Thu Jan 19 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการดำเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น้ำและค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น้ำ พ.ศ. 2566


ระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการดำเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น้ำและค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น้ำ พ.ศ. 2566

ระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า และค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรก้าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การจัดการสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่มาจากการปฏิบัติตามหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือที่ตกเป็น ของแผ่นดิน และค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้ มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 13 วรรคสอง มาตรา 16 วรรคสอง มาตรา 79 วรรคสอง และมาตรา 86 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 อธิบดีกรมประมงโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า จึงออก ระเบียบไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ระเบียบนีเรียกว่า “ ระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า และค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ระเบียบนีให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ในระเบียบนี “ สัตว์ป่า ” หมายความว่า สัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า “ ซากสัตว์ป่า ” หมายความว่า ซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้าตามกฎหมายว่าด้วยกา รสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า “ พนักงานเจ้าหน้าที่ ” หมายความว่า พนักงานเจ้าหน้าที่สังกัดกรมประมง “ เจ้าพนักงานต้ารวจ ” หมายความว่า พนักงานต้ารวจหรือพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ในคดีความผิดอาญาเกี่ยวกับสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า “ คณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ” หมายความว่า คณะกรรมการพิจารณา การด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า “ ศูนย์ ” หมายความว่า ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลียงสัตว์น ้าจืด ศูนย์วิจัยและพัฒนา การเพาะเลี ยงสัตว์น ้าชำยฝั่ง ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล “ ที่จับสัตว์น ้า ” หมายความว่า ที่ที่มีน ้าขังหรือไหล และหาดทังปวงที่เป็นสาธารณสมบัติ ของแผ่นดิน รวมทังป่าไม้และพืนดินที่มีน ้าท่วมตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือที่ ดินของเอกชน รวมทั งทะเล “ อธิบดี ” หมายความว่า อธิบดีกรมประมง ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ข้อ 4 ให้อธิบดีมีอ้านาจวินิจฉัยปัญหาหรือข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี ในกรณีที่มีปัญหาการตีความ ให้อธิบดีเสนอแนวทางการตีความต่อคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และให้ปฏิบัติ ตามมติของคณะกรรมการดังกล่าว เพื่อให้การบังคับใช้ระเบียบนีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนที่เกี่ยวข้อง อธิบดีอาจก้าหนดแบบบันทึกข้อมูล แบบแจ้ง แบบรายงาน แบบขออนุญาต หรือแบบต่าง ๆ ตามระเบียบนีก็ได้ การที่ผู้ขออนุญาต ผู้แจ้ง หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ด้าเนินการแตกต่างไปจากแบบที่อธิบดี ก้าหนดโดยไม่ใช่สาระส้าคัญในค้าขอ การแจ้ง หรือการติดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วยกัน ย่อมไม่มี ผลกระทบต่อความสมบูรณ์ของการอนุญาต การรับแจ้ง ค้าสั่งทางปกครอง หรือการด้าเนินการ ตาม ระเบียบนี หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 5 สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่ต้องจัดการตามระเบียบนี ได้แก่ ( 1 ) สัตว์ป่าที่ถูกล่าด้วยความจ้าเป็นและภายใต้เงื่อนไขตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 2 ) สัตว์ป่าส งวน สัตว์ป่าคุ้มครอง สัตว์ป่าควบคุมที่ผู้มีไว้ในครอบครองมีเหตุจ้าเป็น ไม่สามารถเลี ยงดูสัตว์ป่านั นต่อไปได้ และส่งมอบสัตว์ป่านั นให้แก่กรมประมงตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 3 ) สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง สัตว์ ป่าคุ้มครองที่เพาะพันธุ์ได้ และสัตว์ป่าควบคุม ที่ถูกทอดทิ ง พิการ บาดเจ็บ ป่วย หรืออ่อนแอจากการแจ้งการช่วยเหลือตามมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 4 ) สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง สัตว์ป่าควบคุม และซากสัตว์ป่าดังก ล่าว ที่คงเหลือ จากการจัดการตามมาตรา 79 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 5 ) สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ที่ถูกยึดหรืออายัดของพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามมาตรา 81 (4) แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 หรือ ตามกฎหมายอื่น และให้รวมถึงสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ที่ถูกยึดหรืออายัด ในกรณีดังต่อไปนี ด้วย (ก) พนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าพนักงานต้ารวจ ที่ปฏิบัติการตามกฎหมายและระเบียบ ตามอ้านาจและหน้าที่ของตน และมีสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าเกี่ยวข้องกับ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

การปฏิบัติการนั น ไม่ว่าสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าดังกล่าวจะชอบด้วย พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 หรือไม่ก็ตาม (ข) การรับโอนสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณ ฑ์จากซากสัตว์ป่า จากผู้ได้รับใบอนุญาต หรือใบรับรองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่ไม่แจ้งการโอนใบอนุญาตหรือใบรับรองให้ถูกต้อง หรือการรับ สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่ามาอยู่ในความครอบครองจากผู้ที่ครอบครองโดยมิชอบ ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัต ว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 6 ) สัตว์ป่าที่ได้มาจากการด้าเนินการในสถานการณ์อันตราย ฉุกเฉิน เร่งด่วน ตามมาตรา 72 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ( 7 ) สัตว์ป่าอันตรายหรือซากสัตว์ป่าอันตรายตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 8 ) สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดิน เนื่องจาก ใบอนุญาตและใบรับรองซึ่งก้ากับสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จา กซากสัตว์ป่านันสินสุดลง หรือสิทธิการครอบครองสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าของผู้รับใบอนุญาตหรือ ใบรับรองสิ นสุดลง ในกรณี ดังต่อไปนี (ก) ผู้รับใบอนุญาตหรือใบรับรองถึงแก่ความตายและไม่มีทายาท (ข) ทายาทหรือผู้จัดการมรดกของผู้ได้ รับใบอนุญาตหรือใบรับรอง ไม่ประสงค์จะรับโอน ใบอนุญาตหรือใบรับรอง (ค) นิติบุคคลซึ่งเป็นผู้รับใบอนุญาตหรือใบรับรองนันเลิกกัน และผู้ช้าระบัญชี หรือ ผู้สืบสิทธิของนิติบุคคลนัน ไม่ประสงค์จะรับโอนใบอนุญาตหรือใบรับรองนัน หรือไม่อาจจะรับโอน ใบอนุญาตหรือใบรั บรองนันได้ (ง) บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลผู้รับใบอนุญาตหรือใบรับรองถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด (จ) ทายาท หรือผู้จัดการมรดก หรือผู้ช้าระบัญชี หรือผู้สืบสิทธิของนิติบุคคล แล้วแต่กรณี ของผู้รับใบอนุญาตหรือใบรับรองที่ถึงแก่ความตาย และไม่ยื่นค้าขอรับโอนใบอนุ ญาตหรือ ใบรับรองภายในระยะเวลาที่ก้าหนด (ฉ) พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานที่เลียงสัตว์ป่าหรือสถานที่เก็บรักษาซากสัตว์ป่า ของผู้จะขอรับโอนใบอนุญาตหรือใบรับรองแล้ว มีค้าสั่งไม่อนุญาต (ช) ใบอนุญาตหรือใบรับรองซึ่งก้ากับสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซา กสัตว์ป่า นั นสิ นลง และผู้รับใบอนุญาตหรือใบรับรองนันไม่แจ้งหรือไม่ส่งมอบสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์ จากซากสัตว์ป่านันแก่กรมประมง (ซ) ใบอนุญาตตามมาตรา 28 มาตรา 30 และมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 สินอายุ และผู้รับใบอนุญาตไม่ประสงค์ขอต่ออายุใบอนุญาตหรือ ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ไม่แจ้งความประสงค์ขอเลิกการประกอบกิจการภายในระยะเวลาที่ก้าหนดตามค้าสั่งทางปกครอง ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งอาศัยอ้านาจตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 9 ) สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์ จากซากสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 หรือตกมาอยู่ในความดูแลของกรมประมง ตามอ้านาจหน้าที่ด้วยเหตุอื่น หรือตามกฎหมายอื่น หรือตามค้าพิพากษาของศาล ( 10 ) ลูกของสัตว์ป่าที่ได้มาระหว่างการดูแลสัตว์ป่าตาม (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) และ (9) ( 11 ) ซากสัตว์ป่าที่เกิดจากการตายลงของสัตว์ป่าตาม (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) และ (10) ข้อ 6 กรณีเป็นสัตว์ป่าตามข้อ 5 (2) ( 4) และ (9) ให้พิจารณาด้าเนินการตามหมวด 3 ให้เรียบร้อยก่อน จึงน้า สัตว์ป่านันมาด้าเนินการตามหมวด 2 ต่อไปได้ เว้นแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงมีความเห็นว่าสัตว์ป่านันต้องได้รับการจัดการเร่งด่วนเพื่อรักษาไว้ซึ่งชีวิต หรือสวัสดิภาพของสัตว์ป่านัน ให้น้าสัตว์ป่านันทังหมดหรือบางส่วนด้าเนินการตามหมวด 2 ก่ อนได้ แล้วจึงพิจารณาด้าเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามหมวด 3 ต่อไป ข้อ 7 เมื่อสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่มีผู้ครอบครองโดยชอบ ด้วยกฎหมายตกเป็นของแผ่นดินตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ไม่ว่า จะทั งหมดหรือบา งส่วน ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่านั น ด้าเนินการ ดังต่อไปนี (1) ส่งมอบสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดิน พร้อมใบอนุญาต ใบรับรอง หรือใบรับแจ้งการครอบครอง ที่ก้ากับสัตว์ป่า ซากสัตว์ ป่า หรือผลิตภัณฑ์ จากซากสัตว์ป่านั นแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือ ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดินตามกฎหมาย (2) กรณีเป็นสัตว์ป่า หากยังไม่สามารถด้าเนินการส่งมอบสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดิน ได้ภายในระยะเ วลาตาม (1) ให้ส่งมอบใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งการครอบครองที่ก้ากับสัตว์ป่าดังกล่าว แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ โดยให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหนังสือแจ้งต่อผู้ครอบครองว่าสัตว์ป่านันตกเป็น ของแผ่นดินและให้ส่งมอบใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งการครอบครองที่ก้ากับสัตว์ป่านันต่อพนักงำน เจ้าหน้าที่ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ท้าการยกเลิก เพิกถอน หรือแก้ไข ใบอนุญาตหรือใบรับแจ้ง การครอบครองดังกล่าว โดยออกเป็นหนังสือให้ครอบครองสัตว์ป่านั นแทนกรมประมงได้จนกว่า ผู้ครอบครองดังกล่าวจะส่งมอบสัตว์ป่านันให้แก่กรมประมง (3) หากผู้ครอบครองไม่ส่งมอ บสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า และผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า และใบอนุญาต ใบรับรอง หรือใบรับแจ้งการครอบครองที่ก้ากับสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์ จากซากสัตว์ป่าให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ภายในก้าหนดระยะเวลาตาม (1) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ท้าการ ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ยกเลิก เพิกถอนหรือแก้ ไข ใบอนุญาต หรือใบรับแจ้งการครอบครองของผู้ครอบครองสัตว์ป่านัน โดยมีผลให้ผู้นันเป็นผู้ครอบครองสัตว์ป่าโดยมิชอบด้วยกฎหมายนับแต่เวลาที่ครบก้าหนดระยะเวลา ตาม (1) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด้าเนินคดีแก่ผู้นั นและด้าเนินการตามมาตรา 81 (4) แห่งพระราชบัญญัติสง วนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ต่อไป ข้อ 8 ให้ผู้อ้านวยการศูนย์เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือ ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า จากการปฏิบัติตามหน้าที่ หรือที่ตกเป็นของแผ่นดิน ศูนย์ที่รับผิดชอบสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่อธิบดีก้าหนด หมวด 2 การด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ส่วนที่ 1 การด้าเนินการเบื องต้นแก่สัตว์ป่า ข้อ 9 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในพืนที่พบสัตว์ป่าในการปฏิบัติหน้าที่หรือรับสัตว์ป่ามาอยู่ใน ความครอบครองจากการรับแจ้งเหตุต่าง ๆ หากสัตว์ป่านั นไม่เกี่ยวข้องกับการกระท้าผิด ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 และตรวจสอบเบืองต้นแล้วพบว่าเป็น ชนิดสั ตว์ป่าที่มีการกระจายพันธุ์ในพื นที่ที่พบและยังมีสัญชาตญาณความเป็นสัตว์ป่า มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีอาการบาดเจ็บ ป่วยหรืออ่อนแอ หรือบาดเจ็บ ป่วย หรืออ่อนแอเพียงเล็กน้อย สามารถรักษาเยียวยา ให้พ้นจากสภาพดังกล่าวได้ หรือการบาดเจ็บ ป่วย หรืออ่อนแอของสัตว์ ป่านันเกิดจากเหตุในธรรมชาติ เมื่อพิจารณาแล้วว่าหากปล่อยสัตว์ป่านันคืนสู่ธรรมชาติจะสามารถด้ารงชีวิตต่อไปได้และเกิดประโยชน์ ต่อระบบนิเวศ ให้ปล่อยสัตว์ป่านันทังหมดหรือบางส่วนคืนสู่ธรรมชาติตามหลักวิชาการในแหล่งที่พบ สัตว์ป่านันครั งแรก หรือแหล่งที่มีรายงานการกระจายพันธุ์ของสัตว์ป่าชนิดนั นก็ได้ ทั งนี การเลือกพื นที่ ปล่อยสัตว์ป่าให้พิจารณาถึงความอยู่รอดปลอดภัยของสัตว์ป่าเป็นหลัก ข้อ 10 การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าของพนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น อาจประสานขอความช่วยเหลือจากกร มประมง โดยประสานไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่ในพืนที่ที่สะดวก แก่การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าก็ได้ ข้อ 11 กรณีเป็นสัตว์ป่าที่เกี่ยวข้องกับการกระท้าความผิดตามพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ในพืนที่ หรือเจ้าพนักงานต้ารวจท้าการ เก็บหลักฐานและข้อเท็จจริงการกระท้าผิดที่เกี่ยวกับสัตว์ป่าดังกล่าวเพื่อใช้ประกอบส้านวนคดี โดยให้ ส่งมอบสัตว์ป่านันไปอยู่ในความดูแลของศูนย์เพื่อให้เก็บรักษาดูแลของกลาง ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

เมื่อด้าเนินการเก็บหลักฐานและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสัตว์ป่าตามวรรคหนึ่งเรียบร้อยแล้ว หากพนั กงานเจ้าหน้าที่ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงตรวจสอบและพิจารณาแล้วเห็นว่าสัตว์ป่านัน สามารถด้ารงชีวิตต่อไปได้ในธรรมชาติ ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 9 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ในพื นที่ เสนอความเห็นต่อพนักงานสอบสวน เพื่อปล่อยสัตว์ป่าทังหมดหรือบางส่วน และแจ้งต่อพนักงานสอบ สวน ว่าสัตว์ป่านันพร้อมจะได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติได้ หากพนักงานสอบสวนพิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่จ้าเป็นต้องเก็บพยานหลักฐานและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสัตว์ป่าในคดีความนั นเพิ่มเติมอีกแล้ว ให้ด้าเนินการปล่อยสัตว์ป่าดังกล่าวคืนสู่ธรรมชาติได้ และรายงานอธิบดีและพ นักงานสอบสวนทราบ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ด้าเนินการปล่อยสัตว์ป่านัน ข้อ 12 การปล่อยสัตว์ป่าตามข้อ 9 และข้อ 11 ให้รายงานแก่กองบริหารจัดการทรัพยากร และก้าหนดมาตรการเพื่อรวบรวมข้อมูลด้าเนินการตามหมวด 7 ต่อไป ข้อ 13 เมื่อสัตว์ป่ามาอยู่ในความครอบครองของพนั กงานเจ้าหน้าที่ หากพิจารณาแล้วว่า เป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่าของประเทศไทยที่หายากใกล้สูญพันธุ์ จ้าเป็นต่อการสงวนไว้เพื่อการเพาะขยายพันธุ์ หรือสงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ อาจเสนอขอใช้ประโยชน์จากสัตว์ป่าดังกล่าว ตามหลักเกณฑ์และวิธีการใ นข้อ 21 ก็ได้ ข้อ 14 ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงตรวจสอบแล้วเห็นว่าสัตว์ป่านัน ได้รับอันตรายถึงขนาดไม่สามารถใช้ชีวิตได้เองตามปกติ ป่วยหรืออ่อนแอ หรืออาการเจ็บป่วย อ่อนแอนั นอาจเนื่องมาจากการติดเชื อโรคระบาด หรือไม่อาจปล่อยคืนสู่ ธรรมชาติได้ในทันที ให้ด้าเนินการตามขันตอนวิธีการที่ก้าหนดไว้ในส่วนที่ 2 ต่อไป ส่วนที่ 2 การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าที่ไม่แข็งแรง ข้อ 15 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่รับสัตว์ป่าที่บาดเจ็บ ป่วย หรืออ่อนแอ ตามข้อ 14 มาอยู่ในความครอบครองแล้ว ให้ท้าการรักษาพยาบาลให้สัตว์ป่านันหายป่วยและมีสุขภาพแข็งแรง หากประเมินแล้วไม่สามารถด้าเนินการรักษาพยาบาลให้หายได้ อาจส่งสัตว์ป่านันไปรักษา ณ สถานพยาบาลสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลสัตว์ เมื่อสถานพยาบาลสัตว์รักษาสัตว์ป่านัน เรียบร้อยแล้วจะต้องส่งมอบสั ตว์ป่านันคืนให้แก่กรมประมง ตามเงื่อนไขที่ก้าหนด หรือตามหนังสือ ร้องขอ หรือส่งมอบซากสัตว์ป่านัน เมื่อสัตว์ป่าดังกล่าวตายลง แล้วแต่กรณี และให้สถานพยาบาลสัตว์ แจ้งและส่งมอบสัตว์ป่าหรือซากสัตว์ป่านันคืนแก่กรมประมง หากไม่ส่งคืนให้ถือว่าสถานพยาบาลสัตว์นั น ครอบครองสัตว์ป่าหรือซากสัตว์ป่าโดยไม่ได้รับอนุญาต ในกรณีที่ส่งสัตว์ป่าไปรักษาพยาบาลยังต่างประเทศ ให้เสนอเหตุผล ความจ้าเป็น และเงื่อนไข ต่อคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่าพิจารณาเพื่อขอความเห็นชอบต่ออธิบดี ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

หากพนักงานเจ้าหน้าที่ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงตรวจสอบและพิจารณาแล้วพบว่าสัตว์ป่า ที่พนักงานเจ้าหน้าที่รับมาครอบครองหรือที่เลียงดูไว้มีอาการบาดเจ็บ ป่วย อ่อนแอ หรือพิการรุนแรง หรืออาการป่วยดังกล่าวเกิดจากการติดโรคระบาดร้ายแรงซึ่งอาจติดต่อสู่สัตว์ป่าอื่ นหรือมนุษย์ได้ หรือ สัตว์ป่าอยู่ในสภาพทนทุกข์ทรมานเกินการที่จะเยียวยารักษาให้หาย หรือกลับมาใช้ชีวิตโดยปกติสุขได้ อาจเสนอคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า พิจารณาให้การุณยฆาตสัตว์ป่านั น วิธีการ การุณยฆาตสัตว์ป่า ให้ใช้วิธีการก้าจัด ท้าลายสัตว์ป่าตามข้อ 24 วรรคสอง ในกรณีที่สัตว์ป่ามีอาการบาดเจ็บ อ่อนแอ หรือพิการรุนแรง และพนักงานเจ้าหน้าที่ ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงได้คัดกรองและตรวจโรคตามหลักวิชาการแล้วเห็นว่ามิได้เป็นโรคติดต่อ สมควรปล่อยคืนสู่ธรรมชาติเพื่อเพิ่มเหยื่อในห่วงโซ่อาหารก็สามารถกระท้าได้ โ ดยเสนอต่อ คณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่าพิจารณาเพื่อขอความเห็นชอบต่ออธิบดี ข้อ 16 ในกรณีที่สัตว์ป่ายังไม่มีเครื่องหมายประจ้าตัว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดท้าเครื่องหมาย ประจ้าตัวสัตว์ป่า พร้อมจัดท้าทะเบียนรายละเอียดสัตว์ป่านัน และรายงานให้อธิบดีทราบ การจั ดท้าเครื่องหมายประจ้าตัวสัตว์ป่าตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามประกาศกรมประมง ว่าด้วยการจัดท้าเครื่องหมายประจ้าตัวสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า ข้อ 17 ในกรณีสัตว์ป่าที่ไม่แข็งแรงนันหายป่วยและแข็งแรงดีแล้ว ให้ด้าเนินการตามส่ วนที่ 3 ต่อไป ส่วนที่ 3 การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าที่แข็งแรง ข้อ 18 การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าที่แข็งแรงมีแนวทางการด้าเนินการ ดังต่อไปนี ( 1 ) การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ( 2 ) การส่งคืนถิ่นก้าเนิด ( 3 ) การน้าสัตว์ป่าไว้ใช้ประโยชน์ในราชการ หรือเพื่อประโยชน์ในการส้ารวจ การศึกษา การวิจัย หรือการทดลองทางวิชาการ ( 4 ) การส่งสัตว์ป่าให้แก่สวนสัตว์ใช้ประโยชน์และดูแลแทน ( 5 ) การจ้าหน่ายสัตว์ป่าบางชนิด ( 6 ) การก้าจัดหรือท้าลายสัตว์ป่า ( 7 ) การรับเลี ยงดูสัตว์ป่าโดยกรมประมงหรือส่วนราชการอื่น การพิจารณาเลือกแนวทางใดแก่สัตว์ป่าที่แข็งแรง ให้ค้านึงถึงการดูแลชีวิต สวัสดิภาพ ของสัตว์ป่า ระบบนิเวศ ความปลอดภัยจากโรคระบาด เมตตาธรรมแก่สัตว์ป่า การสงวนรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ตามข้อ 19 ถึงข้อ 25 และถิ่นก้าเนิดของสัตว์ป่า ดังนี ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

(ก) หากเป็นสัตว์ป่าธรรมชาติในประเทศให้เลือกแนวทางการปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ตาม (1) เป็นส้าคัญ ในกรณีที่ไม่อาจปล่อยสัตว์ป่านันคืนสู่ธรรมชาติได้ ให้เลือกแนวทางอื่นตาม (3) (4) (5) หรือ (6) ที่เหมาะสมตามสมควรแก่กรณี หากไม่มีแนวทางใดที่เหมาะสมใ นขณะนัน หรือ ยังไม่พร้อมใช้แนวทางใดแก่สัตว์ป่านัน ให้กรมประมงรับเลี ยงดูสัตว์ป่านันไว้ตาม (7) (ข) หากเป็นสัตว์ป่าที่มีถิ่นก้าเนิดจากต่างประเทศ ให้เลือกแนวทางส่งสัตว์ป่านันคืนถิ่นก้าเนิด ตาม (2) เป็นส้าคัญ ในกรณีที่ไม่อาจส่งสัตว์ป่านันคืนถิ่นก้าเนิดได้ ให้เลือกแนวทางอื่นตามสมควร แก่กรณีเช่นเดียวกับสัตว์ป่าธรรมชาติในประเทศ แต่มิให้ใช้แนวทางการปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ตาม (1) โดยเด็ดขาด ข้อ 19 การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ มีหลักเกณฑ์ประกอบการพิจาร ณา ดังนี ( 1 ) สัตว์ป่าที่จะน้าไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติต้องเป็นสัตว์ป่าที่ได้รับการฝึกให้สามารถด้ารงชีพ ตามธรรมชาติในป่าได้ ( 2 ) ได้รับการตรวจสอบว่าเป็นสัตว์ป่าสายพันธุ์ที่พบหรือเคยปรากฏว่ามีการกระจายพันธุ์ ในพื นที่ที่จะท้าการปล่อย ห้ามมิให้ปล่อยสัตว์ป่าชนิดที่ไม่มีถิ่นก้าเนิดหรืออยู่อาศัยและหากิน ในประเทศไทยสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด ( 3 ) ตรวจสอบพื นที่รองรับสัตว์ป่าแล้วว่ามีความเหมาะสมต่อตัวสัตว์และไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อระบบนิเวศ และมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับจ้านวนสัตว์ป่าที่จะท้าการปล่อย ( 4 ) ในกรณีที่เป็นสัตว์ป่าอพยพตามธรรมชาติ ให้ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเส้นทางอพยพ และฤดูกาลอพยพ ( 5 ) สัตว์ป่าที่จะท้าการปล่อยต้องได้รับการคัดกรองและตรวจโรคตามหลักวิชาการก่อนปล่อยคืน สู่ธรรมชาติ ข้อ 20 การส่งคืนถิ่นก้าเนิดหรือส่งไปยังศูนย์ช่วยเหลือสัตว์ป่าประเทศ ปลายทาง ให้ส่งได้ เฉพาะสัตว์ป่าที่มีถิ่นก้าเนิดในต่างประเทศและไม่มีการอพยพย้ายถิ่นตามธรรมชาติมายังประเทศไทย ให้กรมประมงประสานงานกับประเทศถิ่นก้าเนิดหรือประเทศปลายทางถึงเหตุผลความจ้าเป็น วิธีการ ส่งกลับคืน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึนจากการส่งและการเลียงดูสัตว์ป่ำ โดยท้าเป็นข้อตกลงร่วมกันให้ชัดเจน เมื่อตกลงส่งคืนถิ่นก้าเนิด หรือส่งไปยังประเทศปลายทาง ให้ด้าเนินการตรวจสุขภาพและกักกัน โรคสัตว์ป่านั น และขอให้ประเทศถิ่นก้าเนิด หรือประเทศปลายทางออกใบอนุญาตน้าเข้าสัตว์ป่า เพื่อน้ามาประกอบการขออนุญาตส่งออกสัตว์ป่าต่อไป เมื่อได้ก้าหนดวันและเวลาที่แน่นอนในการส่งสัตว์ป่าแล้ว ให้หน่วยงานของกรมประมง ที่ประสงค์จะส่งสัตว์ป่าขออนุญาตเคลื่อนย้ายสัตว์ป่านันต่ออธิบดี และเมื่อได้รับอนุญาตจากอธิบดีแล้วให้ ด้าเนินการส่งออกสัตว์ป่านันไปอยู่ในความดูแลของประเทศถิ่นก้าเนิดหรือประเทศปลาย ทางต่อไป ข้อ 21 การน้าสัตว์ป่าไว้ใช้ประโยชน์ในราชการ หรือเพื่อประโยชน์ในการส้ารวจ การศึกษา การวิจัย หรือการทดลองทางวิชาการ ให้หน่วยงานของกรมประมงเสนอโครงการขอใช้ประโยชน์ ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

หรือโครงการศึกษา หรือวิจัยทางวิชาการจากสัตว์ป่าดังกล่าว พร้อมบันทึกรายละเอียดต้า หนิรูปพรรณ และร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับสัตว์ป่านันไว้ แล้วเสนอต่ออธิบดีเพื่อให้ความเห็นชอบ โครงการตามวรรคหนึ่ งต้องมีสาระส้าคัญ ดังต่อไปนี (1) หน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานของกรมประมงที่ประสงค์จะน้าสัตว์ ไปใช้ประโยชน์ (2) เหตุผลความจ้าเป็นที่จะขอน้าสัตว์ป่าไปใช้ประโยชน์ (3) ลักษณะของการใช้ประโยชน์และระยะเวลาที่ใช้ประโยชน์สัตว์ป่า ( 4) วิธีการเลียง ดูแล รักษาสัตว์ป่า และความรับผิดชอบในกรณีสัตว์ป่าที่น้าไปใช้ประโยชน์ เสียหายหรือเสียชีวิต ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้อธิบดีพิ จารณาโดยใช้หลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณา ดังต่อไปนี ( 1) เหตุผลความจ้าเป็นที่จะขอน้าไปใช้ประโยชน์ ( 2) ภาระที่จะตกแก่ทางราชการหากไม่น้าไปใช้ประโยชน์ ( 3) ความเสียหายหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการน้าไปใช้ประโยชน์ ( 4) พฤติการณ์ในการด้าเนินคดีเกี่ยวกับสัตว์ป่า กรณีเ กี่ยวข้องกับคดีความ ( 5) พฤติการณ์อื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร กรณีหมดความจ้าเป็นในการใช้ประโยชน์ หรือครบก้าหนดเวลาที่ได้รับความเห็นชอบจาก อธิบดี หรือมีค้าสั่งยกเลิกการใช้ประโยชน์ ให้หน่วยงานของกรมประมงที่ได้รับความเห็นชอบรายงาน ต่ออธิบดี พร้อมเสนอแนวทางการด้าเนิ นการต่อไปแก่สัตว์ป่าดังกล่าว เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป กรณีหน่วยงานรัฐอื่นขอใช้ประโยชน์สัตว์ป่าหรือเพื่อประโยชน์ในการส้ารวจ การศึกษา การวิจัย หรือการทดลองทางวิชาการ ให้ด้าเนินการตามระเบียบที่อธิบดีก้าหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการตามมาตรา 73 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 โดยกรมประมงอาจพิจารณาให้หน่วยงานรัฐที่ประสงค์ขอใช้ประโยชน์สัตว์ป่านั นช้าระค่าใช้จ่าย ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 23 ก็ได้ ข้อ 22 การส่งสัตว์ป่าให้สวนสัตว์ใช้ประโยชน์และดูแลแทน หากมี สวนสัตว์ที่มีความพร้อม จะรับดูแลสัตว์ป่านัน อธิบดีอาจส่งสัตว์ป่านันไปให้สวนสัตว์ใช้ประโยชน์และดูแลแทนได้ สวนสัตว์จะกระท้าการจ้าหน่าย จ่าย โอน หรือเคลื่อนย้ายสัตว์ป่าดังกล่าวไม่ได้ เว้นแต่ จะได้รับความเห็นชอบจากอธิบดี หรือมีเหตุจ้าเป็นฉุกเฉินเพื่อกา รรักษาไว้ซึ่งชีวิตและสวัสดิภาพ สัตว์ป่านัน โดยให้แจ้งแก่อธิบดีทราบโดยเร็ว ทังนี หากกรมประมงขอรับสัตว์ป่าดังกล่าวคืน ให้สวนสัตว์ส่งมอบสัตว์ป่านันแก่กรมประมง ภายในระยะเวลาและสถานที่ที่กรมประมงก้าหนด หากพ้นก้าหนดระยะเวลาดังกล่าวให้ถือว่า การครอบครองสัตว์ ป่าของสวนสัตว์เป็นการครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ในกรณีที่สัตว์ป่านันตายลง ให้สวนสัตว์ที่รับดูแลสัตว์ป่าแจ้งต่ออธิบดีและให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ที่มีหน้าที่ก้ากับดูแลสวนสัตว์ร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในต้าแหน่งนักวิชาการประมง เข้าตรวจสอบ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสำเหตุการตายของสัตว์ป่าที่สวนสัตว์ดังกล่าว หากพบว่าเกี่ยวข้องกับการกระท้าผิด ให้ด้าเนินการตามกฎหมายต่อไป ส่วนการด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการตามหมวด 4 ว่าด้วยการด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่า ข้อ 23 การจ้าหน่ายสัตว์ป่า อธิบดีอาจพิจารณาจ้าหน่ายสัตว์ป่านันให้แก่ผู้ที่มีใบอนุญาตหรือ ผู้ที่ยื่นค้าขอรับใบอนุญาตที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 17 มาตรา 18 มาตรา 19 มาตรา 28 มาตรา 30 และมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ดังนี ( 1 ) กรณีเป็นชนิดสัตว์ป่ำคุ้มครองที่ได้จากการเพาะพันธุ์ หรือชนิดสัตว์ป่าควบคุมที่ได้จาก การเพาะพันธุ์ ให้จ้าหน่ายแก่ผู้ได้รับใบอนุญาตครอบครองตามมาตรา 18 ผู้ได้รับใบอนุญาตเพาะพันธุ์สัตว์ป่า ตามมาตรา 28 ผู้ได้รับใบอนุญาตค้าตามมาตรา 30 หรือผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตังและประกอบกิจ การ สวนสัตว์ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 2 ) กรณีเป็นสัตว์ป่าอื่น ซึ่งได้มาจากการเลี ยงหรือเพาะพันธุ์ ให้จ้าหน่ายแก่ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตัง และประกอบกิจการสวนสัตว์ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 การประกาศและจ้าหน่ายตามวรรคหนึ่งให้กระท้า ณ ศูนย์ที่ดูแลสัตว์ป่านันหรือสถานที่อื่น ที่อธิบดีประกาศก้าหนด ราคาสัตว์ป่าที่ท้าการจ้าหน่ายให้เป็นไปตามราคาท้องตลาดแห่งท้องที่ หากไม่สามารถ หาราคาตลาดในท้องที่นั นได้ให้ราคาสัตว์ป่าเป็นไปตามระเบียบที่อธิบดีก้าหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการตามมาตรา 74 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 โดยหลักเกณฑ์เงื่อนไข ขันตอนการจ้าหน่าย และการช้าระค่าใช้จ่ายการจ้าหน่ายสัตว์ป่าให้เป็นไป ตามแนวทางที่อธิบดีปร ะกาศก้าหนด กรณีมีผู้แจ้งความประสงค์จ้านวนหลายรายที่จะซือสัตว์ป่าที่จ้าหน่ายตาม (1) ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่พิจารณาผู้ที่ยื่นความประสงค์ห้ารายแรกก่อน เรียงล้าดับตามวัน เวลา ส่วนการจ้าหน่าย ตาม (2) ให้พิจารณาว่ารายใดมีความพร้อมที่จะรับเลียงดูสัตว์ป่าก็ให้ จ้าหน่ายสัตว์ป่าแก่รายนันด้วย หากไม่สามารถจ้าหน่ายให้แก่ห้ารายแรกได้ให้พิจารณาผู้ยื่นความประสงค์ห้ารายต่อไป และ หากพิจารณาทังหมดแล้วไม่สามารถจ้าหน่ายให้แก่ผู้ยื่นความประสงค์ทังหมดได้ ให้ประกาศจ้าหน่าย สัตว์ป่านั นใหม่อีกครั ง หรืออาจพิจารณาเปลี่ยนแปลงแน วทางด้าเนินการแก่สัตว์ป่านั นใหม่ได้ แล้วแต่กรณี ข้อ 24 การก้าจัดหรือท้าลายสัตว์ป่า พนักงานเจ้าหน้าที่ในต้าแหน่งนักวิชาการประมง ตรวจสอบแล้วเห็นว่าติดเชื อโรคระบาดหรือมีเหตุอันควรสงสัยน่าเชื่อว่าเป็นโรคระบาด หรือเป็นสัตว์ป่า ที่เป็นพาหะของโรคระบาด หรือเป็น สัตว์ป่าอันตรายตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติสงวน ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ให้พิจารณาก้าจัด ท้าลาย ซึ่งสัตว์ป่านันเสีย และรายงานให้ อธิบดีทราบโดยเร็ว การก้าจัด ท้าลาย หรือการุณยฆาตสัตว์ป่าอันตรายหรือสัตว์ป่าที่ติดเชือโรคระบาดตามวรรคหนึ่ง ให้ค้า นึงถึงความร้ายแรงของโรคระบาดสัตว์ตามที่กรมปศุสัตว์ประกาศก้าหนดตามกฎหมายว่าด้วย โรคระบาดสัตว์ โดยใช้วิธีการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี (1) ใช้สารเคมีให้สัตว์กิน ฉีด หรือวิธีการอื่นใดเข้าร่างกายเพื่อให้สัตว์ป่านันตายโดยไม่ทรมาน ( 2 ) ท้าลายสัตว์ป่าด้วยวิธีการช็อตด้วยไฟฟ้า ( 3 ) ท้าลายสัตว์ป่าด้วยวิธีอื่นตามหลักวิชาการ ข้อ 25 การรับเลียงดูสัตว์ป่าโดยกรมประมง หากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการ การด้าเนินการแก่สัตว์ป่ายังเห็นว่าแนวทางด้าเนินการใด ๆ แก่สัตว์ป่าข้างต้นไม่เหมาะสมหรืออยู่ระหว่ำง เตรียมความพร้อมให้แก่สัตว์ป่า ให้กรมประมงเลี ยงดูสัตว์ป่านั นต่อไป หรือจนกว่าจะมีแนวทาง การด้าเนินการแก่สัตว์ป่านัน โดยให้ด้าเนินการตามข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 หรือข้อ 24 ต่อไป ทั งนี ให้ศูนย์รับดูแลเลี ยงดูสัตว์ป่ามีหน้าที่ต้ องรายงานสภาพ ชนิด และจ้านวนสัตว์ป่าที่อยู่ใน ความครอบครองต่ออธิบดีทุกสิ นปีปฏิทิน ในระหว่างการดูแลสัตว์ป่าของกรมประมง หากสัตว์ป่านันบาดเจ็บ ป่วย หรืออ่อนแอ ให้ปฏิบัติตามส่วนที่ 2 จนกว่าสัตว์ป่านันจะมีสุขภาพแข็งแรง จึงจะด้าเนินการตามข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 หรือข้อ 24 ได้ การรับเลี ยงดูสัตว์ป่าตามข้อ 5 (2) ให้ด้าเนินการเรื่องค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าตามหมวด 3 ส่วนที่ 4 การด้าเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อ 26 การด้าเนินการตามข้อ 13 ข้อ 15 วรรคสาม ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 หรือข้อ 24 ต้องได้รับความเห็นชอบจากอธิบดี โดยให้เสนอแนวทางการด้าเนินการ แก่สัตว์ป่านั นต่อคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า เพื่อพิจารณาความเห็นเสนอต่ออธิบดี เพื่อให้ ความเห็นชอบ การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าตามวรรคหนึ่ง หากมีการรับมอบและส่งมอบสัตว์ป่า ให้จัดท้าบันทึก การรับมอบและส่งมอบสัตว์ป่านันด้วย สัตว์ป่าของกลางในคดีอาญาที่คดียังไม่ถึงที่สุดและอยู่ในความดูแลของพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเป็นสัตว์ป่าที่แข็งแรงและมีความเหมาะสมพร้อมที่จะปล่อยคืนสู่ธรรมชาติตามข้อ 19 หรือส่งคืน ถิ่นก้าเนิดตามข้อ 20 แล้วแต่กรณี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ การด้าเนินการแก่สัตว์ป่าเพื่อให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้แจ้งต่อพนั กงานสอบสวน ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

หรือพนักงานอัยการที่ส้านวนคดีความอยู่ในความรับผิดชอบในขณะนัน ว่าสัตว์ป่านันจะได้รับการปล่อยคืน สู่ธรรมชาติหรือส่งคืนถิ่นก้าเนิดเมื่อครบก้าหนดระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่แจ้งต่อพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการแล้ว พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการไม่ แจ้งว่าต้องการข้อเท็จจริง เพื่อประโยชน์ในการด้าเนินคดีเพิ่มเติมแล้ว ก็ให้ปล่อยสัตว์ป่านันคืนสู่ธรรมชาติหรือส่งคืนถิ่นก้าเนิด ได้โดยไม่ต้องเลี ยงดูสัตว์ป่านันไว้ แม้คดีความยังไม่ถึงที่สุดก็ตาม ในกรณีสัตว์ป่านันตายลงก่อนคดีถึงที่สุด ให้แจ้งพนักงานสอ บสวนหรือพนักงานอัยการทราบ และให้ด้าเนินการตามหมวด 4 การด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าต่อไป ข้อ 27 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือศูนย์ซึ่งด้าเนินการแก่สัตว์ป่าตามที่อธิบดีให้ความเห็นชอบ รายงานผลการด้าเนินการแก่กองบริหารจัดการทรัพยากรและก้าหนดมาตรการภายในสามสิบวันนับแต่ วั นที่ด้าเนินการแก่สัตว์ป่านันแล้วเสร็จ และให้กองบริหารจัดการทรัพยากรและก้าหนดมาตรการรวบรวม เป็นข้อมูลการด้าเนินการแก่สัตว์ป่าตามหมวด 7 ต่อไป หมวด 3 การแจ้งและการรับแจ้ง การรับมอบสัตว์ป่า อัตราค่าใช้จ่าย การช้าระค่าใช้จ่าย ในการดูแลสัตว์ป่า และการยกเว้น ค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ส่วนที่ 1 บททั่วไป ข้อ 28 กรณีเป็นสัตว์ป่าตามข้อ 5 (2) ที่ผู้มีไว้ในครอบครองส่งมอบสัตว์ป่าให้แก่กรมประมง หรือกรณีตามข้อ 5 (9) ที่สัตว์ป่าตกมาอยู่ในความดูแลตามอ้านาจหน้าที่ด้วยเหตุผู้ครอบครองส่งมอบ สัตว์ป่าให้แก่กรมประมง ให้ด้าเนินการตามหมวดนี ข้อ 29 กรณีเป็นสัตว์ป่าตามข้อ 5 (4) ที่คงเหลือจากการถูกเพิกถอนใบอนุญาตและ ด้าเนินการไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่ก้าหนดและสัตว์ป่าตกมาอยู่ในความ ครอบครองของกรมประมง หรือผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประสงค์จะส่งมอบสัตว์ป่านั นให้แก่กรมประมงก่อนก้าหนดเวลาตามกฎหมาย ให้ด้าเนินการตามส่วนที่ 3 ส่วนที่ 4 ส่วนที่ 5 และส่วนที่ 7 ต่อไป ส่วนที่ 2 การแจ้ง และการรับแจ้ง ข้อ 30 ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่าที่ประ สงค์จะส่งมอบสัตว์ป่าให้กรมประมง แจ้งส่งมอบสัตว์ป่า ทั งหมด หรือบางส่วน พร้อมด้วยข้อมูล เอกสาร และหลักฐาน ดังต่อไปนี (1) ชื่อและเลขประจ้าตัวประชาชน ในกรณีที่บุคคลธรรมดาเป็นผู้ครอบครองสัตว์ป่า (2) ชื่อและเลขทะเบียนนิติบุคคล ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ครอบครองสัตว์ป่า ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

( 3 ) ส้าเนาหลักฐานการครอบครองซึ่งสัตว์ป่าที่ประสงค์จะส่งมอบ ( 4 ) ส้าเนาบัญชีชนิดและจ้านวนสัตว์ป่าที่อยู่ในความครอบครอง พร้อมระบุเครื่องหมาย ประจ้าตัวสัตว์ป่าแต่ละตัว กรณีสัตว์ป่ามีจ้านวนมากให้ใช้การประมาณการจ้านวน ( 5 ) ภำพถ่ายชนิดและจ้านวนสัตว์ป่าที่ประสงค์จะส่งมอบ หรือกรณีสัตว์ป่ามีจ้านวนมาก ให้ใช้ภาพถ่ายรวม ( 6 ) เหตุจ้าเป็นที่ไม่สามารถเลี ยงดูสัตว์ป่านันต่อไปได้ ข้อ 31 การแจ้งตามข้อ 30 ให้แจ้ง ณ สถานที่และวิธีการ ดังต่อไปนี (1) กรณีในเขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้ง ณ ส้านักงานประมงพื นที่กรุงเทพมหานคร (2) กรณีนอก เขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้ง ณ ส้านักงานประมงจังหวัดในท้องที่ที่มีการ ครอบครองสัตว์ป่านัน (3) สถานที่อื่นตามที่อธิบดีประกาศก้าหนด การแจ้งตามวรรคหนึ่ง ผู้แจ้งอาจแจ้งโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับ หรือโดยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีการอื่นใดตามที่อธิบดีก้าหนด ก็ได้ ข้อ 32 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่รับแจ้งตรวจสอบชนิดและจ้านวนสัตว์ป่าที่ผู้ครอบครองสัตว์ป่า ประสงค์จะส่งมอบให้กรมประมงดูแล ว่าเป็นไปตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติสง วนและคุ้มครอง สัตว์ป่า พ.ศ. 2562 หรืออยู่ในอ้านาจหน้าที่ของกรมประมงที่จะคุ้มครองสัตว์ป่าดังกล่าว และ มีค่าใช้จ่ายในการดูแลเท่าใด กรณีที่มีความจ้าเป็นจะต้องสอบข้อเท็จจริงหรือซักถามรายละเอียดเพิ่มเติม ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ที่รับแจ้งมีหนังสือแจ้งให้ผู้ครอบค รองสัตว์ป่ามาให้ถ้อยค้าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ ส่วนที่ 3 อัตราค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ข้อ 3 3 ภายใต้บังคับบัญชีอัตราค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าของกรมประมงตามที่อธิบดี ประกาศก้าหนด ให้คณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่าคิดค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ที่ ผู้ครอบครองสัตว์ป่าประสงค์จะส่งมอบให้แก่กรมประมงดูแล และเมื่ออธิบดีได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้แจ้งอัตราค่าใช้จ่ายและวิธีการช้าระค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าแก่ผู้ครอบครองสัตว์ป่านันทราบ หลักเกณฑ์การก้าหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ต้องเหมาะสมกับชนิ ดหรือประเภท ของสัตว์ป่า โดยให้คิดค้านวณจากค่าอาหาร ค่ายาและเวชภัณฑ์ ค่าบริการทางสัตวแพทย์ ค่าแรงงาน จัดการสถานที่เลียงดู และค่าบ่อเลียงและสถานที่ให้สอดคล้องกับช่วงอายุของสัตว์ป่าหรือระยะเวลา ที่กรมประมงต้องดูแลสัตว์ป่า โดยค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าที่ ผู้ครอบครองสัตว์ป่าช้าระแก่กรมประมง ให้ถือเป็นเงินค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าของกรมประมง ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่านั นให้ค้านวณเป็นค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายโดยอาจช้าระ เป็นค่าใช้จ่ายทังจ้านวน หรือผ่อนจ่ายเป็นรายงวด หรือจ่ายเป็นอัตรารายเดือนโดยมีค่าใช้จ่ายคงที่ ที่จะต้องช้าระก่อนตามที่ตกลงกัน ในกรณีที่ช้าระค่าใช้จ่ายเป็นอัตรารายเดือน เมื่อสัตว์ป่านันตายลงหรือกรมประมงได้ด้าเนินการ แก่สัตว์ป่านันตามแนวทางอื่นโดยกรมประมงมิได้เป็นผู้ดูแลตามข้อ 18 (7) ให้ภาระในการช้าระ ค่าใช้จ่ายรายเดือนนันสิ นสุดลง ในกรณีที่ช้าระค่าใช้จ่ายทังจ้านวนหรือผ่อนจ่ายเป็ นรายงวด หากสัตว์ป่านันตายลง หรือ กรมประมงได้ด้าเนินการแก่สัตว์ป่านันตามแนวทางอื่นโดยกรมประมงมิได้เป็นผู้ดูแลตามข้อ 18 (7) เงินค่าใช้จ่ายดังกล่าวที่ได้ช้าระแล้วมิอาจเรียกคืนได้ ส่วนงวดที่ยังมิได้ช้าระให้ภาระการช้าระค่าใช้จ่าย นั นสิ นสุดลง ส่วนที่ 4 กา รช้าระค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ข้อ 34 เมื่อผู้ครอบครองสัตว์ป่าได้รับหนังสือแจ้งค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าจากกรมประมง หากผู้ครอบครองสัตว์ป่าตกลงที่จะช้าระค่าใช่จ่ายดังกล่าวให้แก่กรมประมง ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่า แจ้งเป็นหนังสือให้กรมประมงทราบภายในสิบห้ำวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งค่าใช้จ่าย ข้อ 35 เมื่อกรมประมงได้รับหนังสือแจ้งความตกลงที่จะช้าระค่าใช้จ่ายจากผู้ครอบครองสัตว์ป่าแล้ว ให้นัดหมายท้าหนังสือสัญญาและข้อตกลงในการจ่ายค่าดูแลสัตว์ป่า โดยผู้ครอบครองสัตว์ป่า สามารถเลือกจ่ายค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่าย ทั งจ้านวน หรือผ่อนจ่ายเป็นรายงวด หรือเลือกช้าระค่าใช้จ่าย เป็นรายเดือน โดยมีค่าใช้จ่ายคงที่ที่จะต้องช้าระก่อน ตามที่ตกลงกันจนกว่าจะครบจ้านวน หรือจนกว่า สัตว์ป่านั นตายลง หรือกรมประมงได้ด้าเนินการแก่สัตว์ป่านันตามแนวทางอื่นโดยกรมประมงมิได้ เป็นผู้ดูแลตามข้ อ 18 (7) แล้วแต่กรณี ข้อ 36 เมื่อกรมประมงและผู้ครอบครองสัตว์ป่าท้าหนังสือสัญญาและข้อตกลงในการจ่าย ค่าดูแลสัตว์ป่าแล้ว ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่าไปช้าระค่าใช้จ่ายตามเงื่อนไขที่ตกลงในหนังสือสัญญาภายใน สิบห้าวันนับแต่วันที่ลงนามในหนังสือสัญญา และน้าหลักฐานการช้า ระเงินมาแสดงต่อหน่วยงานที่รับแจ้ง การส่งมอบสัตว์ป่าที่ได้ยื่นแบบแจ้งความประสงค์ส่งมอบสัตว์ป่าไว้เพื่อนัดหมายวันส่งมอบสัตว์ป่าต่อไป ในกรณีผู้ครอบครองสัตว์ป่าไม่ช้าระค่าใช้จ่ายภายในระยะเวลาที่ก้าหนดให้ถือว่าไม่ประสงค์ จะให้ด้าเนินการต่อไป และให้พนักงานเจ้าหน้ำที่จ้าหน่ายเรื่องออกจากสารบบ ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ส่วนที่ 5 การยกเว้นและการลดหย่อนค่าใช้จ่ายในการดูแลและการส่งมอบสัตว์ป่า ข้อ 37 เมื่อผู้ครอบครองสัตว์ป่าได้รับหนังสือแจ้งค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าตามข้อ 3 4 แล้ว ในกรณีที่ผู้ครอบครองสัตว์ป่าไม่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่จะช้าระค่าใช้จ่ายได้ทั งหมดหรือบางส่วน ผู้ครอบครองสัตว์ป่าอาจยื่นขอยกเว้นหรือขอลดหย่อนค่าใช้จ่ายในการเลี ยงดูสัตว์ป่านัน ภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือก้าหนด ให้ ช้าระค่าใช้จ่ายตามข้อ 34 เอกสารที่ ผู้ครอบครองสัตว์ป่าจะต้องยื่นเมื่อขอยกเว้นหรือลดหย่อนค่าใช้จ่ายในการดูแล สัตว์ป่า ได้แก่ เอกสารแสดงการเสียภาษีเงินได้ของผู้ครอบครองสัตว์ป่าย้อนหลังสามปีภาษี (ถ้ามี) และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุจ้าเป็นที่จะขอยกเว้นหรือลดหย่อนค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่า ข้ อ 38 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับค้าขอยกเว้นหรือขอลดหย่อนค่าใช้จ่ายของผู้ครอบครอง สัตว์ป่าแล้ว ให้เสนอต่อคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่าเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็น ต่ออธิบดีเพื่อให้ความเห็นชอบ ในกรณีที่อธิบดีเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบให้ยกเว้นหรือลดหย่อนค่า ใช้จ่ายให้แก่ผู้ครอบครอง สัตว์ป่า เป็นประการใดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งแก่ผู้ครอบครองสัตว์ป่าทราบ และด้าเนินการ ตามส่วนที่ 4 ต่อไป การยกเว้นหรือลดหย่อนค่าใช้จ่ายในการส่งมอบสัตว์ป่า อธิบดีอาจวางข้อก้าหนดหรือเงื่อนไข ไว้ก็ได้ ส่วนที่ 6 การรับมอบและส่งมอบสัตว์ป่า ข้อ 39 เมื่อผู้ครอบครองสัตว์ป่าได้ท้าสัญญาและข้อตกลง รวมทังได้ช้าระค่าใช้จ่ายตามข้อ 3 5 และข้อ 3 6 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เตรียมสถานที่เพื่อด้าเนินการรับมอบสัตว์ป่านันไว้ให้พร้อม การรับมอบสัตว์ป่าให้ค้านึงถึงความสะดวกแล ะปลอดภัยของสัตว์ป่าไว้ ดังนี ( 1 ) ในกรณีที่ผู้ครอบครองสัตว์ป่านันไม่อาจเคลื่อนย้ายสัตว์ป่านันได้เอง พนักงานเจ้าหน้าที่ อาจเคลื่อนย้ายสัตว์ป่านันเองก็ได้ ( 2 ) ในกรณีที่ผู้ครอบครองสัตว์ป่าสามารถเคลื่อนย้ายสัตว์ป่าได้เอง ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่า ส่งมอบสัต ว์ป่าให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามวัน เวลา และสถานที่ที่ก้าหนด เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับมอบสัตว์ป่าไว้แล้ว ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่าส่งมอบต้นฉบับ ของเอกสารหลักฐานการครอบครองสัตว์ป่า ประวัติสุขภาพสัตว์ป่า (ถ้ามี) เอกสารรับรองสุขภาพ สัตว์ป่าไม่เกินสอ งเดือนตามหลักวิชาการ (ถ้ามี) และให้จัดท้าบันทึกการรับมอบสัตว์ป่า และใบรับแจ้ง การส่งมอบสัตว์ป่าให้ไว้แก่ผู้ครอบครองสัตว์ป่าเพื่อเป็นหลักฐาน ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ส่วนที่ 7 การเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนการครอบครองสัตว์ป่า ข้อ 40 เมื่อผู้ครอบครองสัตว์ป่าได้ส่งมอบสัตว์ป่าให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว ให้ด้าเนินการ ดังต่อไปนี ( 1 ) กรณีเป็นผู้ครอบครองสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง ให้ส่งมอบใบอนุญาตหรือ ใบรับรองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในวันส่งมอบสัตว์ป่าหรือไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันส่ งมอบสัตว์ป่า หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงบางรายการกรณีที่ประสงค์จะส่งมอบสัตว์ป่าบางชนิด และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ด้าเนินการบันทึกการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลลงในสารบบ ( 2 ) ในกรณีผู้ครอบครองสัตว์ป่าควบคุมชนิดที่ต้องแจ้งการครอบครองตามมาตรา 19 วรรคหนึ่ง ให้ส่งมอบใบรั บแจ้งการครอบครองหรือใบรับแจ้งการครอบครองชั่วคราวแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ภายในวันส่งมอบสัตว์ป่าหรือไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันส่งมอบสัตว์ป่า หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง บางรายการกรณีที่ประสงค์จะส่งมอบสัตว์ป่าบางชนิด และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด้าเนินการบันทึก การแก้ไขเป ลี่ยนแปลงข้อมูลลงในสารบบ ข้อ 41 ในกรณีที่อธิบดีมีค้าสั่งเพิกถอนใบอนุญาตหรือใบรับรองและผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต หรือใบรับรองได้ด้าเนินการตามมาตรา 79 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 แล้ว และประสงค์จะส่งมอบสัตว์ป่าที่เหลืออยู่แก่กรมประมง ให้ส่งมอบใบอนุญาต ใบรับรอง หรือใบรับแจ้งการครอบครองแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันส่งมอบสัตว์ป่า และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด้าเนินการบันทึกการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลลงในสารบบ หมวด 4 การด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่า ส่วนที่ 1 การด้าเนินการเบื องต้นแก่ซากสัตว์ป่า ข้อ 42 กรณีพบซากสัตว์ป่าในที่จับสัตว์น ้าหรือที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบสาเหตุการตายของสัตว์ป่านัน หากพบว่า ( 1 ) ซากสัตว์ป่าเกี่ยวข้องกับการกระท้าความผิดตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสั ตว์ป่า พ.ศ. 2562 ให้ท้าการเก็บหลักฐาน ตัวอย่าง และข้อเท็จจริงการกระท้าผิดที่เกี่ยวกับซากสัตว์ป่า ดังกล่าวเพื่อใช้ประกอบส้านวนคดี และพิจารณาแจ้งความเพื่อด้าเนินคดีต่อไป หากซากสัตว์ป่าดังกล่าว เป็นซากสัตว์ป่าที่เก็บรักษาไว้แล้วอาจเน่าเสียหรือเก็บรักษาไว้แ ล้ว จะเป็นภาระเกินสมควรแก่ทางราชการ ให้ท้าเรื่องขอท้าลายซากสัตว์ป่าดังกล่าวทังหมดหรือบางส่วน ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ต่อพนักงานสอบสวน หากพนักงานสอบสวนพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่จ้าเป็นต้องเก็บไว้เป็นพยานหลักฐาน อีกต่อไป ก็ให้ท้าลายซากสัตว์ป่านั นได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการในข้อ 47 และรา ยงานผลการท้าลาย ซากสัตว์ป่านันให้พนักงานสอบสวนและอธิบดีทราบ หากซากสัตว์ป่าดังกล่าว ไม่เน่าเสียหรือเป็นซากสัตว์ป่าที่พนักงานสอบสวนมีความเห็น ให้เก็บรักษาไว้เพื่อใช้ในการด้าเนินคดี ให้ส่งซากสัตว์ป่านันให้ศูนย์เก็บรักษาต่อไปจนกว่าคดีจะถึงที่สุด หรือจนกว่าพนั กงานสอบสวนมีความเห็นว่าไม่จ้าเป็นต้องเก็บพยานหลักฐานอีกต่อไป โดยให้จัดท้า เอกสารรับมอบซากสัตว์ป่าแยกไว้เป็นรายคดี เว้นแต่เป็นซากสัตว์ป่าที่มีค่าสมควรแก่การเก็บรักษาไว้ อาจพิจารณาด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าตามส่วนที่ 2 ต่อไป ( 2 ) ซากสัตว์ป่าที่น่าเชื่อว่าเป็ นการตายลงโดยธรรมชาติให้ประสานพนักงานเจ้าหน้าที่ ในต้าแหน่งนักวิชาการประมงเพื่อตรวจสอบและด้าเนินการท้าลายซากสัตว์ป่าดังกล่าวโดยด่วน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการในข้อ 4 6 และรายงานผลการท้าลายซากสัตว์ป่านันให้อธิบดีทราบ ข้อ 4 3 ซากสัตว์ป่าตามข้อ 42 หากเป็นซากสัตว์ป่าที่ไม่เน่าเสียที่มีค่าสมควรแก่การเก็บ รักษาไว้ เช่น เขียว กระดอง หนัง กระดูก ซาก หรือหินปะการัง ซึ่งเป็นของสัตว์ป่าสงวน หรือ ซากสัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์ หรือซากสัตว์ป่าที่พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาแล้วเห็นว่า จะใช้ประโยชน์จา กซากสัตว์ป่านั นเพื่อประโยชน์ในทางราชการหรือการศึกษาวิจัย หรือมีมูลค่า ทางเศรษฐกิจ ให้เก็บรักษาซากสัตว์ป่านั นไว้มิให้ท้าลาย โดยอาจจัดการซากสัตว์ป่าดังกล่าว ด้วยวิธีการสต๊าฟ ดอง ตากแห้ง หรือวิธีการอื่นใดเพื่อรักษาให้ซากสัตว์ป่านันคงสภาพเดิมก็ได้ กร ณีที่เป็นที่สงสัย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หารือไปยังคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่าตามวรรคหนึ่ง หากเป็นกรณีที่สัตว์ป่านันตายลงอันมีสาเหตุจากการติดเชือโรคระบาด และสามารถท้าลายเชื อโรคจนซากสัตว์ป่านั นปลอดจากเชื อโรคตามหลักวิชาการได้แล้ว ให้เก็บรักษาซากสัตว์ป่านั นไว้ มิฉะนั นก็ให้ท้าลายเสีย โดยด้าเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการในข้อ 4 6 ส่วนที่ 2 การด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อ 4 4 การด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่ามีแนวทางการด้าเนินการ ดังต่อไปนี ( 1 ) การน้าซากสัตว์ป่าไว้ใช้ประโยชน์ในราชการหรือเพื่อประโยชน์ในการส้ารวจ การศึกษา การวิจัย หรือการทดลองทางวิชาการ ( 2 ) การท้าลายซากสัตว์ป่า ( 3 ) การจ้าหน่ายซากสัตว์ป่าบางชนิด ( 4 ) การเก็บรักษาซากสัตว์ป่า ข้อ 4 5 การน้าซากสัตว์ป่าไปใช้ประโยชน์ในราชการหรือเพื่อการศึกษำหรือวิจัยทางวิชาการ และการเสนอโครงการขอใช้ประโยชน์จากซากสัตว์ป่า ให้น้าความในข้อ 21 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

การใช้ประโยชน์จากซากสัตว์ป่าที่อยู่ในความดูแลของกรมประมงตามวรรคหนึ่ง อาจน้าไปใช้ ประโยชน์เพื่อการอื่นก็ได้ เช่น การจัดแสดงเพื่อสร้างจิตส้านึกในกา รอนุรักษ์สัตว์ป่า หรือเก็บและ จัดแสดงเพื่อประโยชน์ทางวิชาการในพิพิธภัณฑ์ หรือการน้าไปเป็นอาหารสัตว์ของศูนย์หรือในธรรมชาติ ข้อ 4 6 การท้าลายซากสัตว์ป่า กรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งเก็บรักษาซากสัตว์ป่าไม่สามารถ ด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าที่เก็บรักษาตามข้อ 4 5 ได้ หรือซากสัตว์ป่ามีการเสื่อมสภาพอย่างรุนแรง หรือหากเก็บรักษาซากสัตว์ป่าไว้จะเป็นภาระเกินสมควรแก่ทางราชการ หรือเป็นซากสัตว์ป่าจากสัตว์ป่า ที่ติดเชือโรคระบาด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาก้าหนดพืนที่ในการใช้ท้าลายซากสัตว์ป่าและจัดการท้าลาย ตามลักษณะขอ งซากสัตว์ป่านัน ดังนี (1) ซากสัตว์ป่าที่ยังมีสภาพเป็นตัวสัตว์ทั งตัว (ก) ให้ฝังซากสัตว์ป่าในบริเวณพืนที่ดอนที่น ้าท่วมไม่ถึงและห่างจากแหล่งน ้าธรรมชาติ หรือไกลจากแหล่งชุมชน โดยให้ส่วนบนสุดของซากสัตว์อยู่ใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ใช้สาร เคมีที่สามารถท้าลายเชือจุลินทรีย์หรือเชือโรคต่าง ๆ โดยการแช่ ราด หรือโรยที่ส่วนต่าง ๆ ของซากสัตว์ป่านันจนทั่ว รวมถึงบริเวณปากหลุมที่ฝังซากสัตว์ป่านันด้วย และพูนดินกลบหลุมเหนือ ระดับผิวดินไม่น้อยกว่าปริมาตรของซากสัตว์ป่าหรืออาจหาวัสดุหนักปิดทับหลุม เพื่อป้องกันการขุด คุ้ย เขี่ยจากสัตว์อื่นก็ได้ และท้าการตรวจสอบดูแลพืนที่ที่ฝังซากสัตว์ป่าป้องกันบุคคลหรือสัตว์อื่นเข้าออก บริเวณสถานที่ฝังซากสัตว์ป่าภายในระยะเวลาสิบสี่วัน หรือ (ข) ใช้ไฟเผาท้าลายซากสัตว์ป่านันให้ไหม้จนสิ น หรือ (ค) ใช้วิธีการท้าลายซา กสัตว์ป่าด้วยวิธีอื่นตามที่เห็นสมควรตามหลักวิชาการ (2) ซากสัตว์ป่าซึ่งไม่มีลักษณะเป็นซากสัตว์ทังตัว เป็นชินส่วน หรือเป็นสิ่งใด ๆ ที่ได้จาก สัตว์ป่าที่มีชีวิต หรือสัตว์ป่าที่ตายแล้ว ให้ท้าลายตามวิธีที่ก้าหนดใน (1) ในการท้าลายซากสัตว์ป่าดังกล่าว ให้กระท้าโดยคณะบุคคล เพื่อควบคุมการท้าลาย โดยประกอบด้วยประมงจังหวัดหรือผู้อ้านวยการศูนย์ และข้าราชการหรือพนักงานราชการหรือ ลูกจ้างประจ้าในสังกัดกรมประมงอีกไม่น้อยกว่าสองคน ข้อ 4 7 การจ้าหน่ายซากสัตว์ป่า ให้อธิบดีจ้าหน่ายได้เฉพาะซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง ที่เพาะพันธุ์ได้หรือสัตว์ป่าควบคุมที่เพาะพันธุ์ได้ แก่ผู้ได้รับใบอนุญาตครอบครองตามมาตรา 18 ผู้ได้รับใบอนุญาตเพาะพันธุ์สัตว์ป่าตามมาตรา 28 ผู้ได้รับใบอนุญาตค้าตามมาตรา 30 หรือผู้ได้รับ ใบอนุญาตจัดตังและ ประกอบกิจการสวนสัตว์ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง สัตว์ป่า พ.ศ. 2562 การจ้าหน่ายซากสัตว์ป่าให้ปฏิบัติตามขันตอนการจ้าหน่าย ดังนี ( 1 ) ราคาซากสัตว์ป่าที่ท้าการจ้าหน่ายให้ก้าหนดจากการสืบราคาท้องตลาดแห่งท้องที่ โดยให้ ค้านึงถึงความเสื่อมสภาพของ ซากสัตว์ป่านันด้วย ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

( 2 ) ในกรณีมีจ้านวนผู้ยื่นความประสงค์จะซือซากสัตว์ป่าเท่ากับหรือน้อยกว่าจ้านวนซากสัตว์ป่า ที่ประกาศจ้าหน่าย ให้จ้าหน่ายซากสัตว์ป่านันแก่บุคคลดังกล่าว ให้ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ ที่จะ ซือ ซากสัตว์ป่า เข้าท้าสั ญญาซือขายกับกรมป ระมง และ จัดท้า หลักฐานการรับมอบซากสัตว์ป่า และ ใบรับรอง การครอบครอง ซากสัตว์ป่าไว้ในความครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ( 3 ) ในกรณีที่มีผู้ยื่นความประสงค์จะซือซากสัตว์ป่ามากกว่าจ้านวนซากสัตว์ป่าที่ประกาศ จ้าหน่าย ให้กระท้าด้วยวิธีการจับฉลาก ให้ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิที่จะซือซากสัตว์ป่า เข้าท้าสัญญาซือขายกับกรมประมง และจัดท้าหลักฐานการรับมอบซากสัตว์ป่าและใบรับรองการครอบครองซากสัตว์ป่าไว้ในความครอบครอง โดยชอบด้วยกฎหมาย ( 4 ) ซากสัตว์ป่าที่น้าไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ควบคุมก้ากับการผลิต ตามจ้านวนประเภทอย่างใกล้ชิด และออกหลักฐานก้ากับผลิตภัณฑ์ด้วย ข้อ 4 8 การเก็บรักษาซากสัตว์ป่า หากพนักงานเจ้าหน้าที่ยังไม่สามารถพิจารณาแนวทาง ด้าเนินการใด ๆ แก่ซากสัตว์ป่าได้ ให้เก็บรักษาซากสัตว์ป่านั นต่อไป หรือจนกว่าจะมีแนวทาง การด้าเนิ นการแก่ซากสัตว์ป่านัน โดยให้ด้าเนินการตามข้อ 4 5 ข้อ 4 6 หรือข้อ 4 7 ต่อไป ส่วนที่ 3 การด้าเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อ 49 การด้าเนินการตามข้อ 4 5 ข้อ 4 7 และข้อ 4 8 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดท้า เครื่องหมายแก่สัตว์ป่าดังกล่าวให้เรียบร้อยก่อนด้าเนิ นการ โดยให้น้าหลักเกณฑ์และวิธีการจัดท้า เครื่องหมายประจ้าตัวสัตว์ป่าตามข้อ 16 มาบังคับใช้โดยอนุโลม ข้อ 5 0 การด้าเนินการตามข้อ 4 5 และข้อ 4 7 ต้องได้รับความเห็นชอบจากอธิบดี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เสนอแนวทางการด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่านันต่อคณะกรรมการการด้า เนินการ แก่สัตว์ป่า เพื่อพิจารณาความเห็นต่ออธิบดีเพื่อให้ความเห็นชอบ การด้าเนินการตามข้อ 4 6 หากเป็นซากสัตว์ป่าสงวน หรือซากสัตว์ป่าอื่นที่พนักงานเจ้าหน้าที่ พิจารณาแล้วว่ามีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอธิบดี โดยให้เสนอ แนวทางการด้าเนินการแ ก่ซากสัตว์ป่านันต่อคณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ส่วนซากสัตว์ป่าอื่น หากเก็บไว้จะเป็นภาระเกินสมควรแก่ทางราชการและไม่อาจใช้ประโยชน์อื่นได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ด้าเนินการท้าลายซากสัตว์ป่านันตามวิธีการท้าลายตามข้อ 4 6 ข้อ 5 1 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานซึ่งด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าตามที่อธิบดี ให้ความเห็นชอบ รายงานผลการด้าเนินการแก่กองบริหารจัดการทรัพยากรและก้าหนดมาตรการภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่านันแล้วเสร็จ และให้กองบริหารจัดการทรัพยากร และก้าหนดมาต รการรวบรวมเป็นข้อมูลการด้าเนินการแก่ซากสัตว์ป่าตามหมวด 7 ต่อไป ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ข้อ 5 2 ให้ศูนย์ซึ่งเก็บรักษาซากสัตว์ป่ามีหน้าที่ต้องรายงานสภาพ ชนิด และจ้านวนซากสัตว์ป่า ที่อยู่ในความครอบครองต่ออธิบดีทุกสิ นปีปฏิทิน หมวด 5 การด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์การด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ข้อ 5 3 ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจยึดผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าจากการกระท้าผิด หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่ตกเป็นของแผ่นดิน ให้ด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ตามหมวดนี ข้อ 5 4 ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าตามข้อ 5 3 ซึ่งท้าจากซากสัตว์ป่าสงวน หรือซากสัตว์ป่า ที่หายากใกล้สูญพันธุ์ หรือผลิตภัณฑ์ที่ท้าจากซากสัตว์ป่าที่พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาแล้วเห็นว่า ยังสามารถใช้ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่านันไม่ว่าจะทังหมดหรือบางส่วนได้เพื่อประโยชน์ในทำงราชการ หรือการศึกษาวิจัย หรือมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้เก็บรักษาผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่านันไว้ ข้อ 5 5 การด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าอื่น นอกจากผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ตามข้อ 5 4 ให้พิจารณาด้าเนินการ ดังต่อไปนี ( 1 ) ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าซึ่งเป็น ชนิดสัตว์ป่าที่ไม่สามารถอนุญาตให้เพาะพันธุ์หรือค้าได้ ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 อาจพิจารณาน้าผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ไปใช้ประโยชน์ในราชการหรือเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ หรือท้าลาย หรือเก็บรักษาต่อไปก็ได้ หลักเกณฑ์และวิธีการ ด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าดังกล่าว ให้น้าความในข้อ 4 5 ข้อ 4 6 และข้อ 4 8 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ( 2 ) ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าซึ่งเป็นชนิดสัตว์ป่าที่สามารถอนุญาตให้เพาะพันธุ์หรือค้าได้ ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 อาจพิจารณาน้าผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าไปใช้ ประโยชน์ในราชการหรือเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ หรือท้าลาย จ้าหน่าย หรือเก็บรักษาต่อไปก็ได้ หลักเกณฑ์และวิธีการด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าดังกล่าว ให้น้าความในข้อ 4 5 ข้อ 4 6 ข้อ 4 7 และข้อ 4 8 แล้ วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม ส่วนที่ 2 การด้าเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อ 5 6 การด้าเนินการแก่ผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้น้าความ ในหมวด 4 ส่วนที่ 3 การด้าเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่แก่ซากสัตว์ป่า มาใช้บังคับโดยอนุโลม ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

หมว ด 6 คณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ข้อ 5 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “ คณะกรรมการการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่าที่เป็นสัตว์น ้า ” ประกอบด้วย รองอธิบดีที่ก้ากับกองบริหาร จัดการทรัพยากร และก้าหนดมาตรการ เป็นประธานกรรมการ ผู้เชี่ยวชาญด้านความหลากหลาย ทางชีวภาพด้านการประมงน ้าจืด ผู้อ้านวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี ยงสัตว์น ้าจืด ผู้อ้านวยการ กองวิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืด ผู้อ้านวยการกองวิจัยและพัฒนำประมงทะเล ผู้อ้านวยการกองวิจัย และพัฒนาการเพาะเลียงสัตว์น ้าชายฝั่ง ผู้อ้านวยการกองกฎหมาย เป็นกรรมการ ผู้อ้านวยการ กองบริหารจัดการทรัพยากรและก้าหนดมาตรการ เป็นกรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มคุ้มครอง พันธุ์สัตว์น ้าตามอนุสัญญา เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะก รรมการตามวรรคหนึ่ง มีอ้านาจหน้าที่ ดังนี ( 1 ) พิจารณาก้าหนดแนวทางการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จาก ซากสัตว์ป่าที่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานเสนอขอความเห็นชอบต่ออธิบดี ( 2 ) พิจารณาก้าหนดหลักเกณฑ์ หลักปฏิบัติ วิธีการ ค่าใช้จ่าย รา คาสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ( 3 ) ก้าหนดค่าใช้จ่ายในการดูแลสัตว์ป่าตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ( 4 ) เรื่องอื่นตามที่อธิบดีมอบหมายตามระเบียบนี หมวด 7 การรวบรวมข้อมูลการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ข้อ 5 8 ข้อมูลการแจ้ง การรับแจ้ง การมอบหรือรับมอบ การครอบครอง การเยียวยารักษา ชนิดและจ้านวน สภาพ และการด้าเนินการแก่สัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ตามระเบียบนีให้กองบริหารจัดการทรัพยากรและ ก้าหนดมาตรการรวบรวมและรายงานให้อธิบดีทราบ ทุกสิ นปีปฏิทิน หมวด 8 บทเฉพาะกาล ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566

ข้อ 59 บรรดาสัตว์ป่า ซากสัตว์ป่า หรือผลิตภัณฑ์จากซากสัตว์ป่า ที่มีอยู่ในความดูแลของ กรมประมงก่อนระเบียบนี มีผลบังคับใช้ให้ด้าเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนีเท่าที่จะด้าเนินการได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบังคับใช้พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 10 มกรา ค ม พ.ศ. 25 6 6 เฉลิมชัย สุวรรณรักษ์ อธิบดีกรมประมง ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 14 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 มกราคม 2566