Mon Jun 12 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7075 (พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบหนังฟอก เล่ม 12 ความคงทนของสีต่อเหงื่อ


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7075 (พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบหนังฟอก เล่ม 12 ความคงทนของสีต่อเหงื่อ

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7075 (พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบหนังฟอก เล่ม 12 ความคงทนของสีต่อเหงื่อ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบหนังฟอก เล่ม 12 ความคงทนของสีต่อเหงื่อ มาตรฐานเลขที่ มอก. 160 เล่ม 12 - 2566 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 16 มีนำคม พ.ศ. 25 6 6 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 136 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ขอมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7075 (พ.ศ. 2566) ชื่อมาตรฐาน : วิธีทดสอบหนังฟอก เลม 12 ความคงทนของสีต่อเหงื่อ TEST METHOD FOR LEATHER PART 12 : COLOUR FASTNESS TO PERSPIRATION มาตรฐานเลขที่ : มอก. 160 เลม 12−2566 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : คณะอนุกรรมการวิชาการรายสาขาคณะที่ 71/1 มาตรฐานวิธีชักตัวอยาง และทดสอบหนังฟอก ขอบขาย : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ - กําหนดวิธีทดสอบความคงทนของสีต่อเหงื่อของหนังฟอกทุกชนิด ในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิต และเหมาะสําหรับผลิตภัณฑหนัง เชน ถุงมือ เสื้อผา หนังซับใน หนังสวนบนของรองเทา - ใชสารละลายเหงื่อเทียมจําลองเลียนแบบเหงื่อจริงจากรางกายคน เนื่องจาก ไม่สามารถนําเหงื่อจริงมาใชในการทดสอบได้ เพราะแต่ละบุคคลมีเหงื่อที่ แตกตางกันซึ่งจะทําให้ผลทดสอบที่ได้ไม่ถูกต้องและไม่ครอบคลุม จึงใช สารละลายเหงื่อเทียมดางแทนเนื่องจากมีลักษณะใกลเคียงกับเหงื่อจริงมาก ที่สุด หมายเหตุ โดยทั่วไปเหงื่อที่ขับออกจากรางกายคนจะมีฤทธิ์เป็นกรดออน จากนั้นจุลินทรียทําให้เหงื่อกลายเป็นดางออน มีคาความเป็นกรด- ดางประมาณ 7.5 ถึง 8.5 เหงื่อที่เป็นดางมีผลกับสีของหนัง มากกวาเหงื่อที่เป็นกรด ดังนั้นจึงใชสารละลายเหงื่อเทียมที่เป็น ดางมาจําลองสภาวะทดสอบกับหนังที่มีสี เนื้อหาประกอบด้วย : ขอบขาย หลักการ เครื่องมือและอุปกรณ สารเคมีและวิธีเตรียม การเตรี ยมชิ้น ทดสอบ การทดสอบ และการรายงานผล จํานวนหน้า : 11 หน้า ISBN : 978-616-595-312-2 ICS : 59.140.30

สถานที่ จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02 430 6834 ต่อ 02 440-2441 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th