 - อ ง ค ก ร ดำ น การบินพลเรือน (2) มีระบบการตรวจติดตามดาน ความปลอดภัยแบบ Risk- based Surveillance ฝ่ายกํากับดูแลดานความปลอดภัย มีการจัดทําแผนในการตรวจติดตาม ดานความปลอดภัยแบบ Risk- based Surveillance (2) ปรับปรุงระบบการตรวจติดตามดาน ความปลอดภัย โดยมีการดําเนินการและ มีการตรวจติดตามดานความปลอดภัยใน รูปแบบ Risk- based Surveillance ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. 2. พั ฒนำมาต รฐาน ความ ปลอดภัยดานการบินพลเรือน ของประเทศให้สอดคลองกับ มาตรฐานและขอพึงปฏิบัติของ องคการการบินพลเรือนระหวาง ประเทศ โดยคํานึ งถึงความ เหมาะสม โปรงใส และเป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาล การออกกฎขอบังคับเฉพาะดาน (Specific operating regulations) สอดคลองกับมาตรฐาน องคการ การบินพลเรือนระหวางประเทศ แนะนําอยางเหมาะสม โปรงใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีขีดความสามารถในการกํากับดูแล ดานความปลอดภัยของประเทศไทย มีประสิทธิภาพ - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ทั้งหมด - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ใน แต่ละ area - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ใน Critical Element (CE) ที่ 6, 7 และ 8 (1) จัดทําและดําเนินการตามกฎขอบังคับ เ ฉ พำ ะ ดำ น ( Specific operating regulations) ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน (2) กําหนดและนําขั้นตอน เครื่องมือ และ วิธีการตาง ๆ ในการออกใบอนุญาต ใบรับรอง การตรวจติดตามดานความปลอดภัย และการ แกไขประเด็นความปลอดภัยเพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน 1 คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณของอากาศยาน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 59 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง 3 . สํานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ สอบสวนอุบัติเหตุและอุบัติการณ ของอากาศยาน และคณะกรรมการ คนหาและชวยเหลืออากาศยาน ประสบภัยแห่งชาติ ต้องได้รับ การจัดสรรทรัพยากรทางการเงิน และทรัพยากรบุคคลอยางเพียงพอ เพื่ อให้ มั่ นใจวำการจั ดการ ดานนิรภัยและการกํากับดูแล ดานความปลอดภัยของระบบ การบินพลเรือนของประเทศมี ประสิทธิผล รวมถึงมีการบริหาร จั ด การควำม สำ มำร ถ ข อ ง บุคลากรของสํานักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย และ คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณของอากาศยาน ที่ มี ห นำ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ความปลอดภัยเป็นไปอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ( 1 ) ค วำ ม ร ว ม มื อ ใ น กำ ร ประสานงานรวมกันระหวาง ค ณ ะ ก ร ร ม กำ ร ส อ บ ส ว น อุบัติเหตุและอุบัติการณของ อากาศยาน คณะกรรมการ คนหาและชวยเหลืออากาศ ยานประสบภัยแห่งชาติ และ สํานักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทย (2) การสงเสริมสนับสนุนการ พัฒนาให้ความรูแกบุคลากรที่ เกี่ยวของในรูปแบบตาง ๆ รวมกัน ตามความเหมาะสม อัน จะนําไปสูการปรับปรุง แกไข และพัฒนาความปลอดภัยใน การบินของประเทศ มีขีดความสามารถในการกํากับ ดูแ ลดา นควา มปลอ ดภั ย ข อ ง ประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพ โดย มีความรวมมือของหนวยงา น ภาครัฐที่เกี่ยวของ - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ทั้งหมด - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ใน แต่ละ area (1) จัดทําและดําเนินการตามบันทึกความ เขาใจระหวางหนวยงาน ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. - กสอ. - กชย. 1 2 (2) หนวยงานมีแผนบริหารจัดการทุน มนุษย และมีการจัดการสมรรถนะของ บุคลากร รวมทั้งแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรทางการเงิน ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. - กสอ. - กชย. 4 . สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรม ความปลอดภัยเชิงบวกในระบบ การบิ นของประเทศทั้งหมด โดยสงเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยน ขอมูลดานความปลอดภัยและ สารสนเทศระหวำงองค กร มี แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข อ มู ล ดำ น ความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยทั้งภายใน แ ล ะ ภำ ย น อ ก ที่ จ ะ ช ว ย สนับสนุนการสรางวัฒนธรรม ( 1 ) มี ร ะ บ บ กำ ร รำ ย งำ น ดานความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ - อัตราการรายงานเหตุการณดาน ความปลอดภัย - จํานวนองคกรดานการบินพลเรือน ที่รายงานเหตุการณดานความ ปลอดภัย (1) ประเมินประสิทธิภาพของระบบ การรายงานดานความปลอดภัยของ องคกรดานการบินพลเรือน ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน (2) จัดทําและดําเนินการตามกฎหมายวาด้วย การพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัยและ สารสนเทศดานความปลอดภัย ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน 2 คณะกรรมการคนหาและชวยเหลืออากาศยานประสบภัยแห่งชาติ

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 60 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง ดานการบินพลเรือน รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรม การบิน และสํานักงานการบิน พ ล เ รื อ น แ ห งป ร ะ เท ศ ไท ย เ พื่ อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ใ น กำ ร พั ฒนาการวิ เคราะห ข อมู ล ดำ น ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ การจัดการดานความปลอดภัย เชิงรุก ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย เ ชิ ง บ ว ก (Positive safety culture) - การจัดทําและดําเนินการตาม กฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูล ดานความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัย (2) มีการทํางานรวมกันและสื่อสาร ดานความปลอดภัยภายในระบบ การบิ นของประเทศ และกั บ ตางประเทศ - จํานวนครั้งในการเขารวมประชุม กั บ อ ง ค กำ ร กำ ร บิ น พ ล เ รื อ น ระหวางประเทศ (3) จัดทําระบบในการสื่อสารและแลกเปลี่ยน ขอมูลดานความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยกับหนวยงานภายใน และภายนอกประเทศ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. - องคกรดานการบิน พลเรือน - หนวยงานรัฐดาน การบินภายใน ประเทศ - หนวยงานกํากับ ดูแลดานการบิน ของตางประเทศ - องคการการบิน พลเรือนระหวาง ประเทศ 5 . สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรม การปฏิบัติอยางเป็นธรรมในระบบ การบินของประเทศโดยสงเสริมให้ บุคคล หรือองคกรเกิดความ เชื่อมั่นในการรายงานปญหาดาน ความปลอดภัยหรือขอกังวล โดย ปราศจากการดําเนินการใด ๆ และจะมีการปฏิบัติอยางเป็น ธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวของ เวนแต่มี เ จ ต น ำ จงใจ หรือการประมาทเลินเลอ อยางรายแรง มีการนําหลักการของวัฒนธรรม การปฏิบัติอยางเป็นธรรมมาใช เป็นสวนหนึ่งของระบบการ รายงานเหตุการณดานความ ปลอดภัยทั้งภาคบังคับและ สมัครใจ รวมทั้งกิจกรรมการ ต ร ว จ ติ ด ตำ ม ดำ น ค วำ ม ปลอดภัย โดยวัฒนธรรมการ ปฏิบัติอยางเป็นธรรมต้องให้ กำ ร คุ ม ค ร อ ง แ ล ะ พิ ทั ก ษ ผู้รายงานประเด็นปญหาดาน ความปลอดภัย เวนแต่พิสูจนได้ วาประเด็นปญหาดานความ ปลอดภัยนั้นมีสาเหตุจาก การ จงใจ ประมาทเลินเลออยาง มีนโยบาย ขั้นตอน และเครื่องมือในการ สงเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการปฏิบัติ อยางเป็นธรรม - อัตราการรายงานเหตุการณดาน ความปลอดภัย - จํานวนองคกรดานการบินพลเรือนที่ รายงานเหตุการณ ดำนควำม ปลอดภัย - การจัดทําและดําเนินการตาม กฎหมายวาด้วยการพิทักษ์ขอมูล ดำ น ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สารสนเทศดานความปลอดภัย - การจัดทํานโยบายการบังคับใช กฎหมาย (1) จัดทํานโยบายและขั้นตอนการบังคับ ใชกฎหมาย (Enforcement policy and procedure) ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน (2) จัดทําและดําเนินการตามกฎหมายวา ด้วยการพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 61 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง รายแรง หรือละเลยไม่เอาใจใส ทั้งที่รูวาความเสียหายอาจ เกิดขึ้นได้ 6 . ดําเนินการตามนโยบายการ บังคับใชกฎหมาย ที่สอดคลอง กับหลักการของวัฒนธรรมการ ปฏิบัติอยางเป็นธรรม มีการนําหลักการของวัฒนธรรม การปฏิบัติอยางเป็นธรรมมาใช เ ป น ส ว น ห นึ่ ง ข อ ง ร ะ บ บ การรายงานเหตุการณดาน ความปลอดภัยทั้งภาคบังคับ และสมัครใจ รวมทั้งกิจกรรม การตรวจติดตามดานความ ปลอ ดภั ย โ ดย วั ฒนธร ร ม การปฏิบัติอยางเป็นธรรมต้อง ให้การคุมครองและพิทักษ์ ผู้ รำ ย งำ นปร ะ เ ด็ นป ญ หำ ดานความปลอดภัย เวนแต่ พิสูจนได้วาประเด็นปญหาดาน ความปลอดภัยนั้นมีสาเหตุจาก การจงใจ ประมาทเลินเลออยาง รายแรง หรือละเลยไม่เอาใจใส ทั้งที่รูวาความเสียหายอาจ เกิดขึ้นได้ มีนโยบาย ขั้นตอน และเครื่องมือในการ ส ง เ ส ริ ม ใ ห เ กิ ด วั ฒ น ธ ร ร ม การปฏิบัติอยางเป็นธรรม - มีการดําเนินการตามนโยบาย การบังคับใชกฎหมาย ดําเนินการตามนโยบายและขั้นตอน การบังคับใชกฎหมาย (Enforcement policy and procedure) ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน 7 . เ ผ ย แ พ ร ข อ มู ล ดำ น ความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยที่สําคัญ รวมถึงคู่มือแนะนําเกี่ยวกับ แนวคิดและหลักการการจัดการ ดานนิรภัยให้กับผู้ปฏิบัติงาน ดานการบินในอุตสาหกรรม การบิน มีการแลกเปลี่ยนขอมูลดาน ความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยทั้งภายใน และภายนอก และมีการจัดทํา คู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและ หลักการการจัดการดานนิรภัยที่ สอดคลองกับหลักการของ องคการการบินพลเรือนระหวาง ประเทศ มี คู่ มื อแนะนํำและข อมู ลดำน ความปลอดภัยและสารสนเทศดาน ความปลอดภัยไปใชในการจัดการ ดานนิรภัยในภายในองคกร - มีเครื่องมือในการประเมินระบบ การจัดการดานนิรภัย - จํานวนองคกรดานการบินพลเรือน มีการดําเนินงานระบบการจัดการ ดานนิรภัย (1) มีการเผยแพรขอมูลดานความ ปลอดภัยและสารสนเทศดานความ ปลอดภัยที่สําคัญ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน (2) มีคู่มือแนะนําเกี่ยวกับแนวคิดและ หลักการการจัดการดานนิรภัยให้กับ ผู้ปฏิบัติงานดานการบินในอุตสาหกรรม การบิน ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 62 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง 8 . สรางความรวมมือภายใน อุตสาหกรรมการบินของไทยใน ประเด็นความปลอดภัย และ ความเสี่ยง รวมถึงกําหนด มาตรการในการลดความเสี่ยงที่ เหมาะสมรวมกัน มีการแลกเปลี่ยนขอมูลดาน ความปลอดภัยและสารสนเทศ ดานความปลอดภัยทั้งภายใน และภายนอกที่จะชวยสนับสนุน กำ ร ส รำ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย เ ชิ ง บ ว ก (Positive safety culture) 1. การเกิดอากาศยานอุบัติเหตุที่มี ผู้เสียชีวิตในประเทศไทยมีแนวโนม ลดลง 2. การเกิดอากาศยานอุบัติเหตุที่ไม่มี ผู้เสียชีวิตและอุบัติการณรุนแรงใน ประเทศไทยมีแนวโนมลดลง 3. เหตุการณดานความปลอดภัยที่มี ความเสี่ยงสูงมีแนวโนมลดลง - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 5 ป ที่เกี่ยวของกับอากาศยานอุบัติเหตุ ที่มีผู้เสียชีวิต - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 5 ป ที่เกี่ยวของกับอากาศยานอุบัติเหตุ ที่ไม่มีผู้เสียชีวิตและอุบัติการณ รุนแรง - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 2 ป ที่เกี่ยวของเหตุการณดานความ ปลอดภัยที่มีความเสี่ยงสูง สรางกลไกในการแลกเปลี่ยนขอมูล ดานความปลอดภัยภายในอุตสาหกรรม การบินของไทย ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน 9 . ติ ด ตำม ส ม ร ร ถน ะ ดำน ความปลอดภัยทั้งหมดของระบบ กำ ร บิ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ผำ น การกําหนดระดับสมรรถนะ ความปลอดภั ยที่ยอมรับได้ วัตถุประสงคดานความปลอดภัย ตัวชี้วัดและเปาหมายสมรรถนะ ดานความปลอดภัย มีการติดตามสมรรถนะดาน ความปลอดภัยทั้งหมดของ ระบบการบินของประเทศตาม หลักการที่องคการการบิ น พลเรือนระหวางประเทศแนะนํา การจัดการสมรรถะดานความปลอดภัย ของประเทศมีประสิทธิภาพ - มีการกําหนดเปาหมายดานความ ปลอดภัย - มีการกําหนดวัตถุประสงคดาน ความปลอดภัย - มีการกําหนดระดับสมรรถะดาน ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย ที่ ย อ ม รั บ ไ ด ( Acceptable Level of Safety Performance: ALoSP) ( 1 ) มี กำ ร กํำ ห น ด เ ปำ ห มำ ย ดำ น ความปลอดภัย (2) มีการกําหนดวัตถุประสงคดาน ความปลอดภัย (3) มีการกําหนดระดับสมรรถะดาน ความปลอดภัยที่ยอมรับได้ (Acceptable Level of Safety Performance: ALoSP) ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. คณะกรรมการ นิรภัยใน การบินพลเรือน แห่งชาติ 10 . ดําเนินการตามกฎหมายวา ด ว ย กำ ร พิ ทั ก ษ ข อ มู ล ดำ น ค วำ ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สารสนเทศดานความปลอดภัย เพื่ อให้แน ใจวามีการรักษา ค วำ ม ลั บ ข อ ง ข อ มู ล แ ล ะ จะนําไปใชเพื่อวัตถุประสงค ในการพัฒนาและบริหารจัดการ ดานความปลอดภัยในการบิน พลเรือนเทานั้น มีการรักษาความลับของขอมูล และจะนําไปใชเพื่อวัตถุประสงค ในการพัฒนาและบริหารจัดการ ดานความปลอดภัยในการบิน พลเรือนเทานั้น นําขอมูลดานความปลอดภัยและ สารสนเทศดานความปลอดภัยไปใชใน พั ฒนาและบริ หารจั ดการดำน ความปลอดภัยในการบินพลเรือน เทานั้น - ดําเนินการตามกฎหมายวาด้วย การพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัย และสารสนเทศดานความปลอดภัย (1) ดําเนินการตามกฎหมายวาด้วย การพิทักษ์ขอมูลดานความปลอดภัยและ สารสนเทศดานความปลอดภัย (2) จัดทําเอกสารแนะนําให้องคกรดาน การบินพลเรือน และบุคลากรภายใน กพท. สําหรับการพิทักษ์ขอมูลดาน ความปลอดภัยและสารสนเทศดาน ความปลอดภัย ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน

รายละเอียดนโยบายดานการบินพลเรือนของประเทศไทย 63 วัตถุประสงคของนโยบาย ประเด็นเชิงนโยบาย เปาหมาย ตัวชี้วัดระดับนโยบาย กลยุทธ ระยะเวลา หนวยงาน หลัก รอง 1 1 . กำ ร แ ก ไ ข ป ร ะ เ ด็ น ค วำม ป ล อดภั ย โด ย ค วาม รวมมือและการทํางานรวมกัน ขององคกรดานการบินพลเรือน ให้มีประสิทธิผล การเปดโอกาสให้องคกรดาน การบินพลเรือนเขามามีสวนรวม มีขีดความสามารถในการกํากับ ดูแ ลดา นควา มปลอ ดภั ย ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภำ พ เพื่อลดแนวโนมการเกิดอุบัติเหตุ และอุบัติการณรุนแรง - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ทั้งหมด - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ในแต่ละ area - ระดับคะแนน ICAO USOAP EI ใน Critical Element (CE) ที่ 6, 7 และ 8 - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 5 ป ที่เกี่ยวของกับอากาศยานอุบัติเหตุ ที่มีผู้เสียชีวิต - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 5 ป ที่เกี่ยวของกับอากาศยานอุบัติเหตุ ที่ไม่มีผู้เสียชีวิตและอุบัติการณ รุนแรง - อัตราการเกิดเฉลี่ยต่อเนื่อง 2 ป ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง เ ห ตุ กำ ร ณ ดำ น ความปลอดภัยที่มีความเสี่ยงสูง สรางกลไกให้องคกรดานการบินพลเรือน มีสวนรวมในการแกไขประเด็นดาน ความปลอดภัย ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว กพท. องคกรดานการบิน พลเรือน หมายเหตุ : ระยะสั้น : 2565 - 2567 ระยะกลาง : 2568 - 2569 ระยะยาว : 2570 - 2580