Wed May 31 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง รายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 และรายการการกู้เงินและค้ำประกัน ระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566


ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง รายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 และรายการการกู้เงินและค้ำประกัน ระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566

ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง รายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 และรายการการกู้เงินและค้้าประกัน ระหว่างเดือนตุลาคม 256 5 ถึงเดือนมีนาคม 2566 ด้วยพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 16 วรรคสอง ก้าหนดให้กระทรวงการคลังสรุปรายงานสถานะของหนี้สาธารณะและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายในหกสิบวันหลังจากวันสิ้นเดือนมีนาคมและเดือนกันยายนของทุกปี โดยรายงานดังกล่าวต้อง แสดง หนี้สาธารณะที่เกิดจากการกู้เงินและค้้าประกัน ณ วันสิ้นเดือนดังกล่าว รวมทั้งรายการการกู้เงินและ ค้้าประกันที่เกิดขึ้นใหม่ในช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม และเดือนเมษายน ถึงเดือนกันยายนตามล้าดับ กระทรวงการคลังขอรายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วั นที่ 31 มีนาคม 2566 และรายการ การกู้เงินและค้้าประกัน ระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 ดังนี้ 1 . รายงานสถานะหนี้คงค้าง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 มีจ้านวน 10,797,505.46 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.30 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ( Gross Domestic Product : GDP ) โดยเป็นหนี้รัฐบาล จ้านวน 9,475,655.31 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ จ้านวน 1,060,086.90 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ท้าธุรกิจให้กู้ยืมเงิน ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ และธุรกิจประกันสินเชื่อเฉพาะหนี้ที่รัฐบาล ค้้าประกัน จ้านวน 225,531.30 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ จ้านวน 36,231.95 ล้านบาท รายละเอียดดังปรากฏตามตารางที่ 1 หนี้สาธารณะจ้าแนกตามอายุคงเหลือของหนี้ ประกอบด้วย หนี้ระยะยาวซึ่งเป็นหนี้ ที่จะครบก้าหนดช้าระเกินกว่า 1 ปี จ้านวน 9,566,056.33 ล้านบาท หรือร้อยละ 88.60 และหนี้ระยะสั้นที่จะครบก้าหนดช้าระภายในไม่เกิน 1 ปี จ้านวน 1,231,449.13 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.40 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และเมื่อจ้าแนกตามสกุลเงินของหนี้จะประกอบด้วย หนี้ต่างประเทศ (หนี้ที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ) เทียบเท่าสกุลเงินบาท จ้านวน 175,590.96 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.63 และหนี้ในประเทศ (หนี้ที่เป็นสกุลเงินบาท) จ้านวน 10,621,914.50 ล้านบาท หรือร้อยละ 98.37 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

ตารางที่ 1 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 หน่วย: ล้านบาท รายการ ณ 31 มีนาคม 2566 ร้อยละของ GDP / 1 1 . หนี้ของรัฐบาล 9,475,655 . 31 53 . 79 1 . 1 หนี้ต่างประเทศ 133,296 . 74 1 . 2 หนี้ในประเทศ 9,342,358 . 57 2 . หนี้ของรัฐวิสาหกิจ 1,060,086 . 90 6 . 02 2 . 1 หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน 504,851 . 23 - หนี้ต่างประเทศ 32,170 . 80 - หนี้ในประเทศ 2 . 2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้้าประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ 472,680 . 43 555,235 . 67 10,066 . 74 545,168 . 93 3 . หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้้าประกัน) / 2 3 . 1 หนี้ต่างประเทศ 3 . 2 หนี้ในประเทศ 225,531 . 30 56 . 68 225,474 . 62 1 . 28 4 . หนี้หน่วยงานของรัฐ 4 . 1 หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน 4 . 2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้้าประกัน 36,231 . 95 30,000 . 00 6,231 . 95 0 . 21 5 . รวม 1 .+ 2 .+ 3 .+ 4 . 10,797,505 . 46 61 . 30 หมายเหตุ: / 1. ค้านวณโดยอ้างอิงตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ( GDP ) ตามที่ ส้านักงานสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ประกาศ เมื่อวันที่ 1 5 พฤษภาคม 2566 โดย GDP ไตรมาส 2 ปี 2565 เท่ากับ 4,213.74 พันล้านบาท GDP ไตรมาส 3 ปี 2565 เท่ากับ 4,337.27 พันล้านบาท GDP ไตรมาส 4 ปี 2565 เท่ากับ 4,53 3 . 04 พันล้านบาท และ GDP ไตรมาส 1 ปี 256 6 เท่ากับ 4 , 531 . 1 2 พันล้านบาท / 2. รัฐวิสาหกิจที่ท้าธุรกิจในภาคการเงิน หมายถึง รัฐวิสาหกิจที่ท้าธุรกิจให้กู้ยืมเงิน ธุรกิจบริหาร สินทรัพย์ และธุรกิจประกันสินเชื่อ 2. รายการการกู้เงินและค้้าประกันระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 คณะกรรมการนโยบายและก้ากับการบริหารหนี้สาธารณะโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีได้จัดท้า แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ้าปีงบประมาณ 2566 ปรับปรุงครั้งที่ 1 (แผนการบริหารหนี้ฯ) เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เพื่อใช้เป็นกรอบในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะประจ้าปีงบประมำณ โดยในระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 กระทรวงการคลัง รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐได้ด้าเนินการกู้เงิน ประกอบด้วย 3 แผนย่อย ดังนี้ การกู้เงินภายใต้ แผนการก่อหนี้ใหม่ วงเงิน 478,512.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 42.20 ของแผนกำรบริหารหนี้ฯ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

การกู้เงินภายใต้แผนการบริหารหนี้เดิม วงเงิน 1,159,209.13 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.02 ของแผนการบริหารหนี้ฯ และการกู้เงินภายใต้แผนการช้าระหนี้ วงเงิน 302,726.93 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 83.86 ของแผนการบริหารหนี้ฯ ดังปรากฏตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 : การกู้เงิน การบริหารหนี้ และการช้าระหนี้ ระหว่างเดือนตุลาคม 256 5 ถึงเดือนมีนาคม 2566 หน่วย: ล้านบาท รายการ วงเงินตามแผน การบริหารหนี้ฯ ผลการด้าเนินงาน เดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 ผลการกู้เงิน การบริหารหนี้ และการช้าระหนี้ วงเงิน ร้อยละของแผน การบริหารหนี้ฯ 1 แผนการก่อหนี้ใหม่ 1, 134 ,028 . 36 4 78, 512.50 42 . 20 1.1 รัฐบาล 819,765 . 19 325 , 505.71 39 . 71 1) รัฐบาลกู้มาใช้โดยตรง 728,585 . 19 294 , 505.71 40.42 (1) ในประเทศ 695,000 . 00 294 , 505.71 42.37 (2) ต่างประเทศ 33,585 . 19 0.00 0.00 2 ) รัฐบาลกู้มาให้กู้ต่อ 46,180 . 00 31,000 .00 67 . 13 (1) ในประเทศ 46,180 . 00 31, 000.00 67.13 (2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 3 ) รัฐบาลกู้เพื่อบริหารสภาพคล่อง 45 , 000.00 0 . 00 0 . 00 (1) ในประเทศ 45 , 000.00 0 . 00 0 . 00 (2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 1.2 รัฐวิสาหกิจ 203,763 . 17 123 , 006.79 60.37 1 ) ในประเทศ 203,763 . 17 123 , 006.79 60.37 2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 1. 3 หน่วยงานอื่นของรัฐ 110,500 .00 30 ,000 . 00 27 . 15 1 ) ในประเทศ 110,500 .00 30 ,000 . 00 27 . 15 2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 2 แผนการบริหารหนี้เดิม 1,729,680 . 42 1,159,209 . 13 67 . 02 2.1 รัฐบาล 1,603,561 . 83 1,105,333 . 46 68 . 93 1) ในประเทศ 1,570,829 . 72 1,104,194 . 02 70 . 29 2) ต่างประเทศ 32,732 . 11 1,139 . 45 3 . 48 2.2 รัฐวิสาหกิจ 1 26 , 118.59 53,875 . 67 42 . 72 1) ในประเทศ 1 26 , 118.59 53,875 . 67 42 . 72 2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 2 . 3 หน่วยงานอื่นของรัฐ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 1) ในประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 2) ต่างประเทศ 0 . 00 0 . 00 0 . 00 ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

รายการ วงเงินตามแผน การบริหารหนี้ฯ ผลการด้าเนินงาน เดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 ผลการกู้เงิน การบริหารหนี้ และการช้าระหนี้ วงเงิน ร้อยละของแผน การบริหารหนี้ฯ 3 แผนการช้าระหนี้* 3 61 ,004 . 99 302,726 . 93 83 . 86 3.1 แผนการช้าระหนี้ของรัฐบาล และหนี้ หน่วยงานของรัฐจากงบประมาณรายจ่าย ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 306,617 . 96 208,493 . 15 68 . 00 1) เงินต้น 100 , 000.00 90,035 . 99 90 . 04 2) ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 206,617 . 96 118,457 . 1 6 57 . 33 3.2 แผนการช้าระหนี้จากแหล่งเงินอื่น ๆ 54,387 . 03 94,233 . 78 173 . 27 1 ) เงินต้น 27,492 . 02 81,441 . 29 296 . 24 2 ) ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 26 , 895.01 12,792 . 49 47 . 56 หมายเหตุ: * ผลการช้าระหนี้ที่ครบก้าหนดของหน่วยงานของรัฐจากแหล่งเงินอื่น ๆ ที่อยู่นอกแผน การบริหารหนี้ฯ วงเงินรวม 30 , 623.25 ล้ำนบาท (การช้าระเงินต้น วงเงิน 22 , 469.42 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม วงเงิน 8 ,153 . 83 ล้านบาท) ซึ่งมีสาระส้าคัญ ดังนี้ 1) ผลการก่อหนี้ใหม่ ในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 วงเงินรวม 478,512.50 ล้านบาท ประกอบด้วย 1.1) ผลการก่อหนี้ใหม่ของรัฐบาล วงเงินรวม 325,505.71 ล้านบาท ประกอบด้วย 1.1.1) รัฐบาลกู้มาใช้โดยตรง วงเงินรวม 294,505.71 ล้านบาท ประกอบด้วย (1) เงินกู้ในประเทศที่รัฐบาลกู้โดยตรง กระทรวงการคลังได้กู้เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณ 2566 วงเงินรวม 294,505.71 ล้านบาท แบ่งเป็นการออกพันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 248,439.00 ล้านบาท และการออกพันธบัตรออมทรัพย์ วงเงิน 46,066.71 ล้านบาท (2) เงินกู้ต่างประเทศที่รัฐบาลกู้โดยตรง - ไม่มีการกู้เงิน - 1.1. 2 ) รัฐบาลกู้มำให้กู้ต่อ วงเงินรวม 31,000.00 ล้านบาท ประกอบด้วย (1) เงินกู้ในประเทศเพื่อให้กู้ต่อ กระทรวงการคลังได้กู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อน้ามาให้ รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ วงเงินรวม 31,000.00 ล้านบาท แบ่งเป็น 1) การกู้เงินเพื่อน้ามาให้การรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กู้ต่อ วงเงิน 15,600. 00 ล้านบาท และ 2) การกู้เงิน เพื่อน้ามาให้การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) กู้ต่อ วงเงิน 15,400.00 ล้านบาท (2) เงินกู้ต่างประเทศเพื่อให้กู้ต่อ - ไม่มีการกู้เงิน - ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

1.1. 3 ) รัฐบาลกู้เพื่อบริหารสภาพคล่องเงินคงคลัง - ไม่มีการกู้เงิน - 1.2) ผลการก่อหนี้ใหม่ของรัฐวิสาหกิจ วงเงินรวม 123,006.79 ล้านบาท โดยเป็น หนี้รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้้าประกัน วงเงิน 100,066.79 ล้านบาท และหนี้รัฐวิสาหกิจ ที่กระทรวงการคลังไม่ค้้าประกั น วงเงิน 22,940.00 บาท ประกอบด้วย 1.2.1) เงินกู้เพื่อลงทุน ในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 มีรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง ได้ก่อหนี้ใหม่เพื่อลงทุน วงเงินรวม 18,000.00 ล้านบาท โดยเป็น หนี้รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังไม่ค้้าประกันทั้งจ้านวน ประกอบด้วย ( 1 ) บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จ้ากัด ได้กู้เงินจากสถาบันการเงิน ในประเทศ ( Term loan ) วงเงินรวม 6,000.00 ล้านบาท เพื่อด้าเนินโครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยาย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 พื้นที่โซน C โดยกระทรวงการคลัง ไม่ค้้าประกัน ( 2 ) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร วงเงินรวม 8,000.00 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังไม่ค้้าประกัน ประกอบด้วย ( 2.1 ) โครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า ระยะที่ 8 ส่วนที่ 1 วงเงิน 35.16 ล้านบาท ( 2.2 ) โครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า ระยะที่ 9 ส่วนที่ 3 วงเงิน 500.00 ล้านบาท ( 2.3 ) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบศูนย์สั่งการจ่ายไฟ วงเงิน 500.00 ล้านบาท ( 2.4 ) โครงการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ( Smart Grid ) ในพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัด ชลบุรี วงเงิน 22.00 ล้านบาท ( 2.5 ) โครงการพัฒนาระบบไฟฟ้าเพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ ระยะแรก (6 พื้นที่) วงเงิน 300.00 ล้านบาท ( 2.6 ) โครงการพัฒนาระบบส่งและจ้าหน่าย ระยะที่ 1 วงเงิน 200.00 ล้านบาท ( 2.7 ) โครงการพัฒนาระบบไฟฟ้าเพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 วงเงิน 200.00 ล้านบาท ( 2.8 ) โครงการขยายเขตไฟฟ้าให้บ้านเรือนราษฎรรายใหม่ ระยะที่ 2 วงเงิน 1,200.00 ล้านบาท ( 2.9 ) โครงการติดตั้งระบบมิเตอร์อัจฉริยะ ( AMI ) ส้าหรับผู้ใช้ไฟฟ้า รายใหญ่ วงเงิน 100.00 ล้านบาท ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

( 2.10 ) โครงการพัฒนาระบบส่งและจ้าหน่าย ระยะที่ 2 วงเงิน 4,942.84 ล้านบาท ( 3 ) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร วงเงินรวม 4,000.00 ล้านบาท เพื่อด้าเนินงานแผนปรับปรุงและขยายระบบจ้าหน่ายพลังไฟฟ้า ฉบับที่ 11 ปี 2560 - 2564 โดยกระทรวงการคลังไม่ค้้าประกันทั้งจ้านวน 1.2.2) เงินกู้เพื่อด้าเนินกิจการทั่วไปและอื่น ๆ ในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 มีรัฐวิสาหกิจ 5 แห่ง ได้ก่อหนี้เพื่อด้าเนินกิจการทั่วไปและอื่น ๆ วงเงินรวม 105,006.79 ล้านบาท โดยเป็นหนี้รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้้าประกัน วงเงิน 100,066.79 ล้านบาท และหนี้รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังไม่ค้้าประกัน วงเงิน 4,940.00 บาท ประกอบด้วย ( 1 ) รฟท. ได้กู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศ และกู้เงินระยะสั้น (วงเงินกู้เบิกเกินบัญชี ( O / D )) วงเงินรวม 11,500.00 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกู้เพื่อใช้บรรเทา การขาดสภาพคล่อง วงเงิน 10,000.00 ล้านบาท และเงินกู้ระยะสั้น วงเงิน 1,500.00 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังค้้าประกัน ( 2 ) การเคหะแห่งชาติ (กคช.) ได้กู้เงินระยะสั้น (วงเงินกู้เบิกเกินบัญชี ( O / D )) เพื่อใช้เป็นวงเงินเบิกเกินบัญชีส้าหรับซื้อคืนลูกหนี้บ้านเอื้ออาทร วงเงิน 1,940.00 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังไม่ค้้าประกัน ( 3 ) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้กู้เงินจากสถาบันการเงิน ในประเทศ วงเงิน 85,00 0 .00 ล้านบาท เพื่อเสริมสภาพคล่อง (บริหารภาระค่า FT ตามนโยบายรัฐบาล) โดยกระทรวงการคลังค้้าประกัน ( 4 ) กฟภ. ได้กู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศเพื่อด้าเนินงานปกติ วงเงิน 3,000.00 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังไม่ค้้าประกัน ( 5 ) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ได้กู้เงินจากสถาบันการเงิน ในประเทศ วงเงินรวม 3,566.79 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกู้เพื่อช้าระค่าเชื้อเพลิง วงเงิน 1,212.49 ล้านบาท เงินกู้ช้าระค่าเหมาซ่อม วงเงิน 667.91 ล้านบาท และเงินกู้เพื่อเสริมสภาพคล่อง ทางการเงิน วงเงิน 1,686.39 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังค้้าประกัน 1. 3 ) ผลการก่อหนี้ใหม่ของหน่วยงานอื่นของรัฐ ช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 มีหน่วยงานอื่นของรัฐ 1 แห่ง ได้แก่ ส้านักงานกองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง ได้กู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อเสริมสภาพคล่องของกองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง วงเงิน 30,000.00 ล้านบาท โดยเป็นหนี้ที่กระทรวงการคลังค้้าประกันทั้งจ้านวน 2) ผลการบริหารหนี้เดิม ในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 วงเงินรวม 1,159,209.13 ล้านบาท ประกอบด้วย 2.1) การบริหารหนี้เดิมของรัฐบาล วงเงินรวม 1,105,333.47 ล้านบาท ประกอบด้วย ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

2.1.1) การบริหารหนี้เดิมของรัฐบาล (ในประเทศ) วงเงินรวม 1,104,194.02 ล้านบาท ประกอบด้วย ( 1 ) กระทรวงการคลังปรับโครงสร้างหนี้ในประเทศของรัฐบาลที่ครบก้าหนด ในปี 2566 วงเงิน 1,067,021.02 ล้านบาท (วงเงินดังกล่าวไม่รวมการช้าระหนี้จากงบช้าระหนี้ วงเงิน 51,836.61 ล้านบาท) ประกอบด้วย (1. 1 ) หนี้เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณหรือเมื่อมีรายจ่าย สูง กว่ารายได้ และการบริหารหนี้ วงเงินรวม 776,658.21 ล้านบาท แบ่งเป็นการปรับโครงสร้างหนี้ โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 141,000.00 ล้านบาท การออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) วงเงิน 120,382.21 ล้านบาท และการออกตั๋วเงินคลัง ( T - bill ) วงเงิน 515,276.00 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 1.2 ) หนี้เงินกู้ที่ออกภายใต้พระราชก้าหนดให้อ้านาจกระทรวง การคลัง กู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 วงเงินรวม 18,900.00 ล้านบาท แบ่งเป็นการปรับโครงสร้างหนี้โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 16,000.00 ล้านบาท และการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) วงเงิน 2,900.00 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ (1. 3 ) หนี้เงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟู และพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ( FIDF ) วงเงินรวม 126,214.00 ล้านบาท แบ่งเป็นการปรับ โครงสร้างหนี้ที่ออกภายใต้พระราชก้าหนดให้อ้านาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 ( FIDF 1) วงเงิน 37,874.00 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 31,374.00 ล้าน บาท และการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) วงเงิน 6,500.00 ล้านบาท และการปรับโครงสร้างหนี้ที่ออกภายใต้พระราชก้าหนดให้อ้านาจ กระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 ( FIDF 3) วงเงิน 88,340.00 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 63,340.00 ล้านบาท และการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) วงเงิน 25,000.00 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ (1. 4 ) หนี้เงินกู้เพื่อด้าเนินแผนงาน/โครงการภายใต้พระราชก้าหนด ให้อ้านาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับ ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 วงเงินรวม 117,800.00 ล้านบาท โดยการออกพันธบั ตรรัฐบาล วงเงิน 70,000.00 ล้านบาท และการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) วงเงิน 47,800.00 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

(1. 5 ) หนี้เงินกู้มาเพื่อให้กู้ต่อ วงเงินรวม 27,448.81 ล้านบาท ประกอบด้วย ( 1.5.1 ) กระทรวงการคลังบริหารหนี้เงินกู้ให้ รฟม. กู้ต่อ วงเงินรวม 6,387.00 ล้านบาท โดยเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) ทั้งจ้านวน เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 1.5.2 ) กระทรวงการคลังบริหารหนี้เงินกู้ให้ รฟท. กู้ต่อ วงเงินรวม 19,105.00 ล้านบาท โดยเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) ทั้งจ้านวน เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 1.5.3 ) กระทรวงการคลังบริหารหนี้เงินกู้ให้กรุงเทพมหานคร กู้ต่อที่รับโอนจาก รฟม. วงเงิน 1,956.81 ล้านบาท โดยเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) ทั้งจ้านวน เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 2 ) หนี้เงินกู้รัฐบาลที่ครบก้าหนดในปีงบประมาณ 2567 - 2570 วงเงินรวม 37,173.00 ล้านบาท โดยปรับโครงสร้างหนี้โดยการท้าธุรกรรมแลกเปลี่ยนตราสารหนี้ ( Bond Switching ) ทั้งจ้านวน เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) 2.1.2) การบริหารหนี้เดิมของรัฐบาล (หนี้ต่างประเทศ) วงเงินรวม 1,139.45 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการปรับโครงสร้างหนี้โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ( P / N ) ทั้งจ้านวน เพื่อปรับโครงสร้างหนี้สัญญาให้กู้ยืมเงินต่อ เลขที่ 21 - ข/2559 ( TXXXIV - 1) ส่วนของงานระบบไฟฟ้า และเครื่องกลของ รฟท. 2.2) การบริหารหนี้เดิมของรัฐวิสาหกิจ วงเงินรวม 53,875.67 ล้านบาท โดยเป็น หนี้รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้้าประกันทั้งจ้านวน ประกอบด้วย 2.2.1) การบริหารหนี้เดิมของรัฐวิสาหกิจ (ในประเทศ) รัฐวิสาหกิจ จ้านวน 4 แห่ง ได้ปรับโครงสร้างหนี้ วงเงินรวม 53,875.67 ล้านบาท ประกอบด้วย (1) รฟท. ปรับโครงสร้างหนี้ วงเงินรวม 26,510.44 ล้านบาท แบ่งเป็นการออกพันธบัตร วงเงิน 9,500.00 ล้านบาท และการกู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศ วงเงิน 17,010.44 ล้านบาท เพื่อ R oll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 2 ) ขสมก. ปรับโครงสร้างหนี้โดยการออกพันธบัตรทั้งจ้านวน วงเงินรวม 20,465.23 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ( 3 ) การประปาส่วนภูมิภาคปรับโครงสร้างหนี้โดยการออกพันธบัตร ทั้งจ้านวน วงเงินรวม 900.00 ล้านบาท เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

( 4 ) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ปรับโครงสร้างหนี้ วงเงินรวม 6,000.00 ล้านบาท โดยเป็นการกู้เงินจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อ Roll - over / Refinance พันธบัตรและหนี้เงินกู้ ( Long Term Loan ) ที่ครบก้าหนดช้าระ 2 .2. 2 ) การบริหารหนี้เดิมของรัฐวิสาหกิจ (ต่างประเทศ) - ไม่มีการกู้เงิน - 2. 3 ) การบริหารหนี้เดิมของหน่วยงานอื่นของรัฐ - ไม่มีการกู้เงิน - 3) ผลการช้าระหนี้ ในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 วงเงินรวม 302,726.93 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 171,477.28 ล้านบาท และการช้าระดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม วงเงิน 131,249.65 ล้านบาท) ประกอบด้วย 3.1) ผลการช้าระหนี้ของรัฐบาลและหนี้หน่วยงานของรัฐจากงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 วงเงินรวม 208,493.15 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 90,035.99 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 118,457.16 ล้านบาท) ประกอบด้วย 3.1.1) การช้าระหนี้ของรัฐบาล วงเงินรวม 142,983.21 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 59,862.38 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม จ้านวน 83,120.83 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 1 ) การช้าระหนี้ของรัฐบาล (ในประเทศ) วงเงินรวม 140,382.37 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 57,688.64 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม จ้านวน 82,693.73 ล้านบาท) ( 2 ) การช้าระหนี้ของรัฐบาล (ต่างประเทศ ) วงเงินรวม 2,600.84 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 2,173.74 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม จ้านวน 427.10 ล้านบาท) 3.1. 2 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ วงเงินรวม 65,159.94 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 29,823.61 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม จ้านวน 35,336.33 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 1 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ (ในประเทศ) วงเงินรวม 63,474.64 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 28,727.78 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 34,746.86 ล้านบาท) ( 1.1 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ ขสมก. วงเงินรวม 7,122.93 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 6,213.65 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 909.28 ล้านบาท ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

( 1.2 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) วงเงินรวม 2 2,588.48 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 21,094.13 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 1,494.35 ล้านบาท ( 1.3 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ รฟท. วงเงินรวม 1,493.98 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 420.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 1,073.98 ล้านบาท ( 1.4 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ รฟม. วงเงินรวม 32,228.03 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,000.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 31,228.03 ล้านบาท ( 1.5 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ กคช. วงเงินรวม 41.22 ล้านบาท โดยเป็นการช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมทั้งจ้านวน ( 2 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ (ต่างประเทศ) วงเงินรวม 1,685.30 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,095.83 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 589.47 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 2.1 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ รฟท. วงเงินรวม 567.87 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 413.17 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 154.70 ล้านบาท ( 2.2 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ รฟม. วงเงินรวม 1,117.43 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 682.66 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่า ธรรมเนียม วงเงิน 434.77 ล้านบาท 3.1. 3 ) การช้าระหนี้ของหน่วยงานอื่นของรัฐ (ในประเทศ) การช้าระหนี้เงินกู้ ของส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้้าตาลทราย วงเงินรวม 350.00 ล้านบาท โดยเป็นการช้าระ คืนเงินต้นทั้งจ้านวน 3.2) ผลการช้าระหนี้ของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐจากแหล่งเงินอื่น ๆ วงเงินรวม 94,233.78 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 81,441.29 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม วงเงิน 12,792.49 ล้านบาท) ประกอบด้วย 3.2.1) การช้าระหนี้ของรัฐบาล (ในประเทศ) การช้าระหนี้เงินกู้ของกองทุน เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ( FIDF ) วงเงินรวม 42,801.94 ล้านบาท (การช้าระ คืนเงินต้น วงเงิน 33,500.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 9,301.94 ล้านบาท) โดยเป็นการช้าระหนี้เงินกู้ที่ FIDF รับภาระจากบัญชีสะสมเพื่อการช้าระคืนต้นเงินกู้ ชดใช้ความเสียหายของ FIDF ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

  1. 2.2 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ วงเงินรวม 51,431.84 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 47,941.29 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม จ้านวน 3,490.55 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 1 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ (ในประเทศ) วงเงินรวม 49,823.06 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 46,536.20 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 3,286.85 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 1.1 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ กคช. วงเงินรวม 461.61 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 211.08 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 250.53 ล้านบาท ( 1.2 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ กฟผ. วงเงินรวม 30,899.52 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 29,016.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและ ค่าธรรมเนียม วงเงิน 1,883.52 ล้านบาท ( 1.3 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ กฟน. วงเงินรวม 2,557.92 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,500.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและ ค่าธรรมเนียม วงเงิน 1,057.92 ล้านบาท ( 1.4 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ ขสมก. วงเงินรวม 14,327.28 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 14,251.57 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและ ค่าธรรมเนียม วงเงิน 75.71 ล้านบาท ( 1.5 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย วงเงินรวม 1,019.15 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,000.00 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 19.15 ล้านบาท ( 1.6 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของ ธ.ก.ส. วงเงินรวม 557.58 ล้านบาท แบ่งเป็นการช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 557.55 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 0.03 ล้านบาท ( 2 ) การช้าระหนี้ของรัฐวิสาหกิจ (ต่างประเทศ) วงเงินรวม 1,608.78 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,405.09 ล้านบาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 203.69 ล้านบาท) ประกอบด้วย ( 2.1 ) การช้าระหนี้เงินกู้ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ้ากัด (มหาชน) วงเงินรวม 1,515.25 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 1,358.32 บาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 156.93 ล้านบาท) ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

( 2.2 ) การช้าระคืนเงินกู้ของการประปานครหลวง วงเงินรวม 93.53 ล้านบาท (การช้าระคืนเงินต้น วงเงิน 46.77 บาท การช้าระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม วงเงิน 46.76 ล้านบาท) จากการด้าเนินการตามข้อ 1) - 3) กระทรวงการคลัง รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้กู้เงิน บริหารหนี้ และช้าระหนี้ โดยแบ่งเป็น (1) การก่อหนี้ใหม่ วงเงิน 478,512.50 ล้านบาท (2) การบริหารหนี้เดิม วงเงิน 1,159,209.13 ล้านบาท และ (3) การช้าระหนี้ วงเงิน 302,726.93 ล้านบาท อนึ่ง ผลการด้าเนินการบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ที่ไม่ได้บรรจุอยู่ในแผนการบริหารหนี้ฯ โดยใช้เงินรายได้ และเงินกู้ช้าระคืนหนี้ก่อนครบก้าหนด ( Prepayment ) วงเงินรวม 836.23 ล้านบาท สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้รวมทั้งสิ้น 2.57 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) การบริหารความเสี่ยงหนี้รัฐบาล มีการด้าเนินการบริหารความเสี่ยงตามแผนการบริหารหนี้ฯ 2) การบริหารความเสี่ยงหนี้รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ วงเงินรวม 836.23 ล้านบาท สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้รวมทั้งสิ้น 2.57 ล้านบาท 2.1 ) การบริหารความเสี่ยงหนี้รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรั ฐ (ในประเทศ) (1) ธ.ก.ส. ใช้เงินรายได้ช้าระคืนหนี้ก่อนครบก้าหนด ( Prepayment ) วงเงิน 28.33 ล้านบาท ท้าให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ทั้งสิ้น 0.02 ล้านบาท ( 2 ) บริษัท กรุงไทย คอมพิวเตอร์ เซอร์วิสเซส จ้ากัด ใช้เงินกู้ปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนครบ ก้าหนด ( Refinance ) วงเงิน 410.32 ล้านบาท ( 3 ) กคช. ใช้เงินรายได้ช้าระคืนหนี้ก่อนครบก้าหนด ( Prepayment ) วงเงิน 377.58 ล้านบาท ท้าให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ทั้งสิ้น 2.01 ล้านบาท ( 4 ) ส้านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษาใช้เงินรายได้ช้าระคืนหนี้ก่อนครบก้าหนด ( Prepayment ) วงเงิน 20. 00 ล้านบาท ท้าให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ทั้งสิ้น 0.54 ล้านบาท 2.2) การบริหารความเสี่ยงหนี้รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ (ต่างประเทศ) การบริหารความเสี่ยงด้าเนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงของแต่ละรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 256 6 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 126 ง ราชกิจจานุเบกษา 31 พฤษภาคม 2566

หมายเหตุ: Refinance การกู้เงินจากแหล่งใหม่เพื่อนาไปใช้คืนแหล่งเงินกู้เดิมซึ่งเป็นการลดต้นทุน การกู้เงิน Pre p ayment การชาระคืนหนี้ก่อนครบกำหนด Roll - over การกู้เงินใหม่เพื่อนำไปชาระเงินกู้ที่ครบกำหนดชาระ เพื่อให้เงินกู้ดังกล่าว มีระยะเงินกู้สอดคล้องกับระยะคืนทุน Promissory Note ตั๋วสัญญาใช้เงิน O / D การกู้เงินระยะสั้น (วงเงินกู้เบิกเกินบัญชี) Bond Switching การทำธุรกรรมแลกเปลี่ยนตราสารหนี้