ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562
ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562
ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง วาด้วยกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และแกไขเพิ่มเติม ประกอบมาตรา 32 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา 58 มาตรา 63 มาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องคการบริหารสวนตําบลหนองแวง โดยความเห็นชอบจากสภาองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงและนายอําเภอน้ําโสม จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง เรื่อง กิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตตําบลหนองแวง นับแต่วันถัดจากวันที่ได้ประกาศไว โดยเปดเผยที่สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงแล้วสามสิบวันเป็นตนไป ขอ 3 บรรดาขอบัญญัติ ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่ได้ตราไวแล้ว ในขอบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ ราชการสวนทองถิ่น ” หมายความวา องคการบริหารสวนตําบลหนองแวง “ ขอกําหนดของทองถิ่น ” หมายความวา ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 “ ผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา ขาราชการหรือพนักงานสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลหนองแวงที่ได้รับการแต่งตั้งจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
“ สิ่งปฏิกูล ” หมายความวา อุจจาระหรือปสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใด ซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น “ มูลฝอย ” หมายความวา เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว หรือซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวา ดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตวหรือที่อื่น “ ที่หรือทางสาธารณะ ” หมายความวา สถานที่หรือทางซึ่งมิใชเป็นของเอกชน และประชาชนสามารถใชประโยชนหรือใชสัญจรได้ “ อาคาร ” หมายความวา ตึก บ้าน เรือน โรง ราน แพ คลังสินคา สํานักงาน หรือสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่นซึ่งบุคคลอาจเขาอยู่หรือเขาใชสอยได้ “ ตลาด ” หมายความวา สถานที่ซึ่งปกติจัดไวให้ผู้คาใชเป็นที่ชุมชนเพื่อจําหนายสินคา ประเภทสัตว เนื้อสัตว ผัก ผลไม หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบ หรือปรุงแล้ว หรือของเสียงาย ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการจําหนายสินคาประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึง บริเวณซึ่งจัดไวสําหรับให้ผู้คาใชเป็นที่ชุมชนเพื่อจําหนายสินคาประเภทดังกลาวเป็นประจําหรือเป็นครั้งคราว หรือตามวันที่กําหนด “ สถานที่จําหนายอาหาร ” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใด ๆ ที่มิใชที่ หรือทางสาธารณะที่จัดไวเพื่อประกอบอาหารหรือปรุงอาหารจนสําเร็จและจําหนายให้ผู้ซื้อสามารถ บริโภคได้ทันที ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็นการจําหนายโดยจัดให้มีบริเวณไวสําหรับการบริโภค ณ ที่นั้น หรือนําไปบริโภคที่อื่นก็ตาม “ สถานที่สะสมอาหาร ” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใด ๆ ที่มิใชที่ หรือทางสาธารณะที่จัดไวสําหรับเก็บอาหารอันมีสภาพเป็นของสดหรือของแหงหรืออาหารในรูปลักษณะอื่นใด ซึ่งผู้ซื้อต้องนําไปทําประกอบหรือปรุงเพื่อบริโภคในภายหลัง ขอ 5 ให้กิจการประเภทตาง ๆ ดังต่อไปนี้ เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ต้องมีการควบคุม ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 1. กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(1) การเพาะพันธุ เลี้ยง และการอนุบาลสัตวทุกชนิด (2) การประกอบกิจการเลี้ยงรวบรวมสัตวหรือธุรกิจอื่นใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนเขาชมหรือเพื่อประโยชนของกิจการนั้น ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการเรียกเก็บคาดูหรือคาบริการ ในทางตรงหรือทางออม หรือไม่ก็ตาม 2. กิจการที่เกี่ยวกับสัตวและผลิตภัณฑ (1) การฆา หรือชําแหละสัตว ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร เรขาย หรือขายในตลาด (2) การหมัก ฟอก ตาก หรือสะสมหนังสัตว ขนสัตว (3) การสะสมเขาสัตวกระดูก หรือชิ้นสวนสัตวที่ยังมิได้แปรรูป (4) การเคี่ยวหนังเอ็นหรือไขสัตว (5) การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ จากเปลือก กระดอง กระดูก เขา หนัง ขนสัตวหรือสวนอื่น ๆ ของสัตวด้วยการตม นึ่ง ตาก เผาหรือกรรมวิธีใด ๆ ซึ่งมิใชเพื่อเป็นอาหาร (6) การผลิต โม ปน บด ผสม บรรจุ สะสม หรือกระทําอื่นใดต่อสัตว หรือพืชหรือสวนหนึ่งสวนใดของสัตวหรือพืช เพื่อเป็นอาหารสัตวหรือสวนประกอบของอาหารสัตว (7) การผลิต แปรรูป สะสม หรือลางครั่ง 3. กิจการที่เกี่ยวกับอาหารเครื่องดื่ม น้ําดื่ม ยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร การเรขาย การขายในตลาด และการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ น้ําพริกแกง น้ําพริกปรุงสําเร็จ เตาเจี้ยว ซีอิ๊ว น้ําจิ้ม หรือซอสปรุงรสชนิดตาง ๆ (2) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง จากสัตว ได้แก ปลารา ปลาเจา กุงเจา ปลาสม ปลาจอม แหนม หม่ํา ไสกรอก กะป น้ําปลา หอยดอง น้ําเคย น้ําบูดู ไตปลา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (3) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง แชอิ่ม จากผัก ผลไม หรือพืชอยางอื่น (4) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารจากพืชหรือสัตวโดยการตาก บด นึ่ง ตม ตุน เคี่ยว กวน ฉาบ ทอด อบ รมควัน ปง ยาง เผา หรือวิธีอื่นใด ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(5) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุลูกชิ้น (6) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเสนหมี่ ขนมจีน กวยเตี๋ยว เตาฮวย เตาหู วุนเสน เกี้ยมอี๋ เนื้อสัตวเทียม หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (7) การผลิตบะหมี่ มักกะ โรนี สปาเกตตี พาสตา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน (8) การผลิต ขนมปงสด ขนมปงแหง จันอับ ขนมเปยะ ขนมอบอื่น ๆ (9) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํานม หรือผลิตภัณฑจากน้ํานมสัตว (10) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเนย เนยเทียม เนยผสม ผลิตภัณฑเนย ผลิตภัณฑเนยเทียม และผลิตภัณฑเนยผสม (11) การผลิตไอศกรีม (12) การคั่ว สะสม หรือแบงบรรจุกาแฟ (13) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุใบชาแหง ชาผง หรือเครื่องดื่มชนิดผลอื่น ๆ (14) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเอทิลแอลกอฮอล สุรา เบียร ไวน น้ําสมสายชู ขาวหมาก น้ําตาลเมา (15) การผลิตน้ํากลั่น น้ําบริโภค น้ําดื่มจากเครื่องจําหนายอัตโนมัติ (16) การผลิต สะสม แบงบรรจุ หรือขนสงน้ําแข็ง (17) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําอัดลม น้ําหวาน น้ําโซดา น้ําจากพืชผัก ผลไม เครื่องดื่มชนิดตาง ๆ บรรจุกระปอง ขวดหรือภาชนะอื่นใด (18) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารบรรจุกระปอง ขวด หรือภาชนะอื่นใด (19) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุผงชูรส หรือสารปรุงแต่งอาหาร (20) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําตาล น้ําเชื่อม (21) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุแบะแซ (22) การแกะ ตัดแต่ง ลางสัตวน้ําที่ไม่ใชเป็นสวนหนึ่งของกิจการหองเย็น (23) การประกอบกิจการหองเย็นแชแข็งอาหาร (24) การเก็บ การถนอมอาหารด้วยเครื่องจักร ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
- กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ อุปกรณการแพทย เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑทําความสะอาด (1) การผลิต โม บด ผสม หรือบรรจุยา (2) การผลิตบรรจุยาสีฟน แชมพู ผาเย็น กระดาษเย็น เครื่องสําอาง รวมทั้งสบูที่ใชกับรางกาย (3) การผลิต บรรจุสําลี ผลิตภัณฑจากสําลี (4) การผลิตผาพันแผล ผาปดแผล ผาอนามัย ผาออมสําเร็จรูป (5) การผลิตผงซักฟอก สบู น้ํายาทําความสะอาด หรือผลิตภัณฑทําความสะอาดตาง ๆ 5. กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร (1) การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํามันจากพืช (2) การลางอบรมหรือสะสมยางดิบ (3) การผลิต หรือแบงบรรจุแปงมันสําปะหลัง แปงสาคู แปงจากพืช หรือแปงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (4) การสีขาว นวดขาวด้วยเครื่องจักร หรือแบงบรรจุขาวด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม (5) การผลิตยาสูบ (6) การขัดกะเทาะหรือบดเมล็ดพืช (7) การผลิตสะสม หรือแบงบรรจุปุย หรือวัสดุที่นําไปผลิตปุย (8) การผลิตเสนใยจากพืช (9) การตาก สะสม ขนถายผลิตผลของมันสําปะหลัง ขาวเปลือก ออย ขาวโพด 6. กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร (1) การผลิตภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องมือ อุปกรณ หรือเครื่องใชตาง ๆ ด้วยโลหะหรือแร (2) การถลุงแร การหลอม หรือหลอโลหะทุกชนิด ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน (1) (3) การกลึง เจาะ เชื่อม ตี ตัด ประสาน รีด หรืออัดโลหะด้วยเครื่องจักร หรือกาซ หรือไฟฟา ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(4) การเคลือบ ชุบโลหะด้วยตะกั่ว สังกะสี ดีบุก โครเมียม นิกเกิล หรือโลหะ อื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) (5) การขัด ลางโลหะด้วยเครื่องจักรหรือสารเคมี ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน (1) (6) การทําเหมืองแร สะสม แยก คัดเลือก หรือลางแร 7. กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (1) การต่อประกอบ เคาะ ปะ ผุ พนสี หรือพนสารกันสนิมยานยนต (2) การผลิตยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (3) การซอม การปรับแต่งเครื่องยนต เครื่องกล ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล (4) การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ซึ่งมีไวบริการ หรือจําหนาย และในการประกอบธุรกิจนั้นมีการซอมหรือปรับปรุงยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ดังกลาวด้วย (5) การลาง ขัดสี เคลือบสี หรืออัดฉีดยานยนต (6) การผลิต สะสม จําหนาย ซอม หรืออัดแบตเตอรี่ (7) การจําหนาย ซอม ปะ เชื่อมยางยานยนต หรือตั้งศูนยถวงลอ (8) การผลิต ซอม ประกอบ หรืออัดผาเบรก ผาคลัตช (9) การสะสม การซอมเครื่องกล เครื่องจักรเกาหรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบ ของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกลเกา 8. กิจการที่เกี่ยวกับไมหรือกระดาษ (1) การผลิตไมขีดไฟ (2) การเลื่อย ซอย ขัด ไส เจาะ ขุดรองทําคิ้ว หรือตัดไมด้วยเครื่องจักร (3) การผลิต พน ทาสารเคลือบเงา หรือสี แต่งสําเร็จสิ่งของเครื่องใช หรือผลิตภัณฑ จากไม หวาย ชานออย (4) การอบไม ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(5) การผลิต สะสม แบงบรรจุธูป (6) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช เครื่องเขียน หรือผลิตภัณฑอื่นใดด้วยกระดาษ (7) การผลิตกระดาษชนิดตาง ๆ (8) การเผาถาน หรือการสะสมถาน 9. กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ (1) การประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการในสถานพยาบาล ตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล (2) การประกอบกิจการอาบอบนวด (3) การประกอบกิจการนวดเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) หรือในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล (4) การประกอบกิจการสถานที่อาบน้ํา อบไอน้ํา อบสมุนไพร เวนแต่เป็นการให้บริการ ที่ได้รับอนุญาตใน (1) หรือในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล (5) การประกอบกิจการโรงแรม สถานที่พักที่มิใชโรงแรมที่จัดไวเพื่อให้บริการพักชั่วคราว สําหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นใดโดยมีคาตอบแทน หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน (6) การประกอบกิจการหอพัก อาคารชุดให้เชา หองเชา หรือหองแบงเชา หรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน (7) การประกอบกิจการโรงมหรสพ (8) การจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เตนรํา ดิสโกเทก คาราโอเกะ หรือตูเพลง หรือการแสดงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน ( 9) การประกอบกิจการสระวายน้ําหรือกิจการอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน เวนแต่ เป็นการให้บริการที่ได้รับใบอนุญาตใน (1) (10) การประกอบกิจการการเลนสเกต หรือโรลเลอรเบลด หรือการเลนอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน (11) การประกอบกิจการเสริมสวยหรือแต่งผม เวนแต่กิจการที่ อยู่ในบังคับ ตามกฎหมายวาด้วยการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(12) การประกอบกิจการสถานที่ออกกําลังกาย (13) การประกอบกิจการให้บริการควบคุมน้ําหนัก (14) การประกอบกิจการสวนสนุก โบวลิ่ง หรือตูเกม (15) การประกอบกิจการให้บริการคอมพิวเตอร (16) การประกอบกิจการสนามกอลฟ หรือสนามฝกซอมกอลฟ (17) การประกอบกิจการหองปฏิบัติการทางการแพทย การสาธารณสุข วิทยาศาสตร หรือสิ่งแวดลอม (18) การประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือเจาะสวนหนึ่งสวนใดของรางกาย (19) การประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็กที่บ้านของผู้รับบริการ (20) การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ (21) การประกอบกิจการให้บริการสปา อาบน้ํา ตัดขน รับเลี้ยงหรือรับฝากสัตวชั่วคราว 10. กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ (1) การปนดาย กรอดาย ทอผาด้วยเครื่องจักรหรือทอผาด้วยกี่กระตุก (2) การสะสมปอ ปาน ฝาย นุน หรือในสังเคราะห (3) การปนฝาย นุน ใยสังเคราะหด้วยเครื่องจักร (4) การทอเสื่อ กระสอบ พรม หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร (5) การเย็บ ปกผา หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร (6) การพิมพผาและสิ่งทออื่น ๆ (7) การซัก อบ รีด หรืออัดกลีบผาด้วยเครื่องจักร (8) การยอม ฟอก กัดสีผา หรือสิ่งทออื่น ๆ 11. กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนตหรือวัตถุที่คลายคลึง (1) การผลิตภาชนะดินเผาหรือผลิตภัณฑดินเผา (2) การระเบิด โม บด หรือยอยหินด้วยเครื่องจักร (3) การผลิตสิ่งของ เครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ด้วยซีเมนตหรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การสะสม ผสมซีเมนต หิน ดิน ทราย วัสดุกอสราง รวมทั้งการขุด ตัก ดูด โม บด หรือยอยด้วยเครื่องจักร ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน (2) ้ หนา 53 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(5) การเจียระไนเพชร พลอย หิน หรือกระจก หรือวัตถุที่คลายคลึง (6) การเลื่อย ตัด หรือประดิษฐหินเป็นสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑตาง ๆ (7) การผลิตชอลก ปูนปลาสเตอร ปูนขาว ดินสอพอง หรือเผาหินปูน (8) การผลิตผลิตภัณฑตาง ๆ ที่มีแรใยหินเป็นสวนประกอบหรือสวนผสม (9) การผลิต ตัด บดกระจกหรือผลิตภัณฑแกว (10) การผลิตกระดาษทราย หรือผาทราย (11) การผลิตใยแกวหรือผลิตภัณฑจากใยแกว (12) การลาง การขัดด้วยการพนทรายลงบนพื้นผิวกระจก แกว หิน หรือวัตถุอื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 6 (5) 12. กิจการที่เกี่ยวกับปโตรเลียมปโตรเคมี ถานหิน ถานโคก และสารเคมีตาง ๆ (1) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกรด ดางสารออกซิไดซ หรือสารตัวทําละลาย (2) การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกาซ (3) การผลิต สะสม กลั่น หรือขนสงปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียม (4) การผลิต สะสม หรือขนสงถานหิน หรือถานโคก (5) การพนสี ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 7 (1) (6) การผลิตสิ่งของ เครื่องใชหรือผลิตภัณฑด้วยยางเทียม พลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (7) การโม สะสม หรือบดชัน (8) การผลิตสีหรือน้ํามันผสมสี (9) การผลิตลางฟลมรูปถายหรือฟลมภาพยนตร (10) การเคลือบ ชุบวัตถุด้วยพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง (11) การผลิตพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึงกัน (12) การผลิตหรือบรรจุสารเคมีดับเพลิง (13) การผลิตน้ําแข็งแหง (14) การผลิต สะสม บรรจุ ขนสงดอกไมเพลิง หรือสารเคมีอันเป็นสวนประกอบ ในการผลิตดอกไมเพลิง ้ หนา 54 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(15) การผลิตเชลแล็กหรือสารเคลือบเงา (16) การผลิต สะสม บรรจุ ขนสงสารกําจัดศัตรูพืชหรือพาหะนําโรค (17) การผลิตสะสม หรือบรรจุกาว 13. กิจการอื่น ๆ (1) การพิมพหนังสือ หรือสิ่งพิมพอื่นที่มีลักษณะเดียวกันด้วยเครื่องจักร (2) การผลิต ซอมเครื่องอิเล็กทรอนิกส เครื่องไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิ กส หรืออุปกรณไฟฟา (3) การผลิตเทียน หรือเทียนไข หรือวัตถุที่คลายคลึง (4) การพิมพแบบพิมพเขียว หรือถายเอกสาร (5) การสะสมวัตถุหรือสิ่งของที่ชํารุด ใชแล้วหรือเหลือใช (6) การประกอบกิจการโกดังสินคา (7) การลางขวด ภาชนะ หรือบรรจุภัณฑที่ใชแล้วเพื่อนําไปใชใหมหรือแปรสภาพ เป็นผลิตภัณฑใหม (8) การพิมพ เขียน พนสี หรือวิธีอื่นใดลงบนวัตถุที่มิใชสิ่งทอ (9) การประกอบกิจการทาเทียบเรือประมง สะพานปลา หรือแพปลา (10) การบรรจุหีบหอสินคาโดยใชเครื่องจักร (11) การให้บริการควบคุมปองกันและกําจัดแมลง หรือสัตวพาหะนําโชค (12) การผลิตสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากยาง (13) การผลิต สะสม หรือขนสงไบโอดีเซลและเอทานอล ขอ 6 ผู้ใดประสงคจะประกอบกิจการตามประเภทที่มีขอบัญญัติกําหนดให้เป็นกิจการที่ต้องมี การควบคุมตามขอ 5 ในลักษณะที่เป็นการคาจะต้องยื่นคําขอรับใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (อภ. 1) พรอมกับเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/บัตรประจําตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ (2) สําเนาทะเบียนบ้าน (3) สําเนาใบอนุญาตอื่นตามกฎหมายที่เกี่ยวของ (4) อื่น ๆ ้ หนา 55 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
ขอ 7 ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งต้องควบคุมตามขอบัญญัตินี้ ต้องปฏิบัติรวมทั้งจัดสถานที่สําหรับประกอบกิจการคานั้น ๆ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขอันเกี่ยวด้วยสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) สถานที่นั้นต้องตั้งอยู่ในทําเลที่จะมีรางระบายน้ํารับน้ําโสโครกได้อยางเหมาะสม ตามคําแนะนําของสาธารณสุข (2) ต้องจัดทํารางระบายน้ําหรือบอรับน้ําโสโครกด้วยวัตถุถาวรเรียบไม่ซึมไม่รั่วระบายน้ํา ได้สะดวก (3) การระบายน้ําต้องไม่ให้เป็นที่เดือดรอนแกผู้ใชน้ําในทางน้ําสาธารณะหรือที่อยู่อาศัยใกลเคียง (4) จัดให้มีระบบบําบัดน้ําเสียตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (5) เมื่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นวาสถานที่ใดสมควรจะต้องทําพื้นด้วยวัตถุถาวร เพื่อปองกันมิให้น้ําซึมรั่วไหลหรือขังอยู่ได้หรือเห็นวาควรมีบอพักน้ําโสโครกหรือทําการกําจัดน้ําโสโครก ไขมันให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลหรือต้องมีเครื่องระบายน้ําเครื่องปองกันกลิ่นไอเสีย ความสะเทือน ฝุนละออง เขมา เถา หรือสิ่งอื่นใดอันอาจเป็นเหตุรําคาญแกผู้ที่อยู่ขางเคียงขอกําหนดดังกลาวผู้ขอรับใบอนุญาต ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (6) ต้องให้มีแสงสวางและการระบายอากาศเพียงพอและต้องจัดสถานที่มิให้เป็นที่อยู่อาศัย ของสัตวนําโรค (7) ต้องจัดให้มีน้ําสะอาดเพียงพอแกกิจการนั้น ๆ (8) ต้องมีที่รองรับขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลอันได้ลักษณะจํานวนเพียงพอ (9) ต้องจัดให้มีสวมอันได้สุขลักษณะจํานวนเพียงพอกับจํานวนคนที่ทําการอยู่ในสถานที่นั้น และต้องตั้งอยู่ในทําเลที่เหมาะสม รวมทั้งการกําจัดสิ่งปฏิกูลด้วยวิธีที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลตามคําแนะนํา ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข (10) สถานที่เลี้ยงสัตวที่ขังและปลอยสัตวกวางขวางเพียงพอและต้องจัดให้ได้สุขลักษณะ (11) สถานที่เกี่ยวกับการตากหรือผึ่งสินคาต้องมีที่สําหรับตากหรือผึ่งสินคาตามที่ เจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นชอบ (12) ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวด้วยสุขลักษณะตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข และคําสั่งเจ้าพนักงานทองถิ่น รวมทั้งระเบียบ ขอบัญญัติ และประกาศขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ้ หนา 56 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
ขอ 8 เมื่อเจ้าพนักงานทองถิ่นได้พิจารณาแล้วเห็นวาผู้ขอรับใบอนุญาตได้ปฏิบัติการครบถวน ตามความในขอ 7 และการอนุญาตนั้นไม่เป็นเหตุกระทบกระเทือนต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ก็ให้ออกใบอนุญาตให้ตามแบบ อภ. 2 ขอ 9 เมื่อได้รับคําขอรับใบอนุญาตหรือคําขอต่ออายุใบอนุญาตให้เจ้าพนักงานทองถิ่น ตรวจความถูกต้องและความสมบูรณของคําขอ ถาปรากฏวาคําขอดังกลาวไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ ตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นรวบรวมความไม่ถูกต้อง หรือความไม่สมบูรณนั้นทั้งหมดและแจงให้ผู้ขออนุญาตแกไขให้ถูกต้องและสมบูรณในคราวเดียวกัน และในกรณีจําเป็นที่จะต้องสงคืนคําขอแกผู้ขออนุญาตก็ให้สงคืนคําขอพรอมทั้งแจงความไม่ถูกต้อง หรือความไม่สมบูรณให้ทราบภายในสิบหาวันนับแต่วันได้รับคําขอ เจ้าพนักงานทองถิ่นจะดําเนินการออกใบอนุญาตหรือมีหนังสือแจงคําสั่งไม่อนุญาตพรอมด้วยเหตุผล ให้ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการคาตามขอ 5 ทราบภายในสามสิบวันนับแต่ที่ได้รับคําขอซึ่งมีรายละเอียดถูกต้อง หรือครบถวนตามที่กําหนดในขอบัญญัตินี้ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นที่เจ้าพนักงานทองถิ่นไม่อาจออกใบอนุญาตหรือไม่อาจมีคําสั่งไม่อนุญาตได้ ภายในกําหนดเวลาตามวรรคสองให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสิบหาวัน โดยจะมีหนังสือแจงการขยายเวลาและเหตุจําเป็นแต่ละครั้งให้ผู้ขออนุญาตทราบกอนสิ้นกําหนดเวลา ตามวรรคสองหรือตามที่ได้ขยายเวลาไวแล้วนั้น แล้วแต่กรณี ผู้ขอรับอนุญาตต้องมารับใบอนุญาตพรอมชําระคาธรรมเนียมตามอัตราทายขอบัญญัตินี้ ภายในสิบหาวันทําการนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจงการอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นหากไม่มารับใบอนุญาต และชําระคาธรรมเนียมภายในระยะเวลาที่กําหนดถือวาสละสิทธิ์ ขอ 10 ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการตามประเภทที่ระบุไวในขอ 5 จะต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขอันเกี่ยวด้วยสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) ต้องประกอบกิจการนั้น ๆ ภายในเขตสถานที่ที่ได้รับอนุญาตวันเวลาที่ได้รับอนุญาต (2) ต้องรักษาเครื่องมืออุปกรณเครื่องใชในการประกอบกิจการทุกชนิดให้อยู่ในสภาพที่สะอาด และปลอดภัยพรอมใชงานอยู่เสมอ (3) ต้องรักษาสภาพแวดลอมสถานที่ประกอบกิจการให้สะอาดและปลอดภัยไม่ให้เป็นแหลง เพาะพันธุแมลงวัน ยุง สัตวพาหะนําโรคติดต่อและมีการปองกันและกําจัดแมลงและสัตวพาหะนําโรคอื่น ๆ ้ หนา 57 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(4) ต้องจัดให้มีระบบปองกันอัคคีภัยและระบบความปลอดภัยเวลาที่เกิดอัคคีภัยขึ้น มีบันไดหนีไฟหรือทางออกฉุกเฉินที่ถูกต้องตามกฎหมาย (5) ต้องจัดให้มีระบบปองกันมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิต (6) ต้องจัดให้มีระบบการปองกันการปนเปอนสารพิษในผลิตภัณฑที่เป็น “ อาหาร ” (7) กรณีที่ผู้ประกอบกิจการมีความประสงคจะทําการเปลี่ยนแปลงแกไขหรือเพิ่มเติม สถานที่ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นกอน (8) ต้องยอมให้เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เขาตรวจสอบสถานที่เครื่องใชตลอดจนวิธีการประกอบการคาตามกฎหมายตั้งแต่พระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก เมื่อได้รับแจงให้ทราบแล้ว (9) ปฏิบัติการอื่นใดอันเกี่ยวด้วยสุขลักษณะตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข หรือตามคําสั่งของเจ้าพนักงานทองถิ่นรวมทั้งระเบียบและประกาศขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ขอ 11 ใบอนุญาตให้มีอายุหนึ่งปนับแต่วันที่ออกใบอนุญาตและให้ใชได้เพียงในเขตอํานาจ ขององคการบริหารสวนตําบลหนองแวงเทานั้น ผู้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ต้องแสดงใบอนุญาตไวในที่เปดเผยและเห็นได้งาย ณ สถานที่ ประกอบกิจการตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ การขอต่ออายุใบอนุญาตจะต้องทําคําขอกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคําขอพรอมกับเสียคาธรรมเนียมแล้วให้ประกอบกิจการต่อไปได้จนกวาเจ้าพนักงานทองถิ่น จะสั่งไม่ต่ออายุใบอนุญาต การขอต่ออายุใบอนุญาตและการอนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดไวตามขอ 7 และขอ 10 ด้วย ขอ 12 ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องเสียคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตตามอัตราที่กําหนดไว ทายขอบัญญัตินี้ในวันที่มารับใบอนุญาตสําหรับกรณีที่เป็นการขอรับใบอนุญาตครั้งแรกหรือกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ สําหรับกรณีที่เป็นการขอต่ออายุใบอนุญาตตลอดเวลาที่ยังดําเนินกิจการนั้นถามิได้เสียคาธรรมเนียม ภายในเวลาที่กําหนดให้ชําระคาปรับเพิ่มขึ้นอีกรอยละยี่สิบของจํานวนคาธรรมเนียมที่คางชําระ เวนแต่ ผู้ได้รับใบอนุญาตจะได้บอกเลิกการดําเนินกิจการนั้นกอนถึงกําหนดการเสียคาธรรมเนียมครั้งต่อไป กรณีที่ผู้มีหน้าที่ต้องเสียคาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งคางชําระคาธรรมเนียมติดต่อกันเกินกวาสองครั้ง ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งให้ผู้นั้นหยุดการดําเนินกิจการไวจนกวาจะได้เสียคาธรรมเนียม และคาปรับจนครบจํานวน ้ หนา 58 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
ขอ 13 ในการออกใบอนุญาตตามขอ 7 เจ้าพนักงานทองถิ่นอาจกําหนดเงื่อนไขโดยเฉพาะระบุไว ในใบอนุญาตให้ผู้รับใบอนุญาตปฏิบัติเพื่อปองกันอันตรายต่อสุขภาพของสาธารณชนเพิ่มเติมจากที่กําหนดไว โดยทั่วไปในขอบัญญัตินี้ก็ได้ ใบอนุญาตตามขอ 7 ให้ใชได้สําหรับกิจการประเภทเดียวและสําหรับสถานที่แห่งเดียว ขอ 14 บรรดาคาธรรมเนียมและคาปรับตามขอบัญญัตินี้ให้เป็นรายได้ขององคการบริหาร สวนตําบลหนองแวง ขอ 15 กรณีใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญให้ผู้ได้รับใบอนุญาต ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ อภ. 4 ภายในสิบหาวันนับแต่วันที่ได้ทราบ ถึงการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํา รุด การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้ (1) ในกรณีใบอนุญาตสูญหายให้ผู้ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตนําสําเนาบันทึก การแจงความต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งทองที่ที่ใบอนุญาตสูญหาย มาแสดงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ประกอบด้วย (2) ในกรณีใบอนุญาตถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระที่สําคัญให้ผู้ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาต นําใบอนุญาตเดิมเทาที่เหลืออยู่มาแสดงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นประกอบด้วย (3) การออกใบแทนใบอนุญาตให้ใชแบบ อภ. 2 โดยประทับตราสีแดงวา “ ใบแทน ” กํากับไวด้วยและให้มีวันเดือนปที่ออกใบแทนพรอมทั้งลงลายมือชื่อเจ้าพนักงานทองถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จากเจ้าพนักงานทองถิ่นในใบแทนและตนขั้วใบแทน (4) ให้ใชใบแทนใบอนุญาตได้เทากับเวลาที่เหลือของอายุใบอนุญาตเดิมนั้น (5) บันทึกดานหลังตนขั้วใบอนุญาตเดิมระบุสาเหตุการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ในสาระสําคัญของใบอนุญาตเดิม แล้วแต่กรณี และลงเลมที่เลขที่ปของใบแทนใบอนุญาต ขอ 16 เมื่อผู้รับใบอนุญาตไม่ประสงคจะประกอบกิจการต่อไปให้ยื่นคํารองบอกเลิกกิจการ ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบ อภ. 4 ขอ 17 หากผู้รับใบอนุญาตประสงคจะแกไขรายการในใบอนุญาตให้ยื่นคําขอต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ตามแบบ อภ. 4 ขอ 18 ให้ใชแบบพิมพตาง ๆ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหนองแวงกําหนด ดังต่อไปนี้ ้ หนา 59 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
(1) คําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ อภ. 1 (2) ใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ อภ. 2 (3) คําขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้ใชแบบ อภ. 3 (4) คําขออนุญาตตาง ๆ ให้ใชแบบ อภ. 4 ขอ 19 ในกรณีที่ปรากฏวาผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการคารายใดไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวง ที่ออกตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือขอบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่ระบุไว ในใบอนุญาตในเรื่องที่กําหนดไวเกี่ยวกับการประกอบกิจการตามที่รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งให้แกไขหรือปรับปรุงให้ถูกต้อง และถาผู้ได้รับคําสั่งไม่แกไขหรือปรับปรุง ภายในเวลาที่กําหนดให้เจ้าพนักงานสวนทองถิ่นมีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตภายในเวลาที่เห็นสมควร ไม่เกินสิบหาวัน ขอ 20 เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเมื่อปรากฏวาผู้รับใบอนุญาต (1) ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตตั้งแต่สองครั้งขึ้นไปและมีเหตุที่จะต้องถูกสั่งพักใชใบอนุญาตอีก (2) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดวาได้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (3) ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือขอบัญญัตินี้หรือเงื่อนไขที่ระบุไวในใบอนุญาตในเรื่องที่กําหนดไวเกี่ยวกับการประกอบกิจการ ตามที่ได้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้และการไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องนั้นกอให้เกิดอันตรายอยางรายแรง ต่อสุขภาพของประชาชนหรือผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของประชาชน ขอ 21 คําสั่งพักใชใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ทําเป็นหนังสือแจงให้ผู้รับ ใบอนุญาตทราบ ในกรณีที่ไม่พบผู้รับใบอนุญาตหรือผู้รับใบอนุญาตไม่ยอมรับคําสั่งดังกลาวให้สงคําสั่ง โดยทางไปรษณียตอบรับหรือให้ปดคําสั่งนั้นไวในที่เปดเผยเห็นได้งาย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักงาน ของผู้รับใบอนุญาตและให้ถือวาผู้รับใบอนุญาตนั้นได้รับทราบคําสั่งแล้วตั้งแต่วันที่คําสั่งไปถึงหรือวันปดคําสั่ง แล้วแต่กรณี ้ หนา 60 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
ขอ 22 ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตสําหรับการประกอบกิจการที่ถูกเพิกถอน ใบอนุญาตอีกไม่ได้จนกวาจะพนกําหนดหนึ่งปนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ขอ 23 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจแต่งตั้งขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตอํานาจของ องคการบริหารสวนตําบลชัยพร ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือทุกเรื่องก็ได้ ขอ 24 ผู้ใดฝาฝนหรือไม่ปฏิบัติตามขอบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท ขอ 25 บรรดาใบอนุญาตประกอบการคาซึ่งเป็นที่รังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ที่ได้ออกกอนวันประกาศใชขอบัญญัตินี้ให้ใชได้ต่อไปจนสิ้นอายุใบอนุญาตนั้น ขอ 26 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวงเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับ นั้นเมื่อได้ประกาศไวโดยเปดเผย ณ สํานักงานองคการบริหาร สวนตําบลหนองแวงให้ใชบังคับได้ ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2562 บัวลอง วงษวิชิต นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง ้ หนา 61 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 154 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2566
อัตราคาธรรมเนียมใบอนุญาตและหนังสือรับรอง ทายขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหนองแวง เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ . ศ . 2562 ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 1 กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว 1.1 การเพาะพันธุ เลี้ยง และการอนุบาลสัต วทุกชนิด 1.1.1 การเลี้ยงสัตวบก (1 ) การเลี้ยงม้า โค กระบือ ก. การเลี้ยงม้า โค กระบือ เกินกวา 5 ตัว แต่ไม่เกิน 20 ตัว 200 ข. การเลี้ยงม้า โค กระบือ เกินกวา 20 ตัว แต่ไม่เกิน 40 ตัว 400 ค. การเลี้ยงม้า โค กระบือ เกินกวา 40 ตั วขึ้นไป 600 (2 ) การลี้ยงสุกร ก. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 5 ตัว แต่ไม่เกิน 20 ตัว 100 ข. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 20 ตัว แต่ไม่เกิน 40 ตัว 300 ค. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 40 ตัว แต่ไม่เกิน 100 ตัว 500 ง. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 100 ตัว แต่ไม่เกิน 1 , 000 ตัว 1 , 000 จ. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 1 , 000 ตัว แต่ไม่เกิน 5 , 000 ตัว 3 , 000 ฉ. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 5 , 000 ตัว แต่ไม่เกิน 10 , 000 ตัว 5 , 000 ช. การเลี้ยงสุกร เกินกวา 10 , 000 ตัวขึ้นไป 7 , 000 (3 ) การเลี้ยงแกะ แพะ ก . การเลี้ยงแกะ แพะ เกินกวา 6 ตัว แต่ไม่เกิน 20 ตัว 100 ข. การเลี้ยงแกะ แพะ เกินกวา 20 ตัว แต่ไม่เกิน 40 ตัว 150 ค. การเลี้ยงแกะ แพะ เกินกวา 40 ตัวขึ้นไป 200 1 . 1.2 การเลี้ยงสัตวปก (1 ) การเลี้ยงหาน เปด ไก ก. การเลี้ ยงหาน เปด ไก เกินกวา 100 ตัว แต่ไม่เกิน 1 , 000 ตัว 1 , 000 ข. การเลี้ยงหาน เปด ไก เกินกวา 1 , 000 ตัว แต่ไม่เกิน 5 , 000 ตัว 3 , 000 ง. การเลี้ยงหาน เปด ไก เกินกวา 5 , 000 ตัว แต่ไม่เกิน 10 , 000 ตัว 5 , 000 ค. การเลี้ยงหาน เปด ไก เกินกวา 1 0 , 000 ตัว ขึ้นไป 7 , 000 1 . 1.3 การเลี้ยงสัตวน้ํา (1 ) การเลี้ยงปลา กุง ก. การเลี้ยงปลา กุง ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร 100 ข. การเลี้ยงปลา กุง ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิ น 5, 000 ตารางเมตร 200 ค. การเลี้ยงปลา กุง ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 5, 000 ตารางเมตรขึ้นไป 500
-
2 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 1 . 1.4 การเลี้ยงสัตวเลื้อยคลาน หรือแมลง (1 ) การเลี้ยงตะพาบน้ํา ก. การเลี้ยงตะพาบน้ํา ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 25 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 100 ตารางเมตร 200 ข. การเลี้ยงตะพาบน้ํา ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 100 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร 400 ค. การเลี้ยงตะพาบน้ํา ขนาดพื้นที่บอเกินกวา 500 ตารางเมตรขึ้นไป 600 (2) การเลี้ยงจระเข ก. การเลี้ยงจระเข เกินกวา 20 ตัว แต่ไม่เกิน 100 ตัว 500 ข. การเลี้ยงจระเข เกินกวา 100 ตัว แต่ไม่เกิน 500 ตัว 1, 000 ค. การเลี้ยงจระเข เกินกวา 500 ตัว แต่ไม่เกิน 1, 000 ตัว 2, 000 ง. การเลี้ยงจระเข เกินกวา 1, 000 ตัว ขึ้นไป 3, 00 0 (3) การเลี้ยงนาก ก. การเลี้ยงนาก เกินกวา 2 ตัว แต่ไม่เกิน 4 ตัว 400 ข. การเลี้ยงนาก เกินกวา 4 ตัว แต่ไม่เกิน 10 ตัว 800 ค. การเลี้ยงนาก เกินกวา 10 ตัว ขึ้นไป 1, 000 1.2 การเลี้ยงสัตวเพื่อรีดเอานม ( 1) การเลี้ยงสัตวเพื่อรี ดเอานม เกินกวา 6 ตัว แต่ไม่เกิน 20 ตัว 200 ( 2) การเลี้ยงสัตวเพื่อรีดเอานม เกินกวา 20 ตัว แต่ไม่เกิน 40 ตัว 400 ( 3) การเลี้ยงสัตวเพื่อรีดเอานม เกินกวา 40 ตัว ขึ้นไป 600 2 กิจการที่เกี่ยวกับสัตวและผลิตภัณฑ 2.1 การฆา หรือชําแหละสัตว ยกเว นในสถานที่จําหนายอาหาร เรขาย หรือขายในตลาด ( 1) การฆาหาน เปด ไก ก . โดยไม่ใชเครื่องจักร 100 ข . โดยใชเครื่องจักร 500 2.2 การหมัก ฟอก ตาก หรือสะสมหนังสัตว ขนสัตว ( 1) การหมัก ฟอก ตาก หนังสัตวและขนสัตว 500 ( 2) การสะสมหนังสัต ว และขนสัตว 200 2 . 3 การสะสมเขา กระดูก หรือชิ้นสวนสัตวที่ยังมิได้แปรรูป 200 2 . 4 การเคี่ยวหนัง เอ็น หรือไขสัตว 500 2.5 การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ จากเปลือก กระดอง กระดูก เขา หนัง ขนสัตวหรือสวนอื่น ๆ ของสัตวด้วยการตม นึ่ง ตาก เผาหรือกรรมวิธีใด ๆ ซึ่งมิใชเป็นอาหาร 500
-
3 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 2.6 การผลิต โม ปน บด ผสม บรรจุ สะสม หรือกระทําอื่นใดต่อสัตวหรือพืช หรือสวนหนึ่งสวนใดของสัตวหรือพืชเพื่อเป็นอาหารสัตวหรือสวนประกอบ ของ อาหารสัตว 700 2.7 การผลิต แปรรูป สะสม หรือลางครั่ง 500 3 กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ําดื่มยกเวนในสถานที่จําหนายอาหาร การเรขาย การขายในตลาด และการผลิต เพื่อบริโภคในครัวเรือน 3.1 การผลิต สะสม หรือ แบงบรรจุ น้ําพริกแกง น้ําพริกปรุงสําเร็จ เตาเจี้ยว ซีอิ๊ว น้ําจิ้ม หรือซอสปรุงรสชนิดตาง ๆ ( 1) การผลิตน้ําพริกแกง 500 ( 2) การผลิตน้ําพริกเผา 500 ( 3) การผลิตเตาเจี้ยว 1, 000 ( 4) การผลิตซีอิ้ว 1, 000 ( 5) การผลิตน้ําจิ้ม หรือซอสปรุงรสอื่น ๆ 1, 000 3.2 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารหมัก ดอง จากสัตว ได้แก ปลารา ปลาเจา กุงเจา ปลาสม ปลาจอม แหนม หม่ํา ไสกรอก กะป น้ําปลา หอยดอง น้ําเคย น้ําบูดู ไตปลา หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน ( 1) การผลิตปลารา ปลาเจา กุงเจา ปลาสม ปลาจอม 500 ( 2) การผลิตแหนม หม่ํา ไสกรอก 500 ( 3) การผลิต กะป 500 ( 4) การผลิตน้ําปลา 1, 000 ( 5) การผลิตหอยดอง 500 ( 6) การผลิตน้ําเคย 500 ( 7) การผลิตน้ําบูดู 500 ( 8) การผลิตไตปลา 500 3.3 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ อาหารหมัก ดอง แชอิ่มจากผัก ผลไม หรือพืชอยางอื่น 500 3.4 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุอาหารจากพืชหรือสัตวโดยการตาก บด นึ่ง ตม ตุน เคี่ยว กวน ฉาบ ทอด อบ รมควัน ปง ยาง เผา หรือวิธีอื่นใด 500 3.5 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุลูกชิ้น 1, 000 3.6 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเสนหมี่ ขนมจีน กวยเตี๋ยว เตาฮวย เตาหู วุนเสน เกี้ยม อี๋ เนื้อสัตวเทียม หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน ( 1) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1, 000
-
4 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 3.7 กำรผลิตบะหมี่ มักกะโรนี สปาเกตตี พาสตำ หรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่คลายคลึ งกัน ( 1 ) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2 ) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1 , 000 3.8 การผลิต ขนมปงสด ขนมปงแห ง จันอับ ขนมเปยะ ขนมอบอื่น ๆ ( 1 ) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2 ) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1 , 000 3.9 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ น้ํานม ห รือผลิตภัณฑจากน้ํานมสัตว ( 1 ) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2 ) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1 , 000 3.10 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเนย เนยเทียม เนยผสม ผลิตภัณฑเนย ผลิตเนยเทียมและผลิตภัณฑเนยผสม 1 , 000 3.11 การผลิตไอศกรีม 1, 000 3.12 การคั่ว สะสม หรือแบงบรรจุกาแฟ ( 1) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1, 000 3.13 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ ใบชาแห ง ชาผง หรือเครื่องดื่มชนิดผงอื่น ๆ 500 3.14 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุเอทิลแอลกอฮอล สุรา เบียร ไวน น้ําสมสายชู ขาวห มาก น้ําตาลเมา 2 , 000 3.15 การผลิตน้ํากลั่น น้ําบริโภค น้ําดื่มจากเครื่องจําหนายอัตโนมัติ 1, 000 3.16 การผลิต สะสม แบงบรรจุ หรือขนสงน้ําแข็ง 1, 000 3.17 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ําอัดลม น้ําหวาน น้ําโซดา น้ําจากพืช ผลไม ผัก เครื่องดื่มชนิดตาง ๆ บรรจุก ระปอง ขวดหรือภาชนะอื่นใด ( 1) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1, 000 3.18 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ อาหารบรรจุกระปอง ขวด หรือภาชนะอื่นใด ( 1) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 1, 000 3.19 การ ผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ ผงชูรส หรือสารปรุงแต่อาหาร 2, 000 3.20 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุ น้ําตาล น้ําเชื่อม ( 1) ผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) ผลิตโดยใชเครื่องจักร 2, 000 3.21 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุแบะแซ 300 3.22 การแกะ ตัดแต่ง ลางสัตว น้ําที่ไม่ใชเป็นสวนหนึ่งของกิจการหองเย็น 500 3 . 23 การประกอบกิจการหองเย็นแชแข็งอาหาร 1, 000 3 . 24 การเก็บ การถนอมอาหารด้วยเครื่องจักร 1, 000
-
5 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 4 กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ อุปกรณการแพทย เครื่องสํา อาง ผลิตภัณฑทําความสะอาด 4.1 การผลิต โม บด ผสม หรือบรรจุยา 1 , 000 4.2 การผลิต บรรจุยาสีฟน แชมพู ผาเย็น กระดาษเย็น เครื่องสําอาง รวมทั้งสบูที่ใชกับรางกาย 1 , 000 4.3 การผลิต บรรจุสําลี ผลิตภัณฑจากสําลี 1, 000 4.4 การผลิตผาพันแผล ผาปดแผล ผำอนามัย ผาออมสําเร็จรูป 1, 000 4.5 การผลิตผงซักฟอก สบู น้ํายาทําความสะอาด หรือผลิตภัณฑ ทําความสะอาดตาง ๆ 1, 000 5 กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร 5.1 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุน้ํามันจากพืช 500 5.2 การลาง อบ รม หรือสะสมยางดิบ 500 5.3 การผลิต หรือแบงบรรจุแปงมันสําปะหลัง แปงสาคู แปงจากพืช หรือแปงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน 1 , 000 5.4 การสีขาว นวดขาวด้วยเครื่องจักร หรือแบงบรรจุขาวด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม ( 1) ใชเครื่องจักรไม่เกิน 15 แรงม้า 500 ( 2) ใชเครื่องจักรเกินกวา 15 แรงม้า แต่ไม่เกิน 40 แ รงม้า 1, 000 ( 3) ใชเครื่องจักรเกิน 40 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000 5.5 การผลิตยาสูบ 2, 000 5.6 การขัด กะเทาะ หรือบดเมล็ดพืช 1, 000 5.7 การผลิต สะสม หรือแบงบรรจุปุยหรือวัสดุที่นําไปผลิตปุย ( 1) การสะสมปุย 500 ( 2) การผลิตปุย 1, 000 5.8 การผลิต เสนใยจากพืช 1, 000 5.9 การตาก สะสม ขนถายผลิตผลของมันสําปะหลัง ขาวเปลือก ออย ขาวโพด 700 6 กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร 6.1 การผลิตโลหะเป็นภาชนะ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณหรือเครื่องใชตาง ๆ ( 1) โดยไม่ใชเครื่องจักร 300 ( 2) โดยใชเครื่ องจักรที่มีกําลังรวมกันไม่เกิน 2 แรงม้า 500 ( 3) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกินกวา 2 แรงม้า แต่ไม่เกิน 5 แรงม้า 1, 000 ( 4) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกินกวา 5 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000
-
6 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 6.2 การถลุงแร การหลอม หรือหลอโลหะทุกชนิด ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน 6.1 ( 1 ) การหลอม การหลอ แรหรือโลหะทุกชนิด 1 , 000 ( 2 ) การถลุง 2 , 000 6.3 การกลึง เจาะ เชื่อม ตี ตัด ประสาน รีด หรืออัดโลหะด้วยเครื่องจักร หรือกาซหรือไฟฟา ยกเวนกิจการที่ได้ รับใบอนุญาตใน 6.1 ( 1) การกลึง เจาะ รีด ตี ตัด โดยใชเครื่องจักรไม่เกิน 5 แรงม้า 500 ( 2) การกลึง เจาะ รีด ตี ตัด โดยใชเครื่องจักรเกินกวา 5 แรงม้า 1, 000 ( 3) การตี โดยใชแรงคน 300 ( 4) การเชื่อม การประสาน การอาบโลหะ ด้วยกาซหรือไฟฟา 500 6.4 การเคลือบ ชุบโลหะด้วยตะกั่ว สังกะสี ดีบุก โครเมียม นิกเกิล หรือโลหะอื่นใด ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 6.1 1 , 000 6.5 การขัด ลางโลหะด้วยเครื่องจักร หรือสารเคมี ยกเวนกิจการที่ได้รับ ใบอนุญาตใน 6.1 1, 000 6.6 การทําเหมืองแร สะสม แยก คัดเลือก หรือลำงแร ( 1) การทําเหมืองแร 5, 000 ( 2) การสะสม แยก คัดเลือก หรือลางแร 2, 000 7 กิจการเกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล 7.1 การต่อ ประกอบ เคาะ ปะผุ พนสี หรือพนสารกันสนิมยานยนต ( 1) การต่อ การประกอบยานยนต 3, 000 ( 2) การเคาะ การ ปะผุ การพนสี การพนสารกันสนิมยานยนต 2, 000 7.2 การผลิตยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล 2, 000 7.3 การซอม การปรับแต่งเครื่องยนต เครื่องจักร เครื่องกล ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ( 1) กำรซอมรถยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล 2, 000 ( 2) การซอมรถจักรยานยนต 500 ( 3 ) การปรับแต่ง ระบบปรับอากาศ หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล 2 , 000 7.4 การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล ซึ่งมีไวบริการ หรือจําหนาย และในการประกอบธุรกิจนั้นมีการซอมหรือปรับปรุงยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกลดังกลาวด้วย ( 1) รถยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล 3, 000 ( 2) รถจักรยานยนต 1, 000
-
7 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 7 .5 การลำง ขัดสี เคลือบสี หรืออัดฉีดยานยนต 1 , 000 7 .6 การผลิต สะสม จําหนาย ซอม หรืออัดแบตเตอรี่ 1 , 000 7 .7 การจําหนาย ซอม ปะ เชื่อมยางยานยนต หรือตั้งศูนยถวงลอ 500 7 .8 การผลิต ซอม ประกอบ หรืออัดผาเบรก ผาคลัต ช 1 , 000 7.9 การสะสม การซอมเครื่องกล เครื่องจักรเกา หรืออุปกรณที่เป็นสวนประกอบ ของยานยนต เครื่องจักรหรือเครื่องกล เกา 1 , 000 8 กิจการที่เกี่ยวกับไมหรือกระดาษ 8.1 การผลิตไมขีดไฟ 1, 000 8.2 การเลื่อย ซอย ขัด ใส เจาะ ขุดรอง ทําคิ้ว หรือตัดไมด้วยเครื่องจักร ( 1) โดยใชเครื่องจั กรที่มีกําลังรวมกันไม่เกิน 2 แรงม้า 500 ( 2) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกินกวา 2 แรงม้า แต่ไม่เกิน 5 แรงม้า 1, 000 ( 3) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกิน 5 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000 8.3 การผลิต พน ทาสารเคลือบเงา หรือสี แต่งสําเร็จสิ่งของเครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากไม หวาย ชานออย ( 1) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันไม่เกิน 2 แรงม้า 500 ( 2) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกินกวา 2 แรงม้า แต่ไม่เกิน 5 แรงม้า 1, 000 ( 3) โดยใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมกันเกิน 5 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000 8 .4 การอบไม 1, 000 8.5 การผลิต สะสม แบงบรรจุธูป 1, 000 8.6 การผลิตสิ่งของ เครื่องใช เครื่องเขียน หรือผลิตภัณฑอื่นใดด้วยกระดาษ ( 1) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วไม่เกิน 2 แรงม้า 500 ( 2) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วเกินกวา 2 แรงม้า แต่ไม่เ กิน 5 แรงม้า 1, 000 ( 3) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วเกินกวา 5 แรงม้า ขึ้นไป 1, 500 8.7 การผลิตกระดาษชนิดตาง ๆ ( 1) โดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) โดยใชเครื่องจักร 3, 000 8.8 การเผาถาน หรือสะสมถาน ( 1) การเผาถาน 500 ( 2) การสะสมถำน ไม่เกิน 20 กระสอบ 100 ( 3) การสะสมถาน เกินกวา 20 กระสอบ ไม่เกิน 40 กระสอบ 200 ( 4) การสะสมถาน เกินกวา 40 กระสอบ ขึ้นไป 500
-
8 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 9 กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ 9.1 การประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการในสถานพยาบาล ตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล 5 , 000 9.2 การประกอบกิจการอาบ อบ นวด 4, 000 9.3 การประกอบกิจการนวดเพื่อสุขภาพ เวนแต่เป็นการให้บริการที่ได้รับอนุญาตใน 9.1 หรือในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล 2 , 000 9.4 การประกอบกิจการสถานที่อาบน้ํา อบไอน้ํา อบสมุนไพร เวนแต่วาเป็นการให้บริการ ที่ได้รับใบอนุญาตใน 9.1 หรือในสถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้วยสถานพยาบาล 5 , 000 9.5 การประกอบกิจการโรงแรม สถานที่พักที่มิใชโรงแรมที่จัดไวเพื่อให้บริการ พักชั่วคราว สําหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นใดโดยมีคาตอบแทนหรือกิจการอื่น ในทํานองเดียวกัน ( 1) ไม่เกิน 20 หอง 1, 000 9.6 การประกอบกิจการหอพัก อาคารชุดให้เชา หองเชา หรือหองแบงเชา หรือกิจการอื่น ในทํานองเดียวกัน 1 , 000 9.7 การประกอบกิจการโรงมหรสพ 1, 000 9.8 การจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เตนรํา รําวง รองเง็ง ดิสโกเทก คาราโอเกะ หรือการแสดงอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน 1 , 000 9.9 การประกอบกิจการสระวายน้ํา หรือกิจการอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน เวนแต่ เป็นการให้บริการที่ได้รับใบอนุญาต 9.1 1 , 000 9.10 การประกอบกิจการเลนสเกต หรือโรลเลอรเบลด หรือการเลนอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน 2 , 000 9.11 การประกอบกิจการเสริมสวย หรือแต่งผม เวนแต่กิจการที่อยู่ในบังคับ ตามกฎหมายวาด้วยการประกอบวิชาชีพเวชกรรม 200 9.12 การประกอบกิจการสถานที่ออกกําลัง 1, 000 9.13 การประกิจการให้บริการควบคุมน้ําหนัก 1, 000 9. 14 การประกอบกิจการสวนสนุก โบวลิ่ง หรือตูเกม 1, 000 9.15 การประกอบกิจการให้บริการคอมพิวเตอร 1, 000 9.16 การประกอบกิจการสนามกอลฟ หรือสนามฝกซอมกอลฟ ( 1) ประกอบกิจการสนามกอลฟ 5, 000 ( 2) การประกอบกิจการสนามฝกซอมกอลฟ 3, 000 9.17 การประกอบกิจการหองปฏิบัติการทางกาแพทย การสาธารณสุข วิทยาศาสตร หรือสิ่งแวดลอม 1 , 000
-
9 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 9.18 การประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือเจา ะ สวนหนึ่งสวนใดของรางกาย 500 9.19 การประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็กที่บา นของผู้รับบริการ 500 9.20 การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ 500 9.21 การประกอบกิจการให้บริการสปา อาบน้ํา ตัดขน รับเลี้ยงหรือ รับฝากสัตวชั่วคราว 500 10 กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ 10.1 การปนดาย กรอดาย ทอผาด้วยเครื่องจั กร หรือทอผาด้วยกี่กระตุก ( 1 ) การปนดาย การกรอดาย การทอผาด้วยเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า 1 , 000 ( 2 ) การปนดาย การกรอดาย การทอผาด้วยเครื่องจักรเกินกวา 20 แรงม้า 2 , 000 ( 3 ) การทอผาด้วยกี่กระตุก ตั้งแต่ 5 กี่ ถึง 10 กี่ 200 ( 4 ) การทอ ผาด้วยกี่กระตุก เกินกวา 10 กี่ ขึ้นไป 300 10.2 การสะสมปอ ปาน ฝาย นุน หรือใยสังเคราะห 500 10.3 การปนฝาย นุน ใยสังเคราะหด้วยเครื่องจักร 1 , 000 10.4 การทอเสื่อ กระสอบ พรม หรือสิ่งทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร 2 , 000 10.5 การเย็บ ปกผา หรือสิ่ง ทออื่น ๆ ด้วยเครื่องจักร ( 1 ) ตั้งแต่ 5 เครื่อง ไม่เกิน 10 เครื่อง 300 ( 2 ) เกินกวา 10 เครื่อง ขึ้นไป 500 10.6 การพิมพผา และสิ่งทออื่น ๆ 1 , 000 10.7 การซัก อบ รีด หรืออัดกลีบผาด้วยเครื่องจักร 1 , 000 10.8 การยอม ฟอก กัดสีผาหรือสิ่งทออื่น ๆ 1 , 000 11 กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง 11.1 การผลิตภาชนะดินเผาหรือผลิตภัณฑดินเผา ( 1 ) โดยไม่ใชเครื่องจักร 300 ( 2 ) โดยใชเครื่องจักร 1 , 000 11.2 การระเบิด โม บด หรือยอยหินด้วยเครื่องจักร 3 , 000 11.3 การผ ลิตสิ่งของ เครื่องใชหรือผลิตภัณฑอื่น ๆ ด้วยซีเมนต หรือวัตถุที่คลายคลึง ( 1 ) โดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2 ) โดยใชเครื่องจักร 1 , 000 11.4 การสะสม ผสมซีเมนต หิน ดิน ทราย วัสดุกอสราง รวมทั้งการขุด ตัก ดูด โม บด หรือยอยด้วยเครื่องจักร ยกเวนกิ จการที่ได้รับใบอนุญาตใน 11.1 ( 1) ไม่เกิน 5, 000 กิโลกรัม ( 5 ตัน) 500 ( 2) เกินกวา 5, 000 กิโลกรัม ขึ้นไป 1, 000
-
10 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 11.5 การเจียระไนเพชร พลอย หิน หรือกระจก หรือวัตถุที่คลายคลึง ( 1 ) โดยไม่ใชเครื่อง จักร 500 ( 2 ) โดยใชเครื่องจักร 1 , 000 11.6 การเลื่อย ตัด หรือประดิษฐหินเป็นสิ่งของ เครื่องใช หรือผลิตภัณฑตาง ๆ 1 , 000 11.7 การผลิตชอลก ปูนปลาสเตอร ปูนขาว ดินสอพอง หรือเผาหินปูน 1 , 000 11.8 การผลิต ผลิตภัณฑตาง ๆ ที่มีแรใยหินเป็นสวนประกอบ หรือสวนผสม 2 , 000 11.9 การผลิต ตัด บดกระจกหรือผลิตภัณฑแกว 1 , 000 11.10 การผลิตกระดาษทราย หรือผาทราย 1 , 000 11.11 การผลิตใยแกว หรือผลิตภัณฑจากใยแกว 1 , 000 11.12 การลาง การขัดด้วยการพนทรายลงบนพื้นผิวกระจก แกว หิน หรือวัตถุอื่นใด ยกเวนกิจกำรที่ได้รับอนุญาตใน 6.5 1 , 000 12 กิจการที่เกี่ยวกับปโตรเลียม ปโตรเคมี ถานหิน ถานโคก และสารเคมีตาง ๆ 12.1 การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกรด ดาง สารออกซิไดซ หรือสารตัวทําละลาย ( 1) การทําน้ํากรด ดาง สารออกซิไดซ หรือสารตัวทําละลาย 2, 000 ( 2) กา รบรรจุ การสะสม การขนสงกรด ดาง สารออกซิไดซหรือ สารตัวทําละลาย 1, 000 12.2 การผลิต สะสม บรรจุ หรือขนสงกาซ ( 1) การผลิตกาซ 2, 000 ( 2) การบรรจุ การสะสมกาซ พื้นที่ไม่เกิน 100 ตารางเมตร 1, 000 ( 3) การบรรจุ การสะสมกาซ พื้นที่เกินกวา 100 ตารางเมต ร ขึ้นไป 2, 000 ( 4) ปมกาซ 4, 000 ( 5) การขนสงกาซ 1, 000 12.3 การผลิต สะสม กลั่น หรือขนสงปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียม ( 1) การผลิต กลั่น น้ํามันปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียมตาง ๆ 10, 000 ( 2) การสะสมน้ํามันปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑป โตรเลียมตาง ๆ ก . จํานวนสะสมไม่เกิน 1, 000 ลิตร 500 ข . จํานวนสะสมเกินกวา 1, 000 ลิตร ไม่เกิน 5, 000 ลิตร 1, 000 ค . จํานวนสะสมเกินกวา 5, 000 ลิตร ขึ้นไป 2, 000 ง . การขนสงน้ํามันปโตรเลียมหรือผลิตภัณฑปโตรเลียมตาง ๆ 1, 000 12.4 การผลิต สะสม หรือขนสงถานหิน หรือถานโคก ( 1) การผลิตถานหิน ถานโคก 10, 000 ( 2) การสะสมถานหิน ถานโคก 1, 000 ( 3) การขนสงถานหิน ถานโคก 500
-
11 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 12.5 การพนสี ยกเวนกิจการที่ได้รับใบอนุญาตใน 7 . 1 1 , 000 12.6 การผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑด้วยยางเทียม พลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง ( 1) ใชเครื่องจักรไม่เกิน 2 แรงม้า 500 ( 2) ใชเครื่องจักรเกินกวา 2 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000 12.7 การโม สะสม หรือบดชัน ( 1) โดยไม่ใชเครื่ องจักร 300 ( 2) โดยใชเครื่องจักร 500 12.8 การผลิตสีหรือน้ํามันผสมสี 2, 000 12.9 การผลิต ลางฟลมรูปถายหรือฟลมภาพยนตร ( 1) ลางฟลมรูปถาย 500 ( 2) ลางฟลมภาพยนต 2, 000 ( 3) การผลิตฟลมรูปถายหรือฟลมภาพยนต 5, 000 12.10 การเคลือบ ชุบวัตถุด้วยพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง 2 , 000 12.1 1 การผลิตพลาสติก เซลลูลอยด เบเกอรไลท หรือวัตถุที่คลายคลึง 5, 000 12.12 การผลิต หรือบรรจุสารเคมีดับเพลิง 2, 000 12.13 การผลิตน้ําแข็งแหง ( 1) ใชเครื่องทําความเ ย็นไม่เกิน 5 แรงม้า 500 ( 2) ใชเครื่องทําความเย็นเกินกวา 5 แรงม้า แต่ไม่เกิน 20 แรงม้า 1, 000 ( 3) ใชเครื่องทําความเย็นเกินกวา 20 แรงม้า ขึ้นไป 2, 000 12.14 การผลิต สะสม ขนสงดอกไมเพลิง หรือสารเคมีอันเป็นสวนประกอบ ในการผลิตดอกไมเพลิง 1 , 000 12.15 การผลิตเชลแล็ก หรือสารเคลือบเงา 1, 000 12.16 การผลิต สะสม บรรจุ ขนสงสารกําจัดศัตรูพืชหรือพาหะนําโรค ( 1) การผลิตโดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) การผลิตโดยใชเครื่องจักร 1, 000 ( 3) การสะสม การบรรจุ การขนสง 500 12.17 การผลิต สะสม หรือบรรจุ กาว ( 1) การผลิต 1, 000 ( 2) การบรรจุ การสะสม 1, 000
-
12 - ลําดับที่ ประเภทการคา คาธรรมเนียม (บาท) 13 กิจการอื่น ๆ 13.1 การพิมพหนังสือหรือสิ่งพิมพอื่นที่มีลักษณะเดียวกันด้วยเครื่องจักร ( 1 ) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วไม่เกิน 2 แรงมำ 500 ( 2 ) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วเกินกวา 2 แรงม้า แต่ไม่เกิน 5 แรงม้า 1 , 000 ( 3 ) สถานที่มีเครื่องจักรรวมกันแล้วเกินกวา 5 แรงม้า ขึ้นไป 1 , 500 13.2 การผลิต ซอมเครื่องอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส หรือเครื่องอุปกรณไ ฟฟา ( 1) การผลิต 5, 000 ( 2) การซอม 1, 000 13.3 การผลิตเทียน หรือเทียนไข หรือวัตถุที่คลายคลึง ( 1) โดยไม่ใชเครื่องจักร 500 ( 2) โดยใชเครื่องจักร 1, 000 13.4 การพิมพแบบ พิมพเขียว หรือถายเอกสาร ( 1) การพิมพแบบ พิมพเขียว 1, 000 ( 2) การถายเอกสาร 500 13.5 การสะสมวัตถุหรือสิ่งของที่ชํารุด ใชแล้วหรือเหลือใช 200 13.6 การประกอบกิจการโกดังสินคา 1, 000 13.7 การลางขวด ภาชนะหรือบรรจุภัณฑที่ใชแล้วเพื่อนําไปใชใหมหรือแปรสภาพ เป็นผลิตภัณฑใหม 300 13.8 การพิมพ เขียน พนสี หรือวิธีอื่นใดลงบนวัตถุที่มิใชสิ่งทอ 500 13.9 การประกอบกิจการทาเทียบเรือประมง สะพานปลา หรือแพปลา 1, 000 13.10 การบรรจุหีบหอสินคาโดยใชเครื่องจักร 1, 000 13.11 การให้บริการควบคุมปองกันและกําจัดแมลง หรือสัตวพาหะนําโรค 1, 000 13.12 การผลิตสิ่งข อง เครื่องใช หรือผลิตภัณฑจากยาง 1, 000 13.13 การผลิต สะสม หรือขนสงไบโอดีเซลและเอทานอล 1, 000