Fri Jun 02 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566


ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566 เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในระบบบริการสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมภูมิปัญญาให้ได้รับการต่อยอดโดยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผ่านกลไกการวิจัยและพัฒนายาจากสมุนไพรอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นการเสริมสร้างความมั่นคงทางยาให้กับประเทศ ซึ่งเป็นไปตามบท บัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รวมทั้งเพื่อให้บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพรมีการปรับปรุงแก้ไขให้ทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน อาศัยอานาจตามความในข้อ 8 (4) แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิก ( 1 ) ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2564 ( 2 ) ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร (ฉ บับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 13 กันยายน 2565 ข้อ 2 ให้ใช้รายการยาจากสมุนไพรในบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ เป็นยาในบัญชียาหลัก แห่งชาติด้านสมุนไพร ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 0 พฤษภาคม พ.ศ. 256 6 อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 130 ง ราชกิจจานุเบกษา 2 มิถุนายน 2566

รายการบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร แนบท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นรายการบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพรตามประกาศฉบับนี้ หมายถึง รายการยาจากสมุนไพรสาหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข โดยมีสรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ เป็นไปตามที่ หน่วยงานที่มีอานาจตามกฎหมายได้อนุมัติไว้ หรือเป็นรายการยาจากสมุนไพรที่เป็นเภสัชตารับโรงพยาบาล (รพ.) ที่ได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย หรือเป็นไปตามโครงการที่ได้รับอนุมัติโดยคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลัก แห่งชาติด้านสมุนไพร ซึ่งประกอบด้วย บัญชีย่อย 3 บัญชี ได้แก่ บัญชีรายการยาพื้นฐาน บัญชีรายการยาเฉพาะ และบัญชีรายการยาพิเศษ บัญชีรายการยาพื้นฐาน หมายความถึง รายการยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพสั่งใช้ได้โดยทั่วไป บัญชีรายการยาเฉพาะ หมายความถึง รายการยาที่ต้องอาศัยการตรวจวินิจฉัยและสั่งใช้ยา โดยแพทย์แผนไทย หรือ แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือ แพทย์แผนปัจจุบันที่ผ่านการอบรมหรือผู้อานวยการ สถานพยาบาลนั้น ๆ มอบหมาย บัญชีรายการยาพิเศษ หมายความถึง รายการยาที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์จากัด และต้องมีการติดตามประสิทธิผล ความปลอดภัย เพื่อนามาใช้ทบทวนสถานการณ์การบรรจุรายการยาในบัญชี ยาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร อย่างน้อยทุก 6 เดือน หรือเมื่อมีข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ ที่เปลี่ยนไปจากที่พิจารณาไว้เดิม ทั้งนี้บัญชีรายการยาพิเศษต้องมีองค์ประกอบต่อไปนี้ 1 . มีหน่วยงานรับผิดชอบทั้งโครงการและงบประมาณ 2 . นาเสนอโครงการเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งประกอบด้วย 2 . 1 บทสรุปผู้บริหาร 2 . 2 หลักการและเหตุผลของโครงการ รวมทั้งที่มาของการพัฒนาสูตรตารับ (ถ้ามี) 2 . 3 มีวัตถุประสงค์ 2 . 4 วิธีการดำเนินโครงการ 2 . 5 กำหนดระยะเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุดโครงการชัดเจน 2 . 6 ต้องมีการระบุ สรรพคุณเฉพาะ ( specific health benefits ) หรือข้อบ่งใช้ ( clinical indication ) และกาหนดวิธีใช้ยา ให้ชัดเจน 2 . 7 แนวทางการติดตามประเมินผลการใช้ยาทั้งด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย โดยมีการรายงาน ความปลอดภัยไปยังศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ( HPVC ) ในทุกรายที่พบ 2 . 8 มีแนวทางการติดตามความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วย 2 . 9 มีหนังสือแสดงความจำนงในการรับผิดชอบและสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภาครัฐ

3 . ให้รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ด้านสมุนไพรทุก 6 เดือน หรือเมื่อมีข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ที่เปลี่ยนไปจากที่พิจารณา ไว้เดิม และเมื่อสิ้นสุดโครงการ โดยรายการยาจากสมุนไพรประกอบด้วย ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ/ข้อบ่งใช้ และบัญชีย่อย ปรากฏตามภาคผนวก 1 และมีตัวยาในสูตรตำรับ รายละเอียดของยาแต่ละรายการตามภาคผนวก 2

คำอธิบายรายการยาจากสมุนไพรในบัญชีสำหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ตามบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 “ชื่อยา” หมายความว่า ชื่อภาษาไทยที่ใช้เรียกทั่วไปจนเป็นที่รู้จัก หรือที่ระบุไว้ในตำราแพทย์แผนไทย หรือตามที่ คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพรกำหนด “รูปแบบยา” หมายความว่า รูปแบบที่ปรากฏในตารับที่ได้รับอนุมัติจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือตารับที่ผลิตโดยสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมที่ทาหน้าที่ป้องกัน หรือบาบัดโรค โดยในกรณีที่ เป็นการผลิตในสถานพยาบาลดังกล่าวจะระบุตัวอักษร “รพ.” ไว้ในวงเล็บท้ายรูปแบบยา เช่น ยาเม็ด (รพ.) หมายถึงรูปแบบยาเม็ดที่สถานพยาบาลฯ ผลิต “เงื่อนไขการใช้ยา” หมายความว่า เงื่อนไขที่ระบุสาหรับการใช้ยาจากสมุนไพรรายการนั้นๆ แล้วแต่กรณี เพื่อเป็น แนวทางในการสั่งใช้ หรือเพื่อประกอบการจัดระบบกากับ ติดตาม ให้เกิดการใช้อย่างสมเหตุผล เช่น คุณสมบัติ ของแพทย์ผู้สั่งใช้ สถานพยาบาล เสนอเป็น “เงื่อนไขการใช้ยา” หมายความว่า เงื่อนไขที่ระบุสำหรับการใช้ยาจากสมุนไพรรายการนั้นๆ ตามบัญชี แล้วแต่กรณี เพื่อเป็นแนวทางในการสั่งใช้ หรือเพื่อประกอบการจัดระบบกำกับ ติดตาม ให้เกิดการใช้ อย่างสมเหตุผล เช่น คุณสมบัติของแพทย์ผู้สั่งใช้ สถานพยาบาล “สูตรตารับ” หมายความว่า ส่วนประกอบสาคัญของยาจากสมุนไพรรายการนั้นๆ โดยแสดงปริมาณในหน่วย เมตริก ทั้งนี้ไม่รวมส่วนประกอบอื่นที่เป็นสารช่วยในการผลิตยา ( pharmaceutical necessities) เช่น สารยึดเกาะ สารหล่อลื่น วัตถุกันเสีย วัตถุแต่งสี กลิ่น รส “สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้” หมายความว่า สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ที่อ้างอิงมาจาก 1. สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ตามตารับยาที่อยู่ในตาราการแพทย์แผนไทย หรือตารายาที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ หรือสากล หรือเป็นยาที่เตรียมขึ้นตามหลักการแพทย์แผนไทยและมีการใช้อย่างแพร่หลายตั้งแต่ดั้งเดิมสืบต่อกันมา เป็นเวลานาน 2. สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จากการศึกษาฤทธิ์เภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองหรือการศึกษา ทางคลินิกที่สนับสนุนว่ายาจากสมุนไพรนั้นสามารถบำบัดหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยตามที่ระบุ “ขนาดและวิธีใช้” หมายความว่า ขนาดการใช้ยาจากสมุนไพรในผู้ป่วย ทั้งผู้ใหญ่และ/หรือเด็ก ระบุปริมาณเป็น ช่วงการใช้ยา โดยมีหน่วยของน้าหนักและปริมาตรเป็นหน่วยเมตริก ยาที่ไม่ระบุการใช้ในเด็ก หมายถึงเป็นยา สำหรับผู้ใหญ่เท่านั้น ทั้งนี้กรณียาแผนไทยที่ไม่มีการระบุน้ำกระสายยาไว้เป็นการเฉพาะ ให้ใช้น้ำสุกเป็น น้ำกระสายยา

“คาเตือน” หมายความว่า ข้อมูลสาคัญที่เตือนให้ผู้ใช้ยาทราบถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากใช้ยา “อันตรกริยา” หมายความว่า ปฏิกิริยาระหว่างการใช้ยามากกว่า 2 ชนิดร่วมกันทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ระดับยาในเลือด หรือส่งผลต่อผลการรักษาและความปลอดภัยในการใช้ยา ดังนั้นจึงควรระมัดระวังในการใช้ยาที่ เกิดอันตรกริยากัน และติดตามการใช้ยาอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้หมายความรวมถึงทั้งการใช้ยาจากสมุนไพร ร่วมกับ ยาแผนปัจจุบัน หรือการใช้ร่วมกับยาจากสมุนไพรชนิดอื่น “ข้อห้ามใช้” หมายความว่า ข้อมูลที่อธิบายว่ายาจากสมุนไพรนี้ห้ามใช้ในกรณีใด เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ได้รับ อันตรายที่อาจเกิดขึ้น เช่น ยาที่มีส่วนผสมของเจตมูลเพลิงแดง ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากอาจทาให้แท้ ง หรือเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ได้ “ข้อควรระวัง” หมายความว่า ข้อมูลที่อธิบายว่ายาจากสมุนไพรนี้ ควรระวังการใช้ในกรณีใดเพื่อความปลอดภัย ในการใช้ยา “ อาการไม่พึงประสงค์ ” หมายความว่า การตอบสนองต่อยาจากสมุนไพรที่เป็นอันตรายและไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการใช้ยาตามปกติ โดยไม่รวมถึงการใช้ยาเกินขนาด ( overdose) หรือการจงใจใช้ยาในทางที่ผิด ( abuse) จนเกิดอันตราย “ข้อมูลเพิ่มเติม” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับยาจากสมุนไพรเฉพาะบางรายการที่ควรทราบ เช่น คาแนะนา และคาอธิบายเพิ่มเติม คุณลักษณะของพืชสมุนไพร การใช้ประโยชน์และวิธีการเตรียมตารับยาในทางการแพทย์ แผนไทยหากคาอธิบายรายละเอียดยาใด ที่ไม่มีข้อมูลหรือยังไม่มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ ให้ถือว่ายาจากสมุนไพรที่มีคุณสมบัติตรงตามรายการยาจากสมุนไพรในภาคผนวก 1 และ 2 เป็นยา ในบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพ ร

1 ภาคผนวก 1 บัญชียาจากสมุนไพร กลุ่มที่ 1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต 1.1 กลุ่มยาแก้ลมกองละเอียด 1. ยาหอมเทพจิตร รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมกองละเอียด ได้แก่ อาการหน้ามืด ตาลาย สวิงสวาย (อาการที่รู้สึกใจหวิว วิงเวียน คลื่นไส้ ตาพร่าจะเป็นลม) ใจสั่น และบํารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น 2. ยาหอมแก้ลมวิงเวียน รูปแบบยา ยาผง (รพ. ) ยาเม็ด (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ 3. ยาหอมทิพโอสถ รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน 4. ยาหอมนวโกฐ รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ( ลมจุกแน่นในอก ) ในผู้สูงอายุ - แก้ลมปลายไข้ ( หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด และอ่อนเพลีย ) 5. ยาหอมอินทจักร์ รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน

2 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - แก้ลมบาดทะจิต - แก้คลื่นเหียนอาเจียน - แก้ลมจุกเสียด กลุ่มที่ 2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ 1. ยาเบญจกูล รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 2. ยาขมิ้นชัน รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ 3. ยาขิง รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด 4. ยาธาตุบรรจบ รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 5. ยาธาตุอบเชย รูปแบบยา ยาน้ํา (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 6. ยาประสะเจตพังคี รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้จุกเสียด ขับผายลม

3 7. ยาประสะเป รำะใหญ่ รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ตานซางสําหรับเด็ก ที่มีอาการไข้ต่ํา ๆ อาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ ถ่ายเหลว กระปริบกระปรอย เบื่ออาหาร 8. ยาประสะกะเพรา รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 9. ยาประสะกานพลู รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดท้ อง จุ กเสี ยด แน่นเฟ้อ จากอาหารไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ปกติ 10. ยามหาจักรใหญ่ รูปแบบยา ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 11. ยามันทธาตุ รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ธาตุไม่ปกติ 12. ยาวิสัมพยาใหญ่ รูปแบบยา ยาผง บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด 13. ยาอภัยสาลี รูปแบบยา ยาลูกกลอน ยาเม็ด

4 บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บําบัดโรคลม บรรเทาอาการจุกเสียดแน่น 2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก 1. ยาชุมเห็ดเทศ รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก 2. ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง รูปแบบยา ยา แคปซูล ยาเม็ด บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้บรรเทาอาการท้องผูกเฉพาะในรายที่ท้อง ผูก มากหรือในรายที่มีอาการท้องผูกเรื้อรังและใช้ยา อื่นแล้วไม่ได้ผล 3. ยาธรณีสันฑะฆาต รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้เถาดาน ท้องผูก 4. ยามะขามแขก รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้อง ผูก 2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย 1. ยาเหลืองปิดสมุทร รูปแบบยา ยาเม็ด ยา แคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติ ด เชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิด ที่ไม่มีไข้ เป็นต้น 2. ยากล้วย รูปแบบยา ยาผง ( รพ. )

5 บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน 3. ยาธาตุบรรจบ รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ 4. ยาฟ้าทะลายโจร รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน 2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก 1. ยาทาขมิ้นชันและกัญชา รูปแบบยา ยาน้ํามัน / ยาผงสําหรับผสมในน้ํามัน (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาริดสีดวงทวารหนัก 2. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก 3. ยาผสมเพชรสังฆาตสูตรที่ 1 รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก 4. ยาผสมเพชรสังฆาตสูตรที่ 2 รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก

6 5. ยาริดสีดวงมหากาฬ รูปแบบยา ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก 2.5 กลุ่มยารักษาโรคในกระเพาะอาหาร 1. ยากล้วย รูปแบบยา ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร 2.6 กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน 1. ยาขิง รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มี สาเหตุจากการเมารถ เมาเรื อ - ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด 2. ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี รูปแบบยา delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก จํานวน 2 ความแรง ได้แก่ (Oromucosal drops ) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด และ ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม/หยด บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาเสริมหรือควบรวมกับการรักษาตาม มาตรฐานในการรักษาภาวะคลื่นไส้ อาเจียนจาก เคมีบําบัด กลุ่มที่ 3 ยารักษากลุ่มอาการสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา 1. ยาเลือดงาม รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาผง (รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - บรรเทาอาการปวดประจําเดื อน ช่ วยให้ ประจําเดือนมาเป็นปกติ - แก้มุตกิด

7 2. ยาไฟประลัยกัลป์ รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 3. ยาไฟห้ากอง รูปแบบยา ยาผง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ 4. ยาประสะไพล รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยา ลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - ร ะดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ - บรรเทาอาการปวดประจํา เดือน - ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร 5. ยาปลูกไฟธาตุ รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงไฟธาตุ ขับโลหิตระดู บํารุงน้ํานม 6. ยาสตรีหลังคลอด รูปแบบยา ยาต้ม (รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลา บํารุงเลือด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว ในหญิงหลังคลอด กลุ่มที่ 4 ยารักษากลุ่มอาการไข้ 4.1 กลุ่มยาแก้ไข้ / แก้ร้อนใน 1. ยาเขียวหอม รูปแบบยา ยาผง ยาเม็ด ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา - แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส ( บรรเทาอาการไข้จา ก

8 หัดและอีสุกอีใส ) 2. ยาจันทลีลา รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู 3. ยาบัวบก รูปแบบยา ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน ช้ําใน 4. ยาประสะจันทน์แดง รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ( ไข้พิษ ) แก้ร้อนใน กระหายน้ํา 5. ยามหานิลแท่งทอง รูปแบบยา ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - แก้ไข้กาฬ หัด อีสุกอีใส ( บรรเทาอาการไข้ จากไข้กาฬ หัด และอีสุกอีใส ) - แก้ไข้ แก้ร้อนใน กระหายน้ํา 6. ยามะระขี้นก รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาชง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน เ จริญอาหาร 7. ยารางจืด รูปแบบยา ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน 8. ยาหญ้าปักกิ่ง รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. )

9 บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน 9. ยาห้าราก รูปแบบยา ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ กระทุ้งพิษไข้ กลุ่มที่ 5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ 5.1 กลุ่มยาบรรเทาอาการไอ / เสมหะ 1. ยาแก้ไอผสมกานพลู รูปแบบยา ลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ 2. ยาแก้ไอผสมมะขามป้อมสูตรตํารับที่ 1 รูปแบบยา ยาน้ํา (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ 3. ยาแก้ไอผสมมะขามป้อมสูตรตํารับที่ 2 รูปแบบยา ยาน้ํา (รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ 4. ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ 5. ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน รูปแบบยา ยาน้ํา (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ 6. ยาตรีผลา รูปแบบยา ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ 7. ยาประสะมะแว้ง รูปแบบยา

10 ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ 8. ยาอํามฤควาที รูปแบบยา ยาผง ยาลูกกลอน ยาผง ( รพ. ) ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับ เสมหะ 5.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการหวัด 1. ยาปราบชมพูทวีป รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการหวัดในระยะแรก และอาการ ที่เกิดจากการแพ้อากาศ 2. ยาฟ้าทะลายโจร รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - บรรเทาอาการเจ็บคอ - บรรเทาอาการของโรคหวัด (common cold ) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 3. ยาฟ้าทะลายโจร รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการของโรคหวัด ( common cold) เช่น ไอ เจ็บคอ น้ํามูกไหล มีไข้ กลุ่มที่ 6 ยาบํารุงโลหิต 1. ยาบํารุงโลหิต รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงโลหิต

11 กลุ่มที่ 7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 1. ยาเถาวัลย์เปรียง รูปแบบยา ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ 2. ยาแก้ลมแก้เส้น รูปแบบยา ยาผง บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ ลมในเส้น บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ที่มีอาการมือเท้าชา 3. ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ รูปแบบยา ยาผง ( รพ .) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดตามเส้ นเอ็ น กล้ำมเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา 4. ยาไพล รูปแบบยา ยาครีม บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ํา เคล็ดยอก 5. ยากษัยเส้น รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย 6. ยาขี้ผึ้งไพลสูตรตํารับที่ 1 รูปแบบยา ยาขี้ผึ้ง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย 7. ยาขี้ผึ้งไพลสูตรตํารับที่ 2 รูปแบบยา ยาขี้ผึ้ง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย 8. ยาทําลายพระสุเมรุ รูปแบบยา

12 ยาแคปซูล ยาผง บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมเปลี่ยวดํา เป็นยาเสริมเพื่อฟื้นฟูอาการ กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากโรคลมอัมพฤกษ์ อัมพาต 9. ยาธรณีสันฑะฆาต รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้กษัยเส้น 10. ยาน้ํามันไพล รูปแบบยา ยาน้ํามัน (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ํา เคล็ดยอก 11. ยาน้ํามันกัญชาทั้งห้า รูปแบบยา ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้ เสริ มการรั กษาในผู ้ ป่ วยที ่ มี อาการปวด กล้ามเนื้อและข้อที่ใช้ยามาตรฐานแล้วไม่ได้ผล 12. ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี รูปแบบยา delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก และ cannabidiol (CBD) ( Oromucosal drops ) ในอัตราส่วน 1:1 บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้ รั กษาเสริ มในโรคภาวะปลอกประสาท เ ส ื ่ อ ม แ ข ็ ง (Multiple Sclerosis) ใ น ร ะ ย ะ Progressive ที ่ มี ภาวะกล้ำมเนื ้ อหดเกร็ง (Spasticity ) 13. ยาประคบ รูปแบบยา ยาประคบสมุนไพรสด (รพ.) ยาประคบสมุนไพรแห้ง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ประคบเพื่อลดอาการปวด ช่วยคลายกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ

13 14. ยาผสมเถาวัลย์เปรียงสูตรตํารับที่ 1 รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 15. ยาผสมเถาวัลย์เปรียงสูตรตํารับที่ 2 รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 16. ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 1 รูปแบบยา ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 17. ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 2 รูปแบบยา ยาต้ม (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 18. ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 3 รูปแบบยา ยาต้ม (รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 19. ยาพริก รูปแบบยา ยาเจล ยาครีม ( รพ. ) ยาเจล ( รพ. ) ยาขี้ผึ้ง ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ (musculoskeletal pain) 20. ยาสเปรย์กระดูกไก่ดํา รูปแบบยา ยาน้ําสําหรับพ่นผิวหนัง บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ปวดกล้ามเนื้อ แก้ฟกช้ํา แก้เคล็ดขัดยอกและ การอักเสบของกล้ามเนื้อ 21. ยาสหัศธารา รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาลูกกลอน ( รพ. )

14 บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ 22. ยาสารสกัดขมิ้นชัน รูปแบบยา ยาแคปซูล บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดในโรคข้อเข่าเสื่อม 23. ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง รูปแบบยา ยาแคปซูล บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง ( low back pain ) และอาการปวดจากข้อเข่าเสื่อม ( Knee Osteoarthritis ) 24. ยาอัมฤตย์โอสถ รูปแบบยา ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมกษัย บรรเทาอาการปวดเมื่อยตึงกล้ามเนื้อ ที่เป็นเรื้อรัง กลุ่มที่ 8 ยาบํารุงธาตุ ปรับธาตุ 1. ยาเบญจกูล รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ.) ยาชง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ.) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ 2. ยาตรีเกสรมาส รูปแบบยา ยาชง (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้อ่อนเพลีย ปรับธาตุในผู้ป่วยที่เพิ่งฟื้นจาก การเจ็บป่วย เช่น ไข้ ท้องเสีย 3. ยาตรีพิกัด รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ.) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ปรับสมดุลธาตุ 4. ยาปลูกไฟธาตุ รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. )

15 บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงไฟธาตุ ขับโลหิตระดู บํารุงน้ํานม กลุ่มที่ 9 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง 1. ยาเปลือกมังคุด รูปแบบยา ยาน้ําใส ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ทาแผลสด และแผลเรื้อรัง 2. ยาเมล็ดน้อยหน่า รูปแบบยา ยาครีม บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ กําจัดเหา 3. ยาแก้โรคเชื้อราที่เล็บ รูปแบบยา ยาน้ําแขวนตะกอน (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้โรคเชื้อราที่เล็บ 4. ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง รูปแบบยา ยาทิงเจอร์ (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ทาแก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา น้ํากัดเท้า 5. ยาทิงเจอร์พลู รูปแบบยา ยาทิงเจอร์ (รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการผิวหนังอักเสบ อาการอักเสบจาก แมลง กัด ต่อย 6. ยาบัวบก (ภายนอก) รูปแบบยา ยาครีม ยาครีม ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้สมานแผล 7. ยาพญายอ รูปแบบยา ยาครีม ยาโลชัน สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) ยาโลชัน ( รพ. ) สารละลาย ( สําหรับป้ายปาก ) ( รพ .) ยาขี้ผึ้ง ( รพ .) ยาทิงเจอร์ ( รพ .) บัญชี รายการยาพื้นฐาน

16 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - ยาครีม บรรเทาอาการของเริมและงูสวัด - สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก (aphthous ulcer) แผลจากการฉายรังสีและ เคมีบําบัด - ยาโลชัน บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน - ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวม จาก แมลงกัดต่อย - ยาทิงเจอร์ บรรเทาอาการของเริม และงูสวัด 8. ยาว่านหางจระเข้ รูปแบบยา ยาเจล ยาโลชันเตรียมสด (รพ.) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาแผลไฟไหม้ น้ําร้อนลวก (burn) 9. ยาหญ้าปักกิ่ง รูปแบบยา ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้น้ําเหลืองเสีย กลุ่มที่ 10 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ 1. ยากระเจี๊ยบแดง รูปแบบยา ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา 2. ยาหญ้าหนวดแมว รูปแบบยา ยาชง ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขับนิ่วขนาดเล็ก กลุ่มที่ 11 ยาถอนพิษเบื่อเมา 1. ยารางจืด รูปแบบยา ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - ถอนพิษเบื่อเมา - บรรเทาพิษยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนัก กลุ่มที่ 12 ยาลดความอยากบุหรี่ 1. ยาผสมหญ้าดอกขาว รูปแบบยา

17 ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่ 2. ยาหญ้าดอกขาว รูปแบบยา ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่ กลุ่มที่ 13 ยารักษากลุ่มโรคที่เกี่ยวกับกษัย 1. ยากษัยเส้น รูปแบบยา ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย 2. ยาธรณีสันฑะฆาต รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้กษัยเส้น 3. ยาอัมฤตย์โอสถ รูปแบบยา ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมกษัย บรรเทาอาการปวดเมื่อยตึงกล้ามเนื้อ ที่เป็นเรื้อรัง กลุ่มที่ 14 ยารักษากลุ่มอาการสมองและระบบประสาท 1. ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี รูปแบบยา cannabidiol (CBD) 100 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก และมี delta - 9 - tetrahydrocannabinol (Oromucosal drops) (THC) ในอัตราส่วนที่ CBD:THC มากกว่าหรือเท่ากับ 20:1 บัญชี รายการยาพิเศษ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. โรคลมชักรักษายาก 2. โรคลมชักที่ดื้อต่อการรักษา กลุ่มที่ 1 5 ยารักษากลุ่มอาการอื่น ๆ 1. ยาน้ํามันกัญชาทั้งห้า รูปแบบยา

18 ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้เสริมการรักษาในผู้ป่วยที่มีอาการนอน ไม่หลับที่ใช้ยามาตรฐานแล้วไม่ได้ผล 2. ยาน้ํามันกัญชาที่ผลิตจากช่อดอก รูปแบบยา ซึ่งยามี delta - 9 - tetrahydrocannabinol ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (THC) 2.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ( Oromucosal drops ) ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( รพ. ) บัญชี รายการยา พื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเรื้ อรัง ช่วยให้นอนหลับ ช่วยให้เจริญอาหาร ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย ว่าเป็นมะเร็ง 3. ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี รูปแบบยา delta - 9 - tetrahydrocannabinol ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (THC) และ cannabidiol (CBD) ( Oromucosal drops ) ในอัตราส่วน 1:1 บัญชี รายการยา เฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ - ใช้รักษาเสริมในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะท้ายที่มี อาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร หรือมีอาการ ปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรง ที่รักษาด้วยยา มาตรฐานไม่ได้หรือไม่ได้ผล 4. ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี รูปแบบยา delta - 9 - tetrahydrocannabinol ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (THC) จํานวน 2 ความแรง ได้แก่ (Oromucosal drops ) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด และไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาเสริมในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะท้ายที่มี อาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร หรือมีอาการปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรงที่ รักษาด้วยยามาตรฐานไม่ได้หรือไม่ได้ผล 5. ยาประสะกัญชา รูปแบบยา ยาแคปซูล

19 ยาผง ( รพ. ) ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ช่วยให้นอนหลับ 6. ยาฟ้าทะลายโจร รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้กับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงน้อย 7. ยาฟ้าทะลายโจร รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชี รายการยาพื้นฐาน สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้กับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงน้อย 8. ยามหาจักรใหญ่ รูปแบบยา ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมซาง 9. ยาศุขไสยาศน์ รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง บัญชี รายการยาเฉพาะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร

1 ภาคผนวก 2 บัญชียาจากสมุนไพร กลุ่มที่ 1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต 1.1 กลุ่มยาแก้ลมกองละเอียด ( 1 ) ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 366 กรัม ประกอบด้วย 1. ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง ดอกบัวขม ดอกบัวเผื่อน หนักสิ่งละ 4 กรัม ดอกมะลิ หนัก 183 กรัม 2 . ผิวมะกรูด ผิวมะงั่ ว ผิวมะนาว ผิวส้มตรังกานู หรื อส้มจุก ผิวส้มจีน ผิวส้มโอ ผิวส้มเขียวหวาน หนักสิ่งละ 4 กรัม ผิวส้มซ่า หนัก 28 กรัม 3. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม 4 . เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนั กสิ่งละ 4 กรัม 5. ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ผลกระวาน ดอกกานพลู แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง แก่นจันทน์ขาว กฤษณา กระลําพัก ขอนดอก เปลือกชะลูด เปลือกต้นอบเชย หัวเปราะหอม รากแฝกหอม หนักสิ่งละ 2 กรัม 6. พิมเสน หนัก 4 กรัม การบูร หนัก 1 กรัม สรรพ คุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมกองละเอียด ได้แก่ อาการหน้ามืด ตาลาย สวิงสวาย (อาการที่รู้สึกใจหวิว วิงเวียน คลื่นไส้ ตาพร่าจะเป็นลม) ใจสั่น และบํารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทาน ครั้งละ 1 - 1 .4 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ชนิดเม็ด รับประทาน ครั้งละ 1 - 1 .4 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (2) ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาผง (รพ. ) ยาเม็ด (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 225 กรัมประกอบด้วย 1. รากชะเอมเทศ หนัก 32 กรัม แก่นจันทน์เทศ หนัก 24 กรัม 2 . ดอกกานพลู โกฐเชียง โกฐหัวบัว รากแฝกหอม เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 12 กรัม

2 3 . เปลือกต้นสมุลแว้ง หนัก 10 กรัม เปลือกอบเชยญวน เปลือกอบเชยเทศ กฤษณา กระลําพัก โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา เปลือกชะลูด หนักสิ่งละ 8 กรัม 4 . พิมเสน ขอนดอก ดอกบุนนำค ดอกพิกุล ดอกสารภี หนักสิ่งละ 6 กรัม 5 . เถามวกแดง 5 กรัม น้ําประสานทองสะตุ แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง หนักสิ่งละ 4 กรัม ข้อบ่งใช้ / สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 600 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ ทุก 3 – 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 600 มิลลิกรัม – 1 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 – 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน วันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (3) ยาหอมทิพโอสถ ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 142 กรัม ประกอบด้วย 1 . ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ เกสรบัวหลวง ดอกกระดังงา ดอกจําปา ดอกบัวจงกลนี หัวแห้วไทย กระจับ แก่นฝางเสน แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีรา ลง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์เทศ กฤษณา เปลือกชะลูด เปลือกต้นอบเชย เปลือกต้น สมุลแว้ง แก่นสนเทศ เหง้าว่านน้ํา เหง้ากระชาย หัวเปราะหอม ดอกคําไทย รากชะเอม เทศ แก่นสุรามฤต ลําต้นข่าต้น ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ หนักสิ่งละ 4 กรัม 2. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 2 กรัม 3. เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 1 กรัม 4 . พิมเสน หนัก 2 กรัม การบูร หนัก 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทาน ครั้งละ 1 – 1 . 4 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง น้ํากระสายยาที่ใช้ น้ําดอกไม้หรือน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ชนิดเม็ด รับประทาน ครั้งละ 1 – 1 . 4 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง

3 ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (4) ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 212 กรัม ประกอบด้วย 1 . โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม 2 . เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 กรัม 3 . เปลือกต้นสมุลแว้ง หญ้าตีนนก รากแฝกหอม เปลือกชะลูด หัวเปราะหอม กระลําพัก ขอนดอก กฤษณา หนักสิ่งละ 4 กรัม 4 . เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน รากช้าพลู หนักสิ่งละ 3 กรัม 5 . หัวแห้วหมู ผลกระวาน ดอกกานพลู ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ เปลือกอบเชยญวน ลูกผักชีลา แก่นสน หนักสิ่งละ 4 กรัม 6 . แก่นสักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์ แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง ลูกกระดอม เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 4 กรัม 7 . เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 4 กรัม 8 . เนื้อผลมะขามป้อม เนื้อผลสมอพิเภก รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม 9 . พิมเสน หนัก 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1 . แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ( ลมจุกแน่นในอก ) ในผู้สูงอายุ 2 . แก้ลมปลายไข้ ( หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด และอ่อนเพลีย ) ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทาน ครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน้ํากระสาย หรือน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณี แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ( ลมจุกแน่นในอก ) ในผู้สูงอายุ ใช้น้ํา ลูกผักชี ( 15 กรัม ) หรือเทียนดํา ( 15 กรัม ) ต้มเป็นน้ํากระสายยา - กรณีแก้ลมปลายไข้ ใช้ก้านสะเดา ( 33 ก้าน หรือ 15 กรัม ) ลูกกระดอม ( 7 ลูก หรือ 15 กรัม ) และเถาบอระเพ็ด ( 7 องคุลี หรือ 15 กรัม ) ต้มเป็นน้ํากระสายยา ชนิดเม็ด รับประทาน ครั้งละ 1 - 2 กรัม หรือน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง

4 ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้าน การจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (5) ยาหอมอินทจักร์ ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 98 กรัม ประกอบด้วย เถาสะค้าน รากช้าพลู เหง้าขิง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชีลา โกฐสอ โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐน้ําเต้า โกฐกระดูก เทียนดํา เทียนขาว เทียนแดง เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี แก่นจันทน์แดงหรือแก่น ลักจั่นที่มีราลง แก่นจันทน์เทศ เถามวกแดง เถามวกขาว รากย่านาง เปลือกชะลูด เปลือกต้น อบเชย เปลือกต้นสมุลแว้ง กฤษณา กระลําพัก เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม กํายาน ขอนดอก ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู ลําพันแดง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกจําปา ดอกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกคําไทย แก่นฝางเสน ดีวัว พิมเสน หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1 . แก้ลมบาดทะจิต 2 . แก้คลื่นเหียนอาเจียน 3 . แก้ลมจุกเสียด ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ ทุก 3 – 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณีแก้ลมบาดทะจิต ใช้น้ําดอกมะลิ - กรณีแก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น้ําลูกผักชี เทียนดําต้ม - กรณีแก้ลมจุกเสียด ใช้น้ําขิงต้ม ชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน

5 พ บว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ กลุ่มที่ 2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ (1) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาชง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง หนักสิ่งละ 20 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดผง รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 เวลา หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระมัดระวังการใช้ในผู้ที่ร้อนในง่าย และการใช้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทําให้ธาตุ ไฟกําเริบ - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (2) ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงเหง้าขมิ้ นชัน [ Curcuma longa L.] มีสารสําคัญ curcuminoids ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5.0 โดยน้ําหนัก ( w/w) และน้ํามันระเหยง่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 6.0 โดย ปริมาตรต่อน้ําหนัก สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ คําเตือน - อันตรกิริยา - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการ จับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 ( CYP 450 ) เนื่องจากสาร curcumin ยับยั้ง CYP 3 A4, CYP 1A2 แต่กร ะตุ้น เอนไซม์ CYP 2 A6 - ควรระวั งการใช้ ร่ วมกั บยารั กษาโรคมะเร็ งบางชนิ ด เช่ น doxorubicin, chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยาดังกล่าว

6 ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ (3) ยาขิง ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงเหง้าขิงแก่ ( Zingiber officinale Rosc.) ที่มีน้ํามันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.0 โดยปริมาตรต่อน้ําหนัก ( v/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด ขนาดและวิธีใช้ รับประทานวันละ 2 – 4 กรัม ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการ จับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนําให้รับประทานในเด็กอายุต่ํากว่า 6 ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ ( 4 ) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) สูตรตํารับ ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย 1. เนื้อผลสมอไทย หนัก 16 กรัม 2. โกฐก้านพร้าว หนัก 8 กรัม 3 . เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดํา เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์ เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ดอกกานพลู เปลือกต้นสมุลแว้ง ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ํา ต้มสุก ที่ยังอุ่นอยู่ วั นละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ําร้อนหรือใช้ใบกะเพรา ต้มเป็นน้ํากระสาย - กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือกลูกทับทิมต้ม แทรกกับน้ําปูนใสเป็น น้ํากระสายยา

7 ชนิดแคปซูลและชนิดลูกกลอน ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วั นละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ในกรณีท้องเสีย ชนิดที่ ไม่เกิดจากการติดเชื้ อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ ( 5 ) ยาธาตุอบเชย ยาน้ํา (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยาน้ํา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย 1. เปลือกอบเชยเทศ เปลือกต้นสมุลแว้ง ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 800 มิลลิกรัม 2. เกล็ดสะระแหน่ การบูร หนักสิ่งละ 50 มิลลิกรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 15 - 30 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 6 ) ยาประสะเจตพังคี ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 66 กรัม ประกอบด้วย 1 . รากเจตพังคี หนัก 33 กรัม 2 . เหง้าข่า หนัก 16 กรัม 3 . รากระย่อม พริกไทยล่อน เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 2 กรัม 4 . ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ใบกระวาน ดอกกานพลู รากกรุงเขมา เนื้อผลสมอทะเล รากพญารากขาว เปลือกต้นหว้า เกลือสินเธาว์ การบูร หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้จุกเสียด ขับผายลม

8 ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทาน ครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทาน ครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ใน สูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจาก มีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่ อมะเร็งในมนุษย์ (7) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชี รายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 80 กรัม ประกอบด้วย 1 . หัวเปราะหอม หนัก 40 กรัม 2 . โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา เทียนแดง เทียนขำว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่ มีราลง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ตานซางสําหรับเด็ก ที่มีอาการไข้ต่ํา ๆ อาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ ถ่ายเหลวกระปริบกระปรอย เบื่ออาหาร ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด ( แบบอัดเปียก) เด็ก อายุ 1 – 5 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น น้ํากระสายยาที่ใช้ น้ําดอกไม้เทศหรือ น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด เด็ก อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้สูง ที่มีไข้ 38.0 องศาเซลเซียส ขึ้นไป คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้

9 - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 8 ) ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย 1 . ใบกะเพราแดง หนัก 45 กรัม 2 . ผิวมะกรูด หนัก 20 กรัม 3 . รากชะเอมเทศ มหาหิงคุ์ หนักสิ่งละ 8 กรัม 4 . พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 2 กรัม 5 . เกลือสินเธาว์ หนัก 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด (แบบอัดเปียก) เด็กอายุ 1 – 3 เดือน รับประทานครั้งละ 100 – 200 มิลลิกรัม อายุ 4 – 6 เดือน รับประทานครั้งละ 200 – 300 มิลลิกรัม อายุ 7 – 12 เดือน รับประทานครั้งละ 400 – 600 มิลลิกรัม โดยนํายา ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ (ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน แล้วใช้หลอดหยด ดูดส่วนน้ําใส) รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้น้ําต้มสุก ที่ยังอุ่นอยู่ หรือน้ําใบกะเพราต้ม - กรณีแก้จุกเสียด ใช้ไพลเผาไฟพอสุก ฝนกับน้ําต้มสุก ที่ยังอุ่นอยู่ ชนิดแคปซูลและ ชนิด เม็ด เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม สูตรตํารับยาประสะกะเพราตามประกาศยาสามัญประจําบ้าน พ.ศ. 2537 มีตัวยา “ น้ําประสานทองสะตุ ” เป็นส่วนประกอบแต่ได้ตัดออกจากสูตรตํารับตามประกาศ ยา ประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2542 แล้ว ( 9 ) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 250 กรัม ประกอบด้วย 1 . ดอกกานพลู หนัก 125 กรัม 2 . เปลือกซิก หนัก 10 กรัม เหง้าขมิ้ นชัน หนัก 8 กรัม เปลือกเพกา เปลือกขี้ อ้าย หนักสิ่งละ 4 กรัม 3 . เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 3 กรัม เหง้าไพล รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน รากช้าพลู หนักสิ่งละ 2 กรัม พริกไทยล่อน หนักสิ่งละ 1 กรัม เหง้าว่านน้ํา หัวกระชาย การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม

10 4 . รากแฝกหอม หัวเปราะหอม รากกรุงเขมา ใบกระวาน ลูกกระวาน ลูกผักชีลา หนักสิ่งละ 4 กรัม กฤษณา ลูกจันทน์ หนักสิ่งละ 8 กรัม 5 . เทียนดํา เทียนขาว โกฐสอ โกฐกระดูก หนักสิ่งละ 4 กรัม 6 . รากข้าวสาร หนัก 8 กรัม รากแจง หนัก 4 กรัม 7 . กํามะถันเหลือง หนัก 4 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดท้อง จุกเสียด แน่นเฟ้อจากอาหารไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ปกติ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทาน ครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ ใช้ไพลเผาไฟพอสุกฝนกับน้ําปูนใสเป็นน้ํากระสาย ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทาน ครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (10) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยา พื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 114 กรัม ประกอบด้วย 1 . ใบกระพังโหม หนัก 60 กรัม 2 . ยาดําสะตุ หนัก 8 กรัม 3 . โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอพิเภก เนื้อผลมะขามป้อม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอมเทศ เมล็ดโหระพา ลูกผักชีลา สารส้ม สะตุ เหง้าขมิ้นอ้อย หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด (แบบอัดเปียก) เด็ก อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 . 5 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เพิ่มและลดได้ตามส่วน วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ชนิดเม็ด และช นิด แคปซูล เด็ก อายุ 6 – 12 ปี รับประทาน ครั้งละ 1.5 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ -

11 คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ยาจะมีฤทธิ์ระบาย หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 11 ) ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 93 กรัม ประกอบด้วย 1 . เหง้าขิง ลูกเบญกานี หนักสิ่งละ 9 กรัม 2 . โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน ลูกผักชีล้อม ลูกผักชีลา หัวกระเทียม เปลือกต้น สมุลแว้ง เปลือกโมกมัน แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่ นที่ มีราลง แก่นจันทน์เทศ ดอกกานพลู ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยล่อน ลูกจันทน์ การบูร หนักสิ่งละ 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ธาตุไม่ปกติ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้ งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ ยังอุ่ นอยู่ วันละ 3 ครั้ ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 1 ขวบ เนื่องจากเป็นยารสร้อน ทําให้ลิ้น ปากแสบร้อนได้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อา การไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์

12 ( 12 ) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 108 กรัม ประกอบด้วย 1 . ดอกดีปลี หนัก 54 กรัม 2 . ลูกผักชีลา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ หนักสิ่งละ 8 กรัม 3 . ลูกกระวาน ดอกกานพลู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เปลือกต้นอบเชย เปลือกต้นสมุลแว้ง เนื้อผลสมอเทศ เนื้อผลสมอไทย เหง้าว่านน้ํา เถาบอระเพ็ด เหง้าขิงแห้ง รากพญารากขาว หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือผสมน้ําผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีดีปลีในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (1 3 ) ยาอภัยสาลี ยาลูกกลอน ยาเม็ด บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์ แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในผงยา 187 กรัม ประกอบด้วย 1. หั ศคุ ณเทศ หนั ก 24 กรั ม พริ กไทยล่ อน แก่ นจั นทน์ เทศ หนั กสิ ่ งละ 16 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 12 กรัม 2. หัวบุกรอ หนัก 15 กรัม เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอเทศ หนักสิ่งละ 13 กรัม 3. เทียนแดง หนัก 11 กรัม เทียนข้าวเปลือก หนัก 10 กรัม เทียนตาตั๊ก แตน หนัก 9 กรัม เทียนขาว หนัก 8 กรัม 4. โกฐเขมา หนัก 9 กรัม โกฐสอ หนัก 8 กรัม 5. เหง้าว่านน้ํา หนัก 7 กรัม ดอกกานพลู หนัก 4 กรัม ลูกกระวาน หนัก 3 กรัม ดอกจันทน์ หนัก 2 กรัม ลูกจันทน์ หนัก 1 กรัม 6. ลูกพิลังกาสา หนัก 6 กรัม ข้อบ่งใช้ / สรรพคุณ บําบัดโรคลม บรรเทาอาการจุกเสียดแน่น ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน -

13 ข้อควรระวัง ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - 2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก (1) ยาชุมเห็ดเทศ ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงใบชุมเห็ดเทศ [ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L. ( ชื่อพ้อง )] ที่มีสารสําคัญ hydroxyanthracene derivatives โดยคํานวณเป็น rhein - 8 - glucoside ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1 . 0 โดยน้ําหนัก (w/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้อง โดยไม่ทราบสาเหตุ คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 12 ปี หรือผู้ป่วย inflammatory bowel disease - การรับประทานยานี้ในขนาดสูงอาจทําให้เกิดไตอักเสบ (nephritis) - ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เพราะจะทําให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการ สูญเสียน้ําและเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และ ทําให้ลําไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย - ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการปวดมวนท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลําไส้ใหญ่ (2 ) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ยา แคปซูล ยาเม็ด บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 117 กรัม ประกอบด้วย 1 . ดีเกลือฝรั่ง หนัก 60 กรัม ยาดําสะตุ หนัก 12 กรัม 2 . ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มป่อย เนื้อในฝักคูน รากขี้กาแดง รากขี้กาขาว รากตองแตก ฝักส้มป่อย เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอดีงู เถาวัลย์เปรียง หนักสิ่งละ 3 กรัม ขี้เหล็กทั้ง 5 หนัก 3 กรัม 3 . หัวหอม หนัก 3 กรัม 4 . หญ้าไทร ใบไผ่ป่า หนักสิ่งละ 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้บรรเทาอาการท้องผูกเฉพาะในรายที่ท้องผูกมากหรือในรายที่มีอาการท้องผูกเรื้อรังและ ใช้ยาอื่นแล้วไม่ได้ผล ขนาดและวิธีใช้ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ครั้งแรก รับประทาน 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป รับประทานเพิ่มเป็น 1 . 5 กรัม

14 แต่ไม่เกิน 2.5 กรัม ต่อวัน ( ตามธาตุหนักธาตุเบา ) ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ใน หญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction/ileus) - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปก ติเฉียบพลันที่ทางเดินอาหาร ( acute gastro - intestinal conditions) เช่น คลื่นไส้ อาเจียน คําเตือน - ข้อควรระวัง - เนื่องจากเป็นยาถ่ายอย่างแรง ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยอ่อนเพลียมากหรือมี ภาวะขาดน้ํา - เมื่อถ่ายแล้ว ให้เว้นอย่างน้อย 2 วัน แล้วจึงใช้ยานี้อีกครั้ง - ควร ระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ มีความผิดปกติของไตหรือตับ (renal/ hepatic impairment ) เนื่องจากยามีส่วนประกอบของแมกนีเซียม อาการไม่พึงประสงค์ ปวดเสียดท้อง ข้อมูลเพิ่มเติม - (3) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาเฉพาะ ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วย 1 . พริกไทยล่อน หนัก 96 กรัม 2 . ยาดําสะตุ หนัก 20 กรัม 3 . เนื้อผลสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม 4 . รงทอง (ประสะ) หนัก 4 กรัม 5 . ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เนื้อผลมะขามป้อม หนักสิ่งละ 2 กรัม 6 . ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดํา เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก หั วกลอย หั วกระดาดขาว หั วกระดาดแดง ลู กเร่ ว เหง้ำขิ ง รากชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ําเต้า หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้เถาดาน ท้องผูก ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือผสมน้ําผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง

15 - ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 4 ) ยามะขามแขก ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงใบ หรือผงใบและฝักมะขามแขก [ Senna alexandrina Mill.] โดยมีสารสําคัญ hydroxyanthracene glycoside ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.5 คํานวณเป็น sennoside B สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที ก่อนนอน ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 . 2 กรัม ก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้อง โดยไม่ทราบสาเหตุ คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยานี้ในเด็กอายุต่ํากว่า 12 ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel dis ease - การรับประทานยาในขนาดสูง อาจทําให้เกิดไตอักเสบ (nephritis) - ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะจะทําให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสีย น้ํา และเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใช้ติดต่อกัน เป็นระยะ เวลานาน จะทําให้ลําไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย - ควรระวังการใช้ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุ ตร อาการไม่พึงประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน 2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย (1) ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด ยา แคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย 1. เหง้าขมิ้นชัน หนัก 30 กรัม 2 . ชันย้อย ครั่ง สีเสียดเทศ เปลือกสีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หัวแห้วหมู เหง้าขมิ้นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ หัวกระเทียมคั่ว ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ เป็นต้น ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด (แบบอัดเปียก) ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือน้ําต้มสุก ที่ยังอุ่ นอยู่ ทุก 3 – 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 3 – 5 เดือน รับประทานครั้งละ 200 มิลลิกรัม อายุ 6 – 12 เดือน รับประทานครั้งละ 300 – 400 มิลลิกรัม

16 อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 – 700 มิลลิกรัม อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ทุก 3 – 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ ใช้น้ําเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคต้ม แทรกกับน้ําปูนใสเป็นน้ํากระสายยา สําหรับเด็กเล็กให้บดผสมกับน้ํากระสายยา ใช้รับประทานหรือกวาดก็ได้ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด เด็ก อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3 – 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3 – 5 ชั่วโมง ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - (2) ยากล้วย ยาผง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากผลกล้วยน้ําว้าดิบชนิดแก่จัด [ Musa sp. (ABB group) “kluai namwa”] หรือผงจากผลกล้วยหักมุกดิบชนิดแก่จัด [ Musa sp. (ABB group ) “kluai hakmuk”] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมี เลือดปน ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 10 กรัม ชงในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้กับผู้ที่ท้องผูก หรือผู้ที่มีภาวะลําไส้อุดตัน - การรับประทานยานี้ ติดต่อกันนาน ๆ อาจทําให้ท้องอืดได้ อาการไม่พึงประสงค์ ท้องอืด (3) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) สูตรตํารับ ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย 1. เนื้อผลสมอไทย หนัก 16 กรัม 2. โกฐก้านพร้าว หนัก 8 กรัม 3 . เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดํา เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์ เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ดอกกานพลู เปลือกต้นสมุลแว้ง ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม

17 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วั นละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ หรือละลาย น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ําร้อนหรือใช้ใบกะเพรา ต้มเป็นน้ํากระสาย - กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือกลูกทับทิมต้ม แทรกกับน้ําปูนใสเป็น น้ํากระสา ยยา ชนิดแคปซูลและชนิดลูกกลอน ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ในกรณีท้องเสีย ชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควร ปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มีรายงาน พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การ อนามัยโลกได้ ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (4) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยา แคปซูล ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) สูตรตํารับ ผงจากส่วนเหนือดินของฟ้าทะลายโจร [ Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees] ที่มีสารสําคัญ total lactone โดยคํานวณเป็น andrographolide ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 .0 โดยน้ําหนัก ( w/w ) และปริมาณ andrographolide ไม่น้อย กว่าร้อยละ 1.0 โดยน้ําหนัก ( w/w )

18 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ - ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากติดเชื้อ Streptococ cus group A 2. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A 3. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค 4. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการ รุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น คําเตือน - หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดทันที และพบแพทย์ อันตรกิริยา ข้อควรระวัง อาการไม่พึงประสงค์ - - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง - หากใช้ติดต่อกันเกิน 3 วัน แล้วไม่ดีขึ้น หรืออาการรุนแรงขึ้น ระหว่างการใช้ยา ควรหยุดใช้ และพบแพทย์ - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการ จับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยาที ่ กระบวนการเมแทบอลิ ซึ ม ผ่ำนเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่ องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ ยับยั้ งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4 - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของตับผิดปกติ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่ น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้ 2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก (1) ยาทาขมิ้นชันและกัญชา ยาน้ํามัน ยาผงสําหรับผสมในน้ํามัน ( รพ. ) บัญชีรายการยา พื้นฐาน สูตรตํารับ ยาผง 30 กรัม เตรียมจาก เหง้าขมิ้นชัน 15 กรัม ใบกัญชา 15 กรัม สําหรับนําไปผสมกับน้ํามันเมล็ดฝ้าย 30 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาริดสีดวงทวารหนัก ขนาดและวิธีใช้ ก่อนใช้ให้ นํายาผงผสมกับส่วนน้ํามันให้เข้ากัน ทาวันละ 2 ครั้ง หลังอาบน้ํา เช้า และ เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของตํารับ อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้มีอาการระคายเคืองผิวหนังผื่นคัน แดงร้อน ได้ ข้อมูลเพิ่มเติม - ในทางปฏิบัติ กรณีรูปแบบยาผงสําหรับผสมในน้ํามัน จะมีการจ่ายยาผงพร้อมน้ํามันเมล็ดฝ้าย เพื่อให้คนไข้เตรียมเอง ( freshly prepared) - ควรระวังยาเลอะเสื้อผ้า

19 (2) ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในผงยา 156 กรัม ประกอบด้วย 1. ใบเหงือกปลาหมอ เถาเพชรสังฆาต เนื้อผลสมอไทย เมล็ดพริกไทยล่อน หนักสิ่งละ 30 กรัม 2. ผลราชดัด โกฐน้ําเต้า หนักสิ่งละ 15 กรัม 3. เหง้าขมิ้นชัน หนักสิ่งละ 6 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 0.75 – 1.25 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็ น แ ล ะ ก่อนนอน ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร - ควรระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่ มเติม - เนื่ องจากเถาเพชรสังฆาตมีปริมาณ Oxalate สูง อาจก่อให้เกิดนิ่ วในไตได้หากใช้ เป็น เวลานาน - มีรายงานในสัตว์ทดลองว่า สาร anthraquinone จากโกฐน้ําเต้า เมื่อใช้เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า เกิดพิษต่อไต - ในการรักษา ผู้ป่วยควรงด หรือหลี กเลี่ยงอาหารแสลง เช่น เหล้า เบียร์ ของหมักดอง อาหารทะเล ( 3) ยาผสมเพชรสังฆาตสูตรที่ 1 ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาเพชรสังฆาต หนัก 70 กรัม รากอัคคีทวาร หนัก 20 กรัม โกฐน้ําเต้า หนัก 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยา ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร - ควรระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย ข้อมูลเพิ่มเติม - เนื่องจากเถาเพชรสังฆาตมีปริมาณ Oxalate สูง อาจก่อให้เกิดนิ่วในไตได้หากใช้เป็น เวลานาน - มีรายงานในสัตว์ทดลองว่า สาร anthraquinone จากโกฐน้ําเต้า เมื่อใช้เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า เกิดพิษต่อไต - ในการรักษา ผู้ป่วยควรงด หรือหลีกเลี่ยงอาหารแสลง เช่น เหล้า เบียร์ ของหมักดอง อาหารทะเล

20 (4) ยาผสมเพชรสังฆาตสูตรที่ 2 ยาแคปซูล (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 85 กรัม ประกอบด้วย เถาเพชรสังฆาต หนัก 50 กรัม กะเม็ง (ทั้งต้น) หนัก 15 กรัม โกฐน้ําเต้า หัวกระชาย หนักสิ่งละ 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยา ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร - ควรระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย มวนท้อง ข้อมูลเพิ่มเติม - เนื่องจากเถาเพชรสังฆาตมีปริมาณ Oxalate สูง อาจก่อให้เกิดนิ่วในไตได้ หากใช้เป็น เวลานาน - มีรายงานในสัตว์ทดลองว่า สาร anthraquinone จากโกฐน้ําเต้า เมื่อใช้เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า เกิดพิษต่อไต - ในการรักษา ผู้ป่วยควรงด หรือหลีกเลี่ยงอาหารแสลง เช่น เหล้า เบียร์ ของหมักดอง อาหารทะเล ( 5 ) ยา ริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 110 กรัม ประกอบด้วย 1. มดยอบคั่ว หนัก 5 กรัม 2. ขอบชะนางแดง (ทั้งต้น) ขอบชะนางขาว (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 5 กรัม 3. โกฐกักกรา โกฐสอ โกฐจุฬาลําพา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา หนักสิ่งละ 5 กรัม 4. เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน หนักสิ่งละ 5 กรัม 5. แก่นสนเทศ ลู กจันทน์ ดอกจันทน์ เถาสะค้าน เปลือกต้นสมุลแว้ง ดอกดีปลี พริกไทยล่อน เหง้าขิง เปลือกอบเชยเทศ หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยา ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - 2.5 กลุ่มยารักษาโรคในกระเพาะอาหาร (1) ยากล้วย ยาผง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากผลกล้วยน้ําว้าดิบชนิดแก่จัด [ Musa sp. (ABB group) “kluai namwa”] หรื อผงจากผลกล้ วยหั กมุ กดิ บชนิ ดแก่ จั ด [ Musa sp. (ABB group ) “kluai hakmuk”]

21 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 10 กรัม ชงในน้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้กับผู้ที่ท้องผูก หรือผู้ที่มีภาวะลําไส้อุดตัน - การรับประทานยานี้ ติดต่อกันนาน ๆ อาจทําให้ท้องอืดได้ อาการไม่พึงประสงค์ ท้องอืด 2.6 กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน (1) ยาขิง ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา กรณี ใช้ ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด ให้สั่งใช้ยาโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สูตรตํารับ ผงเหง้าขิงแก่ ( Zingiber officinale Rosc.) ที่มีน้ํามันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.0 โดยปริมาตรต่อน้ําหนัก ( v/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มีสาเหตุจากการเมารถ เมาเรือ 2. ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด ขนาดและวิธีใช้ ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มีสาเหตุจากการเมารถ เมาเรือ รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที – 1 ชั่วโ มง หรือเมื่อมีอาการ ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยา ต้าน การ จับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนําให้รับประทานในเด็กอายุต่ํากว่า 6 ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ ( 2 ) ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) บัญชีรายการยาเฉพาะ จํานวน 2 ความแรง ได้แก่ ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด และ ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (Oromucosal drops) เงื่อนไขการใช้ยา 1. กรณีใช้เสริมหรือควบรวมกับการรักษาตามมาตรฐานในการรักษาภาวะคลื่นไส้ อาเจียนจากเคมีบําบัด ให้สั่งใช้ยาโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแผนปัจจุบันที่ เกี่ยวข้องกับการสั่งใช้ เคมีบําบัดเพื่อการบําบัดรักษา และเป็นผู้ที่ผ่านการอบรม หลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์ ที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง 2 . ยาความแรง 3 มิลลิกรัม / หยด 2 .1 ช่วยเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้น้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด ในปริมาณสูง 2 .2 ใช้สําหรับผู้ป่วยที่เคยใช้น้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด มาก่อนและทราบปริมาณยาที่เหมาะสมแล้วเท่านั้น

22 สูตร ตํารับ สารสกัดจากกัญชา ( Cannabis sativa L.) ที่มีสารสําคัญ Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด หรือ ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาเสริมหรือควบรวมกับการรักษาตามมาตรฐานในการรักษาภาวะ คลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบําบัด ขนาดและวิธีใช้ - กรณี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด หยดใต้ลิ้น 1 หยด (THC 0.5 มิลลิกรัม) ทุกวันก่อนนอน ปรับขนาดยาทุก 48 ชั่วโมง โดยปรับขนาดยาอย่างช้า ๆ ขนาดยาสูงสุดไม่ควรเกินวันละ 10 หยด ( THC 5 มิลลิกรัม ต่อวัน) - กรณี THC ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด หยดใต้ลิ้น 1 หยด ( THC 3 มิลลิกรัม ) ทุกวันก่อนนอน สําหรับผู้ที่เคยใช้น้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด ให้คํานวณปริมาณของ THC ในขนาดที่เทียบเท่ากัน โดย ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน วันละ 20 มิลลิกรัม ข้อห้ามใช้ - ผู้ที่เคยแพ้กัญชา - ผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดที่รุนแรง หรือโรคหลอดเลือดสมองที่รุนแรง เนื่องจาก อาจทําให้ความดันเลือดต่ํา บางครั้งอาจทําให้ความดันเลือดสูง เป็นลมหมดสติ หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคหลอดเลือดสมอง - ผู้ที่เป็นโรคจิตเภทหรือโรคอารมณ์สองขั้ว คําเตือน - ไม่ควรใช้ยานี้ในบุคคลที่อายุต่ํากว่า 25 ปี ยกเว้นในกรณีที่แพทย์พิจารณาแล้วว่า ผู้ป่วย ได้รับประโยชน์ มากกว่าความเสี่ยง - ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในสตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร รวมถึงสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มิได้ คุมกําเนิดหรือสตรีที่วางแผนจะตั้งครรภ์ - ยานี้อาจทําให้ง่วงซึม จึงไม่ควรขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือ ทํางานที่เสี่ยงอันตราย - ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อันตรกริยา - ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่มีกระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ CYP2C9, CYP2C19 หรือ CYP3A4 เช่น amiodarone, carbamazepine, phenytoin, warfarin หรือ valproic acid - ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น highly protein - bound เช่น warfarin, cyclosporine และ amphotericin B ข้อควรระวัง - ระมัดระวังการใช้ยาใน ผู้ป่วยที่มีภาวะการทํางานของตับหรือไตบกพร่องรุนแรง - หลีกเลี่ยงการสั่งใช้ยากับผู้ป่วยเป็นเวลานาน และควรติดตามอาการติดยาอย่าง สม่ําเสมอก่อนหยุดใช้ยา ต้องปรับลดขนาดยาลงทีละน้อยเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการ ถอนยา - ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาร่วมกับยากล่อมประสาทหรือ ยาที่ออก ฤทธิ์ ทางจิตอื่ น ๆ เนื่องจากเสริมฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางหรือเพิ่มผลกระทบทางจิต ประสาท - ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติของการใช้สารเสพติด รวมถึงผู้มีประวัติติดสุรา

23 - ผู้ชายที่บริโภคกัญชา อาจส่งผลให้มีบุตรยาก เพราะ THC อาจมีผลทําให้ต่อมสร้าง น้ําอสุจิมีขนาดเล็กลง น้ําอสุจิลดลง และลดการสร้างตัวอสุจิ อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง วิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม เคลิ้มสุข (euphoria) ค ลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ประสาทหลอน ภาวะพุทธิปัญญาบกพร่อง (cognitive impairment) กลุ่มที่ 3 ยารักษากลุ่มอาการสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา (1) ยาเลือดงาม ยาแคปซูล (รพ. ) ยาผง (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา กรณีใช้แก้มุตกิด ให้สั่ง ใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมที่ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 102 กรัม ประกอบด้วย 1 . เหง้าขิงแห้ง ตะไคร้บ้าน (ลําต้น) สะระแหน่ (ทั้งต้น) เหง้ากระชาย เหง้ากระทือ ผิวมะกรูด ใบมะนาว รากและใบกะเพรา หัวกระเทียม เปลือกเพกา โกฐจุฬาลัมพา ช้าพลู (ทั้งต้น) ลูกเร่วหอม ลูกจันทน์ ดอกกานพลู ดอกดีปลี เหง้าไพล พริกไทยล่อน รากเจตมูลเพลิงแดง รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 5 กรัม 2 . พิมเสน การบูร หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการปวดประจําเดือน ช่วยให้ประจําเดือนมาเป็นปกติ 2. แก้มุตกิด ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และหญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมาผิดปกติ หลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (2) ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 71 กรัม ประกอบด้วย 1 . รากเจตมูลเพลิงแดง สารส้มสะตุ แก่นแสมทะเล ผิวมะกรูด การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม 2 . เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้ากระทือ เหง้าข่า เหง้าไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ 5 กรัม 3 . พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 4 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่

24 ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้รับประทาน จ นกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 3 ) ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิง พริกไทยล่อน สารส้มสะตุ ฝักส้มป่อย หนักสิ่งละ 20 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 – 1 . 5 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่น วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วั น ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รั บประทานครั ้ งละ 1 – 1 . 5 กรั ม วั นละ 3 ครั ้ ง ก่ อนอาหาร เช้ำ กลางวั น เย็น ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (4) ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยา ลูกกลอน บัญชีรายการยาเฉพาะ ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยา ลูกกลอน ( รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา กรณีใช้ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทย ประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 162 กรัม ประกอบด้วย 1 . เหง้าไพล หนัก 81 กรัม 2 . ผิวมะกรูด เหง้าว่านน้ํา หัวกระเทียม หัวหอม พริกไทยล่อน ดอกดีปลี เหง้าขิง เหง้าขมิ้นอ้อย เทียนดํา เกลือสินเธาว์ หนั กสิ่งละ 8 กรัม 3 . การบูร หนัก 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. ระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ

25 2. บรรเทาอาการปวดประจํา เดือน 3. ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ขนาดและวิธีใช้ กรณี ระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดรับประทาน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดรับประทาน กรณีปวดประจําเดือน ในกรณีที่มีอาการปวดประจําเดือนเป็นประจํา ให้รับประทานยาก่อนมีประจําเดือน 2 - 3 วันไปจนถึงวันแรกและวันที่สองที่มีประจําเดือน ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น กรณี ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยั งอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน แคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้ งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติ หลังคลอด - ห้ามรับประทาน ในหญิงที่มีระดูมากกว่าปกติ เพราะจะทําให้มีการขับระดูออกมามากขึ้น คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน - กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (5) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย 1 . พริกไทยล่อน หนัก 50 กรัม

26 2. ดอกดีปลี รากช้าพลู ผักแพวแดง (ทั้ งต้น) เถาสะค้าน เหง้าขิงแห้ง ลูกผักชีล้อม เหง้าว่านน้ํา หัวแห้วหมู ผิวมะกรูด ลูกพิลังกาสา หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงไฟธาตุ ขับโลหิตระดู บํารุงน้ํานม ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก ข้อมูลเพิ่มเติม - แพทย์แผนไทยดั้งเดิมใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด - คัมภีร์มหาโชตรัตน์ ยาปลูกไฟธาตุใช้สําหรับปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีระดู ให้ระดู มีมา ถ้าแม่ลูกอ่อนกินทําให้น้ํานมมาก ทั้งหาโทษมิได้เลย ดีนักแล (6) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในยา 130 กรัม ประกอบด้วย 1. แก่นแกแล แก่นขนุน ว่านชักมดลูก แก่นฝางเสน เถาสะค้าน รากเ จตมูลเพลิงแดง ดอกดีปลี โกฐเชียง เถากําแพงเจ็ดชั้น หนักสิ่งละ 10 กรัม 2. พริกไทยล่อน รากช้าพลู ดอกคําฝอย ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับน้ําคาวปลา บํารุงเลือด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วในหญิงหลังคลอด ขนาดและวิธีใช้ 1. วิธีการเตรียมยาต้ม 1) นําถุงผ้าขาวบางที่บรรจุสมุนไพรใส่ในหม้อต้ม 2) เติมน้ําพอท่วม ( โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น้ํา และให้น้ําท่วมหลังมือ ) นําไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือด แล้วหรี่ไฟลง ต้มต่ออีก 10 - 15 นาที แล้วยกลงจากเตา 2. วิธีใช้ รินเอาน้ําดื่ มครั้ งละ 250 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น กินติดต่อกัน 1 สัปดาห์ หรือจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน 15 วัน โดยควรดื่ม ขณะยังอุ่นอยู่ ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันได้ 5 - 7 วัน โดยเติมน้ํา แล้วนํามาต้มกินทุกวัน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด แ ละหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม แพทย์แผนไทยดั้งเดิมใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด

27 กลุ่มที่ 4 ยารักษากลุ่มอาการไข้ 4.1 กลุ่มยาแก้ไข้ / แก้ร้อนใน (1) ยาเขียวหอม ยาผง ยาเม็ด ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย ใบพิมเสน ใบผั กกระโฉม ใบหมากผู ้ ใบหมากเมี ย ใบสั นพร้ำหอม รากแฝกหอม หัวเปราะหอม แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง ว่านกีบแรด ว่ำนร่ อนทอง เนระพู สี พิ ษนาศน์ มหาสดํา ดอกพิ กุ ล ดอกบุ นนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1 . บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา 2 . แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส ( บรรเทาอาการไข้จากหัดและอีสุกอีใส ) ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ - กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา ใช้น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือน้ําดอกมะลิ เป็นน้ํากระสายยา - กรณีแก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส ละลายน้ํารากผักชีต้ม เป็นน้ํากระสายยา ทั้งรับประทานและชโลม หมายเหตุ การชโลมใช้ยาผงละลายน้ํา 1 ต่อ 3 แล้วชโลม ( ประพรม ) ทั่วตามตัวบริเวณที่ตุ่มใสยังไม่แตก ชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ทางการแพทย์แผนไทย แนะนําให้ผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส ห้ามรับประทานอาหารทะเล ไข่ และน้ําเย็น เนื่องจากผิดสําแดง - ในเด็กอายุ 2 - 6 ขวบ อาจให้ยาโดยการชโลม ใช้ยาผงละลายน้ํา 1 ต่อ 3 แล้วชโลม (ประพรม) ตามตัว ขณะมีไข้ ตัวร้อน

28 - ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมี ข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia มี รายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (2) ยาจันทลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง ลูกกระดอม เถาบอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิ่งละ 12 กรัม พิมเสน หนัก 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทาน ครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม แนะนําให้ใช้ยาจันทน์ลีลาได้ ใน หญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน ( 3 ) ยา บัวบก ยาแคปซูล ( รพ. ) ยา ชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากส่วนเหนือดินของบัวบก [ Centella asiatica (L.) Urb.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน ช้ําใน ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 - 4 กรัม ชงแช่น้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้พืชในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) เช่น ยี่หร่า ผักชี คําเตือน - อันตรกิริยา - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่มีผลต่อตับ ยาขับปัสสาวะ และยาที่มีผลข้างเคียง ทําให้ง่วงนอน เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้

29 - บัวบกอาจเพิ่มระดับน้ําตาลและคอเลสเตอรอลในเลือด และทําให้ประสิทธิผลของ ยาลดน้ําตาลและยาลดคอเลสเตอรอลลดลง - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีกระบวนการเมแทบอลิซึมผ่าน Cytochrome P 450 ( CYP 450) เนื่องจากบัวบกมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP 2 C 9 และ CYP 2 C 19 ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้กับผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่ องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ - หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจทําให้เกิดพิษต่อตับได้ ในผู้ป่วยบางราย อาการไม่พึงประสงค์ ง่วงนอน คลื่นไส้ อาเจียน แสบท้อง มวนท้อง ท้องอืด และปัสสาวะบ่อย (4) ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) สูตรตํารับ ในผงยา 64 กรัม ประกอบด้วย 1 . แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง หนัก 32 กรัม 2 . รากเหมือดคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว หัวเปราะหอม โกฐหัวบัว แก่นจันทน์เทศ แก่นฝางเสน หนักสิ่งละ 4 กรัม 3 . เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ( ไข้พิษ ) แก้ร้อนในกระหายน้ํา ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ ทุก 3 – 4 ชั่วโมง น้ํากระสายที่ใช้ ใช้น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือน้ําดอกมะลิ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ํา หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม -

30 (5) ยามหานิลแท่งทอง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา กรณีแก้ไข้กาฬ (บรรเทาอาการไข้จากไข้กาฬ) ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทย ประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 103 กรัม ประกอบด้วย 1 . เนื้อในเมล็ดสะบ้ามอญ (สุม) หวายตะค้า (สุม) เมล็ดมะกอก (สุม) ลูกมะคําดีควาย (สุม) ถ่านไม้สัก แก่นจันทน์แดงหรือแก่นลักจั่นที่มีราลง แก่นจันทน์เทศ ใบพิมเสน ใบย่านาง หมึกหอม หนักสิ่งละ 10 กรัม 2 . เบี้ยจั่นเผา 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1 . แก้ไข้กาฬ หัด อีสุกอีใส ( บรรเทาอาการไข้จากไข้กาฬ หัด และอีสุกอีใส ) 2 . แก้ไข้ แก้ร้อนใน กระหายน้ํา ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1.5 - 2 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าแล ะเย็น น้ํากระสายยา กรณีแก้หัด และอีสุกอีใส ให้ละลายน้ํารากผักชีต้ม เป็นกระสาย ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1.5 - 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 6 ) ยามะระขี้นก ยาแคปซูล ยาชง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากเนื้อผลแก่ที่ยังไม่สุกของ มะระขี้นก [ Momordica charantia L.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน เ จริญอาหาร ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รั บประทานครั ้ งละ 1 – 2 กรั ม แช่ น้ ําร้ อนประมาณ 120 - 200 มิ ลลิ ลิ ตร นาน 10 นาที วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร

31 ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กหรือหญิงให้นมบุตร เนื่องจากมีรายงานว่าทําให้ระดับน้ําตาลในเลือด ลดลงอย่างมากจนเกิดอาการชักได้ คําเตือน - อันตรกิริยา - ค ว ร ร ะ ว ั ง กำ ร ใ ช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยาลดน้ ําตาลในเลื อดชนิ ดรั บประทาน ( Oral Hypoglycemic Agents ) อื่น ๆ หรือร่วมกับการฉีดอินซูลิน เพราะอาจทําให้ เกิดการ เสริมฤทธิ์กันได้ ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้กับผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ - ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่ วยโรคตับ เพราะเคยมีรายงานว่าทําให้การเกิดตับอักเสบได้ อาการไม่พึงประสงค์ คลื่ นไส้ วิงเวียน ชาปลายมือปลายเท้า hypoglycemic coma อาการชักในเด็ก ท้ องเดิ น ท้ องอืด ปวดศี รษะ และอาจเพิ ่ มระดั บเอนไซม์ gamma - glutamyl transferase และ alkaline phosphatase ในเลือดได้ (7) ยารางจืด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ [ Thunbergia laurifolia Lindl.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม แช่น้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น หรือเมื่อมีอาการ ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ - ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา - ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้ยารักษาโรคอย่างต่อเนื่อง เพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยาเหล่านั้นออกจากร่างกาย ทําให้ประสิทธิผลของยาลดลง อาการไม่พึงประสงค์ - (8) ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. ) บัญชีรายการยา พื้นฐา น สูตรตํารับ ผงหญ้าปักกิ่ง [ Murdannia loriformi s (Hassk.) R.S. Rao & Kammathy] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร รับประทาน วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น

32 ข้อห้ามใช้ คําเตือน - - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่ องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ( 9 ) ยาห้าราก ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย รากย่านาง รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากชิงชี่ รากไม้เท้ายายม่อม หนักสิ่งละ 20 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ กระทุ้งพิษไข้ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ - ไม่แนะนําให้ใช้ในหญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจําเดือน อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - กลุ่มที่ 5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ 5.1 กลุ่มยาบรรเทาอาการไอ / เสมหะ (1) ยาแก้ไอผสมกานพลู ลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย รากชะเอมเทศ หนัก 48 กรัม บ๊วย หนัก 16 กรัม มะนาวดองแห้ง หนัก 10 กรัม น้ําตาลกรวด หนัก 4 กรัม พิมเสน เกล็ดสะระแหน่ หนักสิ่งละ 3 กรัม เหง้าว่านน้ํา ผลมะแว้งเครือ ดอก กานพลู เนื้อผลสมอพิเภก เปลือกต้นอบเชย เนื้อผลมะขามป้อม ดอกเก็กฮวย หล่อฮั่งก๊วย ผิวส้มจีน หนักสิ่งละ 2 กรัม

33 สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ขนาดและวิธีใช้ อมครั้งละ 200 - 300 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย ข้อมูลเพิ่มเติม - (2) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อมสูตรตํารับที่ 1 ยาน้ํา (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย สารสกั ดน้ ํามะขามป้ อมเข้ มข้ น (ความเข้ มข้ น 40 เปอร์ เซ็ นต์ ) 60 มิ ลลิ ลิ ตร สารสกัดใบเสนียด (ความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์) 10 มิลลิลิตร กลีเซอรีน 5 มิลลิลิตร สารสกัดรากชะเอมเทศ 0 . 45 มิลลิลิตร เกลือแกง 0 . 5 กรัม เกล็ดสะระแหน่ 0 . 01 มิลลิกรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ขนาดและวิธีใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย เนื่องจากมะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได้ เนื่องจาก ในสูตรตํารับมีน้ําตาลเป็นสารแต่งรส อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (3) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อมสูตรตํารับที่ 2 ยาน้ํา (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย สารสกัดน้ํามะขามป้อมเข้มข้น (ความเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์) 30 มิลลิลิตร มะนาวดองแห้ง 8 มิลลิกรัม สารสกัดรากชะเอมเทศ 5 มิลลิลิตร ผิวส้มจีน 3 . 3 มิลลิกรัม บ๊วย 3 มิลลิกรัม เนื้อผลสมอพิเภก 3 มิลลิกรัม เนื้อผลสมอไทย 1 มิลลิกรัม หล่อฮังก๊วย 2 มิลลิกรัม เกล็ดสะระแหน่ 0 . 08 มิลลิกรัม น้ําตาลทรายแดง 40 มิลลิกรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ขนาดและวิธีใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย เนื่องจากมะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได้ เนื่องจาก ในสูตรตํารับมีน้ําตาลเป็นสารแต่งรส อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม -

34 (4) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐา น สูตรตํารับ ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย 1. มะนาวดองแห้ง บ๊วย หนักสิ่งละ 35 กรัม รากชะเอมเทศ หนัก 17 กรัม รากชะเอมไทย หนักสิ่งละ 3 กรัม ผลมะแว้งเครือ หนักสิ่งละ 2 กรัม เนื้อผลมะขามป้อม หนัก 1 กรัม 2. เปลือกอบเชยญวณ หนัก 3 กรัม ดอกกานพลู หนัก 1 กรัม 3. เกล็ดสะระแหน่ หนัก 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ขนาดและวิธีใช้ อมครั้งละ 200 - 300 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ ป่วยที่ ต้องจํากัดการได้รับโซเดียมต่อวัน เช่น ผู้ ป่วยโรคไต ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน - ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 5 ) ยาแก้ไอพื้นบ้า นอีสาน ยาน้ํา (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยาน้ํา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย 1. เนื้อผลมะขามป้อมแห้ง 2 กรัม รากชะเอมไทย 1.8 กรัม เนื้อ ผล สมอไทย 1.6 กรัม รากชะเอมเทศ หนัก 600 มิลลิกรัม 2. เหง้าขมิ้นอ้อย กะเพราแดง (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 600 มิลลิกรัม ดอกดีปลี เหง้าขิง 200 มิลลิกรัม พริกไทยล่อน ช้าพลู (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 100 มิลลิกรัม ดอกกานพลู 60 มิลลิกรัม 3. เกลือสินเธาว์สะตุ 400 มิลลิกรัม สารส้มสะตุ 140 มิลลิกรัม 4. โก ฐจุฬาลัมพา หนัก 100 มิลลิกรัม 5. น้ําตาลทรายแดง 5 กรัม เกล็ดสะระแหน่ 30 มิลลิกรัม น้ําผึ้ง 5 มิลลิกรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ขนาดและวิธีใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจํากัดการได้รับโซเดียมต่อวัน เช่น ผู้ป่วยโรคไต ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน - ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 6 ) ยาตรีผลา ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้ นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอพิเภก เนื้อผลมะขามป้อม หนักสิ่งละ 30 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ

35 ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3 - 5 นาที ดื่มในขณะยังอุ่น เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทาน ครั้งละ 300 - 600 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ วันละ 3 - 4 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย ข้อมูลเพิ่มเติม - (7 ) ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด ยาผง ( รพ. ) ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้ นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 96 กรัม ประกอบด้วย 1. ผลมะแว้งต้น ผลมะแว้งเครือ หนักสิ่งละ 24 กรัม 2. ใบสวาด ใบตานหม่อน ใบกะเพรา หนักสิ่งละ 12 กรัม 3. เหง้าขมิ้นอ้อย หนัก 9 กรัม สารส้มสะตุ หนัก 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทําให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือรับประทาน ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1 . 4 กรัม เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 200 - 400 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ ชนิดเม็ดและชนิดลูกกลอน ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือรับประทานหรือใช้อม ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1 . 4 กรัม เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 200 - 400 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ - ไม่ควรใช้น้ํามะนาวแทรกเกลือ กับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดการใช้เกลือ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (8) ยาอํามฤควาที ยาผง ยาลูกกลอน ยาผง ( รพ. ) ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 70 กรัม ประกอบด้วย 1 . รากชะเอมเทศ หนัก 35 กรัม 2 . โกฐพุงปลา เทียนขาว ลูกผักชีลา เนื้อผล มะขามป้อม เนื้อผล สมอพิเภก หนักสิ่งละ 7 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ

36 ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ เมื่อมีอาการ น้ํากระสายยาที่ใช้ ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือ ใช้จิบหรือกวาดคอ ชนิดลูกกลอน ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้น้ํามะนาวแทรกเกลือ กับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดการใช้เกลือ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตํารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ จําหน่ำยในท้ องตลาด เป็ นพื ชในสกุ ล Aristolochia ซึ ่ งพื ชในสกุ ล Aristolochia มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค . ศ . 2002 องค์การอนามัยโลกได้ ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ 5.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการหวัด (1) ยาปราบชมพูทวีป ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 465 กรัม ประกอบด้วย 1 . เหงือกปลาหมอ (ทั้งต้น) พริกไทยดํา ใบกัญชาเทศ หนักสิ่งละ 120 กรัม 2. หัศคุณเทศ ดอกกานพลู หนักสิ่งละ 10 กรัม หัวบุกรอ เนื้อผลสมอเทศ เนื้อผล สมอไทย รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิง หนักสิ่งละ 8 กรัม 3. เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนแกลบ หนักสิ่งละ 6 กรัม เทียนดํา โกฐสอ โกฐเขมา ลูกพิลังกาสา ลําพันหางหมู หนักสิ่งละ 4 กรัม 4. ดอกดีปลี การบูร หนักสิ่งละ 2 กรัม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการหวัดในระ ยะแรก และอาการที่เกิดจากการแพ้อากาศ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานวันละ 3 – 4 กรัม แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้เมื่อพบภาวะแทรกซ้อนจากการแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ การติดเชื้อแบคทีเรีย ที่มีอาการเจ็บบริเวณไซนัส ไข้สูง น้ํามูกและเสมหะเขียว เป็นต้น - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ เด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหั วใจ โรคแผลเปื่ อยเพปติก และ โรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน

37 - ควรระวังการใช้ยาเกินขนาด ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไตหรือทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากอาจเกิดพิษจากการบูร - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 2 ) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) สูตรตํารับ ผงจากส่ วนเหนื อดินของฟ้ำทะลายโจร [ Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex Nees] ที่มีสารสําคัญ total lactone โดยคํานวณเป็น andrographolide ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 .0 โดยน้ําหนัก ( w/w ) และปริมาณ andrographolide ไม่น้อย กว่าร้อยละ 1.0 โดยน้ําหนัก ( w/w ) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการเจ็บคอ 2. บรรเทาอาการของโรคหวัด (common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 . 5 – 3 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ - ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากติดเชื้อ Streptococcus group A 2. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A 3. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค 4. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการ รุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น คําเตือน - หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดทันที และพบแพทย์ อันตรกิริยา ข้อควรระวัง อาการไม่พึงประสงค์ - - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง - หากใช้ติดต่อกันเกิน 3 วัน แล้วไม่ดีขึ้น หรืออาการรุนแรงขึ้น ระหว่างการใช้ยาควร หยุดใช้ และพบแพทย์ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บสารกั นเลื อดเป็ นลิ ่ ม ( anticoagulants) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยาที ่ กระบวนการเมแทบอลิ ซึ ม ผ่ำนเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่ องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ ยับยั้ งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4 - ควรระวั งการใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของตับผิดปกติ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้

38 (3) ยา ฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัดจากส่วนเหนือดินหรือใบของฟ้าทะลายโจร [ Andrographis paniculata ( Burm . f .) Wall . ex Nees ] ที่สกัดด้วยเอทานอล หรือ เอทานอล - น้ํา ที่มีการควบคุม ปริมาณ andrographolide สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการของโรคหวัด ( common cold) เช่น ไอ เจ็บคอ น้ํามูกไหล มีไข้ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานในขนาดที่มี Andrographolide 60 - 120 มิลลิกรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วัน ละ 3 - 4 ครั้ง หลังอาหาร รับประทานเป็นเวลา 5 - 7 วัน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ - ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากติดเชื้อ Streptococcus group A 2. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A 3. ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค 4. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สู ง และหนาวสั่น คําเตือน อันตรกิริยา ข้อควรระวัง - หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดทันที และพบแพทย์ - - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง - หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุนแรงขึ้นระหว่าง ใช้ยาควรหยุดใช้และพบแพทย์ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บสารกั นเลื อดเป็ นลิ ่ ม ( anticoagulants) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยาที ่ กระบวนการเมแทบอลิ ซึ ม ผ่ำนเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่ องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ ยับยั้ งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4 - ควรระวังกำรใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของตับผิดปกติ อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่ นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้ กลุ่มที่ 6 ยาบํารุงโลหิต (1) ยาบํารุงโลหิต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 75 กรัม ประกอบด้วย 1 . แก่นฝางเสน ดอกคําไทย หนักสิ่งละ 10 กรัม 2 . ครั่ง หนัก 8 กรัม 3 . เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน รากช้าพลู เถาขมิ้นเครือ เถามวกแดง แก่นกําลังวัวเถลิง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 2 กรัม

39 4 . ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา หนักสิ่งละ 1 กรัม 5. เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอดีงู เนื้อผลสมอพิเภก เปลือกชะลูด อบเชยเทศ แก่นจันทน์แดง หรือแก่นลักจั่นที่มีราลง แก่นแสมสาร แก่นแสมทะเล กฤษณา หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงโลหิต ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ํากระสายยา ควรดื่มขณะยังอุ่นอยู่ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยาที่ใช้ - ใช้น้ําต้มดอกคําไทย หรือดอกคําฝอย เป็นน้ํากระสายยา - ถ้าหาน้ํากระสายไม่ได้ให้ใช้น้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่แทน ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ยากับผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - กลุ่มที่ 7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก (1) ยาเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากเถาของเถาวั ลย์ เปรี ยง [ Solori scandens (Roxb.) Sirich. & Adem, [ Derris scandens (Roxb.) Benth. (ชื่อพ้อง) ] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก เนื่องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิ์ คล้ายยาแก้ปวดกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ( Non – Steroidal Anti - Inflammatory Drugs : NSAIDs) - อาจทําให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร อา การไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น

40 ( 2 ) ยาแก้ลมแก้เส้น ยาผง บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในยา 150 กรัม ประกอบด้วย เมล็ดพริกไทย 80 กรัม ใบกัญชา 40 กรัม รากเจตมูลเพลิง 10 กรัม เหง้าขิง 8 กรัม เทียนข้าวเปลือก 6 กรัม เทียนดํา 4 กรัม เทียนขาว 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมในเส้น บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อที่มีอาการมือเท้าชา ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 - 4 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยา - น้ําผึ้งรวงหรือน้ําส้มซ่า 1 ช้อนชา ( 5 ซีซี) - ถ้าหาน้ํากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว (60 ซีซี) แทน ข้อแนะนําการใช้ - ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยโดยค่อยๆ ปรับเพิ่มขนาดยา - ควรใช้น้ําผึ้งรว งหรือน้ําซ่าเป็นน้ํากระสายยา จะช่วยลดการเกิดอาการ ไม่พึงประสง ค์จากการใช้ยา ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติกและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยา รสร้อน - สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน ควรใช้น้ําต้มสุกเป็นกระสาย อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ งุนงง คอแห้ง แสบร้อนกลางอกได้ ข้อมูลเพิ่มเติม ลมในเส้น เป็นลมที่พัดประจําอยู่ตามเส้นต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ลมจันทกระลา พัดอยู่ในเส้นอิทา ลมสูญทกลา พัดอยู่ในเส้นปิงคลา เมื่อลมเหล่านี้ผิดปกติจะทําใ ห้ ผู้ ป่วยมีอาการปวดหรือชาตามแนวเส้นที่ ลมนั้ นพัดประจําหรือบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น ( 3 ) ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ยาผง (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในผงยา 70 กรัม ประกอบด้วย 1. เหง้าไพล เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้าข่า หัวกระเทียม รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยล่อน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ การบูร หนักสิ่งละ 5 กรัม 2. ผักเสี้ ยนผี (ทั้ งต้น) เปลือกต้นทองหลาง เปลือกต้นกุ่ มบก เปลือกต้นกุ่ มน้ํา เกลือสินเธาว์ หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดตามเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้ําร้อนดื่มประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก คําเตือน -

41 ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระมัดระวังการใช้อย่างต่อเนื่อง ในผู้ป่วยที่จํากัดการใช้ เกลือ อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 4 ) ยาไพล ยาครีม บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ยาที ่ มี ปริ มาณน้ ํามั นหอมระเหยง่ายจาก เหง้ำไพล [ Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. ] ร้อยละ 14 โดยปริมาตรต่อน้ําหนัก ( v/w ) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ํา เคล็ดยอก ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - (5) ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 236 กรัม ประกอบด้วย 1. ดอกดีปลี หนัก 40 กรัม เหง้าขิง หนัก 20 กรัม รากช้าพลู หนัก 24 กรัม เถาสะค้าน หนัก 12 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 8 กรัม 2. เถาโคคลาน กําลังวัวเถลิง เถาวัลย์เปรียง เถาพริกไทย เถาม้ากระทืบโรง หัวกระชาย แก่นแสมสาร เหง้าไพล หนักสิ่งละ 10 กรัม 3. การบูร หนัก 6 กรัม ลูกจันทน์ ดอกกานพลู เหง้าว่านน้ํา เหง้ากระทือ ลูกกระวาน พริกไทยล่อน รากชะเอมเท ศ เปลือกอบเชยเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม 4. ดอกจันทน์ โกฐน้ําเต้า ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 750 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก

42 ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 6 ) ยาขี้ผึ้งไพลสูตรตํารับที่ 1 ยาขี้ผึ้ง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 100 กรัม ประกอบด้วยตัวยาสําคัญ น้ํามันไพล 30 กรัม ที่ ได้จากการทอดไพลกับน้ํามันพืชในสัดส่วนน้ําหนัก 2 ต่อ 1 น้ํามันระกํา 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - ห้ามทายานี้บริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทายานี้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 7 ) ยาขี้ผึ้งไพลสูตรตํารับที่ 2 ยาขี้ผึ้ง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ยา 100 กรัม ประกอบด้วยตัวยาสําคัญ น้ํามันไพลจากการกลั่น 14 กรัม น้ํามันระกํา 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - ห้ามทายานี้บริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทายานี้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (8 ) ยาทําลายพระสุเมรุ ยาแคปซูล ยาผง บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในยา 714 กรัม ประกอบด้วย เมล็ดพริกไทยล่อน 462 กรัม ต้นหัสคุณเทศ 21 กรัม การบูร 21 กรัม เนื้อลูกสมอเทศ 20 กรัม เนื้อลูกสมอไทย 19 กรัม หัวบุกรอ 18 กรัม รากเจตมูลเพลิง 17 กรัม กัญชา 16 กรัม เหง้าขิงแห้ง 15 กรัม เทียนข้าวเปลือก 14 กรัม เทียนตาตั๊ กแตน 13 กรัม เทียนขาว 12 กรัม เทียนแดง 11 กรัม เทียนดํา 10 กรัม โกฐเขมา 9 กรัม โกฐสอ 8 กรัม เหง้าว่านน้ํา 7 กรัม เกลือสินเธาว์ 6 กรัม ดอกดีปลี 5 กรัม ดอกกานพลู 4 กรัม ผลกระวาน 3 กรัม ดอกจันทน์ 2 กรั ม ลูกจันทน์ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมเปลี่ยวดํา เป็นยาเสริมเพื่อฟื้นฟูอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงจากโรคลมอัมพฤกษ์ อัมพาต ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยา - น้ําอ้อยแดง น้ํานมโค ปริมาณครึ่งแก้ว (125 มิลลิลิตร) - ถ้าหาน้ํากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําต้มสุกแทน

43 ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง (กรณีที่ ไม่สามารถควบคุมความดันเลือดได้) โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (กรณีที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้) โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหารและโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน - ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุ - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ร่วมกับ phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ เวี ยนศีรษะ แสบร้อนกลางอก ปากแห้ง ง่วงนอน คลื่นไส้ ข้อมูลเพิ่มเติม 1. สูตรตํารับจากคัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม 2 2. ลมเปลี่ยวดํา เป็นโรคลมชนิดหนึ่ง เกิดจากการกระทบกับความเย็นมากจนเป็นตะคริว ผู้ป่วยมี อาการกล้ามเนื้อเกร็งอย่างรุนแรง กระตุก ทํา ให้เจ็บปวดบริเวณที่เป็นมาก มักแก้โดยการนวด จุดบริเวณตาตุ่มด้านในหรืออาจรักษาด้วยยาสังขวิไชยหรือยาทําลาย พระสุเมรุ (ข้อมูลจาก พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2559 หน้า 472) (9) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาเฉพาะ ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วย 1 . พริกไทยล่อน หนัก 96 กรัม 2 . ยาดําสะตุ หนัก 20 กรัม 3 . เนื้อผลสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม 4 . รงทอง (ประสะ) หนัก 4 กรัม 5 . ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เนื้อผลมะขามป้อม หนักสิ่งละ 2 กรัม 6 . ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดํา เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเร่ว เหง้าขิง รากชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิง แดง โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ําเต้า หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้กษัยเส้น ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือผสมน้ําผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets)

44 - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง - ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 10 ) ยาน้ํามันไพล ยาน้ํามัน (รพ.) บัญชีรายการยำพื้นฐาน สูตรตํารับ ยาที่ มี สารสกัดน้ํามันไพล [ Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. ] ที่ ได้จาก การทอด ( hot oil extract) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตํารับ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ํา เคล็ดยอก ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ( 11 ) ยาน้ํามันกัญชาทั้งห้า ยาหยดในช่องปาก หรือ บัญชีรายการยาพื้นฐาน เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops) สูตรตํารับ ในน้ํามัน 5 มิลลิลิตร ได้จากการเคี่ยวราก ลําต้นรวมกิ่งก้าน ใบ และช่อดอกรวม เมล็ด ของกัญชาอย่างละ 312.5 มิลลิกรัม ในน้ํามันมะพร้าว ซึ่งมี Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol (THC) 0.1 - 0.4 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร แ ละ Cannabidiol (CBD) น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้เสริมการรักษาในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและข้อ ที่ใช้ยามาตรฐานแล้ว ไม่ ได้ผล ขนาดและวิธีใช้ หยดใต้ลิ้น เริ่มต้นครั้งละ 2 หยด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และ เย็น หรือตามแพทย์สั่ง สามารถปรับขนาดยาเพิ่มได้ครั้งละ 1 - 2 หยด บริหารยาได้วันละ 3 - 4 ครั้ง ห่างกันทุก 6 - 8 ชั่วโมง โดยปรับขนาดยาเพิ่มได้ทุก 3 - 7 วัน ภายใต้คําแนะนํา ของแพทย์จนเห็นผลการรักษาแต่ไม่เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ไม่แนะนําให้ใช้ THC เกิน 20 มิลลิกรัมต่อวัน ข้อห้ามใช้ - ผู้ที่มีประวัติแพ้กัญชา หรือน้ํามันมะพร้าว - ผู้ป่วย ที่มีประวัติความผิดปกติทางจิตเวช - ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดขั้นรุนแรง หรือไม่สามารถคุมอาการได้ - ผู้ที่ใช้ยาละลายลิ่มเลือดวาร์ฟาริน - หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร - ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี (ผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย คําเตือน - หากผู้ป่วยมีอาการสับสน กระวนกระวาย วิตกกังว ล ประสานหลอน

45 หรือมีอาการผิดปกติทางจิตเวช ควรหยุดใช้ยาทันที และติดตามอาการอย่างใกล้ชิด จนกว่า อาการจะหายไป - ยานี้อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้งได้ในช่วงสัปดาห์แรกของการใช้ยา แนะนําหลังใช้ยาประมำณ 10 นาที สามารถดื่มน้ําตามได้ อันตรกริยา - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น substrates , enzyme inducers หรือ enzyme inhibitors ของ CYP 2 C 9, CYP 2 C 19, CYP 3 A 4, CYP 2 D 6 , CYP 1 A - สําหรับยาที่มีโอกาสพบการใช้ร่วมกับกัญชา และมีผลเสริมฤทธิ์กัน อาจเพิ่มโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยา เช่น ยากันชัก เช่น phenobarbital, phenytoin, topiramate ยาต้านไวรัสยากลุ่ม protease inhibitors เช่น indinavir, nelfinavir, saquinavir , ยาต้านไวรัสที่เป็น CYP 3 A 4 inhibitors เช่น indinavir, ritonavir, saquinavir ยาที่มีผลกดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยาแก้ปวดมอร์ฟีน ยานอนหลับ ข้อควรระวัง - ระวังการใช้ยาในผู้ที่มีความผิดปกติของตับและไต - ระวังการใช้ยาในผู้ที่ใช้ยากล่อมประสาท หรื อยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตอื่นๆ - ระวังการใช้ยาในผู้ที่ทํางานขับขี่ ยานพาหนะ หรือเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือทํางานที่เสี่ยงอันตราย เพราะยานี้อาจทําให้ง่วงซึม - ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติของการใช้สารเสพติด รวมถึงนิโคติน หรือเป็นผู้ดื่มสุราอย่างหนัก อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง วิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม ใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ ข้อมูลเพิ่มเติม ชื่อยาเดิมตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 คือ ยาน้ํามันกัญชาที่ผลิต จากราก ลําต้น กิ่ง ก้าน ใบ ดอก และเมล็ด ซึ่งเป็นยาในบัญชี 3 ตามโครงการพิเศษ ของ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรฯ ต่อมา คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติเห็นชอบให้ปรับจากบัญชี 3 เป็น บัญชี 1.1 ( บัญชีรายการยาพื้นฐาน ) เนื่องจากยามีประสิทธิผล มีความปลอดภัย เป็นรายการยาที่ผู้ประกอบ วิชาชีพสั่งใช้ได้โดยทั่วไป โดยให้ปรับแก้ไขชื่อยาเป็น ยาน้ํามันกัญชาทั้งห้าเพื่อให้ สะดวกต่อการจดจํา ( 12 ) ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) และ บัญชีรายการยาเฉพาะ cannabidiol (CBD) ในอัตราส่วน 1:1 ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแผนปัจจุบันที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ กระทรวงสาธารณสุขรับรอง สูตรตํารับ สารสกัดจากกั ญชา ( Cannabis sativa L.) ที่มีสารสําคัญ Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol (THC) 27 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ Cannabidiol (CBD) 25 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้ รั กษาเสริมในโรคภาวะปลอกประสาทเสื่ อมแข็ ง (Multiple Sclerosis) ในระยะ Progressive ที่มีภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spasticity ) ขนาดและวิธีใช้ หยดบนเยื่อบุใต้ลิ้นครั้งละ 1 หยด (THC 1 มิลลิกรัม และ CBD 1 มิลลิกรัม) ก่อนนอน หากเวลาผ่านไป 15 นาที แล้วไม่ได้ผล อาจปรับเพิ่มขนาดยาโดยหยดเพิ่มอีก 1 หยด

46 หากใช้มากกว่า 2 หยดต่อวัน แบ่งให้ 2 เวลา เช้า และ ก่อนนอน โดยไม่ควรใช้เกิน 30 หยดต่อวัน ( THC 30 มิลลิกรัม และ CBD 30 มิลลิกรัม) ข้อห้ามใช้ - ผู้ที่เคยแพ้กัญชา - ผู้ที่มีประวัติความผิดปกติทางจิตเวช หรื อคนในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคจิตเวช - ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ไม่สามารถคุมอาการได้ - ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี (ผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย) คําเตือน - หากผู้ป่วยมีอาการสับสน เห็นภาพหลอน มีความคิดฆ่าตัวตาย หรืออาการทางจิตอื่น ๆ ควรหยุดยาทันทีและติดตามอาการอย่างใกล้ชิดจนกว่าอาการจะหายไป - ยานี้อาจทําให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะเล็กน้อยหรือปานกลาง ซึ่งมักเกิดขึ้นในช่วง 2 – 3 สัปดาห์แรกของการรักษา อันตรกริยา - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น substrates, enzyme inducers หรือ enzyme i nhibitors ของ CYP3A4, CYP2C19, CYP2C9, CYP1A2, P - glycoprotein, BCRP และ MRP1 - ยาอาจลดประสิทธิภาพของยาคุมกําเนิดได้ - ยานี้อาจเสริมผลของยาที่มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ เช่น baclofen, benzodiazepines เนื่องจากจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการหกล้มมากขึ้น ข้อควรระวัง - ระมัดระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติชัก หรือมีภาวะชักกลับเป็นซ้ํา - ระวังการใช้ยานี้ในผู้ที่มีความผิดปกติของตับและไต - ระมัดระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ หรือวางแผนตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร อาการไม่ พึงประสงค์ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน สับสน อ่อนเพลีย ง่วงซึม ปากแห้ง ท้องเสีย ( 1 3 ) ยาประคบ ยาประคบสมุนไพรสด (รพ.) ยาประคบสมุนไพรแห้ง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 130 กรัม ประกอบด้วย 1. เหง้าไพล 50 กรัม ใบมะขาม 30 กรัม ผิวมะกรูด 20 กรัม เหง้าขมิ้นชัน 10 กรัม ตะไคร้ (ลําต้น) 10 กรัม ใบส้มป่อย 10 กรัม 2. เกลือเม็ด 1 ช้อนโต๊ะ การบูร 2 ช้อนโต๊ะ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ประคบเพื่อลดอาการปวด ช่วยคลายกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ ขนาดและวิธีใช้ นํายาประคบไปนึ่ง แล้วใช้ประคบ ขณะยังอุ่น วันละ 1 - 2 ครั้ง ลูกประคบ 1 ลูกสามารถใช้ได้ 3 - 4 ครั้ง โดยหลังจากใช้แล้วผึ่งให้แห้ง ก่อนนําไปแช่ตู้เย็น ข้อห้ามใช้ - ห้ามประคบบริเวณที่มีบาดแผล - ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน ในช่วง 24 ชั่ วโมงแรก เนื่องจากจะทําให้มีอาการอักเสบบวมมากขึ้น และอาจมี เลือดออกมากตามมาได้ โดยควรประคบหลังเกิดอาการ 24 ชั่วโมง คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อนหรือ บริเวณที่มีกระดูกยื่น และต้องระวังเป็นพิเ ศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต เด็ก และ ผู้สูงอายุ เพราะมักมีความรู้สึกในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทําให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย - หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้ําทันที เพราะเป็นการล้างตัวยาจาก ผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (จากร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด) อาจทําให้ เป็นไข้ได้

47 - ควรระวังการใช้กับผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของยาประคบ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 14 ) ยาผสมเถาวัลย์เปรียงสูตรตํารับที่ 1 ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาวัลย์เปรียง แก่นดูกหิน (มะดูก) แก่นดูกใส (ขันทองพยาบาท) เหง้าไพล หนักสิ่งละ 25 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้ง 900 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็น หลังอาหารทันที ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหารเนื่องจากเถาวัลย์เปรียงมีกลไก ออกฤทธิ ์ เช่ นเดี ยวกั บยาแก้ ปวดในกลุ ่ มยาต้ำนการอั กเสบที ่ ไม่ ใช่ สเตี ยรอยด์ ( Non - steroidal Anti - Inflammatory Drugs : NSAIDs ) - การใช้ยานี้อาจทําให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินอาหาร อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 15 ) ยาผสมเถาวัลย์เปรียงสูตรตํารับที่ 2 ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เหง้าไพล หนัก 40 กรัม เถาวัลย์เปรียง แก่นดูกหิน (มะดูก) แก่นดูกใส (ขันทองพยาบาท) หนักสิ่งละ 20 กรัม ส รรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้ง 900 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็น หลังอาหารทันที ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหารเนื่องจากเถาวัลย์เปรียงมีกลไก ออกฤทธิ ์ เช่ นเดี ยวกั บยาแก้ ปวดในกลุ ่ มยาต้ำนการอั กเสบที ่ ไม่ ใช่ สเตี ยรอยด์ ( Non - steroidal Anti - Inflammatory Drugs : NSAIDs ) - การใช้ยานี้อาจทําให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินอาหาร อาการไม่ พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 16 ) ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 1 ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาโคคลาน โด่ไม่รู้ล้ม ผลมะตูมอ่อน ทองพันชั่ง (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 25 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้ งละ 1 กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น

48 ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม โคคลานในที่นี้ คือ โพคาน ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae ( 17 ) ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 2 ยาต้ม (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 105 กรัม ประกอบด้วย เถาโคคลาน หนัก 50 กรัม โด่ไม่รู้ล้ม ผลมะตูมอ่อน ส่วนเหนือดินทองพันชั่ง หนักสิ่งละ 15 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ นําตัวยาทั้งหมดมาเติมให้น้ําท่วมตัวยา ต้มน้ําเคี่ยว 3 ส่วนเหลือ 1 ส่วน ดื่มครั้งละ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม โคคลานในที่นี้ คือ โพคาน ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae (18) ยาผสมโคคลานสูตรตํารับที่ 3 ยาต้ม (รพ.) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาโคคลาน เถาเอ็นอ่อน แก่นฝางเสน เถาสะค้าน หนักสิ่งละ 20 กรัม โด่ไม่รู้ล้ม ทองพันชั่ง (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ นําตัวยาทั้งหมดมาเติมให้น้ําท่วมตัวยา ต้มน้ําเคี่ยว 3 ส่วนเหลือ 1 ส่วน ดื่มครั้งละ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม โคคลานในที่นี้ คือ โพคาน ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae (1 9 ) ยาพริก ยาเจล ยาครีม ( รพ. ) ยาเจล ( รพ. ) ยาขี้ผึ้ง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ยาที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (95 เปอร์เซ็นต์) จากผลพริกแห้ง [ Capsicum annuum L., Capsicum frutescens L.] โดยควบคุมความแรงของสาร capsaicin ซึ่ งเป็น สารที่ ได้จากการสกัดผลพริกแห้ง ในผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปร้อยละ 0 . 025 โดยน้ําหนัก (w/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ (musculoskeletal pain) ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่ปวด 3 - 4 ครั้ง ต่อวัน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ capsaicin - ห้ามสัมผัสบริเวณตา

49 คําเตือน - อันตรกิริยา - การใช้ร่วมกับยารักษาโรคหัวใจ กลุ่ม angiotensin - converting enzyme inhibitor (ACE inhibitor) อาจทําให้เกิดอาการไอเพิ่มขึ้น - อาจเพิ่มการดูดซึมของยาโรคหอบหืด คือ theophylline ชนิดออกฤทธิ์เนิ่นนาน - ควรระวังเมื่อใช้ยาพริกร่วมกับยากลุ่มต่อไปนี้ • Angiotensin converting enzyme inhibitors • Anticoagulants • Antiplatelet agents • Barbiturates • Low molecular weight heparins • Theophylline • Thrombolytic agents ข้อควรระวัง อาการไม่พึงประสงค์ ควรระวังการใช้ยาพริกบริเวณผิวที่บอบบางหรือบริเวณผิวหนังที่แตก เนื่องจากทําให้ เกิดอาการระคายเคือง ผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน ( 2 0 ) ยาสเปรย์กระดูกไก่ดํา ยาน้ําสําหรับพ่นผิวหนัง บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยาน้ํา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วยสารสกัด เอทิลแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 95) ของ ใบกระดูกไก่ดําแห้ง 72 มิลลิลิตร (เทียบเท่ากับใบกระดูกไก่ดําแห้ง 28.8 กรัม) , การบูร 3 กรัม , เกล็ดสะระแหน่ 1.5 กรัม , น้ํามันเปปเปอร์มิ้นท์ 0.2 มิลลิลิตร , เอทิลแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 95) 12 มิลลิลิตร , น้ํามันเขียว 0.2 มิ ลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ปวดกล้ามเนื้อ แก้ฟกช้ํา แก้เคล็ดขัดยอกและการอักเสบของกล้ามเนื้อ ขนาดและวิธีใช้ กดพ่น 2 ที บริเวณที่ปวด วันละ 3 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้บริเวณดวงตา ผิวอ่อน และแผลเปิด คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - (21) ยาสหัศธารา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชี รายการยาเฉพาะ ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 1 , 000 กรัม ประกอบด้วย 1. พริกไทยล่อน หนัก 240 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 224 กรัม ดอกดีปลี หนัก 96 กรัม หัศคุณเทศ หนัก 48 กรัม 2 . เนื้อผลสมอไทย หนัก 104 กรัม รากตองแตก หนัก 80 กรัม 3 . เหง้าว่านน้ํา หนัก 88 กรัม 4 . การบูร หนัก 14 กรัม ดอกจันทน์ หนัก 13 กรัม เทียนแดง หนัก 11 กรัม ลูกจันทน์ หนัก 12 กรัม เทียนตาตั๊ กแตน มหาหิงคุ์ หนักสิ่ งละ 10 กรัม เทียนสัตตบุษย์

50 หนัก 9 กรัม เทียนขาว รากจิงจ้อ หนักสิ่งละ 8 กรัม เทียนดํา หนัก 7 กรัม โกฐกักกรา หนัก 6 กรัม โกฐเขมา หนัก 5 กรัม โกฐก้านพร้าว หนัก 4 กรัม โกฐพุงปลา หนัก 3 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 – 1 . 5 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการบริโภคในผู้ ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่ อยเพปติก และโรค กรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 2 2 ) ยาสารสกัดขมิ้นชัน ยาแคปซูล บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ใน 1 แคปซูล ประกอบด้วย สารสกัดเอทานอลจากขมิ้ นชันที่ มีการควบคุมปริมาณ เคอร์คูมินอยด์ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดในโรคข้อเข่าเสื่อม ขนาดและวิธีใช้ รับประทานยาในขนาดที่มีปริมาณเคอร์คูมินอยด์ ครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P 450 ( CYP 450) เนื่องจากสาร curcumin ยับยั้ง CYP 3 A 4 , CYP 1 A 2 แต่กระตุ้น เอนไซม์ CYP 2 A 6 - ควรระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin, chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยา ดังกล่าว อาการไม่พึงประสงค์ ผิวอักเสบจากการแพ้

51 (2 3 ) ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล บัญชีรายการยา เฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดย ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ สารสกั ดจากเถาของเถาวั ลย์ เปรี ยง [ Solori scandens (Roxb.) Sirich. & Adema], [ Derris scandens (Roxb.) Benth. ( ชื ่ อพ้ อง)] ที ่ สกั ดด้ วย 50 เปอร์ เซ็ นต์ ของ เอทิลแอลกอฮอล์ สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง ( low back pain ) และอาการปวดจากข้อเข่าเสื่อม ( Knee Osteoarthritis ) ขนาดและวิธีใช้ ข้อห้ามใช้ บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง ( Low back pain) รับประทานครั้งละ 200 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที บรรเทาอาการปวดจากข้อเข่าเสื่อม ( Knee osteoarthritis) รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารทันที ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ คําเตือน - อัน ตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก เนื่องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิ์คล้าย ยาแก้ ปว ดกลุ ่ มยาต้ำน การ อั กเสบ ที ่ ไม ่ ใช ่ สเ ตี ยร อยด์ ( Nonsteroidal Anti - Inflammatory Drugs: NSAIDs) - อาจทําให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร อาการไม่พึงประสงค์ เวียนศีรษะ ปวดศี รษะ อุจจาระเหลว (2 4 ) ยาอัมฤตย์โอสถ ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ สูตรตํารับ ยาผง ยาแคปซูล 76 กรัม เตรียมจากตัวยาสําคัญ 1. ลําต้นสหัสคุณ แก่นแสมทะเล รากส้มกุ้ ง ผลมะตูม ผลสมอพิเภก ผลพิลังกาสา ผลสมอเทศ ผลสมอไทย โกฐเขมา เทียนดํา เทียนขาว ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ผลกระวาน กานพลู ดอกดีปลี อย่างละ 1 กรัม 2. เปลือกหอยโข่งเผา เปลือกหอยขมเผา เปลือกหอยแครงเผา เบี้ยผู้เผา อย่างละ 3 กรั ม 3. เรือนช่อดอกกัญชา 10 กรัม 4. ผลพริกไทย 38 กรัม ข้อบ่งใช้ /สรรพคุณ แก้ลมกษัย บรรเทาอาการปวดเมื่อยตึงกล้ามเนื้อที่เป็นเรื้อรัง ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยาที่ใช้ - ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว (125 ซีซี) หมายเหตุ : ควรเริ่มให้ยาขนาดต่ําแล้วค่อยปรับขนาดขึ้น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย (ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี) คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ( antiplatelets)

52 - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง (กรณีที่ไม่สามารถควบคุมความดันเลือดได้) โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (กรณีที่ ไม่สามารถควบคุมอาการได้) โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหารและโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน - ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุ - ยานี้อาจทําให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางาน เกี่ย วกับเครื่องจักรกล อาการไม่พึงประสงค์ เวียนศีรษะ แสบท้อง ง่วงนอน ปากแห้ง คอแห้ง ข้อมูลเพิ่มเติม - กลุ่มที่ 8 ยาบํารุงธาตุ ปรับธาตุ (1) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาพื้นฐาน ยาแคปซูล ( รพ.) ยาชง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง หนักสิ่งละ 20 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดผง รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 เวลา หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระมัดระวังการใช้ในผู้ที่ร้อนในง่าย และการใช้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทําให้ธาตุไฟกําเริบ - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 2 ) ยาตรีเกสรมาส ยาชง (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย เปลือกฝิ่นต้น เกสรบัวหลวง ลูกมะตูมอ่อน หนักสิ่งละ 30 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้อ่อนเพลีย ปรับธาตุในผู้ป่วยที่เพิ่งฟื้นจากการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ท้องเสีย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ดื่มขณะยังอุ่นอยู่ วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - ข้อควรระวัง - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเกิน 1 เดือน - หากใช้เกินจากขนาดที่แนะนํา อาจจะทําให้ท้องผูก

53 - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (3) ยาตรีพิกัด ยาแคปซูล (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย 1. เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอพิเภก เนื้อผลมะขามป้อม หนักสิ่งละ 10 กรัม 2. เหง้าขิงแห้ง พริกไทยล่อน ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 10 กรัม 3. รากเจตมูลเพลิงแดง รากช้าพลู เถาสะค้าน หนักสิ่งละ 10 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ปรับสมดุลธาตุ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 250 – 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระมัดระวังการใช้ในผู้ที่ร้อนในง่าย และการใช้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทําให้ธาตุไฟกําเริบ - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยและดีปลีในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (4) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ. ) ยาลูกกลอน (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย 1 . พริกไทยล่อน หนัก 50 กรัม 2. ดอกดีปลี รากช้าพลู ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เถาสะค้าน เห ง้าขิงแห้ง ลูกผักชีล้อม เหง้าว่านน้ํา หัวแห้วหมู ผิวมะกรูด ลูกพิลังกาสา หนักสิ่งละ 5 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บํารุงไฟธาตุ ขับโลหิตระดู บํารุงน้ํานม ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ผ่าคลอด และหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังคลอด คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก ข้อมูลเพิ่มเติม - แพทย์แผนไทยดั้งเดิมใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด - คัมภีร์มหาโชตรัตน์ ยาปลูกไฟธาตุใช้สําหรับปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีระดู ให้ระดูมีมา ถ้าแม่ ลูกอ่อนกินทําให้น้ํานมมาก ทั้งหาโทษมิได้เลย ดีนักแล

54 กลุ่มที่ 9 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง ( 1 ) ยาเปลือกมังคุด ยาน้ําใส ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (95 เปอร์เซ็นต์ ) ของเปลือกมังคุดแห้ง [ Garcinia mangostana L.] ร้อยละ 10 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร (w/v) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ทาแผลสด และแผลเรื้อรัง ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่เป็นแผล วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ( 2 ) ยาเมล็ดน้อยหน่า ยาครีม บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ยาที่ มีปริมาณน้ํามันบีบเย็นจากเมล็ดน้อยหน่า [ Annona squamosa L.] ร้อยละ 2 0 โดยน้ําหนัก (w/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ กําจัดเหา ขนาดและวิธีใช้ ชโลมครีม 20 - 30 กรัม ที่ ผม ทิ้ งไว้ประมาณ 3 ชั่ วโมง ใช้สัปดาห์ละ 1 ครั้ ง ติดต่อกัน 3 สัปดาห์ ( ควรใส่ครีมหมักผมติดต่อกันอย่างน้อย 2 - 3 สัปดาห์ ๆ ละ 1 ครั้ง เพื่อฆ่าตัวเหา ใหม่ที่ออกมาจากไข่เหาให้ได้ทั้งหมด และควรเก็บยาไว้ ในตู้เย็น อุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส ) ข้อห้ามใช้ คําเตือน - - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง ควรระวังอย่าให้ครีมเข้าตา และอย่าใช้บริเวณที่มีแผลหรือแผลถลอก อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการคัน มีผื่นแดง หรือผื่นแพ้สัมผัสได้ หากมีอาการดังกล่าว ให้หยุดใช้ยา (3) ยาแก้โรคเชื้อราที่เล็บ ยาน้ําแขวนตะกอน (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ในยาน้ําแขวนตะกอน 12 มิลลิลิตร ประกอบด้วย น้ําประสานทอง ( Sodium tetraborate decahydrate) 3 กรัม และ น้ํามะนาว ( น้ําคั้นจากผล Citrus aurantiifolia (Christm.) Swingle ) 10 มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้โรคเชื้อราที่เล็บ ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้ยา หยดยาบริเวณที่มีอาการ ครั้งละ 1 - 2 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น ทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา 6 เดือน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้น้ําประสานทองหรือน้ํามะนาว - ห้ามใช้ยานี้บริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามใช้ยานี้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด คําเตือน ยานี้เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามรับประทาน อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง ยานี้มีส่วนผสมของน้ํามะนาว อาจทําให้แสบบริเวณที่ทาได้ อาการไม่พึงประสงค์ - บริเวณที่ทายาอาจมีสีผิวหนังเข้มขึ้น - อาการทางผิวหนัง เช่น คัน ผิวหนังแห้ง มีตุ่มพอง

55 - เป็นยาน้ําแขวนตะกอน ควรเตรียมสดและไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 1 เดือน หากมี ลักษณะทางกายภาพเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ให้เปลี่ยนขวดใหม่ และให้เก็บยาไว้ที่ อุณหูมิห้อง เก็บให้พ้นแสง - ให้ใช้ ต่อเนื่องจนหายแต่ไม่เกิน 6 เดือน - อาการต่าง ๆ เช่น แดง บวม และคันที่ขอบเล็บ เล็บเปราะ เล็บเปื่อยยุ่ย เล็บเสียรูป เปลี่ยนสีแยกออกจากหนังใต้เล็บ จะเห็นผลดีขึ้นภายใน 3 เดือน โดยเล็บจะขึ้นมาปกติ ได้ภายใน 6 เดือน - ให้มีการติดตามผู้ป่วยทุกเดือน (4) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ยาทิงเจอร์ (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์ ) ของใบทองพันชั่งสด [ Rhinacanthus nasutus (L.) Kur z ] ร้อยละ 10 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร (w/v) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ทาแก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา น้ํากัดเท้า ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่ มีอาการ วันละ 2 ครั้ ง เช้า – เย็น ทาจนกว่าจะหาย และใช้ต่อเนื่ อง อีก อย่างน้อย 2 สัปดาห์ ข้อห้ามใช้ คําเตือน - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ( 5 ) ยาทิงเจอร์พลู ยาทิงเจอร์ (รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์ ) ของใบพลูสด [ Piper betle L.] ร้อยละ 50 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร (w/v) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการผิวหนังอักเสบ อาการอักเสบจากแมลง กัด ต่อย ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ เมื่อทาติดต่อกันเป็นเวลานานอาจทําให้ผิวหนังเป็นสีดํา แต่เมื่อหยุดยาแล้วอาการจะหายไป ( 6 ) ยาบัวบก ( ภายนอก ) ยาครีม ยาครีม ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัด เอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์ ) ของใบบัวบกแห้ง [ Centella asiatica (L.) Urb.] ร้ อยละ 7 โดยน้ ําหนั ก ( w/w) ที ่ มี การควบคุ มปริ มาณ Asiaticoside ร้อยละ 0.2 โดยน้ําหนัก ( w/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้สมานแผล ขนาดและวิธีใช้ ทําความสะอาดแผลด้วยยาฆ่าเชื้อก่อนทายา ใช้ทาบริเวณที่เป็นแผลวันละ 1 - 3 ครั้ง หรือ ตามแพทย์สั่ง ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้พืชในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) เช่น ยี่หร่า ผักชี

56 - ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง - ห้ามใช้ในแผลเปิด คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง ควรหลีกเลี่ยงการใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาการไม่พึงประสงค์ มีรายงานว่าการทาสารสกัดใบบัวบกชนิดขี้ผึ้งหรือผง อาจทําให้เกิดผื่นแพ้สัมผัสได้ ( 7 ) ยาพญายอ ยาครีม ยาโลชัน สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) ยาโลชัน ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สารละลาย ( สําหรับป้ายปาก ) ( รพ .) ยาขี้ผึ้ง ( รพ .) ยาทิงเจอร์ ( รพ .) สูตรตํารับ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของใบพญายอแห้ง [ Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau] โดยมีปริมาณแตกต่างกันตามรูปแบบยาดังนี้ 1. ยาครีม ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (95 เปอร์เซ็นต์) ของพญายอร้อยละ 4 - 5 โดย น้ําหนัก ( w/w ) 2. สารละลาย ( สําหรับป้ายปาก ) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอ ฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์) ของ พญายอในกลีเซอรีนร้อยละ 2 . 5 - 4 โดยน้ําหนัก (w/w) 3. ยาโลชัน ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์) ของพญายอร้อยละ 1 . 25 โดยน้ําหนัก ( w/w ) 4. ยาขี้ผึ้ง ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (95 เปอร์เซ็นต์) ของพญายอ ร้อยละ 4 – 5 โดยน้ําหนัก (w/w) 5. ยาทิงเจอร์ ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์) ของพญายอสด ร้อยละ 10 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร (w/v) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. ยาครีม บรรเทาอาการของเริมและงูสวัด 2. สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก (aphthous ulcer) แผลจากการ ฉายรังสีและเคมีบําบัด 3. ยาโลชัน บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน 4. ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย 5. ยาทิงเจอร์ บรรเทาอาการของเริม และงูสวัด ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - อาการไม่พึงประสงค์ - ( 8 ) ยาว่านหางจระเข้ ยาเจล ยาโลชันเตรียมสด ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ชนิดเจล ยาที่ มีปริมาณของวุ้ นว่านหางจระเข้ [ Aloe vera ( L. ) Burm.f.] ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 โดยน้ําหนัก (w/w) ชนิดโลชันเตรียมสด มีอายุการเก็บ 7 วัน เก็บยาไว้ในตู้ เย็นอุณหภูมิ 2 - 8 องศาเซลเซียส

57 ยาที่มีปริมาณของวุ้นว่านหางจระเข้ [ Aloe vera ( L. ) Burm.f.] ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 โดยน้ําหนัก (w/w) สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ รักษาแผลไฟไหม้ น้ําร้อนลวก ( burn ) ขนาดและวิธีใช้ ชนิดเจล ทาบริเวณผิวหนังที่ถูกไฟไหม้ น้ําร้อนลวก วันละ 3 - 4 ครั้ง ชนิดโลชันเตรียมสด ทาบริเวณผิวหนังที่ถูกไฟไหม้ น้ําร้อนลวก วันละ 3 - 4 ครั้ง ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ว่านหางจระเข้ หรือผลิตภัณฑ์ที่ผสมว่านหางจระเข้ อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการคัน มีผื่นแดง หรือผื่นแพ้สัมผัสได้ หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดใช้ยา ( 9 ) ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล (รพ. ) ยาชง (รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา กรณีใช้แก้น้ําเหลืองเสีย ให้สั่งใช้ยาโดย แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรมที่ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ผงหญ้าปักกิ่ง [ Murdannia loriformi s (Hassk.) R.S. Rao & Kammathy] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้น้ําเหลืองเสีย ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร รับประทาน วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อห้ามใช้ คําเตือน - - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ ที่ สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่ องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์ อาการไม่พึงประสงค์ - กลุ่มที่ 10 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ (1) ยากระเจี๊ยบแดง ยาชง ( รพ. ) บัญชี รายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจาก ส่วนกลีบเลี้ยงของ กระเจี๊ยบแดง [ Hibiscus sabdariffa L.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้ําร้อน 120 – 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - กระเจี๊ยบแดงอาจทําให้เกิดอาการท้องเสียได้ เนื่องจากมีฤทธิ์เป็นยาระบาย

58 - ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากผลการศึกษา ในสัตว์ทดลองพบว่า ทําให้เกิดพิษต่อเซลล์ของอัณฑะและตัวอสุจิได้ - ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลำนานในหญิงมีครรภ์และ หญิงให้นมบุตร เนื่องจากผลการศึกษาในหนู ( rat ) พบว่าอาจทําให้ลูกหนูเข้าสู่วั ย เจริญพันธุ์ช้าลง อาการไม่พึงประสงค์ อาจมีอาการปวดมวนท้องได้ (2) ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง ยาชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากใบและส่วนยอดของหญ้าหนวดแมว [ Orthosiphon aristatus ( Blume) Miq.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขับนิ่วขนาดเล็ก ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที ดื่มวันละ 2 - 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีการทํางานของหัวใจและ / หรือไตบกพร่อง คําเตือน - อันตรกริยา คว รระว ั งการ ใช ้ ยำน ี ้ ร ่ ว ม กั บยำลด น้ ําตำลใ นเล ื อดช น ิ ด รั บ ปร ะ ทำ น ( Oral hypoglycemic agents) หรือร่วมกับการฉีดอินซูลิน เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องจํากัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ เนื่องจากยาหญ้าหนวดแมวมีปริ มาณโพแทสเซียมสูง อาการไม่พึงประสงค์ - กลุ่มที่ 11 ยาถอนพิษเบื่อเมา (1) ยารางจืด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ [ Thunbergia laurifolia Lindl.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. ถอนพิษเบื่อเมา 2. บรรเทาพิษยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนัก ขนาดและวิธีใช้ ถอนพิษเบื่อเมา ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม แช่น้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น หรือเมื่อมีอาการ ชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร บรรเทาพิษยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนัก ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม แช่น้ําร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น หรือเมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง - ไม่แนะนําให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์

59 - ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา - ควรระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้ยารักษาโรคอย่างต่อเนื่อง เพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยาเหล่านั้นออกจากร่างกาย ทําให้ประสิทธิผลของยาลดลง อาการไม่พึงประสงค์ - กลุ่มที่ 12 ยาลดความอยากบุหรี่ ( 1 ) ยาผสมหญ้าดอกขาว ยาลูกกลอน ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงยา 2 , 095 กรัม เตรียมจาก หญ้าดอกขาว 1 ,000 กรัม น้ํามะนาวผง 550 กรัม มะขามป้อม 430 กรัม กานพลู 115 กรัม และ ผสมน้ําผึ้ง 2,400 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่ ขนาดและวิธีใช้ อมครั้งละ 300 - 500 มิลลิกรัม เมื่อมีความอยากบุหรี่ ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง 1. ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต เนื่องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง 2. ควรระวังการใช้ในผู้ที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง ( 2 ) ยาหญ้าดอกขาว ยาชง ( รพ. ) บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงหญ้าดอกขาว [ Vernonia cinerea (L.) Less.] สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม แช่น้ําร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที รับประทานวันละ 3 - 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ข้อห้ามใช้ - คําเตือน - อันตรกิริยา - ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต เนื่องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง กลุ่มที่ 13 ยารักษากลุ่มโรคที่เกี่ยวกับกษัย ( 1 ) ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 236 กรัม ประกอบด้วย 1. ดอกดีปลี หนัก 40 กรัม เหง้าขิง หนัก 20 กรัม รากช้าพลู หนัก 24 กรัม เถาสะค้าน หนัก 12 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 8 กรัม 2. เถาโคคลาน กําลังวัวเถลิง เถาวัลย์เปรียง เถาพริกไทย เถาม้ากระทืบโรง หัวกระชาย แก่นแสมสาร เหง้าไพล หนักสิ่งละ 10 กรัม 3. การบูร หนัก 6 กรัม ลูกจันทน์ ดอกกานพลู เหง้าว่านน้ํา เหง้ากระทือ ลูกกระวาน พริกไทยล่อน รากชะเอมเทศ เปลือกอ บเชยเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม

60 4. ดอกจันทน์ โกฐน้ําเต้า ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 750 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่ อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควร ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets ) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ อา การไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก ข้อมูลเพิ่มเติม - (2) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน บัญชีรายการยาเฉพาะ ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วย 1 . พริกไทยล่อน หนัก 96 กรัม 2 . ยาดําสะตุ หนัก 20 กรัม 3 . เนื้อผลสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม 4 . รงทอง (ประสะ) หนัก 4 กรัม 5 . ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เนื้อผลมะขามป้อม หนักสิ่งละ 2 กรัม 6 . ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดํา เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก หั วกลอย หั วกระดาดขาว หั วกระดาดแดง ลู กเร่ ว เหง้ำขิ ง รากชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ําเต้า หนักสิ่งละ 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้กษัยเส้น ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือผสมน้ําผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

61 - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง - ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - (3) ยาอัมฤตย์โอสถ ยาผง (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) บัญชีรายการยาเฉพาะ สูตรตํารับ ยาผง ยาแคปซูล 76 กรัม เตรียมจากตัวยาสําคัญ 1. ลําต้นสหัสคุณ แก่นแสมทะเล รากส้มกุ้ ง ผลมะตูม ผลสมอพิเภก ผลพิลังกาสา ผลสมอเทศ ผลสมอไทย โกฐเขมา เทียนดํา เทียนขาว ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ผลกระวาน กานพลู ดอกดีปลี อย่างละ 1 กรัม 2. เปลือกหอยโข่งเผา เปลือกหอยขมเผา เปลือกหอยแครงเผา เบี้ยผู้เผา อย่างละ 3 กรัม 3. เรือนช่อดอกกัญชา 10 กรัม 4. ผลพริกไทย 38 กรัม ข้อบ่งใช้ /สรรพคุณ แก้ลมกษัย บรรเทาอาการปวดเมื่อยตึงกล้ามเนื้อที่เป็นเรื้อรัง ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ํากระสายยาที่ใช้ ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว (125 ซีซี) หมายเหตุ ควรเริ่มให้ยาขนาดต่ําแล้วค่อยปรับขนาดขึ้น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย (ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี) คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants) และ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ( antiplatelets) - ควรระวั งการใช้ ยานี ้ ร่ วมกั บยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง (กรณีที่ไม่สามารถควบคุมความดันเลือดได้) โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (กรณีที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้) โรคแผลเปื่อยเพปติก โรคกระเพาะอาหารและโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยารสร้อน - ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุ - ยานี้อาจทําให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล อาการไม่พึงประสงค์ เวียนศีรษะ แสบท้อง ง่วงนอน ปากแห้ง คอแห้ง ข้อมูลเพิ่มเติม - กลุ่มที่ 14 ยารักษากลุ่มอาการสมองและระบบประสาท ( 1 ) ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี cannabidiol ( CBD ) 100 มิลลิกรัม / มิลลิลิตร บัญชีรายการ ยาพิเศษ และมี delta - 9 - tetrahydrocannabinol ( THC ) ในอัตราส่วนที่ CBD:THC มากกว่าหรือเท่ากับ 20:1 ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (Oromucosal drops) เงื่อนไขการใช้ยา ใช้ตามโครงการของกรมการแพทย์ เท่านั้น สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ 1. โรคลมชักรักษายาก

62 2. โรคลมชักที่ดื้อต่อการรักษา กลุ่มที่ 15 ยารักษากลุ่มอาการอื่น ๆ ( 1 ) ยาน้ํามันกัญชาทั้งห้า ยาหยดในช่องปาก หรือ บัญชีรายการยาพื้นฐาน เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops) สูตรตํารับ ในน้ํามัน 5 มิลลิลิตร ได้จากการเคี่ยวราก ลําต้นรวมกิ่งก้าน ใบ และช่อดอกรวม เมล็ด ของกัญชาอย่างละ 312.5 มิลลิกรัม ในน้ํามันมะพร้าว ซึ่งมี Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol (THC) 0.1 - 0.4 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ Cannabidiol (CBD) น้อยกว่า 0.04 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้เสริมการรักษาในผู้ป่วย ที่มีอาการนอนไม่หลับที่ใช้ยามาตรฐานแล้วไม่ได้ผล ขนาดและวิธีใช้ หยดใต้ลิ้น เริ่มต้น ครั้งละ 2 หยด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน หรือตามแพทย์สั่ง สามารถปรับขนาดยาเพิ่มได้ครั้งละ 1 - 2 หยด บริหารยาได้วันละ 3 - 4 ครั้ง ห่างกันทุก 6 - 8 ชั่วโมง โดยปรับขนาดยาเพิ่มได้ทุก 3 - 7 วัน ภายใต้คําแนะนํา ของแพทย์จนเห็นผลการรักษาแต่ไม่เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ไม่แนะนําให้ใช้ THC เกิน 20 มิลลิกรัมต่อวัน ข้อห้ามใช้ - ผู้ที่มีประวัติแพ้กัญชา หรือน้ํามันมะพร้าว - ผู้ป่วย ที่มีประวัติความผิดปกติทางจิตเวช - ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดขั้นรุนแรง หรือไม่สามารถคุมอาการได้ - ผู้ที่ใช้ยาละลายลิ่มเลือดวาร์ฟาริน - หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้ นมบุตร - ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี (ผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย คําเตือน - หากผู้ป่วยมีอาการสับสน กระวนกระวาย วิตกกังวล ประสานหลอน หรือมีอาการผิดปกติทางจิตเวช ควรหยุดใช้ยาทันที และติดตามอาการอย่างใกล้ชิด จนกว่าอาการจะหายไป - ยานี้อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้งได้ในช่วงสัปดาห์แรกของการใช้ยา แนะนําหลังใช้ยาประมาณ 10 นาที สามารถดื่มน้ําตามได้ อันตรกริยา - ควร ระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น substrates , enzyme inducers หรือ enzyme inhibitors ของ CYP 2 C 9, CYP 2 C 19, CYP 3 A 4, CYP 2 D 6 , CYP 1 A - สําหรับยาที่มีโอกาสพบการใช้ร่วมกับกัญชา และมีผลเสริมฤทธิ์กันอาจเพิ่มโอกาสเกิด ผลข้างเคียงจากยา เช่น ยากันชัก เช่น phenobarbital, phenytoin, topiramate ยาต้านไวรัสยากลุ่ม protease inhibitors เช่น indinavir, nelfinavir, saquinavir , ยาต้านไวรัสที่เป็น CYP 3 A 4 inhibitors เช่น indinavir, ritonavir, saquinavir ยาที่มีผลกดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยาแก้ปวดมอร์ฟีน ยานอนหลับ ข้อควรระวัง - ระวังการใช้ยาในผู้ที่มีความผิดปกติของตับและไต - ระวังการใช้ยาในผู้ที่ใช้ยากล่อมประสาท หรือยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตอื่นๆ - ระวังการใช้ยา ในผู้ที่ทํางานขับขี่ ยานพาหนะ หรือเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือทํางานที่ เสี่ยงอันตราย เพราะยานี้อาจทําให้ง่วงซึม - ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติของการใช้สารเสพติด รวมถึงนิโคติน หรือเป็นผู้ดื่มสุราอย่างหนัก อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง วิงเวียนศี รษะ ง่วงซึม ใจเต้นเร็ว คลื่นไส้

63 ข้อมูลเพิ่มเติม ชื่อยาเดิมตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ ด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564 คือ ยาน้ํามันกัญชาที่ผลิต จากราก ลําต้น กิ่ง ก้าน ใบ ดอก และ เมล็ด ซึ่งเป็นยาในบัญชี 3 ตามโครงการพิเศษ ของ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรฯ ต่อมา คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติเห็นชอบให้ปรับจากบัญชี 3 เป็น บัญชี 1.1 ( บัญชีรายการยาพื้นฐาน ) เนื่องจากยามีประสิทธิผล มีความปลอดภัย เป็นรายการยาที่ ผู้ประกอบวิชาชีพสั่งใช้ได้โดยทั่วไป โดยให้ปรับแก้ไขชื่อยาเป็น ยา น้ํามันกัญชาทั้งห้าเพื่อให้ สะดวกต่อการจดจํา ( 2 ) ยาน้ํามันกัญชาที่ผลิตจากช่อดอก บัญชีรายการยาพื้นฐาน ซึ่งยามี delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (Oromucosal drops) ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( รพ. ) สูตรตํารับ สารสกัดกัญชาในน้ํามันมะพร้าว ความเข้มข้น 10% ของน้ําหนักช่อดอกกัญชาแห้ง ซึ่งมีปริมาณ THC 2.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเรื้อรัง ช่วยให้นอนหลับ ช่วยให้เจริญอาหาร ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง ขนาดและวิธีใช้ - หยดรับประทานครั้งละ 1 หยด ก่อนนอน หรือ ตามดุลพินิจ ของแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์/แพทย์แผนปัจจุบันที่สั่งใช้ยาน้ํามันกัญชา - หากอาการไม่ดีขึ้น จาการติดตามอาการและประเมินผลให้ปรับขนาดยาเพิ่มขึ้น ครั้งละ 1 - 2 หยด ทุก 1 สัปดาห์หรือระยะเวลาตามแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทย ประยุกต์ / แพทย์แผนปัจจุบันพิจารณา โดยขนาดสูงสุดไม่เกิน 20 หยด/วัน - หากอาการดีขึ้น จากการติดตามอาการและประเมินผลให้ปรับขนาดยาลดลง ครั ้ งละ 1 หยด ทุ ก 1 สั ปดาห์ หรื อเป็ นระยะเวลาตามแพทย์ แผนไทย/ แพทย์แผนไทยประยุกต์/แพทย์แผนปัจจุบันพิจารณา ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จา กการสกัดกัญชา หรือน้ํามันมะพร้าว - ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดขั้นรุนแรง หรือไม่สามารถคุมอาการได้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติความผิดปกติทางจิตเวช - ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์หรือสตรีที่ให้นมบุตร - ห้ามใช้ในผู้ที่ใช้ยาละลายลิ่มเลือดวาร์ฟาริน คําเตือน - อันตรกริยา - ข้อควรระวัง - ควรระมัดระวังการใช้ใน ผู้ที่ทํางานขับขี่ยานพาหนะ หรือเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือทํางานที่เสี่ยงอันตราย เพราะยานี้ อาจ ทําให้ง่วงซึม - ควรระมัดระวังการใช้ใน บุคคลที่อายุต่ํากว่า 25 ปี - ควรระมัดระวังการใช้ใน ผู้ป่วยโรคตับและไต (มีค่าเอนไซม์ตับที่ผิดปกติ สูงเกิน 3 เท่าของ ค่าบน ปกติ , มีค่าอัตราการกรองของไต (GFR) น้อยกว่า 60 มิลลิลิตร/นาที/ 1.73 ตารางเมตร) - ควรระมัดระวังการใช้ใน ผู้ป่วยที่มีประวัติของการใช้สารเสพติด รวมถึงนิโคติน หรือ เป็นผู้ดื่มสุราอย่างหนัก ผู้ป่วยที่ใช้ยากล่อมประสาท หรือยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตอื่นๆ หรือยาโรคประจําตัวเรื้อรังหลายชนิด อาการไม่พึงประสงค์ ง่วงนอน ปากแห้ง เวียนศีรษะ คลื่นไส้

64 ข้ อมูลเพิ่มเติม - กรณีแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์/แพทย์แผนปัจจุบัน พิจารณาปรับขนาด ยามากกว่า ขนาดสูงสุดที่กําหนด ต้องมีการติดตามและเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลการใช้ยาและความปลอดภัย ขนาดที่สูงกว่ากําหนด - แนวทางการจัดการเมื่อพบอาการไม่พึงประสงค์ 1) ปรับลดยา เมื่อพบอาการ : มึนศีรษะ ( dizziness) เสียสมดุล ( loss of co - ordination) หัวใจเต้นช้า (bradycardia) ความดันโลหิตผิดปรกติ ( abnormal pressure) 2) หยุดใช้ทันที เมื่อพบอาการ : สับสน ( disorientation) กร ะวนกระวาย ( agitation) วิตกกังวล ( anxiety) ประสาทหลอน ( hallucination) โรคจิต ( psychosis ) ( 3 ) ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี delta - 9 - tetrahydrocannabinol (THC) บัญชีรายการยาเฉพาะ และ cannabidiol (CBD) ในอัตราส่วน 1:1 ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก ( Oromucosal drops ) เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแผนปัจจุบันที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทาง การแพทย์ที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง สูตรตํารับ สารสกัดจากกัญชา ( Cannabis sativa L.) ที่มีสารสําคัญ Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol (THC) 27 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ Cannabidiol (CBD) 25 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาเสริมในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะท้ายที่มีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร หรือมีอาการ ปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรง ที่รักษาด้วยยามาตรฐานไม่ได้หรือไม่ได้ผล ขนาดและวิธีใช้ หยดบนเยื่อบุใต้ลิ้นครั้งละ 1 หย ด (THC 1 มิลลิกรัม และ CBD 1 มิลลิกรัม) ก่อนนอน หาก เวลาผ่านไป 15 นาที แล้วไม่ได้ผล อาจปรับเพิ่มขนาดยาโดยหยดเพิ่มอีก 1 หยดหากใช้ มากกว่า 2 หยดต่อวัน แบ่งให้ 2 เวลา เช้า และ ก่อนนอน โดยไม่ควรใช้เกิน 30 หยดต่อวัน ( THC 30 มิลลิกรัม และ CBD 30 มิลลิกรัม) ข้อห้าม ใช้ - ผู้ที่เคยแพ้กัญชา - ผู้ที่มีประวัติความผิดปกติทางจิตเวช หรือคนในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคจิตเวช - ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ไม่สามารถคุมอาการได้ - ผู้ที่มีอายุต่ํากว่า 16 ปี (ผู้ที่อยู่ในช่วงปฐมวัย) คําเตือน - หากผู้ป่วยมีอาการสับสน เห็นภาพหลอน มีความคิดฆ่าตัวตาย หรืออาการทางจิตอื่น ๆ ควรหยุดยาทันทีและติดตามอาการอย่างใกล้ชิดจนกว่าอาการจะหายไป - ยานี้อาจทําให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะเล็กน้อยหรือปานกลาง ซึ่งมักเกิดขึ้นในช่วง 2 – 3 สัปดาห์แรกของการรักษา อันตรกริยา - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น substrates, enzyme inducers หรือ enzyme inhibitors ของ CYP3A4, CYP2C19, CYP2C9, CYP1A2, P - glycoprotein, BCRP และ MRP1 - ยาอาจลดประสิทธิภาพของยาคุมกําเนิดได้ - ยานี้อาจเสริมผลของยาที่มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ เช่น baclofen, benzodiazepines เนื่องจากจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการหกล้มมากขึ้น ข้อควรระวัง - ระมัดระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีประวัติชัก หรือมีภาวะชักกลับเป็นซ้ํา - ระวังการใช้ยานี้ในผู้ที่มีความผิดปกติของตับและไต - ระมัดระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ หรือวางแผนตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร อาการไม่พึงประสงค์ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน สับสน อ่อนเพลีย ง่วงซึม ปากแห้ง ท้องเสีย

65 ( 4 ) ยาน้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี delta - 9 - tetrahydro cannabinol (THC) บัญชีรายการยาเฉพาะ จํานวน 2 ความแรง ได้แก่ ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด และ ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด ยาหยดในช่องปาก หรือ เยื่อบุในช่องปาก (Oromucosal drops) เงื่อนไขการใช้ยา 1 . กรณีใช้รักษาเสริมในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะท้ายที่มีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหารหรือ มีอาการปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรง ที่รักษาด้วยยา มาตรฐาน ไม่ได้หรือไม่ได้ผลให้สั่งใช้ยา โดย ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แผนปัจจุบัน ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่กระทรวง สาธารณสุขรับรอง 2 . ยาความแรง 3 มิลลิกรัม / หยด 2 .1 ช่วยเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ป่วยที่ต้องใช้น้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด ในปริมาณสูง 2 .2 ใช้สําหรับผู้ป่วยที่เคยใช้น้ํามันสารสกัดกั ญชาที่มี THC ไม่ เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด มาก่อนและทราบปริมาณยาที่เหมาะสมแล้วเท่านั้น สูตร ตํารับ สารสกัดจากกัญชา ( Cannabis sativa L.) ที่มีสารสําคัญ Delta - 9 - Tetrahydrocannabinol ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด หรือ ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาเสริมในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะท้ายที่มีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร หรือมีอาการปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรงที่รักษาด้วยยามาตรฐานไม่ได้ หรือไม่ได้ผล ขนาดและวิธีใช้ - กรณี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด หยดใต้ลิ้น 1 หยด (THC 0.5 มิลลิกรัม) ทุกวันก่อนนอน ปรับขนาดยาทุก 48 ชั่วโมง โดยปรับขนาดยาอย่างช้า ๆ ขนาดยาสูงสุดไม่ควรเกินวันละ 10 หยด ( THC 5 มิลลิกรัม ต่อวัน) - กรณี THC ไม่เกิน 3 มิลลิกรัม / หยด หยดใต้ลิ้น 1 หยด ( THC 3 มิลลิกรัม ) ทุกวันก่อนนอน สําหรับผู้ที่เคยใช้น้ํามันสารสกัดกัญชาที่มี THC ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม / หยด ให้คํานวณปริมาณของ THC ในขนาดที่เทียบเท่ากัน โดย ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน วันละ 20 มิลลิกรัม ข้อห้ามใช้ - ผู้ที่เคยแพ้กัญชา - ผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดที่รุนแรง หรือโรคหลอดเลือดสมองที่รุนแรง เนื่องจากอาจทําให้ความดันเลือดต่ํา บางครั้งอาจทําให้ความดันเลือดสูง เป็นลมหมดสติ หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคหลอดเลือดสมอง - ผู้ที่เป็นโรคจิตเภทหรือโรคอารมณ์สองขั้ว คําเตือน - ไม่ควรใช้ยานี้ในบุคคลที่อายุต่ํากว่า 25 ปี ยกเว้ นในกรณีที่แพทย์พิจารณาแล้วว่า ผู้ป่วยได้รับประโยชน์ มากกว่าความเสี่ยง - ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในสตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร รวมถึงสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มิได้ คุมกําเนิดหรือสตรีที่วางแผนจะตั้งครรภ์ - ยานี้อาจทําให้ง่วงซึม จึงไม่ควรขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือ ทํางานที่เสี่ยงอันตราย

66 - ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อันตรกริยา - ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่มีกระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ CYP2C9, CYP2C19 หรือ CYP3A4 เช่น amiodarone, carbamazepine, phenytoin, warfarin หรือ valproic acid - ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่เป็น highly protein - bound เช่น warfarin, cyclosporine และ amphotericin B ข้อควรระวัง - ระมัดระวังการใช้ยาใน ผู้ป่วยที่มีภาวะการทํางานของตับหรือไตบกพร่องรุนแรง - หลีกเลี่ยงการสั่งใช้ยากับผู้ป่วยเป็นเวลานาน และควรติดตามอาการติดยาอย่าง สม่ําเสมอก่อนหยุดใช้ยา ต้องปรับลดขนาดยาลงทีละน้อยเพื่อป้องกันไม่ให้เกิด อาการ ถอนยา - ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาร่วมกับยากล่อมประสาทหรือ ยาที่ออก ฤทธิ์ทางจิตอื่น ๆ เนื่องจากเสริมฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางหรือเพิ่มผลกระทบทางจิต ป ระสาท - ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติของการใช้สารเสพติด รวมถึงผู้มีประวัติติดสุรา - ผู้ชายที่บริโภคกัญชา อาจส่งผลให้มีบุตรยาก เพราะ THC อาจมีผลทําให้ต่อมสร้าง น้ําอสุจิมีขนาดเล็กลง น้ําอสุจิลดลง และลดการสร้างตัวอสุจิ อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง วิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม เคลิ้มสุข (euphoria) คลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ประสาทหลอน ภาวะพุทธิปัญญาบกพร่อง (cognitive impairment) ( 5 ) ยาประสะกัญชา ยาแคปซูล ยาผง ( รพ. ) ยาแคปซูล ( รพ. ) บัญชีรายการยาเฉพาะ สูตรตํารับ ในยาผง 2 ,0 00 กรัม ประกอบด้วย เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี แก่นจันทน์แดงหรือแก่นจันทน์ขาว ใบสะเดา ใบคนทีเขมา อย่างละ 125 กรัม เมล็ดพริกไทยล่อน 250 กรัม ใบกัญชา 1 ,00 0 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ช่วยให้ นอนหลับ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ก่อนนอน ควรเริ่มจากขนาดต่ําแล้วจึงค่อย ๆ ปรับเพิ่มขนาดยา น้ํากระสายยาที่ใช้ ได้แก่ น้ํามะพร้าว น้ําผึ้งรวง น้ําส้มซ่า น้ําตาลทราย กระทือสด น้ําเบญจทับทิม โดยเลือกให้เหมาะสมกับโรคหรืออาการของผู้ป่วย อาทิเช่น - กรณีที่มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีกําลัง ให้ใช้น้ํามะพร้าว น้ําผึ้งรวง หรือน้ําตาลทราย - กรณีที่มีเสมหะในคอให้ใช้น้ําส้มซ่า - กรณีมีอาการอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องเฟ้อ ให้ใช้น้ํากระทือสด - กรณีมีอาการท้องเสีย ให้ใช้น้ําเบญ จทับทิมต้ม - กรณีหาน้ํากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว ( 6 0 ซีซี ) แทน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร - ห้ามใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ ยาต้านการชัก - ห้ามใช้ร่วมกับ แอลกอฮอล์หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ เนื่องจากมีฤทธิ์ กดระบบ ประสาทส่วนกลาง คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการแข็งตัวของเลือด (antiplatelet) - ยานี้อาจทําให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทํางานเกี่ยวกับ

67 เค รื่องจักรกล - ควรระวังการใช้ร่วมกันกับตํารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - แนะนําให้ใช้ในผู้ที่รับประทานอาหารไม่ได้ นอนไม่หลับ - ตําราอายุรเวทศึกษา ของขุนนิทเทศสุขกิจ ระบุว่า 2514. ยาประสะกัญชา แก้ไข้ผอมเหลืองหากําลังมิได้ ให้ตัวสั่นเสียงสั่น เป็นด้วยวาโยธาตุกําเริบ แก้นอนมิ หลับ เอาตรีกฏุก จันทน์ทั้งสอง ใบสะเดา ใบคนทีเขมา พริกร่อน เสมอภาค ใบ กัญชา เท่ายาทั้งหลายทําผง เอาน้ํามะพร้าว น้ําผึ้ง น้ําส้มซ่า น้ําตาลทราย กะทือสด น้ําเบญจทับทิม ต้มละลายกิน - ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ร.ศ.128 หน้า 476 ระบุว่า กัญชา แก้ไข้ผอม เหลือง หากําลังมิได้ ให้ตัวสั่นเสียงสั่นเปนด้วยวาโยธาตุกําเริบ แก้นอนมิหลับ เอาตรีกะฏุก 1 จั นทน์ทั้ง 2 ใบสะเดา 1 ใบคนทีเขมา 1 พริกล่อนเสมอภาค ใบกัญชาเท่ายาทั้งหลาย ทําผง เอาน้ ํา มะพร้าว น้ ํา ผึ้ง น้ําส้มส้า น้ําตาลทราย กระทือสด น้ ํา เบ็ญจทับทิมต้มละลาย ยากินหายแล ( 6 ) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ ผงจากส่ วนเหนื อดิ นหรื อใบของฟ้ำทะลายโจร [ Andrographis paniculata ( Burm . f .) Wall . ex Nees ] ที่มีการควบคุมปริมาณ andrographolide สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้กับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงน้อย ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ยาจากผงฟ้าทะลายโจรที่มี andrographolide 180 มิลลิกรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 5 วัน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่เคยแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม - ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร เนื่องจากทําให้เกิดทารกวิรูปได้ คําเตือน อันตรกิริยา ข้อควรระวัง - หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดยาทันที และพบแพทย์ - ระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ ม ( anticoagulants) เช่น warfarin, ยากลุ่ม NOACs และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึมผ่านเอนไซม์ cytochrome P450 (CYP450) เนื ่ องจากฟ้ำทะลายโจรมี ฤทธิ ์ ยั บยั้ งเอนไซม์ CYP1A2 เช่น tamoxifen, CYP2C9 เช่น amitriptyline, phenytoin และ เอนไซม์ CYP3A4 เช่น ยากลุ่ม statins, ยากลุ่ม protease inhibitors และ itraconazole - ระหว่างการใช้ยาหากมีอาการรุนแรงขึ้น ควรพบแพทย์ - หากใช้ยาติดต่อกัน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรพ บแพทย์ - ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของตับผิดปกติ - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง อาการไม่พึงประสงค์ ข้อมูลเพิ่มเติม อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดผื่นแพ้ลมพิษได้ ยังไม่มีงานวิจัยทางคลินิกในผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีอายุต่ํากว่า 12 ปี

68 ( 7 ) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด บัญชีรายการยาพื้นฐาน สูตรตํารับ สารสกัดจากส่วนเหนือดินหรือใบของฟ้าทะลายโจร [ Andrographis paniculata ( Burm . f .) Wall . ex Nees ] ที่สกัดด้วยเอทานอล หรือ เอทานอล - น้ํา ที่มีการควบคุม ปริมาณ andrographolide สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ใช้กับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงน้อย ขนาดและวิธีใช้ ข้อห้ามใช้ คําเตือน รับประทาน ยาสารสกัดจากฟ้าทะลายโจรที่มี andrographolide 180 มิลลิกรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 5 วัน - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น มีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรูปได้ - หากใช้ยานี้แล้วมีผื่น ปากบวม ตาบวม หน้าบวม ให้หยุดยาทันที และพบแพทย์ อันตรกิริยา - ระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับ สารกันเลือดเป็นลิ่ ม ( anticoagulants) เช่น warfarin, ยากลุ่ม NOACs และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึมผ่านเอนไซม์ cytochrome P450 (CYP450) เนื ่ องจากฟ้ำทะลายโจรมี ฤทธิ ์ ยั บยั ้ งเอนไซม์ CYP1A2 เช่น tamoxifen, CYP2C9 เช่น amitriptyline, phenytoin และ เอนไซม์ CYP3A4 เช่น ยากลุ่ม statins, ยากลุ่ม protease inhibitors และ itraconazole ข้อควรระวัง - ระหว่างการใช้ยาหากมีอาการรุนแรงขึ้น ควรพบแพทย์ - หา กใช้ยาติดต่อกัน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรพบแพทย์ - ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของตับผิดปกติ - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง อาการไม่พึงประสงค์ ข้อมูลเพิ่มเติม อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดผื่นแพ้ลมพิษได้ ยังไม่มีงานวิจัยทางคลินิกในผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีอายุต่ํากว่า 12 ปี ( 8 ) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล ( รพ. ) ยาผง ( รพ. ) ยาเม็ด ( รพ. ) บัญชีรายการยา เฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ ผู้อํานวยการหรือหัวหน้าสถานพยาบาลมอบหมาย สูตรตํารับ ในผงยา 114 กรัม ประกอบด้วย 1 . ใบกระพังโหม หนัก 60 กรัม 2 . ยาดําสะตุ หนัก 8 กรัม 3 . โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี เนื้อผลสมอไทย เนื้อผลสมอพิเภก เนื้อผลมะขามป้อม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอมเทศ เมล็ดโหระพา ลูกผักชีลา สารส้ มสะตุ เหง้าขมิ้นอ้อย หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 2 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ แก้ลมซาง ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด (แบบอัดเปียก) เด็ก อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 . 5 กรัม ละลายน้ําต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เพิ่มและลดได้ตามส่วน วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ -

69 คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม ( anticoagulants ) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด ( antiplatelets) - ยาจะมีฤทธิ์ระบาย หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา อาการไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลเพิ่มเติม - ( 9 ) ยาศุขไสยาศน์ ยาแคปซูล ยาผง บัญชีรายการยาเฉพาะ เงื่อนไขการใช้ยา ให้สั่งใช้ยาโดยแพทย์แผนไทย หรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อํานวยการของสถานพยาบาลนั้น ๆ โดยใช้องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย สูตรตํารับ ในยา 78 กรัม ประกอบด้วย ใบกัญชา 12 กรัม ดอกดีปลี 11 กรัม เหง้าขิงแห้ง 10 กรัม เมล็ดพริกไทย 9 กรัม ดอกบุ นนาค 8 กรั ม ลู กจั นทน์ 7 กรั ม โกฐกระดู ก 6 กรั ม เที ยนดํา 5 กรัม เปลือกต้นสมุลแว้ง 4 กรัม หัสคุณเทศ 3 กรัม ใบสะเดา 2 กรัม การบูร 1 กรัม สรรพคุณ / ข้อบ่งใช้ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร ขนาดและวิธีใช้ สําหรับอาการนอนไม่หลับ รับประทานครั้งละ 0.5 - 2 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน สําหรับ อาการเบื่ออาหาร รับประทานครั้งละ 0.5 - 2 กรัม วันละ 1 - 2 ครั้ง ก่อนอาหาร น้ํากระสายยา - น้ําผึ้งรวง 1 ช้อนชา ( 5 ซีซี) - ถ้าหาน้ํากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกครึ่งแก้ว (60 ซีซี) แทน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ คําเตือน - ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติกและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตํารับยำรสร้อน - ควรระวังใช้ร่วมกับยาที่ มีฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับและ ยาต้านการชัก รวมทั้งแอลกอฮอล์ หรือสิ่งที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ - สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน ควรใช้น้ําต้มสุกเป็นกระสาย อาการไม่พึงประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง หน้ำแดงได้ ข้อมูลเพิ่มเติม -