Wed Jun 28 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยชั้นที่สุด กรณีสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2566


ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยชั้นที่สุด กรณีสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2566

ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยชั้นที่สุด กรณีสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2566 ตามที่ได้มีประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง เปิดการไต่สวนการทุ่มตลาดสินค้าอะลูมิเนียม อัดขึ้นรูปที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2564 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2564 เปิดการไต่สวนการทุ่มตลาดสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และต่อมาในการประชุมคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน ครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2566 คณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุนได้มีคาวิ นิจฉัยชั้นที่สุด กรณีสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ว่ามีการทุ่มตลาดแต่ไม่มี ความเสียหายอย่างสำคัญที่เกิดแก่อุตสาหกรรมภายในตามมาตรา 19 (1) มาตรา 20 และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. 2542 จึงไม่สามารถใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดกับสินค้าอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหล่งกำเนิดจาก สาธารณรัฐประชาชนจีน นั้น เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อ 2 ข้อ 4 และข้อ 8 ของกฎกระทรวงการแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน และการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด และการอุดหนุน พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่ มตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 6 2 อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ จึงออกประกาศแสดงรายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐาน ในการวินิจฉัยชั้นที่สุดไว้ ดังเอกสารท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 256 6 รณรงค์ พูลพิพัฒน์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 152 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 มิถุนายน 2566

1 เอกสารทายประกาศกรมการคาตางประเทศ เรื่อง รายละเอียดขอเท็จจริงและขอกฎหมายอันเป็นสาระสําคัญ ที่ใชเป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยชั้นที่สุด กรณีสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน พ.ศ. 2566 ขอ 1 ความเป็นมา 1.1 บริษัท วีระวงค ชินวัฒน และพารทเนอรส จํากัด โดยกระทําการแทนผู้ผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ในประเทศบางสวน จํานวน 7 ราย ซึ่งประกอบด้วย 1) บริษัท โกลดสตารเมททอล จํากัด 2) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด 3) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด 4) บริษัท เมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด 5) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด 6) บริษัท อลูเม็ท จํากัด และ 7) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด ได้ยื่นคําขอ ต่อกรมการคาตางประเทศ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2564 เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและ การอุดหนุน (คณะกรรมการ ทตอ.) ดําเนินการพิจารณาตอบโตการทุมตลาดจากการนําเขาสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป (Aluminium Extrusions) ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่จากการตรวจสอบพบวาขอมูลและเอกสาร หลักฐานประกอบคําขอบางสวนไม่ครบถวนสมบูรณ กรมการคาตางประเทศจึงแจงให้ดําเนินการแกไข ปรับปรุง และ จัดสงขอมูลเพิ่มเติม โดยผู้ยื่นคําขอได้ปรับปรุงแกไขขอมูลและนําสงเอกสารเพิ่มเติม 1 ครั้ง ทั้งนี้ ผู้ยื่นคําขอสงคําขอ และเอกสารประกอบฉบับสมบูรณให้กรมการคาตางประเทศ เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2564 ซึ่งเป็นไปตามกรอบ ระยะเวลาที่กระทรวงพาณิชยประกาศกําหนด 1.2 คณะกรรมการ ทตอ. ได้มีมติในการประชุม เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 ให้รับคําขอ เนื่องจาก คําขอดังกลาวมีความครบถวนถูกต้องของรายละเอียดและพยานหลักฐาน และให้เปดการไตสวน เนื่องจากมีมูล เกี่ยวกับการทุมตลาดและความเสียหาย ต่อมากรมการคาตางประเทศออกประกาศ เรื่อง เปดการไตสวนการทุมตลาด สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2564 มีผลใชบังคับตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2564 รวมทั้งได้เผยแพรประกาศเปดการไตสวนดังกลาวในหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ และหนังสือพิมพ Bangkok Post ฉบับวันที่ 12 มกราคม 256 5 1.3 คณะกรรมการ ทตอ. ได้มีมติในการประชุม เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 ให้ขยายระยะเวลา การไตสวนออกไปอีก 6 เดือน จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 2 ธันวาคม 2565 เป็นสิ้นสุดวันที่ 2 มิถุนายน 2566 ขอ 2 การไตสวนการทุมตลาดและความเสียหาย กรมการคาตางประเทศได้ดําเนินการไตสวนการทุมตลาดและความเสียหายกรณีสินคาอะลูมิเนียม อัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามหลักเกณฑที่กําหนดตาม พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการตอบโต การทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 6 2 (พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และที่แกไขเพิ่มเติม) และอนุบัญญัติที่เกี่ยวของ โดยมีรายละเอียดขอเท็จจริงและขอกฎหมายอันเป็นสาระสําคัญ ที่ใชเป็นพื้นฐานในการพิจารณา ดังนี้ 2.1 สินคาที่ถูกพิจารณา สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ภายใตพิกัดศุลกากร และรหัสสถิติ จํานวน 8 รายการ ได้แก 7604.10.10.000 7604.10.90.000 7604.21.90.000 7604.29.10.000 7604.29.90.001 7604.29.90.090 7610.10.10.000 และ 7610.10.90.000 ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน

2 2.2 ผู้มีสวนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวของในกระบวนการไตสวน 2.2.1 ผู้ผลิต/อุตสาหกรรมภายในประเทศ 1) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด 2) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด 3) บริษัท เมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด 4) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด 5) บริษัท โกลดสตารเมททอล จํากัด 6) บริษัท อลูเม็ท จํากัด 7) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด 8) บริษัท ฟูจิเมททอล จํากัด 9) บริษัท บีจี โฟลต กลาส จํากัด 10) บริษัท มหานครมิทอล จํากัด 11) บริษัท ไทยอลูเวิรค จํากัด 12) บริษัท พี.แอนด.แอล แมนูแฟคเตอรริ่ง จํากัด 13) บริษัท สยามอินทีเกรทเอ็กทรูสชั่น อินดัสทรี จํากัด 14) บริษัท ธาราทองเมททอล จํากัด 15) บริษัท อลูทอป จํากัด 16) บริษัท รัตนดํารงค จํากัด 2.2.2 ผู้ผลิต/ผู้สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน 1) Guangdong Yonglong Aluminum Co., Ltd. 2) Shandong Zhonghao Aluminum Group Co., Ltd. 3) Foshan Yatai PVC & ALU. Co., Ltd. 4) Guang Ya Aluminium Co., Ltd. 5) Guangdong Xingfa Aluminum Industry Co., Ltd. 6) Guangdong Jianmei Aluminum Profile Factory (Group) Co., Ltd. 7) Guangdong Huachang Aluminum Factory Co., Ltd. 8) Guangdong Weiye Aluminium Factory Group Co., Ltd. 9) Rongxing Aluminium Co., Ltd. 10) Shandong Huajian Aluminium Group Co., Ltd. 11) Asia - Pacific Light Alloy (Nantong) Technology Co., Ltd. 12) Southwest Aluminium (Group) Co., Ltd. 13) Zhongshan Geelong Manufacturing Co., Ltd. 14) Guangdong Nanhai Light Industrial Products Imp. And Exp. Co., Ltd. 15) Splendor Aluminum Metal Co., Ltd. 16) Shandong Kang Aluminium Commercial Co., Ltd. 17) Guangdong Weiye Aluminum Group (HK) Co., Ltd

3 2.2.3 สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจําประเทศไทย ในฐานะรัฐบาลของ ประเทศแหลงกําเนิดหรือประเทศผู้สงออกสินคาที่ถูกพิจารณา 2.2.4 ผู้นําเขา/ผู้ใชภายในประเทศรายสําคัญ 1) บริษัท กรีน โซลาร (ประเทศไทย) จํากัด 2) บริษัท กิจการรวมคา เจียงตู เจียงซู จํากัด 3) บริษัท โกลบอล อารคิเทคเชอรัล จํากัด 4) บริษัท เค วี ดีเวลลอปเปอร จํากัด 5) บริษัท เคซี อัลเทค (ประเทศไทย) จํากัด 6) บริษัท แคสแคล จํากัด 7) บริษัท ซานโยว อิมปอรต เอ็กซปอรต จํากัด 8) บริษัท โตชิน อินเตอรเนชั่นแนล คอรปอเรชั่น จํากัด 9) บริษัท ทริปเปลเอ็มแครี่ จํากัด 10) บริษัท บี.เอช.แอล. เทรดดิ้ง จํากัด 11) บริษัท พรีฟอรมด ไลน โปรดัคส (ประเทศไทย) จํากัด 12) บริษัท แพลนเน็ต ซัพพลาย 180 จํากัด 13) บริษัท แมททีเรียล เวิลด จํากัด 14) บริษัท ระฆังทองพลาสติก จํากัด 15) บริษัท วินโดวเอเชีย จํากัด 16) บริษัท วีล พาวเวอร ซัพพลายส จํากัด 17) บริษัท สยามโกลบอลเฮาส จํากัด 18) บริษัท อลูไซท พรีซิชั่น จํากัด 19) บริษัท อินเตอรไทยแมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด 20) บริษัท อินโนแวลูส พรีซิชั่น (ประเทศไทย) จํากัด 21) บริษัท อี. แอนด วี. (สาขา 4) จํากัด 22) บริษัท เอส เอ็น ซี คูลลิ่ง ซัพพลาย จํากัด 23) บริษัท เอสที อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด 24) บริษัท โออารเอ็ม อลูมิเนียม จํากัด 2.2.5 กลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมในทางการคาที่เกี่ยวของ 1) กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2) กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3) กลุ่มอุตสาหกรรมต่อเรือซอมเรือและกอสรางงานเหล็ก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 4) กลุ่มอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 5) กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และโทรคมนาคม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 6) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 7) สมาคมการคาผู้ประกอบการอลูมิเนียมและกระจกไทย 8) สมาคมต่อเรือและซอมเรือไทย 9) สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคมไทย

4 2.3 ชวงเวลาของขอมูลที่ใชในการไตสวนการทุมตลาดและความเสียหาย 2.3.1 การพิจารณาการทุมตลาด คือ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 (ชวงระยะเวลาการไตสวน (Investigation Period : IP)) 2.3.2 การพิจารณาความเสียหาย คือ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 โดยชวงระยะเวลาการไตสวน (Investigation Period : IP) คือ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 และชวงระยะเวลาเดียวกันกอนระยะเวลาการไตสวน (Period Prior of Investigation Period : PP) คือ ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 30 กันยายน 256 3 2.4 การสงแบบสอบถาม เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2564 กรมการคาตางประเทศได้จัดสงแบบสอบถามไปยังผู้มีสวนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวของที่ปรากฏรายชื่อตามขอ 2.2 เพื่อให้แจงขอเท็จจริงและขอคิดเห็นสําหรับใชประกอบการพิจารณา การไตสวนการทุมตลาด ปรากฏผู้ตอบแบบสอบถามภายในระยะเวลาที่กําหนด ดังนี้ 2.4.1 ผู้ผลิตภายในประเทศ จํานวน 8 ราย 1) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด 2) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด 3) บริษัท เมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด 4) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด 5) บริษัท โกลดสตารเมททอล จํากัด 6) บริษัท อลูเม็ท จํากัด 7) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด 8) บริษัท อินเตอรไทยแมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด ไม่ปรากฏขอมูลรายละเอียดสําหรับ การพิจารณาความเสียหาย ดังนั้น จึงไม่สามารถรับคําตอบแบบสอบถามของบริษัทมารวมพิจารณาเพื่อพิสูจน ความเสียหายของอุตสาหกรรมภายในได้ 2.4.2 ผู้นําเขา/ผู้ใชภายในประเทศ จํานวน 7 ราย 1) บริษัท เคซี อัลเทค (ประเทศไทย) จํากัด 2) บริษัท บี.เอช.แอล. เทรดดิ้ง จํากัด 3) บริษัท แพลนเน็ต ซัพพลาย 180 จํากัด 4) บริษัท สวอน 180 อิมพอรต แอนด เอ็กซพอรต จํากัด 5) บริษัท ระฆังทองพลาสติก จํากัด 6) บริษัท อินโนแวลูส พรีซิชั่น (ประเทศไทย) จํากัด 7) บริษัท รัชดาศูนยรวมวัสดุ จํากัด 2.4.3 ผู้ผลิต/ผู้สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน จํานวน 12 ราย 1) Guangdong Yonglong Aluminum Co., Ltd. 2) Qingyuan XinYueYa Aluminum Industry Co., Ltd. 3) Guangdong Nanhai Light Industrial Products Imp. And Exp. Co., Ltd. 4) Foshan Nanhai Wing Hing Aluminum Co., Ltd. 5) Foshan Greatness Trade Co., Ltd. 6) Foshan JMA Aluminium Co., Ltd. 7) Guangdong JMA Aluminium Profile Factory (Group) Co., Ltd. 8) Sihui Guangzheng Aluminum Profile Co., Ltd.

5 9) Guangdong Golden Aluminum Co., Ltd. 10) Jiangsu Asia - Pacific Light Alloy Technology Co., Ltd. 11) Foshan Guangshou Import and Export Co., Ltd. 12) Press Metal International Ltd. ไม่ปรากฏขอมูลที่เป็นสาระสําคัญต่อการพิจารณา การทุมตลาด ดังนั้น จึงไม่สามารถรับคําตอบแบบสอบถามของบริษัทมารวมพิจารณาเพื่อพิสูจนการทุมตลาดได้ 2.5 ขอคิดเห็นของผู้มีสวนได้เสียและขอชี้แจงของกรมการคาตางประเทศต่อการเปดไตสวน ในชวงเวลาที่เปดให้แสดงขอคิดเห็น/ขอโตแยงต่อการเปดการไตสวนการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียม อัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ปรากฏวาไม่มีผู้มีสวนได้เสียรายใดแสดงขอคิดเห็น/ขอโตแยง ต่อการเปดไตสวนดังกลาว อยางไรก็ตาม ในระหวางการไตสวน ปรากฏผู้นําเขา/ผู้ใชที่ได้แสดงขอคิดเห็น/ขอโตแยง ต่อการกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด โดยมีประเด็นสําคัญ ดังนี้ 2.5.1 สินคาที่ถูกพิจารณาไม่ใชสินคาที่เหมือนกันทุกประการกับสินคาที่ผลิตภายในประเทศ ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา การจําหนายอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปมีปจจัย เกี่ยวเนื่องมากกวาโครงสรางราคา เชน ชองทางจัดจําหนาย สตอกสินคาที่เพียงพอต่อการใชงาน ความเชื่อมั่นใน คุณภาพ การบริการหลังการขาย การใชงานหรือการประกอบหน้าบานจริง นอกจากนี้ อะลูมิเนียมแต่ละหน้าตัดของ แต่ละแบรนดมีขนาดเฉพาะตัว ไม่สามารถประกอบเขากันได้ หรือประกอบแล้วไม่แนบสนิท ผู้ผลิตในประเทศหลาย โรงงานไม่สามารถควบคุมความหนาให้ได้มาตรฐาน ไม่สามารถผลิต/ไม่แกไขเฉดสีของสินคาให้ตรงกับคําสั่งซื้อ ขอชี้แจง กรมการคาตางประเทศได้รับแจงจากอุตสาหกรรมภายในวาผู้ผลิตภายในประเทศสามารถ ผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปได้ทุกความหนา และทุกเกรด (1xxx 2xxx 3xxx 4xxx 5xxx 6xxx 7xxx) ในสวน ของหน้าตัด ในทางการคาปกติผู้ผลิตเกือบทั้งหมดจะทําการผลิตเป็น 2 สวน คือ อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปมาตรฐาน (Generic Profile) ซึ่งเป็นสินคาสําเร็จรูปที่มีหน้าตัดและขนาดมาตรฐาน โดยสามารถใชทดแทนกันได้อยางสมบูรณ และ อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปที่ผลิตตามรูปแบบเฉพาะ (Customised Profile) ซึ่งเป็นการผลิตตามแบบเฉพาะการใชงาน รูปแบบและขนาดเป็นไปตามคําสั่งผลิต การทดแทนกันของสินคาดังกลาวต้องพิจารณาเป็นเฉพาะรายการ อยางไรก็ตาม ผู้ผลิตภายในประเทศสามารถผลิตอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปได้ทุกหน้าตัด รวมถึงการเคลือบสีและพนสี โดยผู้ผลิตภายในประเทศสามารถผลิตสินคาได้ทุกผิวสัมผัส ในกรณีผิวชุบ Anodize สีของสินคาเกิดจากการใช tin sulphate ดังนั้น สีที่ได้จึงเป็นสีเดียวกันไม่วาจะเป็นจากผู้ผลิตรายใด ในกรณีการพนสีฝุน (Powder Coating) และการพนสีน้ํา (PVDF) ผู้ผลิตสามารถผลิตสินคาเฉดสีตาง ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกคาได้ทั้งสิ้น 2.5.2 พิกัดศุลกากรที่กําหนด ครอบคลุมสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปที่กวางเกินไป ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา พิกัดศุลกากรที่กําหนด ครอบคลุมสินคา อะลูมิเนียมที่กวางเกินไป เป็นการตีความที่เหมารวมสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปทุกชนิดวามีราคาและตนทุนที่ เทากัน โดยในความเป็นจริงแล้ว ตนทุนการผลิต ในแต่ละขั้นตอนมีคาทําสี ทําผิว หุมหอ ที่มีสวนตางกันตั้งแต่ รอยละ 5 - 30 ซึ่งยังไม่รวมตนทุนแฝงอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุในสินคา ณ วันที่นําเขา สถานะสินคาและความเป็นจริง จึงมีความหลากหลายและแตกตางจากนั้นมาก ขอชี้แจง พิกัดศุลกากรที่นํามาใชสําหรับกําหนดขอบเขตสินคาที่ถูกพิจารณากรณีนี้ คือ พิกัด ศุลกากร และรหัสสถิติสินคา ในระดับประเภทยอย 11 หลัก ซึ่งเป็นประเภทยอยที่สุดของการจําแนกพิกัด ศุลกากรไทย ประกอบกับการพิจารณาการทุมตลาดนั้น จะพิจารณาเปรียบเทียบระหวางราคาสงออกจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีนมายังประเทศไทยและมูลคาปกติของสินคาที่ถูกพิจารณาในสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ ระดับการคา เดียวกัน หรือ ราคา ณ หน้าโรงงานในสาธารณรัฐประชาชนจีน จําแนกตามรหัสสินคา ซึ่งผู้ผลิต/ผู้สงออกจาก

6 สาธารณรัฐประชาชนจีนใชในการจําแนกสินคาของตน ซึ่งโดยปกติแล้วเป็นการจําแนกในระดับยอยที่สะทอนถึง ความแตกตางของราคาขายและตนทุนการผลิต 2.5.3 มาตรการตอบโตการทุมตลาดเป็นการสรางการผูกขาดทางการคา ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา โรงงานภายในประเทศที่มีการผลิตและ จําหนายอะลูมิเนียมภายใตแบรนดของตน ไม่มีนโยบายผลิตสินคาให้แกแบรนดอื่น ซึ่งทําให้ผลิตภัณฑมีจํากัดและ เป็นวงแคบ ในขณะที่โรงงานในตางประเทศมีศักยภาพรองรับการผลิตแบบ OEM สงผลให้เกิดแบรนดสินคาที่ หลากหลาย สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค นอกจากนี้แล้ว โรงงานผู้ผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ได้ผลิตบานสําเร็จมาจําหนาย ยอมมีผลให้ผู้ประกอบบานรายยอยไม่สามารถแขงขันได้ จนทายที่สุดแล้ว อุตสาหกรรมจะเหลือเพียงผู้ผลิตรายใหญที่สามารถจําหนายบานหน้าตางสําเร็จรูปได้ การดําเนินมาตรการตอบโตการทุมตลาดทําให้เกิดกําแพงภาษี ซึ่งจะสงผลโดยตรงให้ สินคาและบริการมีราคาสูงขึ้น นอกจากนี้ ประเทศไทยจะไม่ใชการคาเสรีอีกต่อไป เนื่องจากมาตรการดังกลาวเอื้อ ต่อนายทุน ทําให้เป็นผู้กําหนดราคาและจําหนายแต่เพียงผู้เดียว ตลาดภายในประเทศจะไม่เติบโต และไม่พัฒนา เพราะไม่จําเป็นต้องแขงขันกับตางประเทศ มาตรการตอบโตการทุมตลาดเปรียบเสมือนการตั้งกําแพงภาษีซึ่งสงผลกระทบต่อตัวกลาง จําหนายสินคา นอกจากนี้ ยังเป็นชองทางให้ผู้ผลิตภายในประเทศจับมือกันเพื่อขึ้นราคาสินคา อันจะสงผลให้ ผู้บริโภคต้องซื้อสินคาในราคาแพงขึ้น กอให้เกิดความไม่เป็นธรรมต่อประชาชนผู้บริโภคสินคา ขอชี้แจง การกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดมีวัตถุประสงคเพื่อเยียวยาความเสียหายของ ผู้ผลิต/อุตสาหกรรมภายในประเทศจากพฤติกรรมการทุมตลาดของสินคาจากตางประเทศ ซึ่งถือวาเป็นพฤติกรรม/ สถานการณการคาที่ไม่เป็นธรรม เพื่อนําไปสูสภาวะตลาดที่มีการแขงขันอยางเป็นธรรม มาตรการตอบโตการทุมตลาด ไม่ได้หามการนําเขาสินคาจากประเทศ/แหลงกําเนิดที่พิสูจนแล้ววามีพฤติกรรมการทุมตลาด รวมถึงไม่ครอบคลุมถึง สินคาจากประเทศหรือแหลงอื่น ๆ ดังนั้น ผู้นําเขายังคงมีทางเลือกที่จะนําเขาสินคาจากแหลงอื่น ๆ หรืออาจนําเขา จากแหลงเดิมจากผู้ผลิต/ผู้สงออกที่ไม่มีพฤติกรรมทุมตลาด หรือมีสวนเหลื่อมการทุมตลาดในระดับต่ํา อัตราอากรตอบโตการทุมตลาดที่กําหนดสําหรับผู้ผลิตจากตางประเทศที่ทุมตลาดแต่ละราย จะแตกตางกันขึ้นอยู่กับสวนเหลื่อมการทุมตลาดที่พบจากการไตสวน ทั้งนี้ อัตราอากรที่กําหนดจะอยู่ในระดับ เพียงเพื่อขจัดความเสียหายและไม่เกินกวาสวนเหลื่อมการทุมตลาด ในประเด็นการไม่มีนโยบายผลิตสินคาให้แกแบรนดอื่น กรมการคาตางประเทศได้รับแจง จากอุตสาหกรรมภายในวา ผู้ผลิตภายในประเทศสามารถรับจางผลิตสินคาให้ลูกคาตามแบรนดและรูปแบบที่ลูกคา ต้องการ อยางไรก็ตาม ผู้ผลิตภายในประเทศอาจปฏิเสธไม่รับผลิตในกรณีสินคาเป็นงานที่ละเมิดสิทธิบัตรของผู้อื่น ที่ได้จดทะเบียนไว 2.5.4 มาตรการตอบโตการทุมตลาดไม่สามารถกีดกันสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจาก สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา ประเทศไทยมีการสงเสริมการลงทุนจาก ตางประเทศ หากโรงงานจีนมีนโยบายและเงินทุนในการขยายตลาดมาไทยแล้ว การออกมาตรการนี้จะเป็นการสราง แรงกดดันให้ผู้สงออกจีนหรือผู้ผลิตตางประเทศมาสรางโรงงานผลิตแขงกับโรงงานในไทยเสียเอง ขอชี้แจง การกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดมีวัตถุประสงคเพื่อเยียวยาความเสียหายของ ผู้ผลิต/อุตสาหกรรมภายในประเทศจากพฤติกรรมการทุมตลาดของสินคาจากตางประเทศ ซึ่งถือวาเป็นพฤติกรรม/ สถานการณการคาที่ไม่เป็นธรรม เพื่อนําไปสูสภาวะตลาดที่มีการแขงขันอยางเป็นธรรม ทั้งนี้ มาตรการตอบโต

7 การทุมตลาดจะนํามาบังคับใชก็ต่อเมื่อปรากฏวามีการทุมตลาดที่กอให้เกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมภายใน เทานั้น และการกําหนดอัตราอากรตอบโตการทุมตลาด ก็จะกําหนดในอัตราเพียงเพื่อขจัดความเสียหายและ จะเกินกวาสวนเหลื่อมการทุมตลาดไม่ได้ จึงกลาวได้วา พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ไม่มีเจตนารมณเพื่อเป็น เครื่องมือในการกีดกันสินคาจากตางประเทศแต่อยางไร 2.5.5 ไม่มีพฤติกรรมการทุมตลาดเกิดขึ้นจริง ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา ราคาทองตลาดจากจีนไม่ได้ถูกกวาราคา ตลาดในไทย เพราะมีราคาตลาดโลกควบคุม ขอชี้แจง การพิจารณาการทุมตลาดไม่ได้เปรียบเทียบระหวางราคาสินคานําเขาจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีนและราคาสินคาของผู้ผลิตภายในประเทศในตลาดประเทศไทย หากแต่เป็นการเปรียบเทียบระหวาง ราคาสงออกสินคาที่ถูกพิจารณาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมายังประเทศไทยและมูลคาปกติของสินคาที่ถูก พิจารณาในสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ ระดับการคาเดียวกัน หรือ ราคา ณ หน้าโรงงานในสาธารณรัฐประชาชนจีน 2.5.6 ศักยภาพผู้ผลิตในจีนสูงกวาทั้งในมิติปริมาณ คุณภาพ และนวัตกรรม ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา ผู้ผลิตสินคาในจีนสามารถผลิตสินคาที่ หลากหลาย ทําให้สินคาที่นําเขามาจําหนายสามารถดึงดูดผู้บริโภคได้หลากหลายกวา รวมทั้งสามารถผลิตได้ในปริมาณ มาก ๆ ในครั้งเดียว ทําให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการสินคาได้ทันทวงที นอกจากนี้ พบวาปริมาณผลิตของ ผู้ผลิตภายในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด รวมทั้ง คุณภาพไม่ดีและราคาแพง ขอชี้แจง อุตสาหกรรมภายในมีกําลังการผลิตไม่นอยกวา 164,500 ตันต่อป ขณะที่ปริมาณ ความต้องการบริโภคภายในประเทศอยู่ที่ประมาณ 145,000 ตันต่อป ดังนั้น ผู้ผลิตภายในประเทศยังมีกําลังการผลิต เพียงพอที่จะตอบสนองต่อความต้องการของตลาดในเชิงปริมาณ เมื่อเปรียบเทียบราคาขายภายในประเทศเฉลี่ยและ ราคานําเขาสินคาชนิดเดียวกันจากประเทศที่ไม่ถูกพิจารณาเฉลี่ย พบวา ราคาขายเฉลี่ยภายในประเทศต่ํากวา อยางไรก็ตาม ราคาขายภายในประเทศเฉลี่ยที่สูงกวาราคานําเขาสินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณาเฉลี่ยนั้น จะต้อง พิจารณาวา ราคาที่ต่ํากวาเป็นราคาที่เกิดจากการทุมตลาด ซึ่งถือเป็นพฤติกรรมการคาที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่ ในประเด็นความหลากหลายของสินคา กรมการคาตางประเทศได้รับแจงจากอุตสาหกรรม ภายในวาผู้ผลิตภายในประเทศเกือบทั้งหมดจะทําการผลิตเป็น 2 สวน คือ อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปมาตรฐาน (Generic Profile) ซึ่งเป็นสินคาสําเร็จรูปที่มีหน้าตัดและขนาดมาตรฐาน และ อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปที่ผลิตตาม รูปแบบเฉพาะ (Customised Profile) ซึ่งเป็นการผลิตตามแบบเฉพาะการใชงาน รูปแบบและขนาดเป็นไปตามคําสั่งผลิต รวมทั้งสามารถผลิตสินคาได้ทุกความหนา หน้าตัด ผิวสัมผัส และเฉดสี เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกคา 2.5.7 ขอให้มีการยกเวนการบังคับใชมาตรการกับสินคาบางรายการ ผู้นําเขา/ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณามีความเห็นวา เนื่องจากสินคาที่ผลิตภายในประเทศมี ราคาสูง รวมทั้งผู้ผลิตไม่ยอมผลิตสินคาที่มีความหนา ≤ 0.8 มิลลิเมตร ดังนั้น จึงขอให้มีการพิจารณาให้ ยกเวนการบังคับใชมาตรการสําหรับสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปบางรายการ หรือกําหนดโควตาการนําเขา อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปสําหรับการนําเขามาผลิตเป็นสินคาสําเร็จรูป ขอชี้แจง กรมการคาตางประเทศ ได้รับแจงจากอุตสาหกรรมภายในวาผู้ผลิตภายในประเทศสามารถ ผลิตอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปได้ทุกความหนา หากแต่อาจไม่แนะนําให้ลูกคาใชชิ้นงานที่มีความหนาต่ําในการใชงาน บางประเภท เนื่องจากเหตุผลดานโครงสราง และความปลอดภัยในการใชงาน อยางไรก็ตาม ผู้นําเขา/ผู้ใช ภายในประเทศสามารถยื่นขอรับการยกเวนการบังคับใชมาตรการสําหรับสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป เกรดหรือ

8 ชั้นพิเศษที่อุตสาหกรรมภายไม่สามารถผลิตได้ หรือไม่มีการผลิต แต่ทั้งนี้ ผู้ที่ประสงคจะยื่นขอรับการยกเวนจะต้อง นําเสนอขอมูลโดยละเอียดเพื่อพิสูจนวาสินคาที่ขอรับการยกเวนนั้น มีคุณสมบัติที่พิเศษแตกตางไปจนไม่สามารถ ทดแทนได้ด้วยสินคาชนิดเดียวกันที่ผลิตภายในประเทศ หรือนําเขาจากแหลงอื่น ๆ 2.6 การตรวจสอบขอเท็จจริงของขอกลาวอางหรือพยานหลักฐานอันเกี่ยวกับการพิจารณา (Verification) 2.6.1 ขอมูลตามคําตอบแบบสอบถามของผู้ผลิตภายในประเทศ กรมการคาตางประเทศได้ตรวจสอบความถูกต้องสอดคลองของขอมูลที่ได้รับจากการตอบ แบบสอบถามของผู้ผลิตภายในประเทศ โดยตรวจทานกับเอกสารตนฉบับ และระบบบัญชีของบริษัท ณ ที่ทําการ ของบริษัทซึ่งตอบแบบสอบถามทั้ง 7 ราย ที่ตั้งอยู่ ณ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ในระหวางวันที่ 3 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2565 ซึ่งจากการตรวจสอบพิจารณาได้วา ขอมูลในคําตอบแบบสอบถามมีความนาเชื่อถือและอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ 2.6.2 ขอมูลตามคําตอบแบบสอบถามของผู้ผลิต/ผู้สงออกสินคาที่ถูกพิจารณาจากตางประเทศ กรมการคาตางประเทศได้ตรวจสอบความถูกต้อง สอดคลองของขอมูลที่ได้รับจากการตอบ แบบสอบถามของผู้ผลิต/ผู้สงออกสินคาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยตรวจทานกับเอกสารตนฉบับและระบบ บัญชีของบริษัทในรูปแบบ Desk Verification ผานระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกสจํานวน 7 ราย ระหวางวันที่ 28 ธันวาคม 2565 ถึงวันที่ 1 7 มกราคม 2566 และในรูปแบบ Paper Verification จํานวน 4 ราย จากเอกสาร หลักฐานที่จัดสงภายในวันที่ 20 มกราคม 256 6 ตามที่ได้รับแจงจากกรมการคาตางประเทศ ซึ่งจากการตรวจสอบ พบวาขอมูลในคําตอบแบบสอบถามมีความนาเชื่อถือและอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ 2.7 การแจงขอมูลขอเท็จจริงที่ใชเป็นพื้นฐานในการพิจารณารางผลการไตสวนชั้นที่สุด เพื่อรับฟง ขอโตแยงของผู้มีสวนได้เสีย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2566 กรมการคาตางประเทศได้จัดสงรายละเอียดขอมูลขอเท็จจริงที่ใชเป็น พื้นฐานในการพิจารณารางผลการไตสวนชั้นที่สุดให้ผู้มีสวนได้เสีย เพื่อเปดโอกาสให้แสดงขอคิดเห็น/ขอโตแยง ต่อรางผลการไตสวนดังกลาว และได้จัดการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นด้วยวาจา ผานระบบการประชุม อิเล็กทรอนิกส เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2566 โดยปรากฏขอคิดเห็น/ขอโตแยงต่อรางผลการไตสวนชั้นที่สุด ในประเด็นสําคัญ ดังนี้ 2.7.1 การคํานวณสวนเหลื่อมการทุมตลาด 1) การคํานวณปริมาณสินคาขายต่ํากวาทุน ผู้ผลิตและสงออกสินคาที่ถูกพิจารณาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเห็นวาวิธีการ คํานวณหาปริมาณสินคาที่ขายต่ํากวาทุนด้วยตนทุนการผลิตถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักตลอดชวง IP นํามาซึ่งผลลัพธที่ไม่ สอดคลองกับขอมูล/ขอเท็จจริงของบริษัท เนื่องจากราคาวัตถุดิบในชวง IP มีความผันผวนสูง โดยเห็นวาควรใช ตนทุนการผลิตถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักรายเดือน ขอชี้แจง การพิจารณาการขายต่ํากวาทุนโดยใชตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักตลอดชวง IP เป็นไปตาม หลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา 15 วรรคสาม แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และขอ 2.2.1 ของความตกลง วาด้วยการบังคับใชขอ 6 ของความตกลงทั่วไปวาด้วยภาษีศุลกากรและการคา (The WTO Agreement on Implementation of Article VI of the GATT 1994 หรือ Anti - Dumping Agreement : ADA) และคําตัดสิน ของคณะผู้พิจารณาขอพิพาทขององคการการคาโลก กรณีขอพิพาท EC – Salmon from Norway ที่วินิจฉัยวา การพิจารณาวาราคาขายต่ํากวาทุนตามขอ 2.2.1 ของความตกลง ADA.จะต้องพิจารณาโดยอานยอนกลับ (contrario)

9 กลาวคือ หากราคาขายต่ํากวาตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในชวง IP ถือวาเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นวาราคาขายนั้น ต่ํากวาตนทุน และเป็นราคาขายที่จะไม่สามารถทําให้คืนทุนภายในเวลาที่เหมาะสม 2) การคํานวณอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาด ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาไม่เห็นด้วยกับอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดที่ปรากฏ เนื่องจากสูงเกินจริง ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดในการเก็บขอมูล ความคลาดเคลื่อนในการเปรียบเทียบราคา หรือ ความคลาดเคลื่อนจากการคํานวณ นอกจากนี้ พบวาสวนเหลื่อมการทุมตลาดของผู้ผลิต/ผู้สงออกสินคา 1 ราย มีการประกาศแกไขหลังการออกรางผลการไตสวนชั้นที่สุด และที่ปรากฏสวนเหลื่อมสูงและแตกตางจากบริษัทอื่น ๆ ขอชี้แจง การคํานวณสวนเหลื่อมการทุมตลาดเป็นไปตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโต การทุมตลาดฯ ซึ่งการพิจารณาเปรียบเทียบราคาสงออกและมูลคาปกติเป็นไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา 14 และมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลจากคําตอบแบบสอบถามของบริษัทผู้ผลิต/ ผู้สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ทั้งนี้ ได้ตรวจสอบขอเท็จจริงของขอมูลแล้ว พบวาขอมูลตามคําตอบ แบบสอบถามมีความนาเชื่อถือและยอมรับได้ สืบเนื่องจากพบวา รายละเอียดขอมูลขอเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญในการพิจารณา รางผลการไตสวนชั้นที่สุดการไตสวนการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ฉบับเปดเผยปรากฏขอมูลอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดของ Guangdong.Golden Aluminum Co., Ltd. คลาดเคลื่อน จากขอเท็จจริงในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด และที่ปรากฏในรายละเอียดขอมูลขอเท็จจริงฯ ฉบับปกปด ซึ่งจัดสง ให้แก Guangdong Golden Aluminum Co., Ltd. กรมการคาตางประเทศจึงดําเนินการแกไขขอมูลให้ถูกต้อง ตามขอเท็จจริงที่ปรากฏในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด และแจงให้ผู้มีสวนได้เสียซึ่งให้ความรวมมือในกระบวนการ ไตสวนทราบด้วยแล้ว 3) อัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดในระดับต่ําหรือติดลบ อุตสาหกรรมภายในเห็นวาอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดที่ปรากฏในรางผลการไตสวน ชั้นที่สุดอยู่ระดับต่ําหรือติดลบ ซึ่งไม่สอดคลองกับสถานการณการทุมตลาดในชวง IP โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อ คํานึงถึงราคาสงออกของสินคาจากประเทศจีนที่ราคาต่ํามากในชวงดังกลาว และต่ํากวาราคาของอุตสาหกรรม ภายในถึงรอยละ 21.28.นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับผลการไตสวนการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปของ ประเทศอื่น ๆ เชน กรณีการพิจารณาการตอบโตการทุมตลาดของสหราชอาณาจักรในชวงเวลาใกลเคียงกัน พบอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดที่สูงระหวางรอยละ ( - 1.8) - 35.1 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. ซึ่งสวนทางกับอัตรา สวนเหลื่อมการทุมตลาดที่ปรากฏในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด ขอชี้แจง การคํานวณสวนเหลื่อมการทุมตลาดเป็นไปตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโต การทุมตลาดฯ ซึ่งการพิจารณาเปรียบเทียบราคาสงออกและมูลคาปกติเป็นไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา 14 และมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลจากคําตอบแบบสอบถามของบริษัทผู้ผลิต/ ผู้สงออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ทั้งนี้ ได้ตรวจสอบขอเท็จจริงของขอมูลแล้ว พบวาขอมูลตามคําตอบ แบบสอบถามมีความนาเชื่อถือและยอมรับได้ ทั้งนี้ รางผลการไตสวนสวนเหลื่อมการทุมตลาดของผู้ผลิต/ผู้สงออก สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากสาธารณรัฐประชาชนจีนอยู่ที่รอยละ ( - 15.94) – 32.69 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. ซึ่งอัตราสวนเหลื่อมการทุมตลาดที่ปรากฏอยู่ในระดับที่ไม่แตกตางอยางมีนัยสําคัญจากกรณีตัวอยางที่ยกมา 4) การเปรียบเทียบสินคาด้วยรหัสสินคา (PCN) ของสินคาที่ถูกพิจารณาแต่ละชนิด อุตสาหกรรมภายในเห็นวาสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปแต่ละประเภท มีลักษณะทาง กายภาพ คุณสมบัติ และการใชงานที่แตกตางกัน ไม่วาจะเป็นปจจัยเรื่อง เกรด ความหนา หน้ากวาง ชนิดของผิว

10 และสีเคลือบ การใชงาน ประเภทของอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ตลอดจนรูปทรง ลวนแล้วแต่สงผลโดยตรงให้สินคาที่ ถูกพิจารณาแต่ละชนิด มีขอแตกตางกัน ทั้งในดานราคาขายและตนทุนการผลิต ดังนั้น การใช PCN มากําหนดให้ มีการเปรียบเทียบกันอยางเป็นธรรมระหวางสินคาชนิดเดียวกัน จึงมีความสําคัญเป็นอยางยิ่ง โดยขอตั้งขอสังเกต วาการดําเนินการพิจารณาคํานวณสวนเหลื่อมการทุมตลาดไม่ได้สะทอนการเปรียบเทียบ PCN อยางเป็นธรรมและ ไม่ได้ดําเนินการให้เป็นไปตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และขอ 2.4 ของความตกลง ADA ขอชี้แจงกรมการคาตางประเทศ การเปรียบเทียบมูลคาปกติหรือราคาขายในประเทศและราคาสงออกได้ดําเนินการ เปรียบเทียบอยางเป็นธรรมที่ขั้นตอนทางการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน และในเวลาเดียวกัน คื อ ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักกับราคาสงออกเฉลี่ยถวงน้ําหนักภายใตรหัสสินคา (PCN) เดียวกัน ซึ่ง PCN ที่กําหนดของแต่ละผู้ผลิตได้ สะทอนถึงความแตกตางของตนทุน ราคา รวมถึงสอดคลองกับการบันทึกทางบัญชีในระบบ ไม่วาจะเป็นพื้นผิว ความหนา หรือรูปทรง 5) ความนาเชื่อถือของราคาวัตถุดิบของสินคาที่ถูกพิจารณา อุตสาหกรรมภายในเห็นวาหากราคาวัตถุดิบที่ซื้อมาจากบริษัทที่เกี่ยวของกันต่ํากวา ราคาตลาดที่ซื้อจากผู้ขายอิสระที่ไม่เกี่ยวของกัน ขอให้ปฏิเสธไม่นําขอมูลตนทุนดังกลาวมาใชในการคํานวณ สวนเหลื่อมการทุมตลาด เนื่องจากเป็นขอมูลที่ไม่นาเชื่อถือ ขอชี้แจง การเปรียบเทียบมูลคาปกติหรือราคาขายในประเทศและราคาสงออกได้ตรวจสอบ ราคาวัตถุดิบที่นํามาใชผลิตอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ซึ่งปรากฏวาเป็นการซื้อวัตถุดิบจากบริษัทที่ไม่เกี่ยวของกัน จึงสามารถนําราคาขายและตนทุนการผลิตมาใชในการคํานวณสวนเหลื่อมการทุมตลาดได้ ตามขอ 2.2 ของ ความตกลง ADA 6) Export Rebate อุตสาหกรรมภายในเห็นวาเนื่องจากจีนมีนโยบายให้ผู้สงออกสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป สามารถขอคืนภาษีสงออกสินคาได้ (export tax rebate) ในอัตรารอยละ 13 ดังนั้น ในการคํานวณราคาสงออก ณ หน้าโรงงานของสินคาที่ถูกพิจารณา ขอให้ไม่นําคาใชจายดังกลาวมาบวกในราคาสงออก เนื่องจากไม่ใช คาใชจายที่จะนํามาคํานวณเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน ขอชี้แจง ราคาสงออกที่นํามาใชในการพิจารณาสวนเหลื่อมการทุมตลาดเป็นไปตามหลักเกณฑที่ กําหนดในมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเป็นขอมูลการขายสงออกมายังไทย และหัก คาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบแบบสอบถามซึ่งได้ตรวจสอบแล้ว เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน โดยในกรณีนี้ ไม่มีการนําภาษีมูลคาเพิ่มที่ได้รับคืนจากการสงออกมาบวกในราคาสงออกแต่อยางไร โดยหลักการแล้ว หากอัตรา คืนภาษีมูลคาเพิ่มเมื่อสงออก (Export VAT Rebate) เป็นอัตราเดียวกับอัตราภาษีมูลคาเพิ่มที่เรียกเก็บวัตถุดิบ การผลิต (Input VAT) จะไม่ปรากฏภาษีมูลคาเพิ่มที่ไม่อาจขอคืนได้ ดังนั้น จะไม่มีการนําภาษีมูลคาเพิ่มที่ได้รับคืน เมื่อสงออกไปปรับราคาสงออกสําหรับการพิจารณาหาสวนเหลื่อมการทุมตลาด ทั้งนี้ จากการตรวจสอบพบวา อัตราการคืนภาษีมูลคาเพิ่มเมื่อสงออกสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปอยู่ที่รอยละ 13 ซึ่งเป็นอัตราเดียวกับอัตรา ภาษีมูลคาเพิ่มที่เรียกเก็บวัตถุดิบ (อะลูมิเนียมไม่ขึ้นรูป และเศษอะลูมิเนียม)

11 2.7.2 การพิจารณาความเสียหายของอุตสาหกรรมภายในจากการนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา 1) หลักเกณฑการพิจารณาความเสียหาย อุตสาหกรรมภายในเห็นวาหลักเกณและวิธีการพิจารณาความเสียหายที่ปรากฏใน รางผลการไตสวนชั้นที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่ปรากฏในขอ 6.2 และ 6.3 ไม่สอดคลองกับหลักเกณฑและ เจตนารมณของการพิจารณาความเสียหายตาม พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของ ตลอดจนขอผูกพันตามความตกลง ADA โดยอัตราของปริมาณการนําเขาอันเพิ่มขึ้นนั้นไม่วาจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือแนวโนมของผลกระทบทางดานราคาไม่วาจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่ใชปจจัยที่กฎหมายให้นํามาพิจารณาใน การไตสวนการทุมตลาด เนื่องจากกฎกระทรวงการพิจารณาความเสียหายฯ ไม่ได้มีบทบัญญัติให้ประเมินอัตรา ปริมาณการนําเขาที่เพิ่มขึ้นวามีอัตราเพิ่มขึ้นหรือลดลงแต่อยางใด เชนเดียวกัน กรณีของการพิจารณาผลกระทบ ดานราคาที่ให้พิจารณาเพียงแความีการตัดราคา กดราคา หรือยับยั้งการขึ้นราคาเกิดขึ้นหรือไม่ ในสวนของการประเมินปจจัยความเสียหายเป็นการประเมินโดยปราศจากการวิเคราะห ภาพรวมความเสียหายที่เกิดขึ้นแกอุตสาหกรรมภายในโดยรวม และในหลายปจจัยเป็นการวิเคราะหโดยขาด ความเชื่อมโยงอยางรอบดาน ทั้งนี้ การพิจารณาความเสียหายจะต้องพิจารณารอบดาน และมิใชการนําปจจัยใด ปจจัยหนึ่งเป็นตัวบงชี้วามีความเสียหายหรือไม่ นอกจากนี้ การพิจารณาความเสียหายโดยเฉพาะในชวง IP ซึ่งได้ถูก นํามาเป็นพื้นฐานของการวินิจฉัยให้ยุติการไตสวนการทุมตลาดต่อสินคานําเขาจากประเทศจีน เป็นการพิจารณาด้วย หลักการที่ไม่สนับสนุนด้วยหลักกฎหมายหรือไม่สอดคลองกับเจตนารมณของการพิจารณาการไตสวนการทุมตลาด ขอชี้แจง มาตรา 20 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ระบุวา การพิจารณาวามีความเสียหาย อยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในตามมาตรา 19 (1) จะต้องมีพยานหลักฐานโดยตรงสนับสนุนเกี่ยวกับ (1) ปริมาณของสินคาทุมตลาดและผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาของสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ และ (2) ผลกระทบของการทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน ทั้งนี้ กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและ วิธีการเกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ขอ 2 (1) (ก) ในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของสินคานําเขาที่ทุมตลาด ให้พิจารณาวามีการนําเขาเพิ่มขึ้นโดยมีนัยสําคัญ หรือไม่ ไม่วาจะเป็นการพิจารณาจากปริมาณการนําเขาจริง หรือปริมาณที่เทียบเคียงกับปริมาณการผลิตหรือปริมาณ บริโภคภายในประเทศ ขอ 2 (1) (ข) ในสวนที่เกี่ยวกับผลของการนําเขาสินคาที่ทุมตลาดต่อราคา ให้พิจารณาวาราคา ของสินคานําเขาที่ทุมตลาดได้มีการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศ หรือไม่ หรือการนําเขาดังกลาวจะมีผลเป็นการกดราคา หรือหยุดยั้งการที่ราคาจะขยับตัวสูงขึ้นโดยมีนัยสําคัญหรือไม่ จะเห็นได้วาการพิจารณาความเสียหายอยางสําคัญตามมาตรา 20 (1) จึงไม่ใชเพียงการพิจารณาวามีปริมาณ การนําเขาสินคาทุมตลาดเพิ่มขึ้นหรือไม่ และมีผลกระทบต่อราคาสินคาชนิดเดียวกันในประเทศหรือไม่ หากแต่ ต้องพิจารณาวาเป็นการนําเขาที่เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญหรือไม่ รวมถึงการตัดราคา การกดราคา และการยับยั้ง การขึ้นราคาเป็นไปอยางมีนัยสําคัญหรือไม่ ดังนั้น การนําอัตราปริมาณการนําเขาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโนม การเปลี่ยนแปลงของการตัดราคา การกดราคา และการยับยั้งการขึ้นราคา มาประกอบการพิจารณาจึงสอดคลองกับ มาตรา 20 (1) แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและวิธีการ เกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 การพิจารณาผลกระทบจากสินคานําเขาที่ทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและวิธีการเกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรม ภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ขอ 2 (2) (ก) ระบุวาในสวนที่เกี่ยวของกับผลกระทบจาก สินคานําเขาที่ทุมตลาดให้พิจารณาโดยประเมินจากปจจัยและดัชนีทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อสภาวะของอุตสาหกรรม ภายใน รวมทั้งการลดลงทั้งที่เป็นจริงและที่อาจเกิดขึ้นของยอดจําหนาย กําไร ผลผลิต สวนแบงตลาด ผลิตภาพ

12 ผลตอบแทนจากการลงทุน หรือการใชกําลังการผลิต ปจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาสินคาในประเทศ ความมากนอย ของสวนเหลื่อมการทุมตลาด ผลกระทบและแนวโนมที่จะเกิดต่อกระแสเงินสด สินคาคงคลัง การจางงาน คาจาง แรงงาน อัตราการเจริญเติบโต และความสามารถในการระดมทุนหรือการล งทุน ทั้งนี้ ปจจัยขางตนยังไม่ ครอบคลุมทุกอยางและเป็นปจจัยหนึ่งหรือหลายปจจัยที่กลาวนี้ไม่ถือเป็นขอพิจารณาที่ตายตัว จะเห็นได้วา กฎกระทรวงดังกลาวกําหนดให้การประเมินผลกระทบจากสินคานําเขาที่ทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน จะต้องพิจารณาประเมินจากปจจัยและดัชนีทางเศรษฐกิจที่กลาวแล้วขางตน ทั้งนี้ จะนําปจจัยหรือดัชนีทาง เศรษฐกิจอื่น ๆ มารวมประเมินหรือไม่ก็ได้ ซึ่งสอดคลองกับคําตัดสินของคณะผู้พิจารณาขอพิพาทและองคกร พิจารณาการอุทธรณขององคการการคาโลกที่วินิจฉัยในหลายกรณีวาหนวยงานไตสวนมีหน้าที่ต้องประเมินปจจัย หรือดัชนีทางเศรษฐกิจที่ปรากฏในขอ 3.4 ของความตกลง ADA ซึ่งถือเป็นปจจัยบังคับ หากแต่ไม่ปดโอกาสใน การนําปจจัยหรือดัชนีเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อสภาวะของอุตสาหกรรมภายในมารวมพิจารณา ดังนั้น การที่รางผล การไตสวนชั้นที่สุดไม่ปรากฏผลการประเมินปจจัยหรือดัชนีอื่น ๆ นอกเหนือจาก 15 ปจจัยบังคับ จึงไม่ถือวาราง ผลการไตสวนดังกลาวบกพรองหรือไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและวิธีการเกี่ยวกับ การพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ขอ 2 (2) (ก) แต่อยางใด การพิจารณาความเสียหายได้พิจารณาครอบคลุมสภาวะการณของอุตสาหกรรมภายใน แต่ละปจจัยระหวางป 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 ซึ่งเป็นชวงเวลาการพิจารณาความเสียหาย ดังจะเห็นได้ จากการนําเสนอขอมูลขอเท็จจริงของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปจจัยตามที่ปรากฏในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด ขอ 6.2.3 สําหรับผลการประเมินความเสียหายรวมถึงความสัมพันธในแต่ละปจจัยได้นําเสนอโดยสรุปในขอ 6.3.3 แล้ว 2) การพิจารณาบนพื้นฐานขอเท็จจริงและเป็นธรรม อุตสาหกรรมภายในเห็นวาการดําเนินการไตสวนครั้งนี้ไม่เป็นไปตามหลักการที่ต้อง พิจารณาความเสียหายบนพื้นฐานของขอเท็จจริงและอยางเป็นธรรม (objective examination) โดยการพิจารณา ได้นําปจจัยที่เกิดขึ้นเฉพาะในชวง IP มาเป็นพื้นฐานสําคัญในการสรุปวาไม่เกิดความเสียหายอยางรายแรงกับ อุตสาหกรรมภายใน หากแต่ไม่คํานึงถึงปจจัยความเสียหายที่เกิดขึ้นในชวงป 2561 – 2563 ทั้งที่ชวงระยะเวลา ดังกลาวเป็นสวนหนึ่งของระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย ทั้งนี้ ชวง IP เป็นชวงที่มีปจจัยผันผวนทางเศรษฐกิจ และวิกฤตทางการคาระหวางประเทศ จึงไม่ควรนําชวงระยะเวลา IP มาพิจารณาโดยลําพังและไม่คํานึงถึง ความเสียหายอยางมีนัยสําคัญที่เกิดขึ้นในชวงป 256 1 – 2563 นอกจากนี้ พบวา หากปจจัยความเสียหายที่ เกิดขึ้นในชวง IP บงชี้วามีความเสียหายอยางชัดแจง รางผลการไตสวนชั้นที่สุดจะนําเสนอเหตุผล เพื่อที่จะชี้แนะ วาอุตสาหกรรมภายในไม่เสียหาย ในขณะที่ปจจัยที่บงชี้วาอุตสาหกรรมภายในอาจจะไม่เสียหาย รางผลการไตสวน ชั้นที่สุดจะไม่ให้เหตุผลประกอบ หรือพิจารณาความเชื่อมโยงของปจจัยแต่อยางใด ขอชี้แจง การพิจารณาความเสียหายตามมาตรา 19 (1) แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ได้ดําเนินการตามหลักเกณฑเงื่อนไขที่กําหนดไวตามมาตรา 20 และกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณา และวิธีการเกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ขอ 2 (1) และ ขอ 2 (2) (ก) ทั้งนี้ การพิจารณาความเสียหายได้พิจารณาครอบคลุมตลอดชวงเวลา ป 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 รวมระยะเวลา 3 ป 9 เดือน ตามที่ได้ประกาศกําหนดให้เป็นชวงเวลาที่ พิจารณาความเสียหาย ซึ่งรางผลการไตสวนชั้นที่สุดขอ 6.2.3 ได้แสดงขอมูลขอเท็จจริงการเปลี่ยนแปลง สภาวะการณของอุตสาหกรรมภายในแต่ละปจจัยอยางครบถวน ปราศจากอคติ ปจจัยที่บงชี้วาอุตสาหกรรมภายในไม่ได้รับความเสียหาย การชี้แจงเหตุผลวาเหตุใด จึงไม่ปรากฏความเสียหายในปจจัยนั้น ๆ ยอมไม่สงผลต่อการพิจารณาในปจจัยนั้นแต่อยางใด หากแต่ในกรณี

13 ปจจัยที่แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสภาวะการณของอุตสาหกรรมภายในเป็นไปในทิศทางที่แสดงความเสียหาย จําเป็นต้องพิสูจนได้วาความเสียหายดังกลาวเป็นผลมาจากการทุมตลาด ไม่ใชด้วยสาเหตุอื่น 3) ปจจัยความเสียหาย อุตสาหกรรมภายในเห็นวาสาเหตุสําคัญเพียงประการเดียวที่นําไปสูคําวินิจฉัยวาไม่มี ความเสียหายอยางมีนัยสําคัญเกิดจากขอสรุปที่วาอุตสาหกรรมภายในปรับตัวดีขึ้นในชวง IP อยางไรก็ดี อุตสาหกรรมภายในเห็นวาเป็นการสรุปที่ไม่ถูกต้องตามขอเท็จจริงและหลักเกณฑที่ระบุไวในขอกฎหมาย โดยพบ ปริมาณการนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาในภาพรวมเพิ่มสูงขึ้นอยางต่อเนื่อง ในทุก ๆ ป ปฏิทิน โดยเพิ่มจาก 23,419.4 2 ตัน ในป 2561 เป็น 38,966.13 ตัน ในป IP หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้นสูงถึง รอยละ.66.38 ในระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย แมจะมีวิกฤตการณทางการคาระหวางประเทศ และการขาดแคลน ของตูคอนเทนเนอร ที่สงผลให้การนําเขาจากจีนโดยภาพรวมชะลอตัวลงในชวง IP แต่ปริมาณการนําเขาสินคา ที่ถูกพิจารณายังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ นอกจากนี้ เห็นวาปริมาณการนําเขาในอัตราที่ลดลงไม่ใชปจจัยที่กฎหมาย การไตสวนการทุมตลาดให้นํามาวินิจฉัย โดยเฉพาะอยางยิ่ง อัตราการนําเขาที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงเป็นเรื่อง ปกติที่จะเกิดขึ้นเมื่อปริมาณนําเขาอยู่ในระดับที่สูงขึ้น เนื่องจากการใชในประเทศมีอยางจํากัด ผลกระทบทางดานราคาเกิดขึ้นเป็นที่ประจักษตลอดชวงระยะเวลาพิจารณา ความเสียหาย ทั้งการตัดราคา กดราคา และยับยั้งการขึ้นราคา ซึ่งเป็นหลักฐานอยางชัดเจนวาสินคาที่ถูกพิจารณา สรางความเสียหายอยางรุนแรงต่ออุตสาหกรรมภายใน ซึ่งสวนตางที่สูงทําให้ไม่สามารถแขงขันได้อยางสิ้นเชิง และ ไม่สามารถขายสินคาในราคาที่ได้กําไรในระดับที่อุตสาหกรรมในกลุ่มเดียวกันทําได้ รวมทั้ง ไม่สามารถเพิ่มราคา ขายในประเทศให้เทียบเทากับตนทุนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นอยางรุนแรงได้ อุตสาหกรรมภายในไม่เห็นด้วยต่อการที่รางผล การไตสวนชั้นที่สุดซึ่งระบุวา การตัดราคาและการกดราคามีแนวโนมลดลงในชวง IP เนื่องจากการดูวามีผลกระทบ ทางดานราคาวาเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางไร ไม่ใชปจจัยที่ต้องนํามาพิจารณาในการไตสวนการทุมตลาด ขอชี้แจง มาตรา 20 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ระบุวา การพิจารณาวามีความเสียหาย อยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในตามมาตรา 19 (1) จะต้องมีพยานหลักฐานโดยตรงสนับสนุนเกี่ยวกับ ปริมาณของสินคาทุมตลาดและผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาของสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ ทั้งนี้ กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและวิธีการเกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายใน จากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ขอ 2 (1) (ก) ในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของสินคานําเขาที่ทุมตลาด ให้พิจารณาวามีการนําเขาเพิ่มขึ้นโดยมีนัยสําคัญหรือไม่ ไม่วาจะเป็นการพิจารณาจากปริมาณการนําเขาจริง หรือ ปริมาณที่เทียบเคียงกับปริมาณการผลิตหรือปริมาณบริโภคภายในประเทศ ขอ 2 (1) (ข) ในสวนที่เกี่ยวกับผลของการ นําเขาสินคาที่ทุมตลาดที่มีต่อราคา ให้พิจารณาวาราคาของสินคานําเขาที่ทุมตลาดได้มีการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญ เมื่อเทียบกับราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศหรือไม่ หรือการนําเขาดังกลาวจะมีผลเป็นการกดราคาหรือ หยุดยั้งการที่ราคาจะขยับตัวสูงขึ้นโดยมีนัยสําคัญหรือไม่ การพิจารณาความเสียหายอยางสําคัญตามมาตรา 20 (1) จึงไม่ใชเพียงการพิจารณาวามี ปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาดเพิ่มขึ้นหรือไม่ และมีผลกระทบต่อราคาสินคาชนิดเดียวกันในประเทศหรือไม่ หากแต่ต้องพิจารณาวาเป็นการนําเขาที่เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญหรือไม่ รวมถึงการตัดราคา การกดราคา และ การยับยั้งการขึ้นราคาเป็นไปอยางมีนัยสําคัญหรือไม่ การนําอัตราปริมาณการนําเขาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโนม การเปลี่ยนแปลงของการตัดราคา การกดราคา และการยับยั้งการขึ้นราคา มาประกอบการพิจารณาจึงสอดคลองกับ มาตรา 20 (1) แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาและวิธีการ เกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ ไม่ปรากฏถอยคําหรือคํากลาวอางใดในรางผลการไตสวนวาในชวงระยะเวลาที่พิจารณาความเสียหาย

14 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาด รวมถึงผลกระทบของสินคาที่ทุมตลาดต่อราคาสินคาชนิด เดียวกันภายในประเทศไม่เป็นไปตามขอมูลขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นในชวงเวลาที่พิจารณาความเสียหาย เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาขายสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ราคาขาย สินคาชนิดเดียวกันและตนทุนการผลิตสินคาชนิดเดียวกันของอุตสาหกรรมภายในเชื่อมโยงกัน พบวาในป 2562 ขณะที่ตนทุนการผลิตลดลงรอยละ 8.10 อุตสาหกรรมภายในปรับลดราคาลงไปเพียงรอยละ 2.19 ดังนั้น ในป 2562 แมจะปรากฏการตัดราคาของสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา หากแต่ไม่สงผลต่อการกดราคา และ การยับยั้งการขึ้นราคาโดยแทจริงแต่อยางไร ในป 2563 ตนทุนการผลิตลดลงต่อเนื่องรอยละ 2.92 ขณะที่ อุตสาหกรรมภายในได้ปรับลดราคาสินคาชนิดเดียวกันลงรอยละ 3.65 ดังนั้น นอกจากการตัดราคาแล้ว สินคา นําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณายังสงผลให้เกิดการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา คิดเป็นรอยละ 0.73 ในชวง IP การปรับขึ้นของราคาวัตถุดิบสงผลให้ราคาสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาปรับเพิ่มขึ้น สงผลให้ ขนาดของการตัดราคาลดลงรอยละ 56.74 เมื่อเปรียบเทียบกับชวง PP แมวาในชวง IP ราคาสินคานําเขาจาก ประเทศที่ถูกพิจารณาจะไม่มีผลต่อการกดราคา โดยอุตสาหกรรมภายในยังสามารถปรับเพิ่มราคาสินคาชนิด เดียวกันได้ หากแต่มีผลต่อการยับยั้งการขึ้นราคา เนื่องจากตนทุนการผลิตในชวง IP เพิ่มขึ้นรอยละ 9.89 แต่อุตสาหกรรมภายในปรับเพิ่มราคาขายได้เพียงรอยละ 5.20 ดังนั้น ขนาดของการยับยั้งการขึ้นราคาในชวง IP จึงอยู่ที่รอยละ 3.69 สรุปได้วา สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณามีผลกระทบต่อราคาสินคาชนิดเดียวกันของ อุตสาหกรรมภายใน โดยปรากฏการตัดราคาตลอดชวงเวลาที่พิจารณา แต่การตัดราคาดังกลาวมีแนวโนมลดลง ในสวนของผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา พบวา ไม่สงผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้ง การขึ้นราคาอยางมีนัยสําคัญแต่อยางไร โดยในป 2562 .ไม่ปรากฏการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา การลดลง ของราคาเป็นผลมาจากตนทุนการผลิตที่ลดลง ขณะที่ในป 2563 .พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบอยู่ที่รอยละ 0.73.สําหรับในชวง IP ไม่ปรากฏการกดราคา แต่ปรากฏการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบต่อการยับยั้งการขึ้นราคาอยู่ที่รอยละ 3.69 4) สภาวะการณอุตสาหกรรมภายใน อุตสาหกรรมภายในนําเสนอความเสียหายโดยใชป 2561 เป็นปฐานสําหรับการจัดทํา ดัชนี โดยผลการประเมินความเสียหายในแต่ละปจจัย มีรายละเอียด ดังนี้ (1) ปริมาณ มูลคา และราคาขายในประเทศ พบการลดลงของปริมาณ มูลคา และราคาขายมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในชวงระหวางป 2561 – 2563 ซึ่งเกิดจากการสูญเสียฐานลูกคาให้แกสินคาจากจีนที่ขายในราคาต่ําอยางไม่ เป็นธรรม แมในชวง PP - IP จะมีการปรับตัวขึ้นเล็กนอยของราคาขาย มูลคาการขาย และราคาขาย แต่การปรับตัวขึ้น ดังกลาวเป็นผลโดยตรงจากการปรับตัวดัชนีทางเศรษฐกิจปจจัยอื่น อยางไรก็ตาม ยังอยู่ในระดับที่ต่ํากวาป 2561 อันเป็นชวงเริ่มตนของการพิจารณาความเสียหาย บงชี้วาในขณะชวง IP ยังคงได้รับความเสียหายอยู่ นอกจากนี้ อัตราการเติบโตของปริมาณขายในชวง IP ยังอยู่ในระดับต่ํากวาอัตราการเติบโตของความต้องการใชในประเทศ สําหรับราคาขายที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบชวง PP - IP เป็นผลโดยตรงมาจากตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น หากแต่ ราคาขายของอุตสาหกรรมภายในไม่สามารถปรับขึ้นราคาได้เทาการเพิ่มขึ้นของตนทุนการผลิต (2) กําไร/ขาดทุน จากการขายภายในประเทศ อยู่ในระดับที่ต่ํามากตลอดชวงระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย แมจะมีกําไรขึ้นมา ในป 2562 และ 2563 แต่กําไรที่เพิ่มขึ้นมาเกิดจากการปรับราคาขายเมื่อเทียบกับตนทุน โดยยอมแลกกับ การสูญเสียฐานลูกคาระยะยาว อยางไรก็ตาม อัตรากําไรดังกลาวถือวาต่ํากวาผู้ผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ในภูมิภาคเดียวกัน นอกจากนี้ ยังปรากฏวากําไร และอัตรากําไรสุทธิของอุตสาหกรรมภายในปรับตัวลงในชวง IP. เมื่อเทียบกับชวง PP.

15 (3) อัตราการใชกําลังการผลิต อยู่ในระดับที่ต่ํามากตั้งแต่ในชวงป 2561 – 2563 และเพิ่มขึ้นบางเพียงเล็กนอย ในชวง PP – IP ซึ่งสอดคลองกับอัตราการเติบโตของปริมาณการใชในประเทศ อยางไรก็ตาม อัตราการใชกําลัง การผลิตในชวง IP.ยังต่ํากวาในชวงป 2561 และ 2562 อยางมีนัยสําคัญ อุตสาหกรรมภายในสำมารถใช ศักยภาพของเครื่องจักรได้เพียงครึ่งกําลังการผลิตเทานั้น (4) สวนแบงการตลาด ปรับตัวลดลงมาอยางต่อเนื่องและไม่มีแนวโนมที่จะกลับไปใกลจุดเดิมในป 2561 สวนทางกับสวนแบงตลาดของสินคาที่ถูกพิจารณาที่ปรับตัวขึ้นมาตลอดทุกป หากพิจารณาสัดสวนปริมาณการนําเขา จากประเทศตาง ๆ พบวาปริมาณการนําเขาจากจีนมีมากเป็นอันดับหนึ่ง และสินคานําเขาจากจีนยังคงมีสวนแบง การตลาดเพิ่มขึ้นในอัตราใกลเคียงกับสวนแบงทางการตลาดของอุตสาหกรรมภายในที่ลดลง ดังนั้น การสรุปวาการลดลง ของสวนแบงทางการตลาดของอุตสาหกรรมภายในในชวง IP เป็นผลมาจากการนําเขาสินคาจากประเทศที่ไม่ถูก พิจารณา เป็นขอสรุปที่ไม่ถูกต้อง และขัดแยงต่อขอเท็จจริง (5) ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อยู่ในระดับที่ต่ํามากตลอดชวงระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย การเพิ่มขึ้นของ ผลตอบแทนการลงทุนในป 2561 - 2563 เกิดจากการที่อุตสาหกรรมภายในประสบวิกฤตจากสินคานําเขา สินคาทุมตลาดจากประเทศจีนในป 2561 และจําเป็นจะต้องปรับกําไรให้ลดลงแลกกับการเสียฐานลูกคาในชวง ป 2562 - 2563 เพื่อรักษาธุรกิจเอาไว อยางไรก็ดี พบวาในชวง IP อัตราผลตอบแทนจากทรัพย์สินได้มีการปรับตัว ลงมากถึงรอยละ 23.44 อัตราการทํากําไรในป 2561 คิดเป็นรอยละ 0.01 ของมูลคาขาย ขณะที่อัตรา การทํากําไรในชวง IP อยู่ที่รอยละ 4.12 ของมูลคาขาย ซึ่งถือวาต่ํามากเมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ หรืออุตสาหกรรมเดียวกันในตางประเทศ (6) กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน แนวโนมอยู่ในระดับที่ต่ํา และปรับตัวลดลงมาอยางมีนัยสําคัญตั้งแต่ป 2562 . ทั้งนี้ ไม่เห็นด้วยกับขอสรุปในรางผลการไตสวนที่ระบุวากระแสเงินสดจากการดําเนินงานของอุตสาหกรรมภายใน มีแนวโนมลดลงต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบอะลูมิเนียมแทงบิลเลทอยางมีนัยสําคัญในชวง IP (7) สินคาคงคลัง มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นในป 2562 และปรับตัวลงตั้งแต่ป 2563 เป็นตนมา การลดลง ของสินคาคงคลังบางสวนเกิดจากความจําเป็นของผู้ผลิตบางรายที่ต้องนําสินคาสําเร็จรูปที่ถูกเก็บไวในคลังสินคา และไม่สามารถขายได้เป็นระยะเวลานานมาหลอมและผลิตใหมอีกครั้งจากการขาดสภาพคลองในการจัดซื้อ วัตถุดิบเพื่อผลิตสินคาใหม รวมไปถึงการหันไปพึ่งพาการสงออก (8) การจางแรงงานและอัตราคาจางแรงงาน จํานวนแรงงาน ชั่วโมงทํางาน และคาจางแรงงาน มีการปรับตัวลดลงอยางต่อเนื่อง ในทุก ๆ ป ตลอดชวงระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย รวมถึงในชวง PP - IP สืบเนื่องมาจาก ความจําเป็นที่จะต้อง ลดตนทุนการผลิตให้ได้มากที่สุด เพื่อแขงขันกับสินคาทุมตลาดจากประเทศจีน การลดลงของอัตราการจางแรงงาน ในขณะที่ปริมาณผลิตเพิ่มขึ้น สะทอนถึงการเพิ่มขึ้นของประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน ไม่ได้สะทอนวาไม่เสียหาย แต่แสดงถึงความจําเป็นในการลดจํานวนแรงงาน เพื่อทําให้ตนทุนต่ําที่สุด การที่ตนทุนลดลงแสดงให้เห็นถึงความ พยายาม แต่มิได้หมายความวา อุตสาหกรรมภายในไม่เสียหายจากการทุมตลาด

16 (9) ผลิตภาพ การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพแสดงถึงความไม่นิ่งนอนใจและพยายามปรับตัว แต่ทั้งนี้ อุตสาหกรรมภายในกลับมีผลการดําเนินงานที่หดตัว (10) หนี้สินและสินทรัพย์ และอัตราการเติบโตของกิจการ ในชวง IP สัดสวนหนี้สินต่อสินทรัพย์ปรับตัวขึ้นแสดงวาภาพรวมของอุตสาหกรรม ภายในไม่ได้ดีขึ้นแต่อยางใด ขอชี้แจง จากการตรวจสอบขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาวะการณของอุตสาหกรรมภายในที่นํามาใช จัดทําดัชนีความเสียหายขางตน พบวาสอดคลองกับขอมูลที่ปรากฏในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด สําหรับดัชนีบาง รายการที่แตกตางกัน เป็นผลมาจากขอมูลที่กรมการคาตางประเทศนํามาใชจัดทําดัชนีเป็นขอมูลตัวเลขที่ปดเศษ ทศนิยม 2 หลัก ขณะที่อุตสาหกรรมภายในจัดทําดัชนีจากขอมูลดิบที่ไม่มีการปดเศษทศนิยม อยางไรก็ตาม ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นไม่มีนัยต่อการพิจารณาความเสียหาย ดังนั้น ขอมูลแสดงความเสียหายในแต่ละปจจัยที่ อุตสาหกรรมภายในจัดทําขึ้นและนําเสนอจึงสอดคลองกับขอมูลแสดงความเสียหายในรางผลการไตสวนชั้นที่สุด ขอเสนอของอุตสาหกรรมภายในที่ให้พิจารณาความเสียหายโดยนําขอมูลในป 2561 เป็นฐานในการพิจารณาตลอดชวงระยะเวลาการพิจารณา แตกตางจากแนวทางของกรมการคาตางประเทศ ทั้งนี้ การเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาความเปลี่ยนแปลงระหวางชวงเวลา ควรพิจารณาในชวงเวลาเดียวกันเพื่อขจัดหรือ ลดปจจัยความผันแปรดานฤดูกาล อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาวิธีการที่อุตสาหกรรมภายในเสนอ พบวาชวง PP เป็น ขอมูลที่ซ้ําซอนกับป 2562 - 2563 และชวง IP จะมีขอมูลซ้ําซอนกับป 2563 1 ไตรมาส ดังนั้น หากจะพิจารณา เปรียบเทียบตามวิธีของอุตสาหกรรมภายในจะต้องพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของป 2561 2562 2563 และชวง IP. โดยใชป 2561 เป็นปฐาน ซึ่งจะปรากฏวา มีเพียงปจจัยสวนแบงตลาด กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน จํานวน การจางงาน และคาจางแรงงานเทานั้นที่มีแนวโนมบงชี้วามีความเสียหาย จากการไตสวนการทุมตลาด พบการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิด จากสาธารณรัฐประชาชนจีนในอัตรารอยละ ( - 15.94) – 32.69 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. โดยปรากฏปริมาณการนําเขา สินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณาเพิ่มขึ้นตลอดชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย โดยปริมาณนําเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 42.75 ในป 2561 รอยละ 10.23 ในป 2563 และรอยละ 7.57 ในชวง IP เมื่อเปรียบเทียบกับชวง PP เมื่อพิจารณาผลกระทบของการทุมตลาดต่อระดับราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศ พบวาสินคานําเขาจาก ประเทศที่ถูกพิจารณามีการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญในป 2562 หากแต่ขนาดของการตัดราคามีแนวโนมลดลง ตามลําดับ สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาไม่สงผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา อยางมีนัยสําคัญแต่อยางใด โดยในป 2562 .ไม่ปรากฏการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา การลดลงของราคา เป็นผลมาจากตนทุนการผลิตที่ลดลง ขณะที่ในป 2563 พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา หากแต่ขนาด ของผลกระทบจากสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาอยู่ที่รอยละ 0.73 สําหรับในชวง IP ไม่ปรากฏการกดราคา หากแต่ปรากฏการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบต่อการยับยั้งการขึ้นราคาอยู่ที่รอยละ 3.69 สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาสงผลกระทบต่อการขายในประเทศตลอด ชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย โดยปริมาณขายมีแนวโนมลดลงในระหวางป 2561 - 2563 หากแต่ปรับตัว เพิ่มขึ้นในชวง IP ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับมูลคาขายและราคาขาย ทั้งนี้ เป็นที่นาสังเกตวาปริมาณการนําเขา สินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณาในป 2562 เพิ่มขึ้นอยางชัดแจง และปรากฏการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญ หากแต่ ปริมาณขายของอุตสาหกรรมภายในปรับลดเพียงรอยละ 0.52 เมื่อพิจารณาปริมาณนําเขาจากประเทศอื่น ๆ ประกอบ พบวา สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาไปแยงชิงสวนแบงตลาดจากสินคานําเขาจากประเทศอื่น ๆ มาประมาณรอยละ 25 ของปริมาณนําเขาที่เพิ่มขึ้น และได้ครอบครองความต้องการสินคาภายในประเทศที่

17 เพิ่มขึ้น สงผลให้อุตสาหกรรมภายในไม่สามารถขยายตลาดของตนได้ การไม่สามารถแขงขันดานราคาเพื่อแยงชิง ปริมาณความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้น สวนหนึ่งเกิดจากนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายใน โดยใน ป 2562 ตนทุนการผลิตลดลงรอยละ 8.10 หากแต่อุตสาหกรรมภายในปรับลดราคาลงเพียงรอยละ 2.19 ทําให้ อุตสาหกรรมภายในสูญเสียตลาดบางสวน และสูญเสียโอกาสที่จะชวงชิงความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้นให้แกสินคา นําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ในป 2563 ปริมาณขายของอุตสาหกรรมภายในลดลงรอยละ 6.55 ขณะที่มูลคาขาย ลดลงรอยละ 9.97 ซึ่งเป็นผลจากการที่อุตสาหกรรมภายในต้องปรับลดราคาลงเพื่อรักษาตลาด โดยได้ปรับลด ราคาลงต่ํากวาการลดลงของตนทุนการผลิตรอยละ 0.73 ในชวง IP ปริมาณการขายของอุตสาหกรรมภายในปรับ เพิ่มขึ้นแต่ยังต่ํากวาปริมาณการขายในป 2561 ซึ่งเป็นปกอนที่จะมีการขยายตัวของปริมาณนําเขาสินคาทุมตลาด รอยละ 2.86 แมนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายในจะสงผลให้สูญเสียสวนแบงตลาด ให้แกสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา หากแต่สงผลให้กําไรจากการขายในประเทศเพิ่มขึ้นระหวางป 2561 - 2563 อยางไรก็ตาม ในชวง IP พบกําไรจากการขายในประเทศลดลง ซึ่งเป็นผลมาจากราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มอยาง มีนัยสําคัญและผันผวนสูง สงผลให้อุตสาหกรรมภายในต้องดูดซับตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นบางสวนเพราะไม่ สามารถปรับเพิ่มราคาได้ทันทวงที ประกอบกับการยับยั้งการขึ้นราคาของสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROA) ซึ่งคํานวณจากอัตรากําไรต่อสินทรัพย์ พบวา มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ อุตสาหกรรมภายในเห็นวาอัตราผลตอบแทนดังกลาวบงชี้ในทางบวก เนื่องจากพิจารณา จากฐานป 2561 ซึ่งเป็นปที่อุตสาหกรรมภายในเผชิญกับภาวะแทบไม่มีกําไร อยางไรก็ตาม หากนําขอมูลผลกําไร ผลตอบแทนการลงทุน ปริมาณขาย และราคาขายในป 2560 ซึ่งปรากฏในคําขอมาประกอบการพิจารณา พบวาการทํากําไรและอัตราผลตอบแทนการลงทุนไม่แตกตางกับที่ปรากฏในชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย ทั้งนี้ อุตสาหกรรมแต่ละประเภทยอมมีลักษณะเฉพาะ โครงสรางธุรกิจ ระดับการแขงขันหรือผูกขาดแตกตางกัน และแมจะเป็นอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลิตสินคาชนิดหรือประเภทเดียวกัน หากในแต่ละประเทศยอมมีนิเวศนทาง ธุรกิจที่แตกตางกัน ดังนั้น การเทียบเคียงอัตราผลตอบแทนการลงทุนกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ แมจะอยู่ในกลุ่ม เดียวกัน หรือกับอุตสาหกรรมเดียวกันในประเทศที่ตางกันอาจไม่เหมาะสม ตามที่อุตสาหกรรมภายในตัดสินใจแลกสวนแบงตลาดกับการทํากําไร สงผลให้แม ป 2562 ปริมาณการขายของอุตสาหกรรมภายในจะลดลงไม่มาก หากแต่อุตสาหกรรมภายในได้สูญเสียโอกาสที่ จะแยงชิงความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้น สงผลให้สวนแบงตลาดของอุตสาหกรรมภายในลดลง ขณะที่สวนแบงตลาด ของสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาเพิ่มขึ้น หากแต่ขอเท็จจริงที่ปรากฏและขอกลาวอางของอุตสาหกรรมภายใน คือ อุตสาหกรรมภายในเลือกสูญเสียสวนแบงตลาดบางสวนกับการทํากําไร จึงนําไปสูการพิจารณาวา สวนแบงตลาด ที่ลดลงของอุตสาหกรรมภายในเป็นผลมาจากสินคาที่ทุมตลาดเพียงปจจัยเดียว หรือบางสวนเป็นผลจาก ความผิดพลาดของการกําหนดระดับราคาสินคา การลดลงของปริมาณขายยอมสงผลต่อเนื่องไปยังปริมาณผลผลิต อัตราการใชกําลัง การผลิต โดยผลผลิตของอุตสาหกรรมภายในมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับการขาย กลาวคือ ลดลงใน ป 2561 - 2563 และปรับเพิ่มขึ้นในชวง IP เชนเดียวกับอัตราการใชกําลังการผลิต ทั้งนี้ อัตราการใชกําลังการผลิต ของอุตสาหกรรมภายในในชวง IP.ปรับเพิ่มขึ้นไปที่ระดับใกลเคียงกับอัตราการใชกําลังการผลิตกอนที่จะได้รับ ผลกระทบจากการนําเขาสินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ทั้งนี้ อุตสาหกรรมภายในกลาวอางวา อัตราการใชกําลัง การผลิตที่รอยละ 63 -65 ถือวาต่ําเกินไป หากแต่เมื่อตรวจสอบอัตราการใชกําลังการผลิตในป 2560 ซึ่งเป็นปที่ อุตสาหกรรมภายในยังไม่ได้รับผลกระทบจากสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา (หรือยังไม่ปรากฏการทุมตลาด)

18 พบวาอัตราการใชกําลังการผลิตอยู่ที่รอยละ 64.03 จึงกลาวได้วา แมอุตสาหกรรมภายในจะเหลือกําลังการผลิต อีก 1 ใน 3 หากแต่ระดับอัตราการใชกําลังการผลิตดังกลาวถือเป็นระดับปกติของอุตสาหกรรมภายใน เมื่อการลดลงของปริมาณขายสงผลให้การผลิตสินคาต้องลดลงนําไปสูการจางงานที่ ลดลงทั้งในสวนจํานวนแรงงาน และคาจางแรงงาน แมวาในชวง IP.ปริมาณการผลิตจะกลับมาเพิ่มขึ้น หากแต่ การจางงานกลับลดลง โดยคาจางแรงงานเพิ่มขึ้น สงผลให้อัตราคาจางแรงงานต่อหนวยผลิต (ตัน) ปรับลดลง หลังจากอัตราคาจางแรงงานต่อหนวยผลิตเป็นไปในทิศทางที่เพิ่มขึ้นระหวางป 2561 - 2563 เมื่อปริมาณการขายในป 2562 ลดลง สงผลให้สิน คาคงคลังเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม แมปริมาณการขายลดลงต่อเนื่องในป 2563 หากแต่สินคาคงคลังกลับปรับลดลง และลดต่อเนื่องในชวง IP ซึ่งสอดคลองกับการที่ปริมาณการขายปรับเพิ่มขึ้น ผลิตภาพของอุตสาหกรรมภายในคอนขางคงที่ สําหรับอัตรา การเติบโตของกิจการซึ่งพิจารณาจากการเติบโตของปริมาณและมูลคาขายภายในประเทศ เนื่องจากรายได้กวา รอยละ 75 ของอุตสาหกรรมภายในเป็นรายได้จากการขายสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ โดยในป 2561 - 2563 ปริมาณขายในประเทศมีอัตราการเติบโตติดลบ อันเป็นผลมาจากการเติบโตของปริมาณการนําเขาสินคา จากประเทศที่ถูกพิจารณาและนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายใน แมวาในชวง IP อัตราการเติบโต ของปริมาณขายในประเทศอยู่ที่รอยละ 3.24 หากแต่ยังต่ํากวาอัตราการเติบโตของปริมาณความต้องการใช ภายในประเทศที่รอยละ 5.08 ความสามารถในการเพิ่มทุนหรือการลงทุนจะพิจารณาจากสัดสวนหนี้สินต่อสินทรัพย์ ของอุตสาหกรรมภายใน ซึ่งมีแนวโนมลดลงในชวงป 2561 - 2563 กอนจะปรับเพิ่มเล็กนอยในชวง IP กระแส เงินสดจากการดําเนินงานของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลงอยางต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของราคา วัตถุดิบอะลูมิเนียมแทงบิลเลทอยางมีนัยสําคัญ เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงสภาวะการณของอุตสาหกรรมภายในอันเกิดจากสินคา นําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาประกอบปจจัยนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายใน และการปรับขึ้น และความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ในแต่ละปจจัย พบวา แมบางปจจัยจะเป็นไปในทิศทางที่บงชี้วามีความเสียหาย แต่ปจจัยเหลานั้นปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้นในชวง IP.ดังนั้น จึงไม่พบพยานหลักฐานเพียงพอที่จะสรุปวามีความเสียหาย อยางสําคัญเกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดของสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน 5) ผลการไตสวนของสหราชอาณาจักร อุตสาหกรรมภายในขอนําเสนอผลการไตสวนชั้นที่สุดกรณีการทุมตลาดสินคา อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดย Trade Remedies Authority ( “ TRA”) ของอังกฤษ เมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม 2565 ซึ่งมีคําวินิจฉัยวาสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากจีนได้ทุมตลาดและกอให้เกิดความเสียหาย อยางรายแรงแกอุตสาหกรรมภายในอังกฤษ ทั้งนี้ การไตสวนดังกลาวคลายคลึงกับการไตสวนในกรณีนี้หลาย ประการ เชน ขอบเขตสินคาที่ถูกพิจารณา ประเทศที่ถูกพิจารณา ระยะเวลาการไตสวนที่หางกันเพียง 1 ไตรมาส โดยเมื่อเปรียบเทียบปจจัยความเสียหายของอุตสาหกรรมภายในในชวง PP และ IP พบวาอุตสาหกรรมอังกฤษ ยังคงมีทิศทางความเสียหายที่นอยกวาอุตสาหกรรมไทยในหลายปจจัย คําวินิจฉัยชั้นที่สุดของ TRA ระบุวาการพิจารณาความเสียหายของอุตสาหกรรมภายใน อังกฤษเป็นการพิจารณาจากภาพความเสียหายโดยรวมตลอดชวงระยะเวลาพิจารณาความเสียหาย โดย TRA ให้ความสําคัญกับการพิจารณาความเสียหายในชวง 3 ปแรกของระยะเวลาการไตสวนความเสียหาย เนื่องจาก พบวาในชวง IP มีวิกฤตการณทางการคาระหวางประเทศที่สงผลกระทบกับการสงออกจากจีนไปยังประเทศ อังกฤษ โดยเฉพาะอยางยิ่ง วิกฤตการณเกี่ยวกับการขาดแคลนตูคอนเทนเนอร สงผลให้คาขนสงระหวางประเทศ

19 ปรับตัวสูงขึ้นและยังเกิดความลาชาในการสงสินคาจากจีนในชวงระยะเวลาดังกลาว ทั้งนี้ วิกฤตการณดังกลาวเป็น วิกฤตการณที่เกิดขึ้นทั่วโลก รวมถึงการสงออกสินคาจากจีนมาไทยเชนกัน ขอชี้แจง มาตรา 21 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ กําหนดวา การพิจารณาความเสียหาย ตามมาตรา 19 (1) โดยนอกจากผลจากสินคาทุมตลาดแล้ว จะต้องพิจารณาผลจากปจจัยตาง ๆ ที่ปรากฏวา กอให้เกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมภายในในเวลาเดียวกันประกอบด้วย และขอ 3.5 ของความตกลง ADA ระบุวา “ any known factors other than the dumped imports which at the same time are injuring the domestic industry, and the injuries caused by these factors must be not attributed to the dumped imports” แสดงอยางชัดเจนถึงวัตถุประสงคและวิธีการพิจารณาความเสียหาย โดยหากมีปจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อความเสียหาย ของอุตสาหกรรมภายใน ปจจัยนั้นจะถูกนํามารวมพิจารณา เพื่อหักทอนผลกระทบของปจจัยนั้นออกจากความเสียหาย ที่ปรากฏ เพื่อให้ความเสียหายที่นํามาพิจารณาเป็นความเสียหายที่เกิดจากการทุมตลาดเทานั้น การนําปจจัยอื่น มารวมพิจารณาเพื่อขยายหรือเพิ่มขนาดของความเสียหายที่เกิดจากการทุมตลาดเป็นแนวทางการดําเนินการที่ ไม่สอดคลองกับมาตรา 21 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และขอ 3.5 ของความตกลง ADA 2.7.3 การพิจารณาสถานะอุตสาหกรรมภายใน ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาการพิจารณาสถานะอุตสาหกรรมภายในภายใตมาตรา 24 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ควรพิจารณาความเกี่ยวพันและตรวจสอบ เรื่อง ผู้ยื่นคําขอมีสวนเกี่ยวของ กับผู้นําเขา ทั้งในสวนของผู้ถือหุนและการมีอํานาจสั่งการอยางรอบคอบ ขอชี้แจง ผู้ผลิตสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศที่ให้ความรวมมือในกระบวนการไตสวนโดยการตอบ แบบสอบถามครบถวนถูกต้องตามระยะเวลาที่กําหนดมีจํานวน 7 ราย ได้แก (1) บริษัท โกลดสตารเมททอล จํากัด (2) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด (3) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด (4) บริษัท เมืองทอง อุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด (5) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด (6) บริษัท อลูเม็ท จํากัด และ (7) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด มีปริมาณผลิตคิดเป็นรอยละ 85.99 ของปริมาณการผลิตรวมภายในประเทศ ซึ่งมี ผลผลิตรวมกันได้เกินกึ่งหนึ่งของปริมาณการผลิตรวมภายในประเทศ จึงถือวามีสถานะเป็นอุตสาหกรรมภายใน ตามมาตรา 24 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ มาตรา 24 วรรคหนึ่ง (1) กําหนดวา หากผู้ผลิตเป็นผู้นําเขาสินคาทุมตลาดหรือเกี่ยวของ กับผู้นําเขาสินคาทุมตลาด อาจไม่ถือวาผู้ผลิตรายนั้นเป็นสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมภายในก็ได้ ซึ่งจากการตรวจสอบ พบ (1) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด มีปริมาณนําเขาคิดเป็นรอยละ 0.09 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ ถูกพิจารณา (2) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็นรอยละ 0.05 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา (3) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็น รอยละ 1.20 (4) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็นรอยละ 0.66 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา ขณะที่ไม่พบการนําเขาหรือการนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของของบริษัท เมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด และบริษัท อลูเม็ท จํากัด ในชวงเวลาที่พิจารณา เมื่อพิจารณาขอมูลปริมาณ นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาของผู้ผลิตทั้ง 4 รายขางตน พบวาสัดสวนต่อปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณารวมไม่มี นัยสําคัญ ดังนั้น จึงถือวา บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด บริษัท แอลเมทไทย จํากัด และบริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด เป็นสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมภายใน 2.7.4 ปริมาณนําเขาโดยผู้ยื่นคําขอในนามอุตสาหกรรมภายใน ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาพบวาผู้ยื่นคําขอในนามอุตสาหกรรมภายในตางมีสวนใน การนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา ทั้งในนามของบริษัทเอง หรือให้บริษัทในเครือ หรือผู้ถือหุนในเครือนําเขา จึงขอให้

20 มีการตรวจสอบการนําเขาตามขอมูลที่นําเสนอ โดยหากนําขอมูลปริมาณนําเขาของผู้มีสวนเกี่ยวของมาพิจารณา ประกอบ อาจพบวามูลคาและปริมาณนําเขาดังกลาวมีนัยสําคัญ สงผลต่อดัชนีการพิจารณาความเสียหาย ดังนั้น สวนแบงตลาด หรือคาตัวเลขตาง ๆ ไม่ใชความเสียหายที่แทจริง อุตสาหกรรมภายใน เห็นด้วยกับขอวินิจฉัยวาปริมาณการนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา โดยผู้ผลิตในประเทศบางรายหรือบริษัทที่เกี่ยวของของผู้ผลิตรายดังกลาวมีปริมาณการนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา คิดเป็นชวงรอยละเพียง 0.05 – 1.20 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา ซึ่งเป็นสัดสวนต่อปริมาณนําเขา สินคาที่ถูกพิจารณาอยางไม่มีนัยสําคัญ และเห็นวาปริมาณดังกลาวไม่สามารถกอให้เกิดผลประโยชนทับซอน หรือเป็นสวนที่กอให้เกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมภายใน ขอชี้แจง กรมการคาตางประเทศ ตรวจสอบปริมาณการนําเขาในชวงเวลาที่พิจารณาของผู้ผลิต ในประเทศบางราย รวมถึงบริษัทที่มีสวนเกี่ยวของพบ (1) บริษัท ยูไนเต็ด อลูมิเนียม อินดัสตรี้ จํากัด มีปริมาณ นําเขาคิดเป็นรอยละ 0.09 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา (2) บริษัท ซิมเมอร เมตัล สแตนดารด จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็นรอยละ 0.05 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา (3) บริษัท แอลเมทไทย จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็นรอยละ 1.20 ของปริมาณนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา (4) บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จํากัด มีปริมาณนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของคิดเป็นรอยละ 0.66 ของปริมาณ นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา ขณะที่ไม่พบการนําเขาหรือการนําเขาจากบริษัทที่เกี่ยวของของบริษัท เมืองทอง อุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จํากัด และบริษัท อลูเม็ท จํากัด ซึ่งปริมาณการนําเขาที่ปรากฏไม่ถือวามีนัยสําคัญแต่อยางไร 2.7.5 ประเด็นอื่น ๆ 1) การแจงผู้มีสวนได้เสีย ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาพิกัดอัตราศุลกากรของสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป มีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมในหลายภาคสวน การสงจดหมายแจงไปยังผู้มีสวนได้เสียเพียง 24 ราย จากรายชื่อ ทั้งหมด 1,123 ราย เป็นปริมาณที่นอยและทําให้ได้รับขอมูลอยางจํากัด ควรแจงไปยังผู้มีสวนได้เสียที่เป็นผู้นําเขา รายอื่นเพื่อเป็นการรักษาสิทธิ์ในการให้ขอมูล ซึ่งจะทําให้ได้รับขอมูลมากขึ้น และเป็นประโยชนในการพิจารณา ขอชี้แจง เมื่อคณะกรรมการ ทตอ. มีมติให้เปดการไตสวนได้มีการออกประกาศกรมการคา ตางประเทศ เรื่อง เปดการไตสวนการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และได้ลงประกาศดังกลาวในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 รวมถึงการลงประกาศในหนังสือพิมพ ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2565 ซึ่งเป็นไปตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ นอกจากนี้ ยังได้ลงประกาศแจงเปดการไตสวน รวมถึงคําขอฉบับเปดเผย และแบบสอบถาม สําหรับผู้มีสวนได้เสียเพื่อ Download.ในเว็บไซต์ www.thaitr.go.th ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2564 2) ขอบเขตสินคาที่ถูกพิจารณาและความสามารถในการทดแทนกันของสินคา ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป มีความหลากหลาย ในการนําไปใชงาน การกําหนดขอบเขตสินคาที่ถูกพิจารณาจึงควรระบุรายละเอียดชนิดที่จํากัดเฉพาะให้ชัดเจน เพื่อปองกันไม่ให้กระทบกับอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ไม่เกี่ยวของหากมีการบังคับใชมาตรการ นอกจากนี้ ความยึดถือ และเชื่อมั่นในแบรนดของผู้บริโภค คุณภาพการผลิต การออกแบบหน้าตัดและปจจัยอื่น ๆ มีผลต่อการตัดสินใจ ของผู้บริโภค ไม่ใชปจจัยดานราคาเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ เห็นวาอุตสาหกรรมภายในยังไม่สามารถผลิตพื้นผิวที่ ผิวสัมผัสเสมือนไมจริง ซึ่งผลิตภัณฑของผู้ยื่นคําขอทั้งหมดเป็นเพียงแคการทําสี และทําผิวสัมผัสแบบ sand skin รวมทั้ง ยังไม่สามารถผลิตสินคาได้ทั้งหมดตามเทคโนโลยีที่มีในปจจุบัน

21 ขอชี้แจง พิกัดศุลกากรที่นํามาใชสําหรับกําหนดขอบเขตสินคาที่ถูกพิจารณากรณีนี้ คือ พิกัดศุลกากร ในระดับประเภทยอย 8 หลัก และรหัสสถิติ 3 หลัก ซึ่งเป็นการจําแนกพิกัดศุลกากรยอยที่สุดของไทย และเมื่อเปรียบเทียบรายละเอียดสินคาที่ถูกพิจารณาและสินคาที่อุตสาหกรรมภายในผลิต พบวา ลักษณะทาง กายภาพ ลักษณะทางเคมี โครงสรางสินคา กระบวนการผลิต ชองทางจัดจําหนาย รวมถึงการรับรูของลูกคาต่อสินคา และผู้ใชสินคาขั้นสุดทายไม่แตกตางกัน และสามารถนํามาใชทดแทนกันได้ 3) สถานการณการผลิตรีดเสนอะลูมิเนียม และการสงออก รวมถึงความต้องการ อุตสาหกรรมภายในนําเสนอปริมาณการผลิตและสงออกอะลูมิเนียมรีดเสนของจีน ระหวางป 2 543 - 2561 และขอมูลความต้องการอะลูมิเนียมเสนระหวางป 2560 - 2564 ซึ่งจัดทําโดยบริษัท CRU Group โดยอุตสาหกรรมภายในเห็นวาหากผู้ผลิตจีนระบายสินคาเพียงเล็กนอยด้วยการทุมตลาดมาที่ไทย อุตสาหกรรมไทยจะไม่สามารถแขงขันได้จนต้องปดกิจการ ขอชี้แจง จากขอมูลปริมาณการผลิตและสงออกสินคาอะลูมิเนียมขั้นกลางซึ่งรวมถึงอะลูมิเนียม อัดขึ้นรูประหวางป 2543 - 2561 ที่อุตสาหกรรมภายในนําเสนอ ในป 2561 ซึ่งเป็นปจจุบันที่สุดของชุดขอมูล ดังกลาว พบวาสาธารณรัฐประชาชนจีนมีปริมาณผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปอยู่ที่ประมาณ 18 ลานตัน โดยมี ปริมาณสงออกอยู่ที่ประมาณ 1.3 ลานตัน หรือคิดเป็นประมาณรอยละ 8 ของปริมาณการผลิตรวมของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ขณะที่ขอมูลของบริษัท CRU Group ซึ่งอุตสาหกรรมภายในนําเสนอประมาณการความต้องการสินคา อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปภายในสาธารณรัฐประชาชนจีนระหวางป 2560 - 2564 ที่ 18 - 20 ลานตันต่อป โดยในป 2561 ความต้องการภายในประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีนอยู่ที่ 18.4 ลานตัน แมวาขอมูลทั้งสองชุดที่ นําเสนอจะไม่สอดคลองในเชิงปริมาณ หากแต่สะทอนวาปริมาณผลผลิตสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปของสาธารณรัฐ ประชาชนจีนประมาณรอยละ 90 เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใชภายในประเทศ ผลผลิตที่เหลืออีกประมาณ รอยละ 10 จะสงออกไปยังประเทศตาง ๆ ซึ่งจากขอมูลสถิติการสงออกของกรมศุลกากรจีน พบปริมาณการสงออก สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปอยู่ที่ประมาณปละ 2 ลานตัน โดยมีตลาดสงออกกระจายทั่วโลก สําหรับตลาดสงออก สําคัญ คือ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ญี่ปุน สหราชอาณาจักร ฮองกง ซึ่งปริมาณการสงออกไปตลาดดังกลาวรวมกันคิดเป็นประมาณรอยละ 50 ของปริมาณการสงออกรวม ดังนั้น การคาดการณวาหากสาธารณรัฐประชาชนจีนต้องการระบายสินคาเพียงรอยละ 1 ของปริมาณสงออกยอมสงผลให้มี สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปเขาไทยประมาณ 200,000 - 350,000 ตัน จึงเป็นการคาดการณที่หางไกลจากขอเท็จจริง 4) การสนับสนุนของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน อุตสาหกรรมภายในเห็นวาจีนมีทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบสําหรับปอน โรงงานผลิตรีดอะลูมิเนียมเสน รวมถึงการอุดหนุนทําให้ได้เปรียบดานตนทุนการผลิต ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาหากจีนมีการอุดหนุนอุตสาหกรรมเพื่อหวังทุมตลาด ประเทศอื่น ๆ ยอมต้องกระจายไปหลายประเทศ รวมถึงประเทศที่ไทยสงออก ดังนั้น ยอมสงผลกระทบต่อการสงออก และศักยภาพการแขงขันของไทยในประเทศปลายทาง ขอชี้แจง การพิจารณาวินิจฉัยวาจะกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขอมูล ขอเท็จจริงจากการไตสวนวาปรากฏการทุมตลาดหรือไม่ และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญต่อ อุตสาหกรรมภายในหรือไม่ โดยหากปรากฏการทุมตลาด และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ แกอุตสาหกรรมภายในยอมนําไปสูการพิจารณาวินิจฉัยกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด แต่หากไม่ปรากฏ การทุมตลาด หรือการทุมตลาดนั้นไม่กอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญยอมไม่อาจตอบโตได้

22 5) ประโยชนสาธารณะ อุตสาหกรรมภายในเห็นวาการพิจารณาการกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด จะต้องพิจารณาจากกฎหมายและหลักเกณฑที่ระบุใน พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ กฎกระทรวง และ ประกาศที่เกี่ยวของ โดยต้องคํานึงถึงเจตนารมณที่ระบุในทาย พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ทั้งนี้ การพิจารณา มาตรการตอบโตการทุมตลาดโดยคํานึงถึงผลประโยชนสาธารณะตามมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ จะต้องอยู่ภายใตวัตถุประสงคที่ระบุในทาย พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ กลาวคือ เพื่อปกปองและเยียวยา อุตสาหกรรมภายในจากการคาอันไม่เป็นธรรม และไม่วากรณีใด ๆ จะใชไปในทางที่ขัดต่อวัตถุประสงคเพื่อปองกัน อุตสาหกรรมจากการคาอันไม่เป็นธรรมไม่ได้ การพิจารณาความเสียหายของอุตสาหกรรมภายในซึ่งเกิดจาก การนําเขาสินคาจากจีน จะต้องพิจารณาจากขอเท็จจริงโดยไม่นําปจจัยเรื่องประโยชนสาธารณะมาพิจารณารวมใน การไตสวนความเสียหายทั้งทางตรงและทางออม และหากจะนํามาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ มาบังคับใช จะต้องพิจารณาประเด็นดังกลาวแยกออกจากการพิจารณาความเสียหาย โดยต้องไม่ขัดต่อเจตนารมณ ของมาตรการตอบโตการทุมตลาด ขอชี้แจง การพิจารณาวินิจฉัยวาจะกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขอมูล ขอเท็จจริงจากการไตสวนวาปรากฏการทุมตลาดหรือไม่ และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ ต่ออุตสาหกรรมภายในหรือไม่ โดยหากปรากฏการทุมตลาด และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ แกอุตสาหกรรมภายในยอมนําไปสูการพิจารณาวินิจฉัยกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด แต่หากไม่ปรากฏ การทุมตลาด หรือการทุมตลาดนั้นไม่กอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญยอมไม่อาจตอบโตได้ ทั้งนี้ ไม่ได้มีการนํา ปจจัยประโยชนสาธารณะมาพิจารณารวมในการไตสวนความเสียหายทั้งทางตรงและทางออมแต่อยางใด 6) ผลกระทบต่อการจางงาน อุตสาหกรรมภายในเห็นวาการที่อะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากจีนสงเขามาในไทยด้วย ราคาที่ต่ํามาก เป็นเหตุให้ต้องลดการผลิตลง โดยลดการจางแรงงาน สงผลให้แรงงานที่เหลือต้องทํางานหนักขึ้น การที่จางงานลดลง 660 คน (ระหวางป 2561 - IP) นั้นหมายถึงในกรณี 3,960 คนที่ต้องลําบากประสบปญหา ปากทองความยากไร ขอชี้แจง การพิจารณาวินิจฉัยวาจะกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขอมูล ขอเท็จจริงจากการไตสวนวาปรากฏการทุมตลาดหรือไม่ และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญต่อ อุตสาหกรรมภายในหรือไม่ โดยหากปรากฏการทุมตลาด และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ แกอุตสาหกรรมภายในยอมนําไปสูการพิจารณาวินิจฉัยกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด แต่หากไม่ปรากฏ การทุมตลาด หรือการทุมตลาดนั้นไม่กอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญยอมไม่อาจตอบโตได้ 7) ความสําคัญของอุตสาหกรรมอะลูมิเนียมต่อระบบเศรษฐกิจไทย อุตสาหกรรมภายในเห็นวาอุตสาหกรรมอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปไทยเป็นเสาหลักควบคู่ กับการพัฒนาประเทศ และควรได้รับการสนับสนุนอุมชูจากภาครัฐ เพื่อสรางความแข็งแรง ยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจที่ ต้องเติบโตของประเทศ หากไม่มีอุตสาหกรรมภายใน ผู้บริโภคจะต้องพึ่งพาการนําเขาจากประเทศอื่น ๆ และอาจ ทําให้เกิดสภาวะความไม่มั่นคงและสงผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจระบาดเป็นลูกโซ นอกจากนี้ JRC Science for policy report ฉบับเดือนกรกฎาคม ป 2564 ระบุวาอุตสาหกรรมอะลูมิเนียม มีความสําคัญต่อการพัฒนา ประเทศ ทั้งในสวนของโครงสรางประเทศ ภาคการกอสราง ภาคการคมนาคม ตลอดจนการผลิตไฟฟา รวมถึงเป็น ฟนเฟองชวยสนับสนุน recycling economy

23 ขอชี้แจง การพิจารณาวินิจฉัยวาจะกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขอมูล ขอเท็จจริงจากการไตสวนวาปรากฏการทุมตลาดหรือไม่ และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญต่อ อุตสาหกรรมภายในหรือไม่ โดยหากปรากฏการทุมตลาด และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ แกอุตสาหกรรมภายในยอมนําไปสูการพิจารณาวินิจฉัยกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาด แต่หากไม่ปรากฏ การทุมตลาด หรือการทุมตลาดนั้นไม่กอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญยอมไม่อาจตอบโตได้ 8) ความสามารถในการแขงขันได้ของอุตสาหกรรมภายใน สมาคมต่อเรือและซอมเรือไทยเห็นด้วยกับรางผลการไตสวนชั้นที่สุด เนื่องจาก ประเทศไทยไม่มีสินแรอะลูมิเนียม โรงงานผลิตอะลูมิเนียมในประเทศมีเพียงไม่กี่แห่ง ซึ่งมีขีดความสามารถจํากัด สามารถผลิตอะลูมิเนียมอัลลอยชนิดเป็นแผนและรูปพรรณได้ไม่กี่ประเภท ตนทุนการผลิตสูงกวาโรงงานใน ตางประเทศ.และสินคาที่ผลิตได้ในปจจุบันใชงานได้เฉพาะในครัวเรือน ไม่สามารถนําไปใชในงานอากาศยาน และเรือเดินทะเลได้ ขอชี้แจง การพิจารณาวินิจฉัยวาจะกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขอมูล ขอเท็จจริงจากการไตสวนวาปรากฏการทุมตลาดหรือไม่ และการทุมตลาดนั้นกอให้เกิดความเสียหายอยางสําคัญ ต่ออุตสาหกรรมภายในหรือไม่ โดยหากไม่ปรากฏการทุมตลาด หรือการทุมตลาดนั้นไม่กอให้เกิดความเสียหาย อยางสําคัญยอมไม่อาจตอบโตได้ 9) สภาวะการณการแขงขันและการพัฒนาของสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปภายในประเทศ ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวากลุ่มอุตสาหกรรมภายในที่ยื่นคําขอมีความได้เปรียบ เหนือสินคานําเขาในหลายปจจัย และการขายตัดราคาเป็นธรรมชาติของการคาในกลุ่มอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปปจจุบัน มาตรฐานการผลิตของโรงงานไทย ยังไม่อาจสูนานาประเทศได้ โดยเฉพาะความสม่ําเสมอของการพนอบสี และความแข็งแรงของเสนอะลูมิเนียม รวมทั้งเทคโนโลยีการผลิตที่ลาสมัย ดังนั้น หากมีการบังคับใชมาตรการตอบโต การทุมตลาด จะทําให้อุตสาหกรรมภายในชะลอการปรับตัวพัฒนาคุณภาพของสินคา และกลับไปสูการแขงขัน ดานราคา หรือการผูกขาดตลาด อุตสาหกรรมภายในเห็นโตแยงต่อการกลาวอางวาการกําหนดมาตรการตอบโต การทุมตลาด เป็นการสรางการผูกขาดทางการคา โดยเห็นวาการกําหนดมาตรการตอบโตการทุมต ลาด มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองและเยียวยาอุตสาหกรรมภายในประเทศจากพฤติกรรมและสถานการณทาง การคาที่ไม่เป็นธรรมจากการทุมตลาดของสินคาจากตางประเทศ เพื่อนําไปสูสภาวะตลาดที่มีการแขงขันอยาง เป็นธรรม นอกจากนี้ ปจจุบันมีกฎหมายเพื่อปองกันการผูกขาดทางการคา ตามพระราชบัญญัติการแขงขันทาง การคา พ.ศ. 2560 ซึ่งอยู่ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการการแขงขันทางการคา (กขค.) ดังนั้น หากผู้นําเขา/ สมาคมผู้ใชเห็นวามีการผูกขาดทางการคาเกิดขึ้นและกอให้เกิดความเสียหาย ก็สามารถดําเนินการรองเรียนได้ ตามกระบวนการของกฎหมายดังกลาว ทั้งนี้ อุตสาหกรรมภายในขอให้ไม่นําเอากฎหมายการตอบโตการทุมตลาด มาพิจารณาในประเด็นของการผูกขาดทางการคา ขอชี้แจง การกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดมีวัตถุประสงคเพื่อเยียวยาความเสียหาย ของผู้ผลิต/อุตสาหกรรมภายในประเทศจากพฤติกรรมการทุมตลาดของสินคาจากตางประเทศ ซึ่งถือวาเป็น พฤติกรรม/สถานการณการคาที่ไม่เป็นธรรม เพื่อนําไปสูสภาวะตลาดที่มีการแขงขันอยางเป็นธรรม มาตรการตอบโต การทุมตลาดไม่ได้หามการนําเขาสินคาจากประเทศ/แหลงกําเนิดที่พิสูจนแล้ววามีพฤติกรรมการทุมตลาด รวมถึงไม่ ครอบคลุมถึงสินคาจากประเทศหรือแหลงอื่น ๆ ดังนั้น ผู้นําเขายังคงมีทางเลือกที่จะนําเขาสินคาจากแหลงอื่น ๆ

24 หรืออาจนําเขาจากแหลงเดิมจากผู้ผลิต/ผู้สงออกที่ไม่มีพฤติกรรมทุมตลาด หรือมีสวนเหลื่อมการทุมตลาดในระดับต่ํา โดยหลักการแล้ว มาตรการตอบโตการทุมตลาดจึงไม่ใชปจจัยที่นําไปสูการลดทอนการแขงขันเสรีในตลาด หรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมแต่อยางไร 10) ไม่มีพฤติกรรมการทุมตลาดของสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาไม่มีการทุมตลาดแต่อยางไร เนื่องจากการนําเขา ผานพิธีการศุลกากรโดยถูกต้อง มีการเสียภาษีตามพิกัดศุลกากร และพิกัดศุลกากรได้กําหนดตนทุนสินคา รวมถึง การกําหนดราคาขายของผู้นําเขาเป็นไปตามหลักการทางบัญชี ยอมเป็นไปไม่ได้ที่ผู้นําเขาทั้งหมดจะมาทุมตลาด พรอมกัน ราคาเป็นไปตามทองตลาด และมีราคาตลาดโลก การคาที่เกิดขึ้นจึงเป็นไปตามพฤติกรรมของการคาทั่วไป ขอชี้แจง การพิจารณาการทุมตลาดไม่ได้เปรียบเทียบระหวางราคาสินคานําเขาจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีนและราคาสินคาของผู้ผลิตภายในประเทศในตลาดประเทศไทย หากแต่เป็นการเปรียบเทียบระหวาง ราคาสงออกสินคาที่ถูกพิจารณาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมายังประเทศไทยและมูลคาปกติของสินคาที่ถูก พิจารณาในสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ ระดับการคาเดียวกัน หรือ ราคา ณ หน้าโรงงานในสาธารณรัฐประชาชนจีน 11) การลงทุนทางตรงในอุตสาหกรรมอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ผู้นําเขาสินคาที่ถูกพิจารณาเห็นวาการกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดจะเป็น การอํานวยความสะดวกให้แกโรงงานอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากจีนที่เขามาตั้งโรงงานฐานการผลิตในไทยและได้รับ สิทธิประโยชนจากนโยบายและมาตรการสงเสริมการลงทุนในการทําลายกลไกการคาภายในประเทศ ขอชี้แจง การกําหนดมาตรการตอบโตการทุมตลาดมีวัตถุประสงคเพื่อเยียวยาความเสียหาย ของผู้ผลิต/อุตสาหกรรมภายในประเทศจากพฤติกรรมการทุมตลาดของสินคาจากตางประเทศ ซึ่งถือวาเป็น พฤติกรรม/สถานการณการคาที่ไม่เป็นธรรม เพื่อนําไปสูสภาวะตลาดที่มีการแขงขันอยางเป็นธรรม ทั้งนี้ มาตรการ ตอบโตการทุมตลาดจะนํามาบังคับใชก็ต่อเมื่อปรากฏวามีการทุมตลาดที่กอให้เกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรม ภายในเทานั้น และการกําหนดอัตราอากรตอบโตการทุมตลาด ก็จะกําหนดในอัตราเพียงเพื่อขจัดความเสียหาย และจะเกินกวาสวนเหลื่อมการทุมตลาดไม่ได้ จึงกลาวได้วา พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ไม่มีเจตนารมณเพื่อ เป็นเครื่องมือในการกีดกันสินคาจากตางประเทศแต่อยางไร 2.8 การวินิจฉัยชั้นที่สุดเกี่ยวกับการพิจารณาตอบโตการทุมตลาด การพิจารณาตอบโตการทุมตลาดจะพิจารณาจากขอมูลตามคําตอบแบบสอบถามที่ได้รับจาก ผู้มีสวนได้เสียแต่ละรายที่ให้ความรวมมือตอบแบบสอบถาม ผู้ที่ไม่ให้ความรวมมือตอบแบบสอบถามจะพิจารณา โดยใชขอมูลขอเท็จจริงเทาที่มีอยู่ (Best Information Available: BIA) ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑที่กําหนดไวใน มาตรา 27 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ประกอบขอ 6.8 และ Annex II (7) ของความตกลง ADA ซึ่ง ปรากฏรายละเอียด ดังนี้ 2.8.1 ผลการไตสวนการทุมตลาด ผลการคํานวณมูลคาปกติและราคาสงออก เพื่อพิจารณาสวนเหลื่อมการทุมตลาดของ สินคาที่ถูกพิจารณา ดังนี้ 1) Guangdong Yonglong Aluminum Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน

25 (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 0.34 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 2) Foshan JMA Aluminium Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่นๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ 6.11 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 3) Guangdong JMA Aluminium Profile Factory (Group) Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 3.65 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 4) Jiangsu Asia- Pacific Light Alloy Technology Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน

26 (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 15.94 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 5) Guangdong Golden Aluminum Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ พ.ศ. 2542 โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูลกําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน เนื่องจากบางรหัสสินคา บริษัทฯ ไม่มีการขายสินคาชนิดเดียวกันในประเทศ หรือมีการขายสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศนอยกวารอยละ 5 ของปริมาณสงออกมาไทย ดังนั้น จึงอาศัย อํานาจตามมาตรา 15 วรรคสอง (2) พิจารณาคํานวณมูลคาปกติขึ้นใหม (Constructed Normal Value) โดย คํานวณจากตนทุนการผลิตในประเทศรวมกับจํานวนที่เหมาะสมของคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ยกเวนกําไรตาง ๆ คํานวณจากอัตรากําไรที่เหมาะสม (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ 30.71 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 6) Qingyuan XinYueYa Aluminum Industry Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 1.12 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ.

27 7) Foshan Nanhai Wing Hing Aluminum Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน เนื่องจากบางรหัสสินคา บริษัทฯ ไม่มีการขายสินคาชนิดเดียวกันในประเทศ หรือเป็นการขายต่ํากวาทุน ดังนั้น จึงอาศัยอํานาจตามมาตรา 15 วรรคสอง (2) พิจารณาคํานวณมูลคาปกติ ขึ้นใหม (Constructed Normal Value) โดยคํานวณจากตนทุนการผลิตในประเทศรวมกับจํานวนที่เหมาะสมของ คาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ยกเวนกําไรตาง ๆ คํานวณจากอัตรากําไรที่เหมาะสม (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 5.74 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 8) Sihui Guangzheng Aluminum Profile Co., Ltd. (1) มูลคาปกติ พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 15 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายภายในประเทศ ขอมูลตนทุนการผลิต ขอมูลคาใชจายในการขาย บริหาร และอื่น ๆ และขอมูล กําไรของบริษัทฯ และหักคาใชจายตามคําตอบแบบสอบถามเพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (2) ราคาสงออก พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลการขายสงออกมายังประเทศไทยตามขอมูลการสงออกของบริษัทฯ และหักคาใชจายตาง ๆ ตามคําตอบ แบบสอบถาม เพื่อทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน (3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด พิจารณาตามหลักเกณฑตามมาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออก ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน พบสวนเหลื่อม การทุมตลาดในอัตรารอยละ - 2.77 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 9) ผู้ผลิต/ผู้สงออกรายอื่น ๆ พิจารณาโดยใชขอมูลขอเท็จจริงเทาที่มีอยู่ (Best Information Available: BIA) ตามหลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา 27 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยใชขอมูลของผู้ผลิต/ผู้สงออก ที่เขารวมกระบวนการไตสวน คือ บริษัท Guangdong Golden Aluminum Co., Ltd. ที่มีปริมาณสงออกมาไทย สูงสุดในกลุ่มผู้ผลิตที่ปรากฏการทุมตลาด โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาปกติและราคาสงออกในรหัสสินคา Normal Powder Coating 0.9 ซึ่งเป็นรหัสสินคาที่มีปริมาณสงออกสูงสุดของบริษัท Guangdong Golden Aluminum Co., Ltd. ณ ระดับการคาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน ปรากฏสวนเหลื่อมการทุมตลาดรอยละ 32.69 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ.

28 2.8.2 การพิจารณาความเสียหายอยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายใน การพิจารณาความเสียหายอยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในเป็นไปตามหลักเกณฑ ที่กําหนดตามมาตรา 19 และมาตรา 20 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ โดยไม่พบพยานหลักฐานเพียงพอ ที่จะสรุปวาอุตสาหกรรมภายในได้รับความเสียหายอยางสําคัญตามมาตรา 19 (1) แห่ง พ.ร.บ. การตอบโต การทุมตลาดฯ ดังนี้ 1) ปริมาณของสินคาทุมตลาดและผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาสินคาชนิดเดียวกัน ในตลาดภายในประเทศ (1) ปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาด ตามบทบัญญัติขอ 2 (1) (ก) ภายใตกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 กําหนดวา “ ในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของสินคานําเขาที่ทุมตลาดให้พิจารณาวาได้มีการนําเขาที่เพิ่มขึ้นโดยมี นัยสําคัญหรือไม่ ไม่วาจะพิจารณาจากการนําเขาจริง หรือปริมาณที่เทียบเคียงกับปริมาณการผลิตหรือการบริโภค ภายในประเทศ ” ปริมาณการนําเขาสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เพิ่มขึ้นในชวงเวลาที่พิจารณา หากแต่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง (2) ผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาสินคาชนิดเดียวกันในตลาดภายในประเทศ ตามบทบัญญัติขอ 2 (1) (ข) ภายใตกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 กําหนดวา “ ในสวนที่เกี่ยวกับผลของการนําเขาสินคาที่ทุมตลาดที่มีต่อราคาให้พิจารณาวาราคาของสินคานําเขาที่ ทุมตลาดได้มีการตัดราคา โดยมีนัยสําคัญเมื่อเปรียบเทียบกับราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศหรือไม่ หรือมิเชนนั้นการนําเขาสินคาดังกลาวจะมีผลเป็นการกดราคาหรือจะหยุดยั้งการที่ราคาจะขยับตัวสูงขึ้นโดยมีนัยสําคัญ เนื่องจากการทุมตลาดนั้นหรือไม่ ” จากการเปรียบเทียบราคาขายสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ราคาขาย สินคาชนิดเดียวกันของอุตสาหกรรมภายใน และตนทุนการผลิตของอุตสาหกรรมภายใน พบการตัดราคาตลาด ชวงเวลาที่พิจารณา แต่มีแนวโนมลดลง สําหรับผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา พบวาไม่ สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญ กลาวคือ ป 2562 ไม่พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา การลดลงของราคา เป็นผลมาจากตนทุนการผลิตที่ลดลง ขณะที่ป 2563 พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของ ผลกระทบอยู่ที่รอยละ 0.73 สําหรับชวง IP พบเฉพาะการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบอยู่ที่รอยละ 3.69 2) ผลกระทบของการทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน ตามบทบัญญัติขอ 2 (2) (ก) ภายใตกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการพิจารณาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดหรือการอุดหนุน พ.ศ. 2545 กําหนดวา “ ในสวนที่เกี่ยวกับผลกระทบจากสินคานําเขาที่ทุมตลาดให้พิจารณาโดยประเมินจากปจจัยและดัชนีทาง เศรษฐกิจที่มีผลต่ออุตสาหกรรมภายใน รวมทั้งการลดลงทั้งที่เป็นจริงและที่อาจเกิดขึ้นของปจจัยตาง ๆ ดังต่อไปนี้ ” (1) ปริมาณ มูลคาขายในประเทศ และราคาขายในประเทศ ปริมาณและราคาขายในประเทศของอุตสาหกรรมภายในมีทิศทางลดลงในชวง ป 2561 - 2563 ซึ่งมีผลให้มูลคาขายในประเทศลดลงตลอดในชวงป 2561 - 2563 แต่เมื่อเปรียบเทียบชวง PP และ IP พบวาปริมาณขาย ราคาขาย และมูลคาขายในประเทศปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น

29 (2) กําไร (ขาดทุน) จากการขายในประเทศ กําไรจากการขายสินคาชนิดเดียวกันในประเทศของอุตสาหกรรมภายในมี แนวโนมเพิ่มขึ้นตั้งแต่ป 2562 แต่เมื่อเปรียบเทียบชวง PP และ IP พบวากําไรจากการขายในประเทศลดลง (3) กําลังการผลิตและอัตราการใชกําลังการผลิต กําลังการผลิตของอุตสาหกรรมภายในในชวงเวลาที่พิจารณาความเสียหาย คงที่ โดยอัตราการใชกําลังการผลิตเปลี่ยนแปลงในชวงรอยละ 63 - 65 ยกเวนป 2563 ที่อัตราการใชกําลังการผลิต ลดลงมาอยู่ที่ต่ํากวารอยละ 60 แต่ได้ปรับตัวในทิศทางดีขึ้นในชวง IP (4) ผลผลิต ผลผลิตของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลงในชวงป 2561 - 2563 โดยเมื่อเปรียบเทียบชวง PP และชวง IP พบวาผลผลิตของอุตสาหกรรมภายในมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น (5) ผลิตภาพ ผลิตภาพของอุตสาหกรรมภายในคอนขางคงที่ (6) สวนแบงตลาดและความต้องการใชภายในประเทศ ความต้องการใชสินคาภายในประเทศคอนขางผันผวนในชวงเวลาที่พิจารณา ความเสียหาย โดยเมื่อเปรียบเทียบชวง PP และชวง IP พบวาความต้องการใชในประเทศได้ปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่ สวนแบงตลาดของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลง (7) ผลตอบแทนจากการลงทุน ผลตอบแทนจากการลงทุนของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมเพิ่มขึ้น (8) กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากการดําเนินงานของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ในชวง IP พบกระแสเงินสดจากการดําเนินงานปรับตัวลดลงเล็กนอย (9) สินคาคงคลัง ปริมาณสินคาคงคลังของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลง (10) การจางงาน การจางงานของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลง (11) คาจางแรงงาน คาจางแรงงานของอุตสาหกรรมภายคอนขางคงที่ กอนจะลดลงตั้งแต่ป 2563 ซึ่งสอดคลองกับการจางงานที่ลดลง ทั้งนี้ อัตราคาจางแรงงานต่อหนวยการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้น หากแต่ลดลง ในชวง IP ซึ่งการลดลงของอัตราคาจางแรงงานต่อหนวยการผลิต ขณะที่ปริมาณผลิตเพิ่มขึ้น สะทอนถึงการเพิ่มขึ้น ของประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน (12) อัตราการเติบโตของกิจการ อัตราการเติบโตของกิจการจะพิจารณาจากอัตราการเติบโตของปริมาณขาย ในประเทศ เนื่องจากรายได้จากการขายในประเทศคิดเป็นสัดสวนสําคัญของรายได้รวมของกิจการ ในชวงป 256 1 - 2563 อัตราการเติบโตปริมาณขายในประเทศติดลบ หากแต่ปรับตัวเป็นบวกในชวง IP (13) ความสามารถในการเพิ่มทุนหรือการลงทุน สัดสวนหนี้สินต่อสินทรัพย์มีแนวโนมลดลง หากแต่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอยในชวง IP (14) ปจจัยที่มีผลต่อราคาสินคาในประเทศ

30 จากการเปรียบเทียบราคาขายสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ราคาขาย สินคาชนิดเดียวกันของอุตสาหกรรมภายใน และตนทุนการผลิตของอุตสาหกรรมภายใน พบการตัดราคาตลาดใน ชวงเวลาที่พิจารณา แต่มีแนวโนลดลง สําหรับผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา พบวาไม่สงผล กระทบอยางมีนัยสําคัญ กลาวคือ ป 2562 ไม่พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา การลดลงของราคาเป็น ผลมาจากตนทุนการผลิตที่ลดลง ขณะที่ป 2563 พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของ ผลกระทบอยู่ที่รอยละ 0.73 สําหรับชวง IP พบเฉพาะการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบอยู่ที่ รอยละ 3.69 (15) ความมากนอยของสวนเหลื่อมการทุมตลาด พบสวนเหลื่อมการทุมตลาดในอัตรารอยละ ( - 15.94) - 32.69 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. 3) การพิจารณาความสัมพันธระหวางการทุมตลาดและความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายใน มาตรา 21 แห่ง พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ ระบุวา “ ในการพิจารณาความเสียหาย ตามมาตรา 19 (1) ความสัมพันธระหวางสินคาทุมตลาดกับความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายใน จะต้องพิจารณา จากหลักฐานที่เกี่ยวของทั้งหมด โดยนอกจากผลจากสินคาทุมตลาดแล้วจะต้องยังพิจารณาผลจากปจจัยตาง ๆ ที่ ปรากฏวากอให้เกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมภายในในเวลาเดียวกันนั้นประกอบด้วย ปจจัยดังกลาวให้รวมถึง ปริมาณและราคาของสินคานําเขาที่มิได้ขายในราคาที่มีการทุมตลาด การที่อุปสงคลดลง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ การบริโภค การผูกขาดตัดตอนทางการคา การแขงขันระหวางผู้ผลิตในตางประเทศและผู้ผลิตภายในประเทศ การพัฒนาดานเทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการสงออก และความสามารถในการผลิต ” จากการไตสวนการทุมตลาด พบการทุมตลาดสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มี แหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีนในอัตรารอยละ ( - 15.94) - 32.69 ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. โดยปรากฏปริมาณ การนําเขาสินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณามายังไทยเพิ่มขึ้นตลอดชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย หากแต่เพิ่มขึ้น ในอัตราที่ลดลง เมื่อพิจารณาผลกระทบของการทุมตลาดต่อระดับราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศ พบวาสินคา นําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณามีการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญในป 2562 หากแต่ขนาดของการตัดราคา มีแนวโนมลดลงตามลําดับ สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาไม่สงผลกระทบต่อการกดราคาและการยับยั้ง การขึ้นราคาอยางมีนัยสําคัญแต่อยางใด โดยในป 2562 ไม่ปรากฏการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา การลดลง ของราคาเป็นผลมาจากตนทุนการผลิตที่ลดลง ขณะที่ในป 2563 พบการกดราคาและการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาด ของผลกระทบอยู่ที่รอยละ 0.73 สําหรับในชวง IP พบการยับยั้งการขึ้นราคา โดยขนาดของผลกระทบอยู่ที่รอยละ 3.69 สินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาสงผลกระทบต่อการขายในประเทศตลอด ชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย โดยปริมาณขายมีแนวโนมลดลงในระหวางป 2561 - 2563 หากแต่มีการปรับตัว เพิ่มขึ้นในชวง IP ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับมูลคาขายและราคาขาย ทั้งนี้ เป็นที่นาสังเกตวาปริมาณการนําเขา สินคาจากประเทศที่ถูกพิจารณาในป 2562 เพิ่มขึ้นอยางชัดแจง และปรากฏการตัดราคาอยางมีนัยสําคัญ หากแต่ ปริมาณขายของอุตสาหกรรมภายในปรับลดเพียงรอยละ 0.52 เมื่อพิจารณาปริมาณการนําเขาจากประเทศอื่น ๆ ประกอบ พบวาสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณาไปแยงชิงสวนแบงตลาดจากสินคานําเขาจากประเทศอื่น ๆ มาประมาณรอยละ 25 ของปริมาณนําเขาที่เพิ่มขึ้น และได้ครอบครองความต้องการสินคาภายในประเทศที่ เพิ่มขึ้น สงผลให้อุตสาหกรรมภายในไม่สามารถขยายตลาดของตนได้ การไม่สามารถแขงขันดานราคาเพื่อแยงชิงปริมาณความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้น สวนหนึ่งเกิดจากนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายใน โดยแมในป 2562 ตนทุนการผลิตจะลดลง รอยละ 8.10 หากแต่อุตสาหกรรมภายในปรับลดราคาลงมาเพียงรอยละ 2.19 ทําให้อุตสาหกรรมภายในสูญเสีย ตลาดบางสวน และโอกาสที่จะชวงชิงความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้นให้แกสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ในป 2563 ปริมาณขายของอุตสาหกรรมภายในลดลงรอยละ 6.55 ขณะที่มูลคาขายลดลงรอยละ 9.97 ซึ่งเป็น

31 ผลจากการที่อุตสาหกรรมภายในต้องปรับลดราคาลงเพื่อรักษาตลาด ในชวง IP ปริมาณการขายในประเทศปรับ เพิ่มขึ้นหากแต่ยังต่ํากวาปริมาณการขายในป 2561 ซึ่งเป็นปกอนที่จะมีการขยายตัวของปริมาณนําเขาสินคา ทุมตลาดรอยละ 2.86 แมวานโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายในจะสงผลให้สูญเสียสวนแบงตลาด ให้แกสินคาที่ทุมตลาด หากแต่สงผลให้กําไรจากการขายในประเทศเพิ่มขึ้นระหวางป 2561 - 2563 อยางไรก็ตาม ในชวง IP พบกําไรจากการขายในประเทศลดลง ซึ่งเป็นผลมาจากราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มอยางมีนัยสําคัญและ ผันผวนสูง สงผลให้อุตสาหกรรมภายในต้องดูดซับตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นบางสวนเพราะไม่สามารถปรับเพิ่มราคา ได้ทันทวงที ประกอบกับการยับยั้งการขึ้นราคาของสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา ในสวนของผลตอบแทน จากการลงทุน (ROA) พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ หากนําขอมูลผลกําไร ผลตอบแทนการลงทุน ปริมาณขาย และ ราคาขายในป 2560 ซึ่งเป็นปที่ยังไม่ปรากฏผลกระทบจากสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา (หรือยังไม่ปรากฏ การทุมตลาด) ที่ปรากฏในคําขอมาพิจารณาประกอบจะเห็นได้วาการทํากําไรและอัตราผลตอบแทนการลงทุน ไม่แตกตางกับที่ปรากฏในชวงเวลาพิจารณาความเสียหาย จึงถือวาระดับกําไร และอัตราผลตอบแทนการลงทุนอยู่ใน ระดับปกติของกิจการ การที่อุตสาหกรรมภายในตัดสินใจแลกสวนแบงตลาดกับการทํากําไร แมป 2562 ปริมาณการขายของอุตสาหกรรมภายจะลดลงไม่มาก หากแต่อุตสาหกรรมภายในได้สูญเสียโอกาสที่จะแยงชิง ความต้องการสินคาที่เพิ่มขึ้น สงผลให้สวนแบงตลาดลดลง ขณะที่สวนแบงตลาดของสินคานําเขาจากประเทศที่ถูก พิจารณาเพิ่มขึ้น หากแต่ขอเท็จจริงที่ปรากฏและขอกลาวอางของอุตสาหกรรมภายใน คือ อุตสาหกรรมภายใน เลือกสูญเสียสวนแบงตลาดบางสวนกับการทํากําไร จึงนําไปสูการพิจารณาวา สวน แบงตลาดที่ลดลงของ อุตสาหกรรมภายในเป็นผลมาจากสินคาที่ทุมตลาดเพียงปจจัยเดียว หรือบางสวนเป็นผลจากความผิดพลาดของ การกําหนดระดับราคาสินคา การลดลงของปริมาณขายสงผลต่อเนื่องไปยังปริมาณผลผลิต อัตราการใชกําลังการผลิต โดยผลผลิตของอุตสาหกรรมภายในมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับการขาย กลาวคือ ลดลงในป 2561 - 2563 และปรับเพิ่มขึ้นในชวง IP เชนเดียวกับอัตราการใชกําลังการผลิต ทั้งนี้ อัตราการใชกําลังการผลิตของ อุตสาหกรรมภายในในชวง IP ปรับเพิ่มขึ้นไปที่ระดับใกลเคียงกับอัตราการใชกําลังการผลิตกอนที่จะได้รับ ผลกระทบจากสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา และเมื่อตรวจสอบอัตราการใชกําลังการผลิตในป 2560 ซึ่งเป็นปที่อุตสาหกรรมภายในยังไม่ได้รับผลกระทบจากสินคานําเขาจากประเทศที่ถูกพิจารณา (หรือยังไม่ปรากฏ การทุมตลาด) พบวาอัตราการใชกําลังการผลิตอยู่ในระดับใกลเคียงกัน จึงกลาวได้วาที่ระดับอัตราการใชกําลังการผลิต รอยละ 63 - 65 ถือเป็นระดับปกติของอุตสาหกรรมภายใน การลดลงของปริมาณขายสงผลให้การผลิตสินคาต้องลดลง นําไปสูการลดลงของ การจางงานทั้งในสวนจํานวนแรงงาน และคาจางแรงงาน แมวาในชวง IP ปริมาณการผลิตจะกลับมาเพิ่มขึ้น หากแต่การจางงานกลับลดลง และคาจางแรงงานเพิ่มขึ้น สงผลให้อัตราคาจางแรงงานต่อหนวยผลิต (ตัน) ปรับลดลง หลังจากอัตราคาจางแรงงานต่อหนวยผลิตเป็นไปในทิศทางที่เพิ่มระหวางป 2561 - 2563 เมื่อปริมาณ การขายในป 2562 ลดลง สงผลให้สินคาคงคลังเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม แมปริมาณการขายลดลงต่อเนื่อง ในป 2563 หากแต่สินคาคงคลังกลับปรับลดลง และลดต่อเนื่องในชวง IP ซึ่งสอดคลองกับการที่ปริมาณการขาย ปรับเพิ่มขึ้น ผลิตภาพของอุตสาหกรรมภายในคอนขางคงที่ อัตราการเติบโตของกิจการซึ่งพิจารณาจากการเติบโตของปริมาณและมูลคาขาย ภายในประเทศ เนื่องจากรายได้กวารอยละ 75 ของอุตสาหกรรมภายในเป็นรายได้จากการขายสินคาชนิดเดียวกัน ภายในประเทศ โดยในป 2561 - 2563 ปริมาณขายในประเทศมีอัตราการเติบโตติดลบ อันเป็นผลมาจาก การเติบโตของปริมาณการนําเขาสินคาที่ทุมตลาดและนโยบายการกําหนดราคาของอุตสาหกรรมภายใน แมวา

32 ในชวง IP อัตราการเติบโตของปริมาณขายในประเทศเป็นบวก หากแต่ยังต่ํากวาอัตราการเติบโตของปริมาณ ความต้องการใชภายในประเทศ ความสามารถในการเพิ่มทุนหรือการลงทุนจะพิจารณาจากสัดสวนหนี้สินต่อ สินทรัพย์ของอุตสาหกรรมภายใน ซึ่งมีแนวโนมลดลงในชวงป 2561 - 2563 กอนจะปรับเพิ่มเล็กนอย กระแส เงินสดจากการดําเนินงานของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลงอยางต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลจากการเรงชําระหนี้ การคาของบางบริษัท และการเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบอะลูมิเนียมแทงบิลเลทอยางมีนัยสําคัญ จากขอมูลขางตนบงชี้วา การทุมตลาดของสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูปจากประเทศที่ ถูกพิจารณาเป็นเหตุที่กอให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะผลประกอบการของอุตสาหกรรมภายใน อยางไรก็ตาม ประเด็นที่ต้องพิจารณา คือ ผลกระทบที่เกิดจากการทุมตลาดนั้นเขาขายเป็นความเสียหายอยางสําคัญหรือไม่ โดยเมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงสภาวะการณของอุตสาหกรรมภายในประกอบปจจัยนโยบายการกําหนดราคา ของอุตสาหกรรมภายใน การปรับขึ้นและความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ในแต่ละปจจัย พบวาแมบางปจจัย จะเป็นไปในทิศทางที่บงชี้วามีความเสียหาย แต่ปจจัยเหลานั้นปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้นในชวง IP ดังนั้น จึงไม่พบ หลักฐานโดยตรงเพียงพอที่จะสนับสนุนวาอุตสาหกรรมภายในได้รับความเสียหายอยางสําคัญจากการทุมตลาดของ สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ขอ 3 ผลการวินิจฉัยชั้นที่สุดของคณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน (ทตอ.) คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุนได้พิจารณาขอมูลและพยานหลักฐานที่ได้รับใน กระบวนการไตสวนตามหลักเกณฑที่ พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดฯ และที่แกไขเพิ่มเติมกําหนดแล้ว และได้มีคําวินิจฉัยชั้นที่สุดในการประชุมครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2566 วา มีการทุมตลาด แต่ไม่มีความเสียหายอยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในตามมาตรา 19 (1) มาตรา 20 และมาตรา 21 แห่ง พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 จึงไม่สามารถใช มาตรการตอบโตการทุมตลาดกับสินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้มี การออกประกาศคณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน เรื่อง ผลการวินิจฉัยการไตสวนการทุมตลาด สินคาอะลูมิเนียมอัดขึ้นรูป ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2566 _____________________