ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 010/2566 เรื่อง การหยุดเดินเครื่อง ซ่อมบำรุง และซ่อมบำรุงใหญ่ของโรงงานหรือกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักร อุปกรณ์ของโรงงานในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 010/2566 เรื่อง การหยุดเดินเครื่อง ซ่อมบำรุง และซ่อมบำรุงใหญ่ของโรงงานหรือกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักร อุปกรณ์ของโรงงานในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 010/ 2566 เรื่อง การหยุดเดินเครื่อง ซ่อมบารุง และซ่อมบำรุงใหญ่ของโรงงานหรือกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักร อุปกรณ์ของโรงงานในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เรื่อง การซ่อม บารุงใหญ่สาหรับผู้ประกอบกิจการ ( Shutdown / Turnaround ) ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรือ อุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 และมาตรา 10 (4) แห่งพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 010/ 2566 เรื่อง การหยุดเดินเครื่อง ซ่อมบำรุง และซ่อมบำรุงใหญ่ของโรงงานหรือกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักร อุปกรณ์ของโรงงานในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 67/2557 เรื่อง การซ่อมบารุงใหญ่สาหรับผู้ประกอบกิจการ ( Shutdown / Turnaround ) ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและ ท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ข้อ 4 ในประกาศนี้ “ กลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด ” หมายความว่า นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรม Smart Park นิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอตะวันออก (มาบตาพุด) นิคมอุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย นิคมอุตสาหกรรมอาร์ ไอ แอล และท่าเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุด “ ผู้ประกอบกิจการ ” หมายความว่า ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด “ การหยุดเดินเครื่อง ( Shutdown )” หมายความว่า การหยุดเดินเครื่องของโรงงานหรือ กระบวนการผลิต หรือเครื่องจักร อุปกรณ์ของโรงงาน “ การซ่อมบารุง ” หมายความว่า การซ่อมบารุง การล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ไม่ใช่ แผนบารุงรักษา ประจาปี และมีผลกระทบก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ต่อชีวิต ทรัพย์สิน สภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือชุมชน ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
“ การล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ เปลี่ยนหรือทดแทนอุปกรณ์ ” หมายความว่า กิจกรรมงาน ที่มีการหยุดเดินเครื่องเพื่อล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ เปลี่ยนหรือทดแทนอุปกรณ์ตามแผนผลิต ซึ่งมีผลกระทบก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สิน สภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือชุมชน “ การซ่อมบารุงใหญ่ ( Turnaround )” หมายความว่า การหยุดเดินเครื่องเพื่อการซ่อมบารุง เครื่องจักรหรืออุปกรณ์โดยมีการวางแผนเตรียมการไว้ล่วงหน้าตามช่วงเวลา ( Period ) เพื่อการตรวจสอบ การซ่อมบารุงและการหยุดเดินเครื่องประจาปี ( Annual Shutdown ) ยกเว้นกิจกรรมที่ต้องหยุดเดิน เครื่องจักร การหยุดเดินเครื่องเพื่ อ standby หรือไม่มีการซ่อมบำรุง เช่น การหยุดของโรงผลิต กระแสไฟฟ้า ( Power Plant ) ในช่วง off peak การหยุดเดินเครื่องเนื่องจากเหตุผลทางธุรกิจ ( Commercial Shutdown ) “ การหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน ( Emergency Shutdown )” หมายความว่า การหยุดเดินเครื่อง เนื่องจากเหตุการณ์ผิดปกติหรือมีเหตุฉุกเฉินในกระบวนการผลิตโดยมิได้มีการเตรียมการหรือวางแผน ไว้ล่วงหน้า “ การตรวจประเมิน ” หมายความว่า การดาเนินการตรวจประเมินโดยผู้ตรวจประเมินหรือ คณะผู้ตรวจประเมินภายในของโรงงานที่มีความรู้และประสบการณ์ตามมาตรฐานการจัดการค วามปลอดภัย กระบวนการผลิต ( PSM ) หรือระบบมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัย และความปลอดภัย ( ISO 45001 ) หรือเทียบเท่า ข้อ 5 การหยุดเดินเครื่องของผู้ประกอบกิจการต้องแจ้งแผนการดาเนินการหยุดเดินเครื่อง ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) การซ่อมบารุงและการล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ เปลี่ยนหรือทดแทนอุปกรณ์ให้แจ้ง ตามแบบ (กนอ. 01) และแบบ (กนอ. 02) ให้ กนอ. ทราบก่อนเริ่มดาเนินการอย่างน้อย 3 วัน ( 2 ) การซ่อมบำรุงใหญ่ ( Turnaround ) หรือการหยุดเดินเครื่องประจำปี ( Annual Shutdown or Annual Outage ) ให้แจ้งตามแบบ (กนอ. 01) และแบบ (กนอ. 02) ให้ กนอ. ทราบ ก่อนเริ่มดาเนินการอย่างน้อย 15 วัน และหากเป็นการซ่อมบารุงใหญ่ที่ไม่เป็นการหยุดเดินเครื่องประจาปี ผู้ประกอบกิจการต้องจัดให้มีการตรวจประเมินการซ่อมบารุงของโรงงานตามแบบ (กนอ. 03) พร้อมทั้ง จัดส่งรายงานการตรวจประเมินให้ กนอ. ทราบตามแผนที่ได้แจ้งไว้ก่อนการทดสอบเดินเครื่อง ( 3 ) การหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน ( Emergency Shutdown ) ที่ส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย หรือชุมชน ให้รายงานเหตุการณ์เบื้องต้นทางโทรศัพท์ภาย ใน 10 นาทีนับจาก การหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน และหากมีความจาเป็นต้องทาการซ่อมบารุงใหญ่ให้แจ้งตามแบบ (กนอ. 01) และแบบ (กนอ. 02) ให้ กนอ. ทราบภายใน 3 วันนับจากวันที่หยุดการเดินเครื่องฉุกเฉิน ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
ข้อ 6 การแจ้งแผนการดาเนินการหยุดเดินเครื่องตามข้อ 5 ให้ผู้มีอานาจของสถานประกอบ กิจการหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจลงนามรับรองในแบบ (กนอ. 01) แบบ (กนอ. 02) และแบบ (กนอ. 0 3) และให้คณะผู้ตรวจประเมินภายในของโรงงานลงนามรับรองในการตรวจประเมินการซ่อมบารุง ของโรงงานในแบบ (กนอ. 03) ด้วย ข้อ 7 ระยะเวลาการซ่อมบำรุงใหญ่ ( Turnaround ) หรือการหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน ( Emergency Shutdown ) หรือกิจกรรมงานที่มีการหยุดเดินเครื่องเพื่อล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ เปลี่ยนหรือทดแทนอุปกรณ์ ให้เป็นไปตามที่ผู้ประกอบกิจการแจ้ง กรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงระยะเ วลาการหยุดเดินเครื่อง หรือไม่อาจดาเนินการให้แล้วเสร็จได้ ภายในระยะเวลาที่ได้แจ้งไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ประกอบกิจการแจ้งแผนการดำเนินการที่แก้ไข เปลี่ยนแปลงใหม่ ให้ กนอ. ทราบ ข้อ 8 การแจ้งหยุดเดินเครื่องตามข้อ 5 ให้ผู้ประกอบกิจการส่งแผนการดำเนินงาน ในการซ่อมบำรุง โดยให้มีรายละเอียดของการดาเนินงานประกอบด้วย (1) รายการอุปกรณ์หลักและงานหลัก ( Package ) ที่จะดาเนินการในการซ่อมบำรุง (2) รายชื่อและปริมาณสารเคมีที่คงค้างอยู่ในอุปกรณ์หลักที่อาจส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยต่อโรงงาน หรือชุมชนได้อ ย่างมีนัยสาคัญ รวมทั้งแจ้งข้อมูลและมาตรการควบคุม สารเคมีที่นามาใช้ในกระบวนการซ่อมบำรุง ( 3 ) แผนการดาเนินการ ( Shut Down Procedure ) ตั้งแต่การลดกาลังการผลิต การระบาย สารเคมีออกจากอุปกรณ์ การเปิดอุปกรณ์ การซ่อมบำรุง ( 4 ) การจัดการกากของเสียและของเสียอันตราย ( 5 ) การจัดการน้ำเสีย ( 6 ) มาตรการควบคุมการปล่อยหรือระบายสารเคมีสู่บรรยากาศเมื่อมีการเปิดอุปกรณ์เพื่อทาการ ซ่อมบำรุงเพื่อมิให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อโรงงาน หรือชุมชน ( 7 ) มาตรการในการควบคุมหอเผาก๊าซ ( Flare ) เพื่อมิให้ส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัยต่อโรงงานหรือชุมชนทั้งในช่วงระยะเวลาการหยุดเดินเครื่อง ( Shutdown ) และช่วงระยะเวลา การเริ่มเดินเครื่องใหม่ ( Start Up ) ให้ดาเนินการตามมาตรการ ดังต่อไปนี้ ( 7.1 ) มาตรการควบคุมเสียงดัง ( 7.2 ) มาตรการควบคุมควันดา ( 7.3 ) มาตรการควบคุมความร้อน แสงสว่าง ( 7.4 ) มาตรการควบคุมกลิ่น ( 7.5 ) มาตรการควบคุมระยะเวลาการเผา ( 8 ) มาตรการในการควบคุมฝุ่นที่เกิดจากการทำงาน ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
( 9 ) มาตรการควบคุม ป้องกันการทางานที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การเชื่อม ตัดที่ทาให้เกิด ประกา ยไฟ การทางานในที่สูง การทางานในที่อับอากาศ การยก เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ เครื่องจักร รถเครน รถฟอร์คลิฟท์ การใช้น้ำแรงดันสูง ( 10 ) แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับงานซ่อมบำรุงใหญ่ซึ่งครอบคลุมผู้รับจ้าง ( 11 ) รายชื่อผู้จัดการของโรงงานหรือผู้รั บมอบอานาจที่มีอานาจดาเนินการแทน ( Turnaround / Shut Down Manager ) พร้อมรายชื่อผู้ที่ติดต่อกับสานักงานนิคมอุตสาหกรรมหรือสานักงานท่าเรือ อุตสาหกรรมมาบตาพุด ( 12 ) แผนการประชาสัมพันธ์กับชุมชนหรือโรงงานที่อาจได้รับผลกระทบ ข้อ 9 ให้ผู้ประกอบกิจการจัดให้มีหน่วยงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการดาเนินการตามแผนการดาเนินการในข้อ 8 ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อ 10 การหยุดเดินเครื่องตามข้อ 5 โดยมีผู้รับจ้างเข้ามาดาเนินการให้ผู้ประกอบกิจการ จัดทำแผนในการควบคุมการดาเนินการในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) การแจ้งจำนวนผู้รับจ้างที่ปฏิบัติงานในการซ่อมบำรุง (2) งานหลักที่ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ (3) มาตรการคัดเลือกและทดสอบความสามารถของผู้รับจ้างในการปฏิบัติงานตามที่กาหนด ในข้อ 8 ให้เป็นไปด้วยความปลอดภัย และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (4) การฝึกอบรมผู้รับจ้างอย่างน้อยประกอบด้วย (4.1) แผนปฏิบัติการงานซ่อมบำรุง (4.2) งานที่ต้องปฏิบัติ อันตรายที่ อาจจะเกิดขึ้น และวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย (4.3) แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และสิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อมีการประกาศภาวะฉุกเฉิน และการยกเลิกภาวะฉุกเฉิน แผนการเตือนภัย และแผนการอพยพของผู้รับจ้าง (4.4) บุคคลที่ต้องติดต่อเมื่อเกิดกรณีที่ไม่ปลอดภัย หรือประสบอุบัติเหตุ (5) จัดให้มีการประเมินผล และฝึกอบรมเพื่อให้ผู้รับจ้างมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ ปฏิบัติได้ (6) จัดให้มีกิจกรรม งบประมาณเพื่อส่งเสริมด้านความปลอดภัยตลอดช่วงเวลาการซ่อมบำรุง (7) กรณีที่มีผู้รับจ้างและผู้รับจ้างช่วงหลายราย ผู้ประกอ บกิจการต้องจัดให้มีคณะกรรมการ หรือคณะทำงานด้านความปลอดภัย โดยมีผู้แทนของผู้รับจ้างร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงานด้วย (8) จัดให้มีเจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยในการทางานของผู้รับจ้างเพื่อควบคุมความปลอดภัย ในพื้นที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยอย่างน้อยต้องจัดให้มีเจ้ำหน้าที่ด้านความปลอดภัยในการทางาน ระดับหัวหน้างานของผู้รับจ้างเพื่อควบคุม ณ จุดปฏิบัติงาน ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
(9) จัดเตรียมพื้นที่และอุปกรณ์สาหรับปฏิบัติงานชั่วคราว สถานที่รับประทานอาหาร ห้องน้า ที่พัก ที่สาหรับจอดรถ จุดรวมพล และสถานที่สาหรับประชุมชี้แจงภายในพื้นที่ของผู้ประกอบกิจการเอง ทั้งนี้ จะต้องไม่รุกล้ำพื้นที่ส่วนกลางของ กนอ. เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก กนอ. ข้อ 11 การซ่อมบำรุงใหญ่ ( Turnaround ) การหยุดเดินเครื่องประจำปี ( Annual Shutdown or Annual Outage ) และการหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน ( Emergency Shutdown ) เฉพาะที่มีความจาเป็น ต้อง มีการซ่อมบารุงใหญ่ ให้ผู้ประกอบกิจการดาเนินการทบทวนความปลอดภัย และส่งผลการทบทวน ความปลอดภัย ( Pre - Startup Safety Review ( PSSR )) ที่ผ่านการอนุมัติจากผู้มีอานาจของสถานประกอบ กิจการ ตามแผนการดาเนินการที่แจ้งไว้ให้ กนอ. ทราบ ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี้ (1) ตรวจสอบการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งที่นำมาใช้ในโรงงานให้เป็นไปตามรายละเอียด ของการออกแบบเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งที่นำมาใช้ในโรงงานนั้นที่กำหนดไว้ในแบบแปลน (2) ทบทวนเอกสารขั้นตอนการดาเนินงาน วิธีปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบควบคุมและระบบ ป้องกันภัยของเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งที่นามาใช้ในโรงงาน รวมทั้งวิธีการบารุงรักษาและควบคุม ในภาวะฉุกเฉินให้สอดคล้องกับเครื่ องจักร อุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใหม่ (3) ทดสอบอุปกรณ์แต่ละชิ้นก่อนนาเข้าใช้งานกับเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งที่นำมาใช้ในโรงงาน เว้นแต่เป็นอุปกรณ์ที่ไม่สามารถทดสอบได้และสามารถหยุดการทำงานของอุปกรณ์นั้นได้อย่างปลอดภัย (4) ทดสอบการทางานของระบบควบคุมและระบบป้องกันภัยของเครื่องจักร อุปกรณ์หรือสิ่งที่ นำมาใช้ในโรงงาน (5) จัดเตรียมความพร้อมการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน ( 6 ) มีการอบรม ชี้แจงให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเดินเครื่องจักร ข้อ 12 การแจ้งหรือการดาเนินการตามประกาศนี้ ให้ผู้ประกอบกิจการแจ้งหรือดาเนินการ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของสานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดหรือสานักงานท่าเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุด เว้นแต่มีเหตุจาเป็นที่ไม่อาจแจ้งหรือดาเนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ผู้ประกอบกิจการ แจ้งหรือดาเนินการ ณ สานักงานนิคมอุตสาหกรรมหรือสานักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดที่โรงงาน ตั้งอยู่ ข้อ 1 3 การดาเนินการตามที่กำหนดไว้ในข้อ 8 ข้อ 9 และข้อ 10 กนอ. จะให้พนักงาน กนอ. ที่ได้รับมอบหมายเข้าตรวจสอบแผนงานซ่อมบำรุง ตรวจสอบเอกสารหรือสิ่งของใด ๆ ของผู้ประกอบกิจการ ในเวลาทำการได้ตามความจำเป็น กรณีนี้ผู้ประกอบกิจการดังกล่าวต้องให้ความสะดวกตามสมควร กรณีที่ กนอ. ตรวจสอบพบว่ามีการดำเนินงานไม่ครบถ้วนตามแผนการซ่อมบารุงที่ได้แจ้งไว้ กนอ. จะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ประกอบกิจการปฏิบัติให้ครบถ้วน หรือพิจารณาให้หยุดกิจกรรมบางส่วนหรือทั้งหมด แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
ข้อ 14 การดาเนินการตามข้อ 6 หากพบว่าบุคคลที่ได้ทาการรับรองในแบบ (กนอ. 01) แบบ (กนอ. 02) และแบบ (กนอ. 03) ทาการรับรองโดยไม่ตรวจสอบอย่างละเอียดหรือขาดความรอบคอบ และเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุในระหว่างการดาเนินการหยุดเดินเครื่อง บุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบ ตามกฎหมายต่อไป ประกาศ ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 256 6 วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 117 ง ราชกิจจานุเบกษา 22 พฤษภาคม 2566
( กนอ . 01 ) แบบรายงานการแจ้งกิจกรรมการซ่อมบํารุงของโรงงาน ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด บริษัทฯ : นิคมอุตสาหกรรม : ทะเบียนโรงงาน : หน่วยผลิต : วันที่ : ( ) การซ่อมบํารุง ( ) การซ่อมบํารุงใหญ่ ( ) การหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน รายละเอียดของโครงการหรือการซ่อมบํารุงหรือการซ่อมบํารุงใหญ่หรือการหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน : หมายเหตุ N/A = ไม่เกี่ยวข้อง Y = ได้ดําเนินการแล้ว N = ไม่สามารถดําเนินการได้ บริษัทฯ ขอรับรองว่า ข้อความข้างต้นถูกต้องเป็นจริงทุกประการ และได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ลงชื่อ … ผู้มีอํานาจ / ผู้ได้รับมอบอํานาจ (…) วันที่ … เดือน … พ . ศ . …
( กนอ . 02 ) แบบรายงานการแจ้งแผนการซ่อมบํารุงของโรงงาน ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด N/A Y N รายการตรวจสอบแผนการซ่อมบํารุงและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยหรือชุมชน 1. แผนการดําเนินงานในการซ่อมบํารุง ประกอบด้วย รายการอุปกรณ์หลักและงานหลัก (package) ที่จะ ดําเนินการในการซ่อมบํารุง 2. แผนการดําเนินงานในการซ่อมบํารุง ประกอบด้วย รายชื่อและปริมาณสารเคมีที่คงค้างอยู่ในอุปกรณ์หลักที่อาจ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนได้อย่างมีนัยสําคัญ รวมทั้งแจ้งข้อมูลและมาตรการควบคุมสารเคมีที่นํามาใช้ ในกระบวนการซ่อมบํารุง 3. มีแผนการดําเนินการ (Shut Down Procedure) ตั้งแต่การลดกําลังการผลิต การระบายสารเคมีออกจาก อุปกรณ์ การเปิดอุปกรณ์ การซ่อมบํารุง 4. มีวิธีการจัดการกากของเสียและของเสียอันตราย 5. มีวิธีการจัดการน้ําเสีย 6. มีมาตรการควบคุมการปล่อยหรือระบายสารเคมีสู่บรรยากาศเมื่อมีการเปิดอุปกรณ์เพื่อทําการซ่อมบํารุงเพื่อมิให้ เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โรงงานหรือชุมชน 7. มีมาตรการในการควบคุมหอเผาก๊าซ (Flare) เพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โรงงานหรือชุมชน ทั้งในช่วง ระยะเวลาการหยุดเดินเครื่อง (Shut Down) และช่วงระยะเวลาการเริ่มเดินเครื่องใหม่ (Start Up) ตามมาตรการ ดังนี้ (1) มาตรการควบคุมเสียงดัง (2) มาตรการควบคุมควันดํา (3) มาตรการควบคุมความร้อน แสงสว่าง (4) มาตรการควบคุมกลิ่น (5) มาตรการควบคุมระยะเวลาการเผา 8. มีมาตรการในการควบคุมฝุ่นที่เกิดจากการทํางาน 9. มีมาตรการควบคุม ป้องกันการทํางานที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การเชื่อม ตัดที่ทําให้เกิดประกายไฟ การทํางานในที่สูง การทํางานในที่อับอากาศ การยก เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องจักร รถเครน รถฟอร์คลิฟท์ การใช้น้ํา แรงดันสูง 10. แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสําหรับงานซ่อมบํารุงซึ่งครอบคลุมผู้รับจ้าง 11. มีรายชื่อผู้จัดการของโรงงานหรือผู้รับมอบอํานาจที่มีอํานาจดําเนินการแทน (Turnaround/ Shut Down Manager) พร้อมรายชื่อผู้ที่ติดต่อกับสํานักงานนิคมอุตสาหกรรมหรือสํานักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด 12. มีแผนการประชาสัมพันธ์กับชุมชน โรงงานที่อาจได้รับผลกระทบ 13. มีหน่วยงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมเพื่อทําหน้าที่ควบคุมการดําเนินการ 14. มีผู้รับจ้างเข้ามาดําเนินการในการซ่อมบํารุง และมีแผนในการดําเนินการที่ครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย (1) การแจ้งจํานวนผู้รับจ้างที่ปฏิบัติงานในการซ่อมบํารุง (2) งานหลักที่ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ (3) มาตรการคัดเลือกและทดสอบความสามารถของผู้รับจ้างในการปฏิบัติงานตามที่กําหนดให้เป็นไปด้วยความปลอดภัย และสอดคล้องกับกฎหมาย (4) การฝึกอบรมผู้รับจ้างอย่างน้อยประกอบด้วย (4.1) แผนปฏิบัติการงานซ่อมบํารุง (4.2) งานที่ต้องปฏิบัติ อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น และวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย (4.3) แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และสิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อมีการประกาศภาวะฉุกเฉินและการยกเลิกภาวะฉุกเฉิน แผนการเตือนภัย และแผนการอพยพของผู้รับจ้าง (4.4) บุคคลที่ต้องติดต่อเมื่อเกิดกรณีที่ไม่ปลอดภัย หรือประสบอุบัติเหตุ (5) จัดให้มีการประเมินผล และฝึกอบรมเพื่อให้ผู้รับจ้างมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้ (6) จัดให้มีกิจกรรม งบประมาณเพื่อส่งเสริมด้านความปลอดภัยตลอดช่วงเวลาการซ่อมบํารุง
3 N/A Y N รายการตรวจสอบแผนการซ่อมบํารุงและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยหรือชุมชน (7) กรณีที่มีผู้รับจ้างและผู้รับจ้างช่วงหลายราย ผู้ประกอบกิจการต้องจัดให้มีคณะกรรมการหรือคณะทํางานด้าน ความปลอดภัย โดยมีผู้แทนของผู้รับจ้างร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทํางานด้วย (8) จัดให้มีเจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยในการทํางานของผู้รับจ้างเพื่อควบคุมความปลอดภัยในพื้นที่ให้เป็นไปตาม กฎหมาย โดยอย่างน้อยต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างานของผู้รับจ้างเพื่อ ควบคุม ณ จุดปฏิบัติงาน (9) จัดเตรียมพื้นที่และอุปกรณ์สําหรับปฏิบัติงานชั่วคราว สถานที่รับประทานอาหาร ห้องน้ํา ที่พัก ที่สําหรับจอดรถ จุดรวมพล และสถานที่สําหรับประชุมชี้แจงภายในพื้นที่ของผู้ประกอบกิจการเอง ทั้งนี้จะต้องไม่รุกล้ําพื้นที่ ส่วนกลางของ กนอ . เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก กนอ . บริษัทฯ ขอรับรองว่า ข้อความข้างต้นถูกต้องเป็นจริงทุกประการ และได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ลงชื่อ … ผู้มีอํานาจ / ผู้ได้รับมอบอํานาจ (…) วันที่ … เดือน … พ . ศ . …
( กนอ . 03 ) แบบรายงานการตรวจประเมินการซ่อมบํารุงของโรงงาน ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด บริษัทฯ : นิคมอุตสาหกรรม : ทะเบียนโรงงาน : หน่วยผลิต : วันที่ : ( ) การซ่อมบํารุง ( ) การซ่อมบํารุงใหญ่ ( ) การหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน รายละเอียดของโครงการหรือการซ่อมบํารุงหรือการซ่อมบํารุงใหญ่หรือการหยุดเดินเครื่องฉุกเฉิน : หมายเหตุ N/A = ไม่เกี่ยวข้อง Y = ได้ดําเนินการแล้ว N = ไม่สามารถดําเนินการได้
5 N/A Y N รายการตรวจประเมิน 1. การตรวจสอบโดยละเอียด (Inspection) 1. มีการประเมินความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต / กระบวนการผลิตใหม่ ที่เกิดขึ้น เช่น HAZOP หรือ Checklist 2. มีการนําข้อเสนอแนะจากการประเมินความเสี่ยงไปแก้ไขปรับปรุงกระบวนการผลิต 3. มีการจัดเตรียมบุคลากรระดับผู้เชี่ยวชาญหรือหัวหน้างานเพื่อสนับสนุนในขณะเริ่มต้นดําเนินการ ผลิตหรือซ่อมบํารุงใหญ่ 2. การตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work instruction) 1. มีการทบทวน ปรับปรุงข้อมูลของคู่มือเกี่ยวกับการปฏิบัติงานและคู่มือการปฏิบัติงานในภาวะ ฉุกเฉินให้มีความสอดคล้องกับสภาพหน้างานอย่างสม่ําเสมอ 2. มีคู่มือเกี่ยวกับงานพิเศษต่าง ๆ เช่น CSE, HW 3. การอบรม (Training) 1. มีการฝึกอบรมพนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับอันตรายและวิธีการป้องกันตนเองจากการทํางาน ที่มีความเสี่ยง เช่น อันตรายจากสารเคมี 2. เอกสารการอบรมมีการทบทวน ปรับปรุงให้สอดคล้องกับข้อมูลปัจจุบันอยู่เสมอ 3. มีการฝึกอบรมพนักงานปฏิบัติการและมีการบันทึกการฝึกอบรมเป็นหลักฐาน 4. มีการฝึกอบรมพนักงานซ่อมบํารุงและมีการบันทึกการฝึกอบรมเป็นหลักฐาน 4. ระบบไฟฟ้า (Electrical systems) 1. มีการระบุหมายเลขของสวิตซ์ เปิด / ปิด และสวิตซ์ตัดระบบไฟฟ้าที่ตัวของสวิตซ์เรียบร้อยแล้ว 2. มีระบบรองรับสําหรับการแขวนป้ายและล็อคกุญแจ 5. สภาพแวดล้อมในการทํางาน (Environment) 1. เอกสารขั้นตอนการทํางานได้ให้ข้อมูลและการดําเนินการด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมในทุกขั้นตอนการทํางาน 2. อุปกรณ์ควบคุมมลพิษอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 3. คันกั้น เขื่อนกั้น และรางระบายเพียงพอต่อการรองรับสิ่งหกรั่วไหลหรือน้ําฝนปนเปื้อน 4. ผังระบบระบายน้ํามีการปรับปรุงสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 5. มีการชี้บ่งเพื่อแยกรางระบายว่าเป็นรางระบายน้ําฝน หรือรางระบายน้ําปนเปื้อน 6. มีการปิดวาล์วในคันกั้น เขื่อนกั้น 7. ข้อกําหนดการจัดการของเสียครอบคลุมถึงของเสียจากการเริ่มเดินเครื่องจักร 6. การป้องกันอัคคีภัย (Fire Protection) 1. ถังดับเพลิงได้ถูกจัดเตรียมไว้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2. หน่วยงานความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมรับทราบจํานวนและตําแหน่งการติดตั้งของอุปกรณ์ ป้องกันและระงับเหตุ เช่น ระบบฉีดน้ํา ถังดับเพลิง สายดับเพลิง 3. มีการทดสอบระบบฉีดน้ํา ( สเปรย์ ) หัวดับเพลิง ว่ายังสามารถใช้งานได้ปกติ 4. มีการทบทวนปรับปรุงแบบระบบน้ําดับเพลิงที่เป็นปัจจุบัน
6 N/A Y N รายการตรวจประเมิน 7. ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (Material Safety Data Sheet) 1. มีข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีที่เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน 2. มีระบบการสื่อสารความเป็นอันตรายที่เป็นปัจจุบัน 8. ความปลอดภัยส่วนบุคคล และสุขภาพ (Personal Safety & Health) 1. อุปกรณ์ความปลอดภัยเพียงพอและสามารถเข้าถึงใช้งาน 2. มีข้อกําหนดหรือการติดตรวจสอบเสียงในบริเวณที่อาจก่อให้เกิดเสียงดัง 3. มีแสงสว่างที่เพียงพอต่อการทํางาน 4. ทางเดินและบันไดสามารถเข้าออกได้สะดวกในทุกระดับ 5. พื้นทางเดินและบริเวณทํางานได้ระดับในแนวราบ มั่นคง และไม่ลื่น 6. มีการกั้นเขตและมีป้ายสัญญาณในบริเวณทํางานที่อาจเป็นอันตรายและมีการแสดงข้อควรปฏิบัติ ในการทํางาน 7. มีการบ่งชี้ทางออกจากบริเวณทํางานที่ชัดเจน 8. มีการจัดเตรียมพื้นที่จัดเก็บสารเคมีอันตรายและชี้บ่งอย่างชัดเจน และมีขั้นตอนการทํางานอย่าง ถูกต้องเหมาะสม 9. การตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉินและการอพยพหนีไฟ (Emergency response & Evacuation) 1. พนักงานกะและบุคคลที่มีหน้าที่ช่วยเหลือยามภาวะฉุกเฉินได้รับคําแนะนําตามคู่มือเรื่อง การสนับสนุนและตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน 2. มีการติดต่อประสานงานเกี่ยวกับแผนการซ่อมบํารุงใหญ่หรือแผนการ Start UP Plant หรือ สิ่งที่ อาจสร้างผลกระทบต่อบริษัทข้างเคียงและชุมชน 3. มีการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉิน และอพยพพนักงานและผู้รับเหมาในโรงงาน รวมทั้งฝึกซ้อมระบบ การสื่อสารแจ้งเหตุกับโรงงาน และชุมชนข้างเคียง 10. ความดันและความเป็นสุญญากาศ (Pressure & Vacuum) 1. มีการกําหนดทิศทางการปล่อยความดันยังพื้นที่ที่ปลอดภัย 2. อุปกรณ์ปลดปล่อยความดัน ด้านที่ถูกปล่อยออกต้องมีการยืดอย่างแข็งแรงและเหมาะสม 3. มีการทดสอบระบบปล่อยความดัน 11. อุปกรณ์ เครื่องจักร (Rotating and Mechanical Equipment) 1. มีการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงานกับอุปกรณ์ เครื่องจักรในขณะซ่อมบํารุงใหญ่ 2. มีการจัดทําการ์ดเพื่อป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร 3. เครื่องจักรที่ใช้สําหรับงานยกต่าง ๆ เช่น เครน รอก มีการระบุน้ําหนักที่สามารถรับได้ติดอย่าง ชัดเจนที่เครื่องจักร 4. อุปกรณ์ เครื่องจักรสามารถตัดแยกระบบการทํางานออกเพื่อการซ่อมบํารุงได้ 5. มีการจัดวางเครื่องจักร ท่อต่าง ๆ อย่างถูกต้องตามแบบ เพื่อให้สามารถยก เคลื่อนย้ายไปเพื่อการ ซ่อมบํารุงได้อย่างถูกต้อง
7 N/A Y N รายการตรวจประเมิน 12. วาล์วและระบบท่อ (Valve and piping) 1. มีการทบทวนและบันทึกสถานการณ์ตัดแยกระบบท่อต่าง ๆ อย่างถูกต้องและเป็นปัจจุบัน พร้อมที่ จะซ่อมบํารุงใหญ่ 2. มีการตัดแยกระบบท่อที่ไม่ใช้งานออกไป 3. มีจุดระบายออกของก๊าซ (Vent) หรือจุดระบายออกของของเหลว (Drain) ที่เข้าถึงได้ง่าย และเป็น จุดที่ปลอดภัย 4. จุดเก็บตัวอย่าง มีการออกแบบอย่างปลอดภัย และมีป้ายบ่งชี้ชัดเจนบริเวณหน้างาน 5. การเปิด / ปิดวาล์ว มีการออกแบบอย่างปลอดภัย และมีป้ายบ่งชี้ชัดเจนบริเวณหน้างาน 6. ท่อและข้อต่อต่าง ๆ (Hoses and Fitting) สามารถถอดได้ง่ายเพื่อสะดวกต่อการเปิดใช้งาน 7. วาล์วสามารถเปลี่ยนได้ง่ายเพื่อสะดวกต่อการใช้งาน 8. มีการติดตั้งระบบ electrical continuity grounding catholic protection 9. เครื่องจักร อุปกรณ์โครงสร้าง สามารถทนต่อการกัดกร่อน (Compatibility corrosion) 13. อื่นๆ (Others) 1. มีการทบทวน ปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานและแผนควบคุมเหตุฉุกเฉิน 2. มีขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยเฉพาะสําหรับการซ่อมบํารุงใหญ่หรือทดสอบการเดินเครื่อง 3. มีการทบทวน ปรับปรุง การปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย 4. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ระบบเครื่องกล , ไฟฟ้า และ Instrument มีการจัดเก็บที่ส่วนงาน ซ่อมบํารุงและส่วนการผลิต 5. เอกสารที่เกี่ยวข้อง P&IDs / PEFSs มีความถูกต้องและสําเนาเพื่อพร้อมที่จะใช้งาน 6. มีการปรับปรุงแผนผังท่อใต้ดินให้เป็นปัจจุบัน (Update Drawing) 7. มีการปรับปรุงแบบแปลนไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (as built loop) สําหรับการ ดําเนินการอย่างปลอดภัย และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 8. มีการปรับปรุงข้อมูลแผนผังการไหลและกระบวนการ (Flow and process diagrams) ให้ ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน 9. มีการสื่อสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่สําคัญ เช่น แบบแปลนไฟฟ้ากระบวนการผลิต ไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 10. พนักงานกะและทีมระงับเหตุฉุกเฉินได้รับการอบรม ชี้แจงเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้น เรียบร้อยแล้ว 11. มีการจัดวางวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในตําแหน่งที่ปลอดภัยและสามารถเข้าถึงได้ง่าย 12. มีการบันทึกผลกระทบที่สําคัญสิ่งต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ทั้งที่อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้น 13. จัดทํามาตรการทางเทคนิคหรือควบคุมดูแลระหว่างการเริ่มต้นการดําเนินการ
8 14. รายการของสิ่งที่ต้องทําการแก้ไขหลังการซ่อมบํารุง (Punch list) รหัส รายการที่ตรวจ ประเมิน ข้อบกพร่อง วิธีการแก้ไข กําหนดเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ผลกระทบ ต่อความปลอดภัย บริษัทฯ ขอรับรองว่า ข้อความข้างต้นถูกต้องเป็นจริงทุกประการ และได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด คณะผู้ตรวจประเมินภายในของโรงงาน ลงชื่อ … (…) วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ผู้มีอํานาจ / ผู้ได้รับมอบอํานาจ ลงชื่อ … (…) วันที่ … เดือน … พ . ศ . …