Thu Jun 08 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ.ศ. 2566


ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ.ศ. 2566

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงิน กองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในข้อ 4 และข้อ 31 แห่งประกาศค ณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สานักงาน ” หมายความว่า สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพ แห่งชาติ “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค ข้อ 4 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการ เฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 4.1 การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้าย ประกาศนี้ 4.2 การดูแลผู้ป่วยวัณโรครวมทั้งการรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ให้เป็นไปตาม เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ 4.3 การดูแลแบบประคับประคอง ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ 4.4 การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศนี้ ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 134 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 มิถุนายน 2566

ข้อ 5 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 256 6 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 134 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 มิถุนายน 2566

เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย ชนิดรุนแรง ให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง หรือชนิดพึ่งพาเลือด (Transfusion Dependent Thalassemia: TDT) ได้แก่ โรค Alpha thalassemia ( รหัส ICD10 D56.0), Beta thalassemia/Hb E ( รหัส ICD10 D 56.1 ร่วมกับ D 58.2) Homozygous Beta thalassemia ( รหัส ICD10 D56.1) 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่สามารถดูแลผู้ป่วยธาลัสซีเมียได้ ข้อ 2 สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังต่อไปนี้ 2 . 1 จ่ายเป็นค่ายาขับเหล็กชนิดรับประทาน ได้แก่ ยา Deferaxirox ในอัตราเม็ดละ 30 บาท โดยการใช้ยาเป็นไปตามแนวทางการกํากับการใช้ยา Deferaxirox ข้อบ่งใช้ธาลัชซีเมีย ตามประกาศคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติเกี่ยวกับบัญชียาหลักแห่งชาติ 2 . 2 จ่ายตามรายการบริการ และอัตราที่กําหนดตามประกาศสํานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติเกี่ยวกับการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการจ่ายตามรายการบริการ สําหรับ การตรวจทางห้องปฏิบัติการและยา ดังนี้ 2 . 2 . 1 Hematocrit (HCT) ก่อนการให้เลือด 2 . 2 . 2 Serum ferritin 2 . 2 . 3 ยาขับเหล็กชนิดฉีด ได้แก่ ยา Deferoxamine (Desferal) 2 . 2 . 4 ยาขับเหล็กชนิดรับประทาน ได้แก่ ยา Deferiprone (L1 และ DFP) หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูล ตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบูรณาการการตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด (National Perinatal Registry Portal http//:nprp.nhso.go.th) หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สํานักงานกําหนด

  • 2 - หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีหรือมีข้อมูลยืนยันตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด ข้อ 5 สํานักงานจะดําเนินการประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะต้องแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 5 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ( ข้อมูล Y: YES) สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ ตามที่ประมวลผลได้ 5 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่าน หรือข้อมูลปฏิเสธการจ่าย ( ข้อมูล N: No) หน่วยบริการ สามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สํานักงานกําหนด ข้อ 6 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สํานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย และกําหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 6 . 1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการวินิจฉัยของแพทย์ ในการวินิจฉัยโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง หรือชนิดพึ่งพาเลือด (Transfusion Dependent Thalassemia: TDT) 6 . 2 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนในการให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมีย ตามรายการที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการสั่งจ่ายยาขับเหล็ก การให้เลือด รวมทั้งผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการตามที่กําหนดไว้ในรายการบริการ 6 . 3 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่สนับสนุนข้อบ่งชี้ในการสั่งจ่ายยา Desferaxirox ทั้งนี้ ข้อบ่งชี้เป็นไปตามแนวทางการกํากับการใช้ยา Deferaxirox ข้อบ่งใช้ธาลัสซีเมีย ตามประกาศ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติเกี่ยวกับบัญชียาหลักแห่งชาติ ในกรณีที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ค่ายา Desferaxirox 6 . 4 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีคําสั่งของแพทย์ในการสั่งจ่ายยา desferoxamine หรือ desferiprone หรือ desferaxirox ที่ระบุขนาดการใช้ยา และจํานวนเม็ด ตามที่หน่วยบริการเรียกเก็บ ค่าใช้จ่าย ข้อ 7 สํานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายในกรณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 7 . 1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 7 . 2 ตรวจสอบไม่พบการยืนยันตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด

  • 3 - 7 . 3 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 6 บทเฉพาะกาล ข้อ 8 ให้การบริการและการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลรักษาผู้ป่วย โรคธาลัสซีเมีย ที่ได้ดําเนินการมาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ . ศ . 2565 จนถึงวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ถือเป็นการดําเนินการตามประกาศนี้ด้วย

เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลผู้ป่วยวัณโรครวมทั้งการรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลผู้ป่วยวัณโรครวมทั้งการรักษา การติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการ รวมถึง 1 . 1 . 1 ผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับบริการดูแลรักษาด้วยยารักษาวัณโรค หรือการตรวจ และติดตามการรักษาวัณโรค 1 . 1 . 2 ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคที่อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 18 ปี และยังไม่ป่วยเป็นวัณโรค ได้รับบริการตรวจและรักษาการติดเชื้อวัณโรคแฝง 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเป็นหน่วยบริการที่สามารถดูแลรักษาผู้ป่วย วัณโรคได้ หรือเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเทคนิคการแพทย์ ที่มีศักยภาพการตรวจติดตาม การรักษาวัณโรคได้ ข้อ 2 สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 บริการดูแลรักษาด้วยยาวัณโรคและรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงที่ให้แก่ ผู้รับบริการตาม 1 . 1 . 2 จ่ายเป็นยา หรือจ่ายเป็นเงินค่ายารักษาวัณโรคแก่หน่วยบริการ โดยรายการบริการ อัตรา ให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเกี่ยวกับการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีจ่ายตามรายการบริการ 2 . 2 บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ รายการและอัตราเป็นตามเอกสารหมายเลข 2 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค การรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง การตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ เป็นไปตามแนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ . ศ . 2564 (National Tuberculosis Control Program Guideline, Thailand 2021: NTP 2021) และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  • 2 - หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูล มาตรฐาน ผ่านโปรแกรม NTIP และประมวลผลเบิกจ่ายด้วยโปรแกรม TB Data HuB ที่เว็บไซต์ http:// tbdatahub.nhso.go.th หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สํานักงานกําหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีหรือมีข้อมูลยืนยันตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด ข้อ 5 สํานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงาน การจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 5 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ( ข้อมูล Y: Yes) สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ ตามที่ประมวลผลได้ 5 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่าน หรือข้อมูลปฏิเสธการจ่าย ( ข้อมูล N: No) หน่วยบริการ สามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สํานักงานกําหนด ข้อ 6 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สํานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย และกําหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 6 . 1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการวินิจฉัยของแพทย์ ในการวินิจฉัยการติดเชื้อ วัณโรค หรือการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาสูตรยาต่าง ๆ หรือเป็นผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค หรือเป็นการติดเชื้อวัณโรค ระยะแฝง 6 . 2 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค รวมทั้ง การติดตามการรักษาตามจํานวนครั้งที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย 6 . 3 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีคําสั่งของแพทย์ในการสั่งจ่ายยารักษาวัณโรค ที่ระบุจํานวนของยาแต่ละชนิดตามที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายหรือขอรับการสนับสนุน 6 . 4 พบเอกสารหลักฐานรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือผลการตรวจ เอกซเรย์ปอดตามที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจเอกซเรย์ ปอดจะต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนดในเอกสารหมายเลข 2 . 1 แนบท้ายประกาศนี้

  • 3 - ข้อ 7 สํานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายในกรณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 7 . 1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 7 . 2 ตรวจสอบไม่พบการยืนยันตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด 7 . 3 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 6 บทเฉพาะกาล ข้อ 8 ให้การบริการและการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลผู้ป่วยวัณโรค รวมทั้งการรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงที่ได้ดําเนินการมาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ . ศ . 2565 จนถึงวันที่ ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ถือเป็นการดําเนินการตามประกาศนี้ด้วย

เอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลแบบประคับประคอง หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบประคับประคอง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ตามรายการข้อมูลการวินิจฉัยและรหัสโรคตามรายการที่กระทรวง สาธารณสุขกําหนด ตามเอกสารหมายเลข 3 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิรับค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1 . 2 . 1 หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการให้บริการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วย ระยะสุดท้ายที่บ้าน 1 . 2 . 2 หน่วยบริการที่ดูแลแบบประคับประคองด้วยการให้ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น ( 1 ) เป็นหน่วยบริการที่ได้รับใบอนุญาตครอบครอง และจําหน่ายยาเสพติด ประเภทที่ 2 หรือประเภทที่ 5 ( 2 ) เป็นหน่วยบริการที่มีรายการยา Palliative care essential drugs list กลุ่ม Opioids ชนิดออกฤทธิ์ยาวที่กําหนดตามแนวทางการบริหารระบบยาในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care) ที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด ครบทั้ง 3 กลุ่ม ดังนี้ ( ก ) มอร์ฟีนรูปแบบรับประทานชนิดออกฤทธิ์ทันทีอย่างน้อย 2 รายการ คือ Morphine syrup และ Morphine tablet immediate release ( ข ) มอร์ฟีนรูปแบบรับประทานชนิดออกฤทธิ์ยาวอย่างน้อย 1 รายการ คือ Morphine tablet sustained release และหรือ Morphine capsule sustained release ( ค ) ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่นรูปแบบดูดซึมผ่านผิวหนังอย่างน้อย 1 รายการ คือ Fentanyl patch ทั้งนี้ หน่วยบริการต้องมีแพทย์ประจําหรือแพทย์เจ้าของคนไข้ หรือแพทย์นอกเวลา ที่สามารถสั่งจ่ายยาตาม ( 2 ) ได้ โดยการสั่งจ่ายควรครอบคลุมอย่างน้อย 1 เดือน

  • 2 - ข้อ 2 สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 กรณีค่าบริการดูแลผู้ป่วยที่บ้านในระยะเวลา 6 เดือน ประกอบด้วย การให้ออกซิเจน การดูแลแผล การให้ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น การให้คําแนะนําในการสังเกตอาการผิดปกติและการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน รวมทั้งการประเมินอาการผู้ป่วยเมื่อมีการปรับการรักษาตาม Advance care plan ตามระยะเวลาที่ผู้ป่วย ระยะสุดท้ายได้รับการดูแลที่บ้านจนถึงเสียชีวิต ในระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน 2 . 1 . 1 จ่ายในอัตราเดือนละ 1 , 000 บาท เมื่อมีการรายงานข้อมูลการดูแลที่บ้าน และหยุดจ่ายเมื่อครบ 6 เดือน 2 . 1 . 2 จ่ายเพิ่มเติมเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต ในอัตรา 3 , 000 บาท โดยตรวจสอบ กับฐานทะเบียนราษฎร์ หากมีหน่วยบริการส่งข้อมูลบริการมากกว่า 1 แห่งในผู้ป่วยรายเดียวกัน สํานักงาน จะจ่ายเพิ่มเติมให้หน่วยบริการที่ให้บริการผู้ป่วยก่อนเสียชีวิต ทั้งนี้ ตารางอัตราการจ่าย ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 . 2 แนบท้ายประกาศนี้ 2 . 2 กรณีการให้ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น จ่ายเพิ่มเติมจากการจ่ายค่าบริการดูแลแบบ ประคับประคองผู้ป่วยที่บ้านสําหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย แบบเหมาจ่ายในอัตรา 750 บาทต่อคนต่อเดือน เป็นรายเดือนทุกเดือนจนกว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิต หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูล ตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ (e-Claim) มายังสํานักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสํานักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่น ตามที่สํานักงานกําหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีหรือมีข้อมูลยืนยันตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด ข้อ 5 สํานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงาน การจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 5 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น ( ข้อมูล A: accept) สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่าย ให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้

  • 3 - 5 . 2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านจากการตรวจสอบเบื้องต้น ( ข้อมูล C: cancel) หน่วยบริการสามารถ แก้ไขและส่งมาในระบบอีกครั้ง 5 . 3 ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย ( ข้อมูล Deny) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับ ค่าใช้จ่ายตามที่สํานักงานกําหนด ข้อ 6 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ 6 . 1 กรณีบริการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 6 . 1 . 1 ผู้รับบริการจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคตามรายการข้อมูลการวินิจฉัย และรหัสโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 6 . 1 . 2 ต้องเป็นผู้รับบริการที่เข้าเกณฑ์และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง โดยหน่วยบริการต้องมีการบันทึกข้อมูลรหัสการวินิจฉัย Z51.5 6 . 1 . 3 หน่วยบริการต้องมีการจัดทํา Advance care plan และกรอกข้อมูลรหัส Z71.8 6 . 1 . 4 หน่วยบริการต้องกรอกข้อมูลการดูแลผู้ป่วยที่บ้านทุกครั้ง และต้องบันทึก ข้อมูลกิจกรรมบริการตามการให้บริการจริง โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยา Opioid 6 . 1 . 5 การนับวันให้บริการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เริ่มนับตั้งแต่วันที่หน่วยบริการไป ให้บริการผู้ป่วยที่บ้านวันแรก 6 . 2 กรณีการให้ยาอนุพันธ์ฝิ่น หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการจัดหายากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น ให้แก่ผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคองที่บ้านเพื่อให้ผู้ป่วยใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง โดยการจ่ายยาแต่ละครั้ง ต้องครอบคลุมการใช้อย่างน้อย 1 เดือน 6 . 2 . 1 การให้บริการ หน่วยบริการมีรหัสการวินิจฉัยโรคมะเร็งตามระบบ ICD-10 ที่เข้าเกณฑ์การให้ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น สําหรับบริการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน ตามเอกสารหมายเลข 3 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ เป็นผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย ระยะสุดท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองที่บ้าน โดยต้องบันทึกรหัสการวินิจฉัยโรค Z51.5 ร่วมกับรหัส การวินิจฉัยโรคตามที่กําหนด 6 . 2 . 2 ต้องมีรหัสยา TMT ของยากลุ่ม Opioid โดยหน่วยบริการจัดทําบัญชีรายการยา ของหน่วยบริการตามแนวทางดําเนินการในระบบปกติ ทั้งนี้ กรณีตรวจสอบพบว่าผู้ป่วยที่รับยาไม่ได้เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้ป่วย ระยะสุดท้ายที่ได้รับการดูแลที่บ้าน สํานักงานจะดําเนินการเรียกคืนเงินในส่วนนี้ต่อไป ข้อ 7 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สํานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย และกําหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 7 . 1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการวินิจฉัยของแพทย์ เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 3 . 1 แนบท้ายประกาศนี้

  • 4 - 7 . 2 พบเอกสารหลักฐาน Advance care plan 7 . 3 พบเอกสารหลักฐานบันทึกการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ตามระยะเวลาที่หน่วยบริการได้รับ การจ่ายค่าใช้จ่าย และต้องบันทึกข้อมูลกิจกรรมบริการตามการให้บริการจริง โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยา Opioid 7 . 4 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการวินิจฉัยของแพทย์ในการวินิจฉัยมะเร็ง ระยะสุดท้าย คําสั่งของแพทย์ในการสั่งจ่ายยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น และการบริหารยาครอบคลุมการใช้อย่างน้อย 1 เดือน ตามจํานวนเดือนที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายการให้ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น ข้อ 8 สํานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายในกรณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 8 . 1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 8 . 2 ตรวจสอบไม่พบการยืนยันตัวตนของผู้ป่วยเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด 8 . 3 เป็นการให้บริการซ้ําซ้อนกับการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการอื่น ๆ 8 . 4 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 7 บทเฉพาะกาล ข้อ 9 ให้การบริการและการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบประคับประคอง ที่ได้ดําเนินการมาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ . ศ . 2565 จนถึงวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ถือเป็นการดําเนินการ ตามประกาศนี้ด้วย

เอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 1 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1 . 1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่มีอาการแสดงหรือได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหายาก ประเภทกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของสารโมเลกุลเล็ก ตามเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 1 . 2 หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย เป็นหน่วยบริการที่มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย โรคหายาก มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ป่วย ทําหน้าที่เป็นศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากตามเอกสาร หมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 2 สํานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการและอัตรา ดังนี้ 2 . 1 ค่าตรวจวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยง จ่ายชดเชยเป็นค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย กลุ่มเสี่ยง ตามรายการที่กําหนด โดยจ่ายตามจริงไม่เกินอัตราที่กําหนด ตามเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้าย ประกาศนี้ 2 . 2 ค่าบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก 2 . 2 . 1 ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยโรคหายากในปีแรกสําหรับผู้ป่วยรายใหม่ นับตั้งแต่ ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคหายาก เป็นการจ่ายให้แก่หน่วยบริการที่เป็นศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ที่มีการลงทะเบียนและให้การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก โดยครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการตรวจยืนยัน การรักษาพยาบาล รวมทั้งกรณีภาวะแทรกซ้อนและการติดตามผล การรักษาที่เกี่ยวข้องกับโรคหายาก โดยจ่ายแบบเหมาจ่าย ตามเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 2 . 2 . 2 การรักษาพยาบาลหรือการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยรายเดิม จ่ายแบบเหมาจ่าย ในอัตราแต่ละกลุ่มโรค ตามเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 2 . 2 . 3 หน่วยบริการประจําและหน่วยบริการอื่นที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยโรคหายาก สามารถรับค่าใช้จ่ายได้ตามระบบปกติตามแต่ละกรณี

  • 2 - 2 . 3 การจ่ายค่าพาหนะส่งต่อและส่งกลับระหว่างหน่วยบริการและหรือชุมชน โดยให้มี การจัดระบบเป็นการเฉพาะ ครอบคลุมถึงการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่มีศักยภาพสูงกว่า การส่งต่อไปยัง ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากและการส่งกลับไปดูแลรักษาต่อเนื่องยังหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่น หรือชุมชน ทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ทั้งนี้ กรณีการส่งกลับไปยังชุมชน จ่ายค่าใช้จ่ายเฉพาะส่งกลับ จากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากเท่านั้น อัตราการจ่ายค่าพาหนะที่ใช้ทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเกี่ยวกับการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีปกป้องการได้รับบริการนอกเครือข่ายกรณีจําเป็น หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 3 ให้หน่วยบริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูลตามชุดข้อมูล มาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ (e-Claim) มายังสํานักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสํานักงาน หรือผ่านระบบโปรแกรมอื่นตามที่สํานักงาน กําหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 4 สํานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงาน การจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 4 . 1 ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามเงื่อนไขที่กําหนด ( ข้อมูล Y: Yes) สํานักงานจะจ่าย ค่าใช้จ่าย ให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 4 . 2 ข้อมูลที่ประมวลผลไม่ผ่านตามเงื่อนไขที่กําหนด หรือข้อมูลปฏิเสธการจ่าย ( ข้อมูล N: No) หน่วยบริการสามารถขอทบทวนเพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สํานักงานกําหนด ข้อ 5 หน่วยบริการและศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก สามารถขอทบทวนรายงานการจ่าย ค่าใช้จ่ายได้ภายใน 30 วันหลังได้รับรายงานการจ่ายเงิน ข้อ 6 หากพบความผิดปกติอื่นใดของข้อมูลผลงานหรือการเบิกจ่ายของหน่วยบริการนั้น ๆ สํานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย และกําหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 6 . 1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการวินิจฉัยของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแล ผู้ป่วยโรคหายาก ในการวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยง หรือวินิจฉัยโรคหายากตามที่กําหนดในเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้

  • 3 - 6 . 2 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียน หรือผลการตรวจยืนยันที่สนับสนุนการวินิจฉัย โรคหายากตามที่กําหนดในเอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศนี้ 6 . 3 พบเอกสารหลักฐานรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เป็น Official report ตามที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย 6 . 4 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนที่มีการให้บริการดูแลรักษาโรคหายาก ซึ่งครอบคลุม การรักษาพยาบาล รวมทั้งกรณีภาวะแทรกซ้อนและการติดตามผลการรักษาที่เกี่ยวข้องกับโรคหายาก ตามระยะเวลาที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายกรณีการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก 6 . 5 พบเอกสารหลักฐานใบอนุมัติ หรือการใช้ หรือบันทึกหลักฐานการใช้พาหนะส่งต่อ ของหน่วยบริการในเวชระเบียน ที่ระบุประเภทของพาหนะและระบุสถานที่รับส่งต่อ ในกรณีที่เรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายค่าพาหนะส่งต่อและส่งกลับ ข้อ 7 สํานักงานจะพิจารณาปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายในกรณีอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 7 . 1 การให้บริการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามหมวด 1 7 . 2 กรณีที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแล้วพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ หลักฐานการให้บริการตามข้อ 7 บทเฉพาะกาล ข้อ 8 ให้การบริการและการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ที่ได้ดําเนินการมาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ . ศ . 2565 จนถึงวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ถือเป็นการดําเนินการ ตามประกาศนี้ด้วย

เอกสารหมายเลข 2 . 1 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลผู้ป่วยวัณโรครวมทั้งการรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง อัตราการจ่ายบริการรักษา การตรวจ และติดตามการรักษา รายการ อัตราการจ่าย 1 . บริการตรวจการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ค่าทดสอบปฏิกิริยาทุเบอร์คูลิน (Tuberculin Skin Test: TST) 40 บาทต่อครั้งต่อปี ไม่เกิน 1 ครั้งต่อปี 2 . การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐานเพื่อติดตามการรักษาวัณโรค ( 1 ) ค่าตรวจ AFB ( เฉพาะเสมหะ ) 20 บาทต่อตัวอย่าง ( ไม่เกิน 3 ตัวอย่าง ) ( 2 ) ค่าตรวจ CXR 100 บาทต่อครั้ง 3 . การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย หรือติดตามการรักษาวัณโรคดื้อยา 3 . 1 การตรวจด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเชื้อ Culture ( 1 ) เทคนิค Solid Media 200 บาทต่อตัวอย่าง ( 2 ) เทคนิค Liquid Media 300 บาทต่อตัวอย่าง 3 . 2 การตรวจหาเชื้อดื้อยา First-line drugs ( 1 ) TB-LAMP วินิจฉัยวัณโรค / ตรวจหาเชื้อ MTB 200 บาทต่อครั้ง ( 2 ) Real-time PCR (Xpert MTB/RIF) จ่ายรวม 500 บาทต่อครั้ง - วินิจฉัยวัณโรค / ตรวจหาเชื้อ MTB 400 บาทต่อครั้ง - ตรวจหาเชื้อดื้อยา Rifampicin ( ชนิดเดียว ) 100 บาทต่อครั้ง ( 3 ) Real-time PCR MTB/MDR (Anyplex) จ่ายรวม 600 บาทต่อครั้ง - วินิจฉัยวัณโรค / ตรวจหาเชื้อ MTB 400 บาทต่อครั้ง - ตรวจหาเชื้อดื้อยา Isoniazid แล Rifampicin ( 2 ชนิด ) 200 บาทต่อครั้ง ( 4 ) Line Probe Assay (LPA) จ่ายรวม 600 บาทต่อครั้ง - วินิจฉัยวัณโรค / ตรวจหาเชื้อ MTB 400 บาทต่อครั้ง - ตรวจหาเชื้อดื้อยา Isoniazid และ Rifampicin ( 2 ชนิด ) 200 บาทต่อครั้ง 3 . 3 การตรวจหาเชื้อดื้อยา Second-line drugs ( 1 ) Line Probe Assay (FQ และ AG/CP) หรือ 700 บาทต่อครั้ง ( 2 ) Real-time PCR MTB/XDR (FQ และ AG/CP) 4 . บริการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่มารับการรักษาและติดตาม บริการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่มารับการรักษาและติดตาม 20 บาทต่อครั้ง

  • 2 - หมายเหตุ : 1 ) อัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายค่าบริการต่อครั้ง หมายความถึงต่อครั้งของการตรวจรู้ผล 2 ) กรณีหน่วยบริการส่งตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา (First line drug) ด้วยวิธีการตรวจเพาะเลี้ยง เชื้อวัณโรค (Culture) แล้ว จะไม่สามารถตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยาด้วยวิธี Molecular assay 3 ) การตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อวัณโรค (Culture) และการตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรค (DST) เพื่อยืนยันผลการวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา (First line drug) ด้วยวิธี Molecular assay จะทําได้เฉพาะเทคนิค Solid media เท่านั้น

เอกสารหมายเลข 3 . 1 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลแบบประคับประคอง รหัสโรคตามระบบ ICD-10 ที่เข้าเกณฑ์การจัดบริการดูแลแบบประคับประคองสําหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่บ้าน 1 . โรคมะเร็งระยะแพร่กระจาย รหัส C00-C96 หรือ D37-D48 ( ไม่มีรหัส ICD-10 เฉพาะบ่งชี้ระยะ แพร่กระจาย ) 2 . โรคหลอดเลือดสมองแตก / ตีบ (Stroke) รหัส I60-I69 3 . โรคไตเรื้อรังระยะรุนแรง (Advanced chronic kidney disease) รหัส N18.5 4 . โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระยะรุนแรง Chronic obstructive pulmonary disease (COPD) รหัส J44 ( ไม่มีรหัส ICD-10 เฉพาะบ่งชี้ระดับความรุนแรง ) 5 . ภาวะเอดส์เต็มขั้น (Full-Blown AIDS/ Progression of AIDS) รหัส B20-B24 ยกเว้น B23.0, B23.1 ( ไม่มีรหัส ICD-10 เฉพาะบ่งชี้ระดับความรุนแรง ) 6 . ภาวะตับล้มเหลว Hepatic failure รหัส K72 หรือ Alcoholic hepatic failure (K70.4) หรือ Hepatic failure with toxic liver disease (K71.7) 7 . ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure) รหัส I50 8 . ผู้ป่วยเด็ก ( โรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง โรคสมองพิการ โรคเมตาโบลิค ภาวะความผิดปกติทางพันธุกรรม ที่รุนแรง ภาวะคลอดก่อนกําหนด ฯลฯ ) มีรหัส ICD-10 ที่หลากหลาย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจ่าย ค่าตอบแทนผู้ป่วยเด็ก ให้ใช้อายุร่วมกับรหัส Z51.5 เพราะการใช้ Morphine เด็กมีน้อยมาก และการจ่าย ค่าดูแลต่อเนื่องที่บ้านจะจ่ายย้อนหลังนับจากวันเสียชีวิต หมายเหตุ : ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) รหัส F00-F03 และผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง รหัส R54 ที่ไม่มีโรคร่วมตามรหัสดังกล่าว ถือว่าไม่เข้าเกณฑ์ แนะนําให้ลงทะเบียนเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุขสําหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (long term care (LTC)) รายละเอียดรหัสโรคหลัก ICD-10 รหัสโรค คําอธิบาย รหัสกลุ่ม B B200 HIV disease resulting in mycobacterial infection B201 HIV disease resulting in other bacterial infections B202 HIV disease resulting in cytomegaloviral disaese B203 HIV disease resulting in other viral infections B204 HIV disease resulting in candidiasis B205 HIV disease resulting in other mycoses

  • 2 - รหัสโรค คําอธิบาย B206 HIV disease resulting in Pneumocystis carinii pneumonia B207 HIV disease resulting in multiple infections B208 HIV disease resulting in other infectious and parasitic diseases B209 HIV disease resulting in unspecified infectious or parasitic disease B210 HIV disease resulting in Kaposi’s sarcoma B211 HIV disease resulting in Burkitt’s lymphoma B212 HIV disease resulting in other types of non-Hodgkin’s lymphoma B213 HIV disease resulting in other malignant neoplasms of lymphoid, haematopoietic and related B217 HIV disease resulting in multiple malignant neoplasms B218 HIV disease resulting in other malignant neoplasms B219 HIV disease resulting in unspecified malignant neoplasm B220 HIV disease resulting in encephalopathy B221 HIV disease resulting in lymphoid interstitial pneumonitis B222 HIV disease resulting in wasting syndrome B227 HIV disease resulting in multiple diseases classified elsewhere B238 HIV disease resulting in other specified conditions B24 Unspecified human immunodeficie virus (HIV) disease รหัสกลุ่ม C โรคมะเร็ง C000 External upper lip C001 External lower lip C002 External lip, unspecified C003 Upper lip, inner aspect C004 Lower lip, inner aspect C005 Lip, unspecified, inner aspect C006 Commissure of lip malignant neoplasm C008 Overlapping lesion of lip C009 Lip unspecified C01 Malignant neoplasm of base of tongue C020 Dorsal suface of tongue C0210 Tip of tongue C0211 Lateral border of tongue C0219 Border of tongue unspecified C022 Ventral suface of tongue C023 Anterior two-thirds of tongue, part unspecified C024 Lingual tonsil

  • 3 - รหัสโรค คําอธิบาย C028 Overlapping lesion of tongue C029 Tongue malignant C030 Upper gum C031 Lower gum C039 Gum unspecified C040 Anterior floor of mouth C041 Lateral floor of mouth C048 Overlapping lesion of floor of mouth C049 Floor of mouth unspecified C050 Hard palate C051 Soft palate C052 Uvula C058 Overlapping lesion of palate C059 Palate unspecified C060 Cheek mucosa C0610 Upper labial sulcus C0611 Upper buccal sulcus C0612 Lower labial sulcus C0613 Lower buccal sulcus C0614 Upper sulcus, unspecified C0615 Lower sulcus, unspecified C0619 Vestibule of mouth, unspecified C0620 Maxillary tuberosity C0621 Mandibular retromolar area C0629 Retromolar area, unspecified C068 Overlapping lesion of other and unspecified parts of mouth C069 Mouth unspecified C07 Malignant neoplasm of parotid gland C080 Submandibular gland C081 Sublingual gland C088 Overlapping lesion of major salivary glands C089 Major salivary gland unspecified C090 Tonsillar fossa C091 Tonsillar pillar (anterior) (posterior) C098 Overlapping lesion of tonsil

  • 4 - รหัสโรค คําอธิบาย C099 Tonsil unspecified C100 Vallecula malignant neoplasm C101 Anterior surface of epiglottis C102 Lateral wall of oropharynx C103 Posterior wall of oropharynx C104 Branchial cleft C108 Overlapping lesion of of oropharynx C109 Oropharynx unspecified C110 Superior wall of nasopharynx C111 Posterior wall of nasopharynx C112 Lateral wall of nasopharynx C113 Anterior wall of nasopharynx C118 Overlapping lesion of nasopharynx C119 Nasopharynx unspecified C12 Malignant neoplasm of pyriform sinus C130 Postcricoid region C131 Aryepiglottic fold hypopharyngeal aspect C132 Posterior wall of hypopharynx C138 Overlapping lesion of hypopharynx C139 Hypopharynx unspecified C140 Pharynx unspecified C142 Waldeyer’s ring C148 Overlapping lesion of lip, oral cavity and pharynx C150 Cervical part of oesophagus C151 Thoracic part of oesophagus C152 Abdominal part of oesophagus C153 Upper third of oesophagus C154 Middle third of oesophagus C155 Lower third of oesophagus C158 Overlapping lesion of oesophagus C159 Oesophagus unspecified C160 Cardia C161 Fundus of stomach C162 Body of stomach C163 Pyloric antrum

  • 5 - รหัสโรค คําอธิบาย C164 Pylorus C165 Lesser curvature of stomach unspecified C166 Greater curvature of stomach unspecified C168 Overlapping lesion of stomach C169 Stomach unspecified C170 Duodenum C171 Jejunum C172 IIeum C173 Meckel’s diverticulum C178 Overlapping lesion of small intestine C179 Small intestine unspecified C180 Caecum C181 Appendix C182 Ascending colon C183 Hepatic flexure C184 Transverse colon C185 Splenic flexure C186 Descending colon C187 Sigmoid colon C188 Overlapping lesion of colon C189 Colon unspecified C19 Malignant neoplasm of rectosigmoid junction C20 Malignant neoplasm of rectum C210 Anus unspecified C211 Anal canal C212 Cloacogenic zone C218 Overlapping lesion of rectum, anus and anal canal C220 Liver cell carcinoma C221 Intrahepatic bile duct carcinoma C222 Hepatoblastoma C223 Angiosarcoma of liver C224 Other sarcomas of liver C227 Other specified carcinomas of liver C229 Liver unspecified C23 Malignant neoplasm of gallbladder

  • 6 - รหัสโรค คําอธิบาย C240 Extrahepatic bile duct C241 Ampulla of Vater C248 Overlapping lesion of biliary tract C249 Biliary tract unspecified C250 Head of pancreas C251 Body of pancreas C252 Tail of pancreas C253 Pancreatic duct C254 Endocrine pancreas C257 Other parts of pancreas C258 Overlapping lesion of pancreas C259 Pancreas unspecified C260 Intestinal tract part unspecified C261 Spleen C268 Overlapping lesion of digestive system C269 Ill-defined sites within the digestive system C300 Nasal cavity C301 Middle ear C310 Maxillary sinus C311 Ethmoidal sinus C312 Frontal sinus C313 Sphenoidal sinus C318 Overlapping lesion of accessory sinuses C319 Accessory sinus unspecified C320 Glottis C321 Supraglottis C322 Subglottis C323 Laryngeal cartilage C328 Overalapping lesion of larynx C329 Larynx unspecified C33 Malignant neoplasm of trachea C340 Main bronchus C341 Upper lobe, bronchus or lung C342 Middle lobe, bronchus or lung C343 Lower lobe, bronchus or lung

  • 7 - รหัสโรค คําอธิบาย C348 Overlapping lesion of bronchus and lung C349 Bronchus or lung unspecified C37 Malignant neoplasm of thymus C380 Heart C381 Anterior mediastinum C382 Posterior mediastinum C383 Mediastinum part unspecified C384 Pleura C388 Overlapping lesion of heart, mediastinum and pleura C390 Upper respiratory tract part unspecified C398 Overlapping lesion of respiratory and intrathoracic organs C399 Ill-defined sites within the respiratory system C400 Scapula and long bones of upper limb C401 Short bones of upper limb C402 Long bones of lower limb C403 Short bones of lower limb C408 Overlapping lesion of bone and articular cartilage of limbs C409 Bone and articular cartilage of limb unspecified C4100 Maxilla, sarcoma C4101 Maxilla, malignant odontogenic tumour C4102 Maxilla, malignant intraosseous salivary gland tumour C4108 Other bone of skull and face C4109 Bone of skull and face, unspecified C4110 Sarcoma C4111 Malignant odontogenic tumour C4119 Mandible, unspecified C412 Vertebral column C413 Ribs, sternum and clavicle C414 Pelvic bones, sacrum and coccyx C418 Overlapping lesion of bone and articular cartilage C419 Bone and articular cartilage unspecified C430 Malignant melanoma of lip C431 Malignant melanoma of eyelid, including canthus C432 Malignant melanoma of ear and external auricular canal C433 Malignant melanoma of other and unspecified parts of face

  • 8 - รหัสโรค คําอธิบาย C434 Malignant melanoma of scalp and neck C435 Malignant melanoma of trunk C436 Malignant melanoma of upper limb, inculuding shoulder C437 Malignant melanoma of lower limb, including hip C438 Overlapping malignant melanoma of skin C439 Malignant melanoma of skin, unspecified C440 Skin of lip C441 Skin of eyelid, including canthus C442 Skin of ear and external auricular canal C443 Skin of other and unspecified parts of face C444 Skin of scalp and neck C445 Skin of trunk C446 Skin of upper limb, including shoulder C447 Skin of lower limb, including hip C448 Overlapping lesion of skin C449 Malignant neoplasm of skin unspecified C450 Mesothelioma of pleura C451 Mesothelioma of peritoneum C452 Mesothelioma of pericardium C457 Mesothelioma of other sites C459 Mesothelioma, unspecified C460 Kaposi’s sarcoma of skin C461 Kaposi’s sarcoma of soft tissue C462 Kaposi’s sarcoma of palate C463 Kaposi’s sarcoma of lymph nodes C467 Kaposi’s sarcoma of other sites C468 Kaposi’s sarcoma of multiple organs C469 Kaposi’s sarcoma, unspecified C470 Peripheral nerves of head, face and neck C471 Peripheral nerves of upper limb, including shoulder C472 Peripheral nerves of of lower limb, inculiding hip C473 Peripheral nerves of of thorax C474 Peripheral nerves of of abdomen C475 Peripheral nerves of pelvis C476 Peripheral nerves of trunk unspecified

  • 9 - รหัสโรค คําอธิบาย C478 Overlapping lesion of peripheral nerves and autonomic nervous system C479 Peripheral nerves and autonomic nervous system unspecified C480 Retroperitoneum C481 Specified parts of peritoneum C482 Peritoneum malignant C488 Overlapping lesion of retroperitoneum and peritoneum C490 Connective and soft tissue of head, face and neck C491 Connective and soft tissue of upper limb, including shoulder C492 Connective and soft tissue of lower limb, including hip C493 Connective and soft tissue of thorax C494 Connective and soft tissue of abdomen C495 Connective and soft tissue of pelvis C496 Connective and soft tissue of trunk unspecified C498 Overlapping lesion of connective and soft tissue C499 Connective and soft tissue unspecified C500 Nipple and areola C501 Central portion of breast C502 Upper-inner quadrant of breast C503 Lower-inner quadrant of breast C504 Upper-outer quadrant of breast C505 Lower-outer quadrant of breast C506 Axillary tail of breast C508 Overlapping lesion of breast C509 Breast unspecified C510 Labium majus C511 Labium minus C512 Clitoris C518 Overlapping lesion of vulva C519 Vulva unspecified C52 Malignant neoplasm of vagina C530 Endocervix C531 Exocervix C538 Overlapping lesion of cervix uteri C539 Cervix uteri unspecified C540 Isthmus uteri

  • 10 - รหัสโรค คําอธิบาย C541 Endometrium C542 Myometrium C543 Fundus uteri C548 Overlapping lesion of corpus uteri C549 Corpus uteri unspecified C55 Malignant neoplasm of uterus, part unspecified C56 Malignant neoplasm of ovary C570 Fallopian tube C571 Broad ligament C572 Round ligament C573 Parametrium C574 Uterine adnexa unspecified C577 Other specified female genital organs C578 Overlapping lesion of female genital organs C579 Female genital organ unspecified C58 Malignant neoplasm of placenta C600 Preuce C601 Glans penis C602 Body of penis C608 Overlapping lesion of penis C609 Penis unspecified C61 Malignant neoplasm of prostate C620 Undescended testis C621 Descended testis C629 Testis unspecified C630 Epididymis C631 Spermatic cord C632 Scrotum C637 Other specified male genital organs C638 Overalapping lesion of male genial organs C639 Male genital organ unspecified C64 Malignant neoplasm of kidney,except renal pelvis C65 Malignant neoplasm of renal pelvis C66 Malignant neoplasm of ureter C670 Trigone of bladder

  • 11 - รหัสโรค คําอธิบาย C671 Dome of bladder C672 Lateral wall of bladder C673 Anterior wall of bladder C674 Posterior wall of bladder C675 Bladder neck C676 Ureteric orifice C677 Urachus C678 Overlapping lesion of bladder C679 Bladder unspecified C680 Urethra C681 Paraurethral gland C688 Overlapping lesion of urinary organs C689 Urinary organ unspecified C690 Conjunctiva C691 Cornea C692 Retina C693 Choroid C694 Ciliary body C695 Lacrimal gland and duct C696 Orbit C698 Overlapping lesion of eye and adnexa C699 Eye unspecified C700 Cerebral meninges C701 Spinal meninges C709 Meninges unspecified C710 Cerebrum except lobes and ventricles C711 Frontal lobe C712 Temporal lobe C713 Parietal lobe C714 Occipital lobe C715 Cerebral ventricle C716 Cerebellum C717 Brain stem C718 Overlapping lesion of brain C719 Brain unspecified

  • 12 - รหัสโรค คําอธิบาย C720 Spinal cord C721 Cauda equina C722 Olfactory nerve C723 Optic nerve C724 Acoustic nerve C725 Other and unspecified cranial nerves C728 Overlapping lesion of brain and other parts of central nevous system C729 Central nevous system unspecified C73 Malignant neoplasm of thyroid gland C740 Cortex of adrenal gland C741 Medulla of adrenal gland C749 Adrenal gland unspecified C750 Parathyroid gland C751 Pituitary gland C752 Craniopharyngeal duct C753 Pineal gland C754 Carotid body C755 Aortic body and other paraganglia C758 Pluriglandular involvement unspecified C759 Endocrine gland unspecified C760 Head, face and neck C761 Thorax C762 Abdomen C763 Pelvis C764 Upper limb C765 Lower limb C767 Other iII-defined sites C768 Overlapping lesion of other and iII-defined sites C770 Lymph nodes of head, face and neck C771 Intrathoracic lymph nodes C772 Intra-abdominal lymph nodes C773 Axillary and upper limb lymph nodes C774 Inguinal and lower limb lymph nodes C775 Intrapelvic lymph nodes C778 Lymph nodes of multiple regions

  • 13 - รหัสโรค คําอธิบาย C779 Lymph nodes unspecified C780 Secondary malignant neoplasm of lung C781 Secondary malignant neoplasm of mediastinum C782 Secondary malignant neoplasm of pleura C783 Secondary malignant neoplasm of other and unspecified respiratory organs C784 Secondary malignant neoplasm of small intestine C785 Secondary malignant neoplasm of large intestine and rectum C786 Secondary malignant neoplasm of retroperitoneum and peritoneum C787 Secondary malignant neoplasm of liver C788 Secondary malignant neoplasm of other and unspecified digestive organs C790 Secondary malignant neoplasm of kidney and renal pelvis C791 Secondary malignant neoplasm of bladder and other and unspecified urinary organs C792 Secondary malignant neoplasm of skin C793 Secondary malignant neoplasm of brain and cerebral meninges C794 Secondary malignant neoplasm of other and unspecified parts of nervous system C795 Secondary malignant neoplasm of bone and bone marrow C796 Secondary malignant neoplasm of ovary C797 Secondary malignant neoplasm of adrenal gland C798 Secondary malignant neoplasm of other specified sites C799 Secondary malignant neoplasm, unspecified site C80 Malignant neoplasm without specification of site C800 Malignant neoplasm, primary site unknown so stated C809 Malignant neoplasm, unspecified C810 Nodular lymphocyte predominant Hodgkin lymphoma C811 Nodular sclerosis classical Hodgkin lymphoma C812 Mixed cellularity classical Hodgkin lymphoma C813 Lymphocytic depletion classical Hodgkin lymphoma C817 Other classical Hodgkin lymphoma C819 Hodgkinlymphoma unspecified C820 Follicular lymphoma grade I C821 Follicular lymphoma grade II C822 Follicular lymphoma grade III, and unspecified C823 Follicular lymphoma grade IIIa C824 Follicular lymphoma grade IIIb C825 Diffuse follicle centre lymphoma

  • 14 - รหัสโรค คําอธิบาย C826 Cutaneous follicle centre lymphoma C827 Other types of follicular lymphoma C829 Follicular lymphoma, unspecified C830 Small cell B-cell lymphoma C831 Mantle cell lymphoma C833 Diffuse large B-cell lymphoma C835 Lymphoblastic (diffuse) C837 Burkitt’s lymphoma C838 Other non-follicular lymphoma C839 Non-follicular Diffuse non-Hodgkin’s lymphoma, unspecified C840 Mycosis fungoides C841 Sezary’s disease C844 Peripheral T-cell lymphoma, not elsewhere classified C845 Other and unspecified T-cell lymphomas C846 Anaplastic large cell lymphoma, ALK-positive C847 Anaplastic large cell lymphoma, ALK-negative C848 Cutaneous T-cell lymphoma, unspecified C849 Mature T/NK-cell lymphoma, unspecified C851 B-cell lymphoma, unspecified C852 Mediastinal (thymic) large B-cell lymphoma C857 Other specified types of non-Hodgkin’s lymphoma C859 Non-Hodgkin’s lymphoma, unspecified C860 Extranodal NK/T-cell lymphoma, nasal type C861 Hepatosplenic T-cell lymphoma C862 Enteropathy-type (intestinal) T-cell lymphoma C863 Subcutaneous panniculitis-like T-cell lymphoma C864 Blastic NK-cell lymphoma C865 Angioimmunoblastic T-cell lymphoma C866 Primary cutaneous CD30-positive T-cell proliferations C880 Waldenstrom’s macroglobulinaemia C881 Alpha heavy chain disease C882 Gamma heavy chain disease C883 Immunoproliferative small intestinal disease C887 Other malignant immunoproliferative diseases C889 Malignant immunoproliferative disease, unspecified

  • 15 - รหัสโรค คําอธิบาย C900 Multiple myeloma C901 Plasma cell leukaemia C902 Extramedullary plasmacytoma C903 Solitary plasmacytoma C910 Acute lymphoblastic leukaemia [ALL] C911 Chronic lymphocytic leukaemia of B-cell type C913 Prolymphocytic leukaemia of B-cell type C914 Hairy-cell leukaemia C915 Adult T-cell leukaemia / leukaemia (HTLV-1-associated) C917 Other lymphoid leukaemia C918 Mature B-cell leukaemia, Burkitt-type C919 Lymphoid leukaemia, unspecified C920 Acute myeloid leukaemia [AML] C921 Chronic myeloid leukaemia [CML], BCR/ABL –positive C922 Atypical chronic myeloid leukaemia C923 Myeloid sarcoma C924 Acute promyelocytic leukaemia [PML] C925 Acute myelomonocytic leukaemia C926 Acute myeloid leukaemia with 11q23-abnormality C927 Other myeloid leukaemia C928 Acute myeloid leukaemia with multilineage dysplasia C929 Myeloid leukaemia, unspecified C930 Acute monocytic/monocytic leukaemia C931 Chronic monocytic leukaemia C932 Subacute monocytic leukemia C933 Juvenile myelomonocytic leukaemia C937 Other monocytic leukaemia C939 Monocytic leukarmia, unspecified C940 Acute erythroid leukaemia C941 Chronic erythraemia C942 Acute megakaryoblastic leukaemia C943 Mast cell leukaemia C944 Acute panmyelosis with myelofibrosis C946 Myelodysplastic and myeloproliferative disease, not classified C947 Other specified leukaemias

  • 16 - รหัสโรค คําอธิบาย C950 Acute leukaemia of unspecified cell type C951 Chronic leukaemia of unspecified cell type C952 Subacute leukaemia of unspecified cell type C957 Other leukaemia of unspecified cell type C959 Leukaemia, unspecirfied C960 Multifocal and multisystemic (disseminated) Langerhans-cell histiocytosis [Letterer-Siwe C962 Malignant mast cell tumour C965 Multifocal and unisystemic Langerhans-cell histiocytosis C966 Unifocal Langerhans-cell histiocytosis C967 Other specified malignant neoplasms of lymphoid, haematopoietic and related tissue C968 Histiocytic sarcoma C969 Malignant neoplasm of lymphoid, haematopoietic and related tissue, unspecified C97 Malignant neoplasms of independent (primary) multiple sites รหัสกลุ่ม D D37 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of oral cavity and digestive organs D370 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Lip, oral cavity and pharynx D371 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Stomach D372 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Small intestine D373 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Appendix D374 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Colon D375 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Rectum D376 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Liver, gallbladder and bile ducts D377 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Other digestive organs D379 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of Digestive organ unspecified D38 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of middle ear and respiratory and intrathoracic D380 Larynx D381 Trachea, bronchus and lung D382 Pleura D383 Mediastinum D384 Thymus D385 Other respiratory organs D386 Respiratory organ unspecified D39 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of female genital organs D390 Uterus D391 Ovary

  • 17 - รหัสโรค คําอธิบาย D392 Placenta D397 Other female genital organs D399 Female genital organ unspecified D400 Prostate D40 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of male genital organs D401 Testis D407 Other male genital organs D409 Male genital organ unspecified D41 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of urinary organs D410 Kidney D411 Renal pelvis D412 Ureter D413 Urethra D414 Bladder D417 Other urinary organs D419 Urinary organ unspecified D42 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of meninges D420 Cerebral meninges D421 Spinal meninges neoplasm D429 Meninges unspecified D43 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of brain and central nervous system D430 Brain supratentorial D431 Brain infratentorial D432 Brain unspecified D433 Cranial nerves D434 Spinal cord D437 Other parts of central nervous system D439 Central nervous system unspecified D44 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of endocrine glands D440 Thyroid gland D441 Adrenal gland D442 Parathyroid gland D443 Pituitary gland D444 Craniopharyngeal duct D445 Pineal gland

  • 18 - รหัสโรค คําอธิบาย D446 Carotid body D447 Aortic body and other paraganglia D448 Pluriglandular involvement D449 Endocrine gland unspecified D45 Polycythaemia vera D46 Myelodysplastic syndromes D460 Refractory anaemia without sideroblasts, so stated D461 Refractory anaemia with sideroblasts D462 Refractory anaemia with excess of blasts D463 Refractory anaemia with excess of blasts with transformation D464 Refractory anaemia, unspecified D467 Other myelodysplastic syndromes D469 Myelodysplastic syndrome, unspecified D47 Other neoplasms of uncertain or unknown behaviour of lymphoid, haematopoietic and D470 Histiocytic and mast cell tumours of uncertain and unknow behaviour D471 Chronic myeloproliferative disease D472 Monoclonal gammopathy of undetermined significance [MGUS] D473 Essential (haemorrhagic) thrombocythaemia D474 Osteomyelofibrosis D475 Chronic eosinophilic leukaemia [hypereosinophilic syndrome D477 Other specified neoplasms of uncertain or unknown behaviour of lymphoid, haematopoietic D479 Neoplasm of uncertain or unknow behaviour of lymphoid, haematopoietic and related tissue, D48 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour of other and unspecified sites D480 Bone and articular cartilage D481 Connective and other soft tissue D482 Peripheral nerves and autonomic nervous system D483 Retroperitoneum D484 Peritoneum D485 Skin D486 Breast D487 Other specified sites D489 Neoplasm of uncertain or unknown behaviour, unspecified รหัสกลุ่ม I I500 Congestive heart failure I501 Left ventricular failure

  • 19 - รหัสโรค คําอธิบาย I509 Heart failure, unspecified I600 Subarachnoid haemorrhage from carotid siphon and bifurcation I601 Subarachnoid haemorrhage from middle cerebral artery I602 Subarachnoid haemorrhage from anterior communicating artery I603 Subarachnoid haemorrhage from posterior communicating artery I604 Subarachnoid haemorrhage from basilar artery I605 Subarachnoid haemorrhage from vertebral artery I606 Subarachnoid haemorrhage from other intracranial arteries I607 Subarachnoid haemorrhage from intracranial artery, unspecified I608 Other subarachnoid haemorrhage I609 Subarachnoid haemorrhage, unspecified I610 Intracerebral haemorrhage in hemisphere, subcortical I611 Intracerebral haemorrhage in hemisphere, cortical I612 Intracerebral haemorrhage in hemisphere, unspecified I613 Intracerebral haemorrhage in brain stem I614 Intracerebral haemorrhage in cerebellum I615 Intracerebral haemorrhage, intraventricular I616 Intracerebral haemorrhage, multiple localized I618 Other intracerebral haemorrhage I619 Intracerebral haemorrhage, unspecified I620 Subdural haemorrhage (acute)(nontraumatic) I621 Nontraumatic extradural haemorrhage I629 Intracranial haemorrhage (nontraumatic), unspecified I630 Cerebral infarction due to thrombosis of precerebral arteries I631 Cerebral infarction due to embolism of precerebral arteries I632 Cerebral infarction due to unspecified occlusion or stenosis of precerebral arteries I633 Cerebral infarction due to thrombosis of cerebral arteries I634 Cerebral infarction due to embolism of cerebral arteries I635 Cerebral infarction due to unspecified occlusion or stenosis of cerebral arteries I636 Cerebral infarction due to cerebral venous thrombosis, nonpyogenic I638 Other cerebral infarction I639 Cerebral infarction, unspecified I64 Stroke,not specified as haemorrhage or infarction I650 Occlusion and stenosis of vertebral artery I651 Occlusion and stenosis of basilar artery

  • 20 - รหัสโรค คําอธิบาย I652 Occlusion and stenosis of carotid artery I653 Occlusion and stenosis of multiple and bilateral precerebral arteries I658 Occlusion and stenosis of other precerebral artery I659 Occlusion and stenosis of unspecified precerebral artery I660 Occlusion and stenosis of middle cerebral artery I661 Occlusion and stenosis of anterior cerebral artery I662 Occlusion and stenosis of posterior cerebral artery I663 Occlusion and stenosis of cerebellar arteries I664 Occlusion and stenosis of multiple and bilateral cerebral arteries I668 Occlusion and stenosis of other cerebral artery I669 Occlusion and stenosis of unspecified cerebral artery I670 Dissection of cerebral arteries, nonruptured I671 Cerebral aneurysm, nonruptured I672 Cerebral atherosclerosis I673 Progressive vascular leukoencephalopathy I674 Hypertensive encephalopathy I675 Moyamoya disease I676 Nonpyogenic thrombosis of intracranial venous system I677 Cerebral arteritis, not elsewhere classified I678 Other specified cerebrovascular diseases I679 Cerebrovascular disease, unspecified I680 Cerebral amyloid angiopathy (E85.-*] I681 Cerebral arteristis in infectious and parasitic diseases classified elsewhere I682 Cerebral arteristis in other diseases classified elsewhere I688 Other cerebrovascular disorders in diseases classified elsewhere I690 Sequelae of subarachnoid haemorrhage I691 Sequelae of intracerebral haemorrhage I692 Sequelae of other nontraumatic intracranial haemorrhage I693 Sequelae of cerebral infarction I694 Sequelae of stroke, not specified as haemorrhage or infarction I698 Sequelae of other and unspecified cerebrovascular diseases รหัสกลุ่ม J J440 Chronic obstructive pulmonary disease with acute lower respiratory infection J441 Chronic obstructive pulmonary disease with acute exacerbation, unspecified J448 Other specified chronic obstructive pulmonary disease

  • 21 - รหัสโรค คําอธิบาย J449 Chronic obstructive pulmonary disease, unspecified รหัสกลุ่ม K K704 Alcoholic hepatic failure K717 Toxic liver disease with fibrosis and cirrhosis of liver K720 Acute and subacute hepatic failure K721 Chronic hepatic failure K729 Hepatic failure, unspecified รหัสกลุ่ม N N185 Chronic kidney disease, stage 5 รหัสกลุ่ม Z Z515 Palliative care Z718 Other specified counselling หมายเหตุ : กิจกรรม Z71.8 เมื่อวินิจฉัยคู่กับ Palliative care (Z51.5) จะหมายถึง การทํา Advance care planning จัดทําโดยคณะกรรมการ Pallaitive care กรมการแพทย์ วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

เอกสารหมายเลข 3 . 2 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 อัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ได้รับการดูแลที่บ้าน ระยะเวลา ที่ดูแลผู้ป่วย ค่าบริการ รายเดือน ( บาท ) * ค่าบริการ Fix cost ( บาท ) ** รวม ( บาท ) ภายใน เดือนที่ 1 1 , 000 3 , 000 4 , 000 ภายใน เดือนที่ 2 1 , 000 + 1 , 000 3 , 000 5 , 000 ภายใน เดือนที่ 3 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 3 , 000 6 , 000 ภายใน เดือนที่ 4 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 3 , 000 7 , 000 ภายใน เดือนที่ 5 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 3 , 000 8 , 000 ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 + 1 , 000 3 , 000 9 , 000 หมายเหตุ : * จ่ายทุกเดือน และหยุดจ่ายเมื่อครบ 6 เดือน ** จ่ายครั้งเดียวเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต

เอกสารหมายเลข 4 . 1 แนบท้ายประกาศสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการเฉพาะโรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค พ . ศ . 2566 ลงวันที่ 8 เมษายน พ . ศ . 2566 การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ก . โรคที่มีความผิดปกติของสารโมเลกุลเล็ก (Disorders of small molecules) ข . ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ค . อัตราและเงื่อนไขการขอรับค่าใช้จ่าย ก . โรคที่มีความผิดปกติของสารโมเลกุลเล็ก (Disorders of small molecules) ลําดับ ชื่อโรค ICD 10 ORPHA ลําดับ ชื่อโรค ICD 10 ORPHA 1 Other Organic aciduria (acidemia) E71.1 289899 13 Arginase de fi ciency (argininemia) E72.2 90 2 Propionic acidemia E71.1 35 14 Phenylketonuria E70.0, E70.1 716 3 Methylmalonic acidemia E71.1 27 15 Other specified disorders of amino acid metabolism E72.8 394, 407 4 Cobalamine defect E71.1 26 16 NICCD (Neonatal intrahepatic cholestasis caused by citrin deficiency) E72.2 247598 5 Isovaleric acidemia E71.1 33 17 Citrullinemia type 2 E72.2 247585 6 Glutaric acidemia type1 E72.3 25 18 Tyrosinemia type 1 E70.2 882 7 Maple syrup urine disease (MSUD) E71.0 511 19 Disorders of Fatty acid oxidation and ketogenesis E71.3 309115 8 Urea cycle disorders, unspecified enzyme defect E72.2 79167 20 Disorders of Carnitine cycle and Carnitine transport E71.3 309130 9 Ornithine transcarbamylase (OTC) deficiency E72.4 664 21 Systemic primary carnitine deficiency E71.3 158 10 NAGS deficiency E72.2 927 22 Tetrahydrobiopterin (BH4) deficiency E70.1 238583 11 Citrullinemia type 1 E72.2 247525 23 Multiple carboxylase deficiency: E53.8 79241

  • 2 - ลําดับ ชื่อโรค ICD 10 ORPHA ลําดับ ชื่อโรค ICD 10 ORPHA Biotinidase deficiency 12 Argininosuccinic aciduria (ASS deficiency) E72.2 23 24 Multiple carboxylase deficiency: Holocarboxylase deficiency E53.8 79242 ข . ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ป่วย โรคหายาก จํานวน 7 แห่ง ตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดังนี้ ( 1 ) โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ( 2 ) โรงพยาบาลศิริราช ( 3 ) โรงพยาบาลรามาธิบดี ( 4 ) สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ( 5 ) โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ( 6 ) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ( 7 ) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมถึงหน่วยบริการอื่น ๆ ที่มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก และแจ้งความจํานงเข้าร่วม ให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก การจัดระบบบริการ ( 1 ) หน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่นที่ตรวจรักษาผู้ป่วยเบื้องต้น หากสงสัยว่าเป็นผู้ป่วยที่มี ความผิดปกติของสารโมเลกุลเล็ก (Disorders of small molecules) แพทย์ผู้รักษาสามารถปรึกษาแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ตามเครือข่ายบริการที่กําหนด ( 2 ) หน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่น เก็บตัวอย่าง specimen ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการไปยัง หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการตรวจ ( 3 ) หากผลการตรวจวินิจฉัย พบว่าอยู่ในกลุ่มโรคหายากตามที่กําหนด แพทย์ผู้ดูแลในหน่วยบริการ ประจําหรือหน่วยบริการอื่นส่งต่อผู้ป่วยไปรักษายังศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ตามเครือข่ายที่กําหนด ( 4 ) ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ลงทะเบียนผู้ป่วยมาในโปรแกรมระบบบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ที่สํานักงานกําหนด ( 5 ) ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากให้การรักษาผู้ป่วยจนพ้นระยะอันตราย โดยแพทย์ผู้ให้การรักษา จะเป็นผู้พิจารณา เพื่อส่งกลับไปยังหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่นหรือชุมชน เพื่อให้รักษาหรือดูแล ต่อเนื่อง โดยมีเครือข่ายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เป็นที่ปรึกษาในการดูแลรักษาต่อเนื่องให้แก่หน่วยบริการประจําหรือ หน่วยบริการอื่น

  • 3 - เครือข่ายหน่วยบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ศูนย์โรคหายาก เครือข่ายให้คําปรึกษา / ส่งต่อ รพ . จุฬาลงกรณ์ เขต 1 เชียงใหม่ เขต 6 ระยอง รพ . ศิริราช เขต 3 นครสวรรค์ เขต 5 ราชบุรี รพ . รามาธิบดี เขต 9 นครราชสีมา เขต 10 อุบลราชธานี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก รพ . พระมงกุฎเกล้า เขต 12 สงขลา รพ . ธรรมศาสตร์ เขต 4 สระบุรี เขต 11 สุราษฎร์ธานี รพ . ศรีนครินทร์ ขอนแก่น เขต 7 ขอนแก่น เขต 8 อุดรธานี หมายเหตุ : ( 1 ) หน่วยบริการในเขต 13 กรุงเทพมหานคร สามารถขอรับคําปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยไปยังศูนย์การดูแล ผู้ป่วยโรคหายากได้ทุกแห่ง ที่ตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร ( 2 ) กรณีแพทย์ผู้รักษาและ / หรือผู้ป่วยสะดวกที่รับการรักษาและติดตามกับศูนย์โรคหายากที่ไม่เป็นตาม ตาราง สามารถทําได้ แต่ทั้งนี้ต้องเป็นการดูแลรักษาต่อเนื่องกับศูนย์โรคหายากนั้น หากจะมีการโอนผู้ป่วย ไปรับการรักษาต่อเนื่องที่ศูนย์อื่นในเวลาต่อมาก็สามารถทําได้เช่นกัน แนวทางปฏิบัติในการให้บริการและการขอรับค่าใช้จ่าย สําหรับหน่วยบริการประจําหรือ หน่วยบริการอื่นที่ตรวจรักษาผู้ป่วยเบื้องต้น หน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่นที่ตรวจรักษาผู้ป่วยเบื้องต้น หากสงสัยว่า เป็นผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ ของสารโมเลกุลเล็ก (Disorders of small molecules) ให้ปฏิบัติดังนี้ ( 1 ) แพทย์ผู้รักษาหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่น ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแล ผู้ป่วยโรคหายาก ตามเครือข่ายบริการที่กําหนด ( 2 ) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากจะเป็นผู้พิจารณาในการส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ( 3 ) หน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่น เก็บตัวอย่าง Specimen ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการไปยัง หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการตรวจ ( 4 ) หากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก พบว่าผลการตรวจวินิจฉัยอยู่ในกลุ่มโรค หายากตามที่กําหนด จะแจ้งให้แพทย์ผู้ดูแลในหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่นส่งต่อผู้ป่วยไปรักษา ยังศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก

  • 4 - ( 5 ) การขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น การตรวจรักษา และการ ส่งต่อผู้ป่วย ให้เบิกจ่ายตามระบบปกติ ตามแต่ละกรณี หมายเหตุ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ สําหรับการวินิจฉัยโรคหายาก ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก จะเป็น ผู้ขอรับค่าใช้จ่ายมายังสํานักงานโดยตรง แนวทางปฏิบัติในการให้บริการและการขอรับค่าใช้จ่าย สําหรับศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ( 1 ) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก เป็นผู้ให้คําปรึกษาแก่แพทย์ผู้รักษา ของหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่น และเป็นผู้พิจารณาในการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากสงสัย ว่าเป็นผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของสารโมเลกุลเล็ก (Disorders of small molecules) ( 2 ) เมื่อพบว่า ผลการตรวจวินิจฉัยอยู่ในกลุ่มโรคหายากตามที่กําหนด จะแจ้งให้แพทย์ผู้ดูแล ในหน่วยบริการประจําหรือหน่วยบริการอื่นส่งต่อผู้ป่วยมารักษายังศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ( 3 ) การขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ค่าตรวจวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยงตามเงื่อนไข และค่าบริการดูแล ผู้ป่วยโรคหายาก ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก จะเป็นผู้ขอรับค่าใช้จ่ายมายังสํานักงาน โดยตรงตามอัตราและ เงื่อนไขที่กําหนด ค . อัตราและเงื่อนไขการขอรับค่าใช้จ่าย 1 . ค่าตรวจวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยงตามเงื่อนไข รายการตรวจ อัตราจ่ายต่อครั้ง ( บาท ) TMS: Comprehensive metaboloc test 3 , 500 Plasma amino acid analysis 3 , 500 GC/MS: Urine organic acid 3 , 500 2 . ค่าบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก 2 . 1 ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยโรคหายากในปีแรกสําหรับผู้ป่วยรายใหม่ นับตั้งแต่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัย เป็นโรคหายาก เป็นการจ่ายให้แก่หน่วยบริการที่เป็นศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ที่มีการลงทะเบียนและ ให้การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก โดยครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการตรวจยืนยัน การรักษาพยาบาลรวมกรณีภาวะแทรกซ้อน และการติดตามผล การรักษาที่เกี่ยวข้องกับโรคหายาก ให้จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา ดังนี้ กลุ่ม โรค อัตราจ่ายต่อคนต่อปี ( บาท ) กลุ่ม A • Other Organic aciduria (acidemia) 300 , 000 • Propionic acidemia 300 , 000 • Methylmalonic acidemia 300 , 000 • Cobalamine defect 300 , 000 • Isovaleric acidemia 300 , 000 • Glutaric acidemia type 1 300 , 000 • Maple syrup urine disease (MSUD) 300 , 000

  • 5 - กลุ่ม โรค อัตราจ่ายต่อคนต่อปี ( บาท ) • Urea cycle disorders, unspeci fi ed enzyme defect 300 , 000 • Ornithine transcarbamylase (OTC) de fi ciency 300 , 000 • NAGS de fi ciency 300 , 000 • Citrullinemia type 1 300 , 000 • Argininosuccinic aciduria (ASS de fi ciency) 300 , 000 • Arginase de fi ciency (argininemia) 300 , 000 • Phenylketonuria 300 , 000 • Other specified disorders of amino acid metabolism 300 , 000 • NICCD (Neonatal intrahepatic cholestasis caused by citrin de fi ciency) 300 , 000 • Citrullinemia type 2 300 , 000 • Tyrosinemia type 1 300 , 000 กลุ่ม B • Disorders of Fatty acid oxidation and ketogenesis 50 , 000 • Disorders of Carnitine cycle and Carnitine transport 50 , 000 • Systemic primary carnitine de fi ciency 50 , 000 • Tetrahydrobiopterin (BH4) de fi ciency 50 , 000 • Multiple carboxylase de fi ciency: Biotinidase de fi ciency 50 , 000 • Multiple carboxylase de fi ciency: Holocarboxylase de fi ciency 50 , 000 2 . 1 . 1 งวดการจ่ายค่าบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายากให้แก่หน่วยบริการที่เป็นศูนย์การดูแลผู้ป่วย โรคหายาก แบ่งเป็น 2 งวด งวดที่ 1 จ่ายร้อยละ 50 ของค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายในแต่ละกลุ่มโรค โดยมีเงื่อนไขการจ่าย ดังนี้  ผู้ป่วยต้องได้รับการตรวจยืนยันว่าเป็นโรคหายากที่กําหนด  มีการลงทะเบียนในโปรแกรมระบบบริการดูแลผู้ป่วยโรคหายาก ตามที่สํานักงานกําหนด งวดที่ 2 จ่ายร้อยละ 50 ของค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายในแต่ละกลุ่มโรค โดยมีเงื่อนไขการจ่าย ดังนี้  รายงานการให้บริการดูแลผู้ป่วยตามขั้นตอนการให้การดูแลตามแนวทางเวชปฏิบัติที่กําหนด และหรือการติดตามเมื่อจําหน่ายออกจากศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก  ระยะเวลาการจ่าย หลังจากวันลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยโรคหายาก 90 วัน 2 . 1 . 2 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสียชีวิตหรือเปลี่ยนสิทธิการรักษาภายใน 90 วันนับจากวันลงทะเบียน ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายากจะได้รับค่าใช้จ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราเหมาจ่ายในแต่ละกลุ่มโรค แต่หากเสียชีวิตหรือเปลี่ยนสิทธิการรักษาหลังจากวันลงทะเบียนเกิน 90 วัน ศูนย์การดูแลผู้ป่วยจะได้รับ ค่าใช้จ่ายเต็มจํานวน โดยการนับรอบการจ่ายค่าใช้จ่ายต่อปี จะนับตามรอบปีนับจากวันลงทะเบียนเป็นผู้ป่วย โรคหายาก

  • 6 - 2 . 2 การรักษาพยาบาลหรือการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยรายเดิม อัตราจ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา แต่ละกลุ่มโรค ดังนี้ กลุ่ม โรค อัตราจ่ายต่อคนต่อปี ( บาท ) กลุ่ม A • Other Organic aciduria (acidemia) 200 , 000 • Propionic acidemia 200 , 000 • Methylmalonic acidemia 200 , 000 • Cobalamine defect 200 , 000 • Isovaleric acidemia 200 , 000 • Glutaric acidemia type 1 200 , 000 • Maple syrup urine disease (MSUD) 200 , 000 • Urea cycle disorders, unspeci fi ed enzyme defect 200 , 000 • Ornithine transcarbamylase (OTC) de fi ciency 200 , 000 • NAGS de fi ciency 200 , 000 • Citrullinemia type 1 200 , 000 • Argininosuccinic aciduria (ASS de fi ciency) 200 , 000 • Arginase de fi ciency (argininemia) 200 , 000 • Phenylketonuria 200 , 000 • Other specified disorders of amino acid metabolism 200 , 000 • NICCD (Neonatal intrahepatic cholestasis caused by citrin de fi ciency) 200 , 000 • Citrullinemia type 2 200 , 000 • Tyrosinemia type 1 200 , 000 กลุ่ม B • Disorders of Fatty acid oxidation and ketogenesis 33 , 000 • Disorders of Carnitine cycle and Carnitine transport 33 , 000 • Systemic primary carnitine de fi ciency 33 , 000 • Tetrahydrobiopterin (BH4) de fi ciency 33 , 000 • Multiple carboxylase de fi ciency: Biotinidase de fi ciency 33 , 000 • Multiple carboxylase de fi ciency: Holocarboxylase de fi ciency 33 , 000 2 . 2 . 1 งวดการจ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลหรือการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยรายเดิมให้แก่ หน่วยบริการที่เป็นศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก แบ่งเป็น 2 งวด ดังนี้ งวดที่ 1 จ่ายร้อยละ 50 ของค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายในแต่ละกลุ่มโรค โดยมีเงื่อนไขการจ่าย ดังนี้  รายงานการให้บริการดูแลผู้ป่วยตามขั้นตอนการให้การดูแลตามแนวทางเวชปฏิบัติที่กําหนด และหรือการติดตามอาการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

  • 7 - งวดที่ 2 จ่ายร้อยละ 50 ของค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายในแต่ละกลุ่มโรค โดยมีเงื่อนไขการจ่าย ดังนี้  รายงานการให้บริการดูแลผู้ป่วยตามขั้นตอนการให้การดูแลตามแนวทางเวชปฏิบัติที่กําหนด และหรือการติดตามอาการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง  ระยะเวลาการจ่าย หลังจากเบิกงวดที่ 1 ไม่น้อยกว่า 90 วัน 2 . 2 . 2 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสียชีวิตหรือเปลี่ยนสิทธิการรักษาภายใน 90 วัน นับจากวันที่ติดตามอาการ งวดที่ 1 ในปีนั้น ๆ การดูแลผู้ป่วยโรคหายากจะได้รับค่าใช้จ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราเหมาจ่าย ในแต่ละกลุ่มโรค แต่หากเสียชีวิตหรือเปลี่ยนสิทธิการรักษาหลังจากวันที่ติดตามอาการเกิน 90 วัน ศูนย์การดูแล ผู้ป่วยโรคหายากจะได้รับค่าใช้จ่ายเต็มจํานวน หมายเหตุ : กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตหรือมีการเปลี่ยนสิทธิการรักษา ศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคหายาก แจ้งให้ สํานักงานทราบภายใน 15 วัน หลังจากทราบข้อมูลการเสียชีวิตหรือเปลี่ยนสิทธิจากระบบหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติเป็นสิทธิอื่น