Mon May 29 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7010 (พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซีเมนต์ - วิธีทดสอบ - เล่ม 2 วิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยใช้วิธีเอกซ์เรย์ฟลูออเรสเซนซ์


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7010 (พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซีเมนต์ - วิธีทดสอบ - เล่ม 2 วิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยใช้วิธีเอกซ์เรย์ฟลูออเรสเซนซ์

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 70 10 ( พ.ศ. 2566) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซีเมนต์ - วิธีทดสอบ - เล่ม 2 วิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยใช้วิธีเอกซ์เรย์ฟลูออเรสเซนซ์ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซีเมนต์ - วิธีทดสอบ - เล่ม 2 วิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยใช้วิธีเอกซ์เรย์ฟลูออเรสเซนซ์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 3534 เล่ม 2 - 2565 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผล ตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25 6 6 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 124 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤษภาคม 2566

ขอมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 7010 (พ.ศ. 2566) ชื่อมาตรฐาน : ซีเมนต - วิธีทดสอบ - เลม 2 วิธีวิเคราะหทางเคมีโดยใชวิธีเอกซเรยฟลูออเรส เซนซ CEMENT - TEST METHODS - PART 2 : CHEMICAL ANALYSIS BY X- RAY FLUORESCENCE มาตรฐานเลขที่ : มอก. 3534 เลม 2−2565 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : - ขอบขาย : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ - กําหนดวิธี วิเคราะหทางเคมีของซีเมนต การหาปริมาณซิลิคอนไดออกไซด (SiO 2 ) อะลูมิเนียมออกไซด (Al 2 O 3 ) ไอรออน (III) ออกไซด (Fe 2 O 3 ) แคลเซียมออกไซด (CaO) แมกนีเซียมออกไซด (MgO) - ซัลเฟอรไตรออกไซด (SO 3 ) โพแทสเซียมออกไซด (K 2 O) โซเดียมออกไซด (Na 2 O) ไทเทเนียมไดออกไซด (TiO 2 ) ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด (P 2 O 5 ) แมงกานีสออกไซด (Mn 2 O 3 ) สตรอนเชียมออกไซด (SrO) คลอไรด (Cl) และโบรไมด (Br) โดยใชวิธีเอกซเรยฟลูออเรสเซนซ - วิธีทดสอบนี้เป็นวิธีทดสอบทางเลือกในการวิเคราะหซีเมนต เพื่อยืนยัน และมี วัตถุประสงคเพื่อให้ ไวเป็นขอมูล โดยวิเคราะหจากตัวอยางที่หลอมให้เป็นเม็ด ตัวอยาง และใช วัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Materials, CRM) ในการรับรองคุณภาพวิธีวิเคราะห เป็นเกณฑการวิเคราะห - การเตรียมตัวอยางที่ไม่หลอมจะใชวิธีการอัดตัวอยางให้เป็นเม็ด ซึ่งถือวา เทียบเทา โดยผลการวิเคราะห ต้องเป็นไปตามเกณฑ ที่กําหนด หมายเหตุ 1 การเตรียมตัวอยางแบบหลอม โดยทั่วไปสําหรับการวิเคราะห ธาตุ ประเภทสารที่ไม่ระเหย เนื่องจากจะชวยขจัดความแปรปรวนใน การทดสอบ การเตรียมตัวอยางแบบอัดเม็ด โดยทั่วไปสําหรับการ วิเคราะห ธาตุประเภทสารระเหยงาย และให้ความถูกต้องเพียงพอ สําหรับการวิเคราะห

หมายเหตุ 2 เมื่อใชวิธีเอกซเรยฟลูออเรสเซนซ โดยการเตรียมตัวอยางแบบ หลอมมีขอจํากัด สําหรับการวิเคราะห ตัวอยางที่มีซัลไฟด นอกจากนี้ซัลไฟดไม่สามารถวิเคราะห ได้โดยตรง เนื่องด้วยมี สาร อื่นรวมอยู่ ในการวิเคราะหปริมาณซัลไฟด ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่ ซัลไฟดบางสวนจะสูญเสียไปจากการระเหยระหวางการหลอม ดังนั้นวิธีการทดสอบตาม ISO 29581-1 และภาคผนวก ง ตาม มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ เป็นวิธี ทดสอบอางอิง ในการ วิเคราะห ปริมาณซัลเฟตของตัวอยางที่มี สารกลุ่มซัลไฟด - การใชวิธีทดสอบอื่นๆ ให้มีการสอบเทียบ ไม่วาจะเทียบกับวิธีอางอิงหรือกับ วั สดุอางอิงที่ยอมรับระหวางกันเพื่อแสดงให้เห็นถึงความเทาเทียมกัน - ในกรณีมีขอโตแยง ยกเวนแต่จะตกลงกันโดยทุกฝ่าย จะใชวิธีอางอิงใน ISO 29581-1 เทานั้น - อธิบายถึงวิธีการทดสอบที่ใชกับซีเมนตเป็นหลัก แต่ยังสามารถเลือกวิธี ทดสอบไปใชกับวัสดุที่เป็นสวนประกอบและวัสดุอื่นๆ ได้ โดยได้ระบุ สถานะ ขอมูลจําเพาะซึ่งเป็นวิธีที่ใชได้ เนื้อหาประกอบด้วย : บทนํา ขอบขาย เอกสารอางอิง คําศัพทและบทนิยาม ขอกําหนดทั่วไปสําหรับ วิธีทดสอบ สารเคมี และวัสดุอางอิง เครื่องมือ การเตรียมตัวอยางทดสอบ ซีเมนต ฟลักซ การวิเคราะห น้ําหนักที่สูญเสียเนื่องจากการเผา และมวลที่ เปลี่ยนไปในการหลอมของซีเมนต ปจจัยการทดสอบ และความถูกต้องผลการ วิเคราะหทั้งหมดของซัลไฟดและเฮไลด การเตรียมตัวอยางแบบหลอมและ แบบอัดเม็ด การเทียบมาตรฐาน และการตรวจสอบความใชได้ของวิธี การ คํานวณและการแสดงผล เกณฑกําหนด (การทดสอบซ้ํา ความถูกต้อง และ ความสามารถในการทําซ้ํา) ภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ภาคผนวก ค. ภาคผนวก ง. จํานวนหน้า : 45 หน้า ISBN : 978-616-595-246-0 ICS : 91.100.10 สถานที่ จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02 430 6834 ต่อ 2440-2441 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th