Mon May 08 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทำและยื่นงบการเงินของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 2566 (เล่มที่ 1)


ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทำและยื่นงบการเงินของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 2566 (เล่มที่ 1)

(เล่ม ที่ 1) ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทาและยื่นงบการเงิน ของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 256 6 เพื่อปรับปรุงแบบงบการเงินของบริษัทประกันชีวิตที่บริษัทต้องนาส่งสานักงานคณะกรรมการ กากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 4 3 (1) และ (2) แห่งพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ประกอบกับ มติที่ประชุมคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ครั้งที่ 10/2565 เ มื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565 และครั้งที่ 11/2565 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 25 65 คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทาและยื่นงบการเงินของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 25 66 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ( 1 ) ประกาศคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทาและยื่นงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน ของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 25 59 ( 2 ) ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทาและยื่นงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน ของบริษัทประกันชีวิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 62 ( 3 ) ประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประ กอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการจัดทาและยื่นงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน ของบริษัทประกันชีวิต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25 63 ข้อ 4 ในประกาศนี้ “ งบการเงิน ” หมายความว่า งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดง การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของหรือส่วนของสานักงานใหญ่ งบกระแสเงินสด และหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 105 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 พฤษภาคม 2566

(เล่ม ที่ 1) “ บริษัท ” หมายความว่า บริษัทที่ได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วย การประกันชีวิต และหมายความรวมถึงสาขาของบริษั ทประกันชีวิตต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตประกอบ ธุรกิจประกันชีวิตในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย “ นายทะเบียน ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุ รกิจ ประกันภัย หรือผู้ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยมอบหมาย “ สำนักงาน ” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ข้อ 5 การจัดทำงบการเงิน ให้เป็นไปตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีว่าด้วยมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมทั้งแนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ข้อ 6 ให้บริษัทจัดทำงบการเงินตามแบบที่กำหนด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สาหรับรอบปีปฏิทิน พ.ศ. 2566 จนถึง พ.ศ. 2567 ให้บริษั ทจัดทางบการเงิน ตามแบบใดแบบหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) ในกรณีที่บริษัทยังไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย ให้บริษัทจัดทาตามแบบ ที่แนบท้ายประกาศนี้ ในหมวดที่ 1 (ข) ในกรณีที่บริษัทเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน แต่ยังไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย ให้บริษัทจัดทำตามแบบที่แนบท้ายประกาศนี้ ในหมวดที่ 2 (ค) ในก รณีที่บริษัทเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย ให้บริษัทจัดทาตามแบบที่แนบท้าย ประกาศนี้ ในหมวดที่ 3 ( 2 ) สาหรับรอบปีปฏิทิน พ.ศ. 2568 เป็นต้นไป ให้บริษัทจัดทางบการเงินตามแบบ ที่แนบท้ายประกาศนี้ ในหมวดที่ 3 ข้อ 7 สำหรับบริษัทที่จัดทำงบการเงินตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ ในหมวดที่ 3 และเลือกรับรู้ผลกระทบสะสมจากการเปลี่ยนแปลง ณ วันเปลี่ยนผ่าน ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 ภาคผนวก ค การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน ค4.3.2 ( local transition option ) ให้บริษัทเปิดเผยการเลือกทางเลือกนี้ และเปิดเผยจานวนผลกระทบสะสมจากการเปลี่ยนแปลงจำนวน ที่ยังไม่ได้รับรู้ และจำนวนที่รับรู้ในงวดปัจจุบันในส่วนของเจ้าของและรายการปรับปรุงผลกระทบที่แสดง ในหนี้สินจากสัญญาประกันภัยทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงานในหมายเหตุประกอบงบการเงินทุกงวด ไตรมาสและรอบปีปฏิทินที่ล่วงมา โดยให้แสดงเป็นข้อแรกในส่วนที่ 3 ข้อมูลเพิ่มเติม และใช้ชื่อ ข้อดังกล่าวว่า “ ผลกระทบในช่วงเปลี่ยนแปลง ณ วันเปลี่ยนผ่าน ” ทั้งนี้ เมื่อเลือกแล้วไม่สามารถยกเลิกได้ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 105 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 พฤษภาคม 2566

(เล่ม ที่ 1) ข้อ 8 การจัดทางบการเงินตามข้อ 6 ให้บริษัทจัดทาในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 9 ให้บริษัทยื่นงบการเงินตามข้อ 8 ผ่านช่องทางที่ สานักงานกาหนด ตามระยะเวลา ดังต่อไปนี้ ( 1 ) งบการเงินสาหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว ให้บริษัทยื่นภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีปฏิทินแต่ละรอบ ( 2 ) งบการเงินรายไตรมาสที่ผู้สอบบัญชีได้สอบทานแล้ว ให้บริษัทยื่นภายในสี่สิบห้าวัน นับแต่วันสุดท้ายของแต่ละไตรมาส (มีนาคม มิถุนายน และกันยายน) ในกรณีที่งบการเงินที่บริษัทยื่นมาไม่ถูกต้องหรือมีรายงานไม่ครบถ้วน นายทะเบียนมีอานาจ สั่งให้บริษัทแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องหรือครบถ้วนภายในเวลาที่นายทะเบียนกำหนด ข้อ 10 ในกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเนื่องจากประเทศประสบภัยพิบัติร้ายแรง หรือมีเหตุการณ์ ที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อสาธารณชน ทาให้บริษัทไม่สามารถยื่นงบการเงินได้ภายในกาหนดเวลาตามข้อ 9 ให้นายทะเบียนมีอำนาจขยายระยะเวลาได้ตามความจำเป็นแล้วให้รายงานคณะกรรมการทราบ ข้อ 11 ข้อมูลในงบการเงินตามข้อ 6 ต้องไม่มีการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิด ข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญที่ควรบอกให้แจ้ง ข้อ 12 ในกรณีที่ผลการดาเนินงานตามงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จทั้ งในกาไรขาดทุนสาหรับงวด หรือกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับงวดเปลี่ยนแปลงจากงวดเดียวกันของปีก่อนเกินร้อยละยี่สิบ ให้บริษัทจัดทำรายงานชี้แจงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยื่นต่อคณะกรรมการ โดยผ่านสำนักงาน พร้อมกับงบการเงินที่บริษัทต้องยื่นส่งตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256 6 กฤษฎา จีนะวิจารณะ ปลัดกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 105 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 พฤษภาคม 2566

หมวดที่ 1 แบบงบการเงิน กรณีที่บริษัท ยังไม่ สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย

1.1 แบบงบการเงิน รายไตรมาส

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท สินทรัพย์ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เบี Ê ยประกันภัยค้างรับ รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ลูกหนี Ê จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์อนุพันธ์ สินทรัพย์ลงทุน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี Ê ยค้างรับ อสังหาริมทรัพย์เพื É อการลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า สินทรัพย์ลงทุนที É ผู้เอาประกันภัยรับความเสี É ยง ทรัพย์สินรอการขาย ที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื É น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื É น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที É … . … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด

หน่วย : บาท หนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัย หนี Ê สินจากสัญญาลงทุน เจ้าหนี Ê บริษัทประกันภัยต่อ หนี Ê สินอนุพันธ์ หนี Ê สินทางการเงินอื É น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Ê สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี Ê สินอื É น รวมหนี Ê สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที É ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื Ê อคืน อื É น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน รายได้ เบี Ê ยประกันภัยรับ หัก เบี Ê ยประกันภัยจ่ายจากการเอาประกันภัยต่อ เบี Ê ยประกันภัยรับสุทธิ หัก สํารองเบี Ê ยประกันภัยที É ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ É ม ( ลด ) จากงวดก่อน เบี Ê ยประกันภัยที É ถือเป็นรายได้สุทธิจากการประกันภัยต่อ รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากเงินลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี É ยง ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื É น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาวเพิ É ม ( ลด ) สํารองความเสี É ยงภัยที É ยังไม่สิ Ê นสุดเพิ É ม ( ลด ) ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน หัก ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ผลขาดทุนด้านเครดิตที É คาดว่าจะเกิดขึ Ê น ค่าใช้จ่ายอื É น รวมค่าใช้จ่าย กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที É วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี É ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี É ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี Ê สินทางการเงินที É กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É นสําหรับรอบระยะเวลา - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั Ê นพื Ê นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที É 1 2. บริษัทสามารถเลือกที É จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับ … สิ Ê นสุดวันที É … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท เงินลงทุนที É วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื É น การป้องกันความ เสี É ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี É ยงรอตัด บัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ หนี Ê สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย สําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี É ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที É ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา ยอดคงเหลือ … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ รวม แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี É ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที É … . … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการอื É นของ การ เปลี É ยนแปลงที É เกิดจากเจ้าของ รวม องค์ประกอบอื É น ของส่วนของ เจ้าของ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ ทุนที É ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ É ำ กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื Ê อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื Ê อคืน

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี Ê ยประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง เงินรับ ( เงินจ่าย ) เกี É ยวกับการประกันภัยต่อ ดอกเบี Ê ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื É น รายได้อื É น เงินจ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าจ้างและค่าบําเหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื É น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื Ê อที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ É มทุน / เงินเพิ É มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ É มขึ Ê น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นรอบระยะเวลา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ Ê นรอบระยะเวลา หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที É ดอกเบี Ê ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั Ê งนี Ê การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับ … สิ Ê นสุดวันที É … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมุติฐาน 3. ข้อมูลเพิ่มเติม ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบกา รเงิน ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยกําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่มีรายการดังกล่าว หรือในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกันชีวิตที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูล บริษัทไม่ต้องแสดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่านี้ในรูปแบบอื่ น ให้บริษัทปฏิบัติตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา นโยบายการบัญชี และข้อเท็จจริง ที่ว่าบริษัทประกันชีวิตได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบั ญชีหรือวิธีคํานวณ โดยเปิดเผยถึงลักษณะและผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงนั้น ประมาณการและข้อสมมติฐาน ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยลักษณะและจํานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงประมาณการของจํานวนเงินที่ เคยรายงานไว้ (ถ้ามี)

ข้อมูลเพิ่มเติม 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX รวม XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – สุทธิ XXX XXX 2. เบี้ยประกันภัยค้างรับ ให้แสดงรายละเอียดของเบี้ยประกันภัยค้างรับและแยกอายุเบี้ยประกันภัยค้างรับ ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) จากการรับประกันภัยโดยตรง รายการ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกิน 30 วัน ค้างรับ 30 – 60 วัน ค้างรับ 60 – 90 วัน ค้างรับเกินกว่า 90 วัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เบี้ยประกันภัยค้างรับ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

  1. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อ ( บาท ) ( บาท ) สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว สํารองค่าสินไหมทดแทน สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ( URR) อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX 4. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดลูกหนี้ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินวางไว้จากการประกันภัยต่อ เงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้ประกันภัยต่ออื่น รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

  2. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักใน กรณีที่เข้าเงื่อนไขตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยในแต่ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบ 2 งวด พร้อมทั้ง อธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้ อนุพันธ์ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

  3. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 6.1 ให้บริษัทเปิดเผยรายการเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้ ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ ตราสารทุน ตราสารทุนต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รวมเงินลงทุนเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุน เงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ ตราสารทุน ตราสารทุนต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น เงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย

( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนดเกิน กว่า 3 เดือน อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมเงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รวมเงินลงทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุน รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์

6 . 2 ให้บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี เงินลงทุนที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX 7. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและดอกเบี้ย ค้างรับเปรียบเทียบ 2 งวด อย่างน้อย ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ รวม ทรัพย์สินจํานองเป็น ประกัน หลักทรัพย์ เป็นประกัน อื่นๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม - สุทธิ xxx xxx xxx xxx

( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัด บัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว รายได้ ดอกเบี้ยที่ยัง ไม่ได้รับจาก สัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสําคัญของความเสี่ยง ด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้าน เครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้าน เครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือ ได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและ ดอกเบี้ยค้างรับ ลูกหนี้ให้ เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่า ทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผยรายละเอียด เกี่ยวกับวงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น สําหรับเงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน ให้เปิดเผยยอดคงค้างตามบัญชีของงวดปัจจุบัน และปีเปรียบเทียบด้วย 8. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการตัดรายการออกจากบัญชี เช่น

  • สินทรัพย์ทางกา รเงินที่ถูกโอนโดยไม่ตัดรายการออกจากบัญชีทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยตัดรายการออกจากบัญชีทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้องต่อเนื่อง ในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 9. เงินลงทุนในบ ริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 10. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นสาระสําคัญให้กระทบยอดระห ว่างมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ณ วันต้นงวดกับวันสิ้นงวด โดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อกับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวม รายจ่ายเข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมกิจการ ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุติธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ 11. สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง ให้เปิดเผยรายละเอียดของสินทรัพย์ ลงทุนสําหรับสัญญาประกันชีวิตที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยงใน สินทรัพย์ลงทุน เช่น สัญญายูนิตลิงค์ เปรียบเทียบ 2 งวด ดังนี้ วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นปี บัญชีล่าสุด รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสาร ทุน ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX … รวมทั้งสิ้น XXX XXX
  1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ ดังนี้ (หน่วย : บาท) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สินทรัพย์ เลิกใช้ งาน รวม มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ 1 ม.ค. วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน ซื้อเพิ่ม / รับโอนระหว่างงวด - ราคาทุน ตีราคาเพิ่ม (ลด) จําหน่าย / โอนออกระหว่างงวด - มูลค่าสุทธิตามบัญชี ค่าเสื่อมราคาสําหรับงวด ค่าเผื่อการด้อยค่าสําหรับงวด มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ …วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX กรณีของที่ดิน อาคารและทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่ เข้าเงื่อนไขในการจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสินทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละ ประเภทของสินทรัพย์ด้วย 13. สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รว มทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่นๆ ตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนด

  2. หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบของหนี้สินของสัญญาประกันภัย ดังนี้ (หน่วย : บาท) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัย ต่อ สุทธิ หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัยต่อ สุทธิ สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX สํารองค่าสินไหมทดแทน - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นที่ได้รับรายงานแล้ว - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงาน XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด* XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกันภัย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX รวม XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX *กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ต้อง แสดงรายการ 14.1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX สํารองเพิ่มขึ้นจากกรมธรรม์ประกันภัยใหม่และกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมี ผลบังคับ XXX XXX สํารองลดลงจากการจ่ายผลประโยชน์ กรมธรรม์ประกันภัยขาดอายุ การ ยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ฯลฯ (XXX) (XXX) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองประกันภัย XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากประสบการณ์จริง XXX XXX การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ XXX XXX ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX

14.2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 14.2.1 สํารองค่าสินไหมทดแทน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองค่าสินไหมทดแทน วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างงวดปัจจุบัน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงประมาณการค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นในงวดก่อน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายระหว่างงวด ( XXX ) ( XXX ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ XXX XXX ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX 14.2.2 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้รายได้ ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยรับสําหรับงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในงวดนี้ (XXX) (XXX) ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX 14.2.3 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในสํารอง ดังนี้ (กรณีที่บริษัทไม่ต้องตั้งสํารองความเสี่ยงภัยที่ ยังไม่สิ้นสุดไม่ต้องเปิดเผยหมายเหตุนี้) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX ตั้งเพิ่มระหว่างงวด XXX XXX หมดสิ้นไประหว่างงวด (XXX) (XXX) ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX

14.3 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ให้เปิดเผยรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) เงินค่ามรณกรรม เงินครบกําหนด เงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินปันผล อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 15. หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดหนี้สินตามสัญญาลงทุน เช่น สัญญาประเภทยูนิตลิงค์ 16. เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด ( บาท ) ( บาท ) เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ XXX XXX เงินค้างจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX เจ้าหนี้ประกันภัยต่ออื่น XXX XXX รวมเจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ XXX XXX 17. หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สินอนุพันธ์ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่น เหล่านั้นให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบ กําไรขาดทุน เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม 18. ประมาณการหนี้สิน ให้เปิดเผยประมาณการหนี้สินอื่นๆ นอกจากภาระหนี้สินที่มีต่อผู้เอาประกันภัยให้เป็นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ ในกรณีที่กิจการออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและ ทุน และเครื่องมือ ทางการเงิน นั้นประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการซึ่งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตราสารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) กิจการต้องเปิดเผยลักษณะของ เครื่องมือดังกล่าวตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 20. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรา ยงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงิน สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืม สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สิน อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้ เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25 X 0 บาท บาท เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

  2. การรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทประกันชีวิตที่ออกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์รายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงาน เป็นการประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไปและการประกันชีวิตควบการลงทุนก็ได้ 22. ผลขาดทุนด้ำนเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (หน่วย : บาท) รายการ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีก่อน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx 23. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 24. รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกิจการให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน 25. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ และทรัพย์สินแต่ละชนิดที่ วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตามกฎหมายว่าด้วยการ ประกันชีวิต 26. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ให้เปิดเผยท รัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทและมูลค่าตามบัญชี ของทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ต่อทรัพย์สินนั้น 27. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและ ข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดี ก่อ ข้อผูกมัด ในการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่ อาจเกิดขึ้นหรือ ข้อผูกมัด ใดๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งความเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้งอธิบาย

โดยสังเขปเ กี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเงินและเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรำยจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของกิจการเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่ายหนึ่งในเรื่อง หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่างรุนแรง กิจการไม่จําเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวแต่ต้องเปิดเผย ถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริงและ เหตุผลของการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้น สําหรับ ข้อผูกมัด จากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงานให้เปิดเผย จํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับระยะเวลาแต่ละ ช่วงดังต่อไปนี้ ( 1 ) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี ( 2 ) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ( 3 ) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 28. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินระหว่างกาล ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินระหว่างกาลและ ประมาณการผลกระทบทางการเงินที่อำจเกิดจากเหตุการณ์ดังกล่าวหรือข้อเท็จจริงที่ว่ากิจการไม่สามารถ ประมาณผลกระทบดังกล่าว

1.2 แบบ งบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทิน ที่ล่วงมา

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท สินทรัพย์ 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เบี Ê ยประกันภัยค้างรับ รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ลูกหนี Ê จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์อนุพันธ์ สินทรัพย์ลงทุน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี Ê ยค้างรับ อสังหาริมทรัพย์เพื É อการลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า สินทรัพย์ลงทุนที É ผู้เอาประกันภัยรับความเสี É ยง ทรัพย์สินรอการขาย ที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื É น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื É น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หน่วย : บาท หนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัย หนี Ê สินจากสัญญาลงทุน เจ้าหนี Ê บริษัทประกันภัยต่อ หนี Ê สินอนุพันธ์ หนี Ê สินทางการเงินอื É น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Ê สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี Ê สินอื É น รวมหนี Ê สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที É ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื Ê อคืน อื É น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) รายได้ เบี Ê ยประกันภัยรับ หัก เบี Ê ยประกันภัยจ่ายจากการเอาประกันภัยต่อ เบี Ê ยประกันภัยรับสุทธิ หัก สํารองเบี Ê ยประกันภัยที É ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ É ม ( ลด ) จากงวดก่อน เบี Ê ยประกันภัยที É ถือเป็นรายได้สุทธิจากการประกันภัยต่อ รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากเงินลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี É ยง ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื É น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาวเพิ É ม ( ลด ) สํารองความเสี É ยงภัยที É ยังไม่สิ Ê นสุดเพิ É ม ( ลด ) ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน หัก ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ผลขาดทุนด้านเครดิตที É คาดว่าจะเกิดขึ Ê น ค่าใช้จ่ายอื É น รวมค่าใช้จ่าย กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที É วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี É ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี É ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี Ê สินทางการเงินที É กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั Ê นพื Ê นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที É 1 2. บริษัทสามารถเลือกที É จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปีสิ Ê นสุดวันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท เงินลงทุนที É วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื É น การป้องกันความ เสี É ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี É ยงรอตัด บัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ หนี Ê สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย สําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี É ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที É ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี É ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ทุนที É ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ É ำ กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื Ê อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื Ê อคืน องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการอื É นของ การ เปลี É ยนแปลงที É เกิดจากเจ้าของ รวม องค์ประกอบอื É น ของส่วนของ เจ้าของ

หมวดที่ 1 หน่วย : บาท 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี Ê ยประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง เงินรับ ( เงินจ่าย ) เกี É ยวกับการประกันภัยต่อ ดอกเบี Ê ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื É น รายได้อื É น เงินจ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าจ้างและค่าบําเหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื É น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื Ê อที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ É มทุน / เงินเพิ É มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ É มขึ Ê น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ Ê นปี หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที É ดอกเบี Ê ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั Ê งนี Ê การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ Ê นสุดวันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมติฐาน 3. ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยกําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่มี รายการดังกล่าว หรือในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกันชีวิตที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูล บริษัทไม่ต้องแสดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่ำนี้ในรูปแบบอื่น ให้บริษัทปฏิบัติตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีที่สําคัญอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. เกณฑ์การเสนองบการเงิน (1) การนําเสนอ เช่น มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา เป็นต้น ทั้งนี้ ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยข้อเท็จจริงว่าบริษัทใช้การยกเว้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช้) และวิธีการเพื่อให้ได้ ข้อสรุปว่าบริษัทเป็นผู้รับประกันภัยที่เข้าเงื่อนไขการยกเว้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 (เมื่อมีการประกาศใช้) (2) การวัดค่าในการจัดทํางบการเงิน (3) การจัดทํางบการเงินรวม (4) การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี

  1. สรุปนโยบายการบัญชีที่ส ําคัญ (1) การจัดประเภทสัญญาประกันภัย ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการจัดประเภทสัญญาที่บริษัทเข้าทํากับผู้เอาประกันภัยในการแบ่ง ประเภทเป็นสัญญาลงทุน สัญญาประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะสั้น สัญญาประกันภัยระยะยาว (2) การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และหยุดรับรู้ รายได้และค่าใช้จ่ายประเภทที่สําคัญ ได้แก่ - รายได้และค่าใช้จ่ายจากการรับประกันภัย ซึ่งรวมถึงรายได้และค่าใช้จ่ายจากการ ประกันภัยต่อ - รายได้จากค่าธรรมเนียม / รายได้และค่าใช้จ่าย ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ - รายได้และค่าใช้จ่ายจากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท และการรับรู้กําไรขาดทุน จากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท - รายได้อื่นที่สําคัญ - การเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว - การเปลี่ยนแปลงในสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้และส ํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด - การเปลี่ยนแปลงของค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น - ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน - ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น - ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน - รายได้และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (3) เงินสดและรา ยการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยนโยบายที่ใช้พิจารณาส่วนประกอบของรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (4) สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ และเกณฑ์ใน การพิจารณาค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ (5) อนุพันธ์ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า อนุพันธ์ (6) เงินลงทุนในหลักทรัพย์และเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยดุลยพินิจของฝ่ายบริหารในการจัดประเภทหรือในการโอนเปลี่ยนประเภทเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์ และเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์และเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ย ค้างรับ

(7) ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ให้เปิดเผยเกณฑ์การคํานวณค่าเ ผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตามที่ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (8) ค่าเผื่อผลการด้อยค่า ให้เปิดเผยเกณฑ์การคํานวณค่าเผื่อผลการด้อยค่าของเงินลงทุนในตราสารทุนเผื่อขาย ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องกําหนด (9) สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดตามสัญญา ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดตามสัญญา เช่น เงื่อนไขต่างๆ ที่ใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ และการปฏิบัติทางการบัญชีตามที่มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (10) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (11) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ให้เปิดเผยเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ ตลอดจนเปิดเผยเกณฑ์การตัดหนี้สูญและ หนี้สูญได้รับคืน (12) ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยเกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช้กําหนดราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์หรือ สังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจากการรับชําระหนี้หรือจากการบังคับจํานอง และอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่ เลิกใช้งานที่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง (13) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และค่า เสื่อมราคา ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า เกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาทรัพย์สิน และวิธีการใน การแยกส่วนประกอบทรัพย์สินเพื่อคิดค่าเสื่อมราคา รวมถึงให้เปิดเผยถึงวิธีการบัญชี อัตราร้อยละ หรือจํานวน ปี อายุการใช้งานที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคํานวณค่าเสื่อมราคาตามประเภท ของทรัพย์สิน และวิธีการบัญชีที่ใช้ใน การคํานวณค่าเสื่อมราคาจากที่ตีราคาเพิ่มนี้ไว้ด้วย (14) ค่าความนิยม ให้เปิดเผยการวัดมูลค่าเมื่อแรกเริ่มและในภายหลังของค่าความนิยมที่ได้มาจากการรวม ธุรกิจและการพิจารณาการด้อยค่าของค่าความนิยม (15) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้เปิดเผยนโ ยบายการบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท ดังต่อไปนี้ - วิธีการวัดมูลค่าเมื่อแรกเริ่มและในภายหลัง

  • วิธีการตัดจําหน่ายสําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่อายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอน รวมทั้งอายุการให้ประโยชน์ และอัตราการตัดจําหน่าย - การประเมินอายุการให้ป ระโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ไม่ทราบแน่นอน - เกณฑ์การรับรู้กําไรและขาดทุนจากการจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (16) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และการทดสอบการด้อยค่าของสินทรัพย์นอกเหนือจากที่ได้ กล่าวไปแล้วในหัวข้ออื่น (17) สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (18) หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัย เช่น หลักเกณฑ์ในการรับรู้หนี้สิน จากสัญญาประกันภัย หลักเกณฑ์และข้อสมมติฐานที่ใช้ในการคํานวณสํารองสําหรับภาระหนี้สินจากสัญญา ประกันภัยระยะยาว เกณฑ์ที่ใช้ในการคํานวณผลตอบแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยที่ถือกรมธรรม์ประกันภัย ประเภทยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และกรมธรรม์ประกันภัยควบการลง ทุนประเภทต่างๆ การคํานวณสํารองเบี้ย ประกันภัยซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์การคํานวณสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ ถือเป็นรายได้ของบริษัท และสํารอง ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด และการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทนซึ่งประกอบด้วยค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงานและค่าสิน ไหมทดแทนที่ได้รับรายงานแล้ว ในกรณีที่บริษัทมีการออกสัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลย พินิจ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า รวมถึงเกณฑ์ในการแสดงรายการของส่วนประกอบต่างๆ (ส่วน การร่วมรับผลประโยชน์ ส่วนค้ําประกันผลประโยชน์ ฯลฯ) ในงบการ เงิน (19) หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีสําหรับสัญญาลงทุน เช่น หลักเกณฑ์ในการรับรู้และเลิกรับรู้ หนี้สินจากสัญญาลงทุน เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเริ่มแรกและในภายหลัง และเกณฑ์ที่ใช้ในการคํานวณ ผลตอบแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัย ในกรณีที่บริษัทมีการออกสัญ ญาลงทุนที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า รวมถึงเกณฑ์ในการแสดงรายการของส่วนประกอบต่างๆ (ส่วนการ ร่วมรับผลประโยชน์ ส่วนค้ําประกันผลประโยชน์ ฯลฯ) ในงบการเงิน (20) หนี้สินทางการเงินอื่น ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) กา รจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทางการเงิน ซึ่งไม่ รวมถึง อนุพันธ์ ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด

( 20 . 1 ) หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทางการเงินเพื่อ ค้า ซึ่งไม่รวมถึง อนุพันธ์ ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด ( 20 . 2 ) หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัด มูลค่าตามที่มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด เช่น ลักษณะของหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เกณฑ์ที่ใช้ในการกําหนดหนี้สินทางการเงินดังกล่าวในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก วิธี ที่บริษัทประกันชีวิตได้ถือปฏิบั ติเป็นไปตามเงื่อนไขในการกําหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน (21) การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (เฉพาะกรณีที่เลือกใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง) ให้เปิดเผยนโยบายในการป้องกันความเสี่ยงแต่ละประเภท (การป้องกันความเสี่ยงใน มูลค่ายุติธรร ม การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ) เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชี หลักเกณฑ์ในการวัดมูลค่ายุติธรรม หลักเกณฑ์ในการประเมินความมีประสิทธิ ผล ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (22) การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ให้เปิดเผยเกณฑ์ที่ใช้ในการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการ และ ณ วันที่ในงบการเงิน การ รับรู้ผลกําไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าว รวมทั้ง หลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีในกรณีที่มีการทําสัญญาประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน (23) ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการผลประโยชน์พนักงานของบริษัทประกันชีวิต วิธีการ จัดการกองทุนสํารอ งเลี้ยงชีพและโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เกณฑ์การจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน และเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าหนี้สินจากโครงการผลประโยชน์พนักงานดังกล่าว ประมาณการและข้อสมมติฐาน ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสมมติฐานที่ใช้เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและแหล่งที่มา ที่สําคัญอื่นของความไม่แน่นอนในการประมาณการที่มีอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน รวมทั้งการใช้ ดุลยพินิจของฝ่ายบริหารในการนํานโยบายการบัญชีของบริษั ทประกันชีวิตไปถือปฏิบัติซึ่งมีผลกระทบอย่างมี นัยสําคัญ ต่อจํานวนเงินของรายการที่รับรู้ไว้ในงบการเงิน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด

ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอี ยดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาด ทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – สุทธิ XXX XXX 2. เบี้ยประกันภัยค้างรับ ให้แสดงรายละเอียดของเบี้ยประกันภัยค้างรับและแยกอายุเบี้ยประกันภัยค้างรับ ดังนี้ จากการรับประกันภัยโดยตรง ( หน่วย : บาท ) รายการ 25 X 1 25 X 0 ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกิน 30 วัน ค้างรับ 30 – 60 วัน ค้างรับ 60 – 90 วัน ค้างรับเกินกว่า 90 วัน รวมเบี้ยประกันภัยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เบี้ยประกันภัยค้างรับ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

สําหรับเบี้ยประกันภัยรับที่ค้างกับตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต ให้เปิดเผยหลักเกณฑ์ การติดตามหนี้ดังกล่าว 3. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อ ( บาท ) ( บาท ) สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว สํารองค่าสินไหมทดแทน สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ( URR) * อื่นๆ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX * กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ต้องแสดงรายการ 4. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดลูกหนี้ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินวางไว้จากการประกันภัยต่อ เงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้ประกันภัยต่ออื่น หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ - สุทธิ XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

นอกจากนี้ให้จําแนกอายุรายการเงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกินระยะเวลา 12 เดือน ค้างรับเป็นระยะเวลา 1 - 2 ปี ค้างรับเกินกว่า 2 ปี รวมเงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 5. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักใน กรณีที่เข้าเงื่อนไขตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องโดยใน แต่ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบปี 25 X 1 และ 25 X 0 พร้อม ทั้งอธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้ อนุพันธ์ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน 6. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 6 . 1 ให้บริษัทเปิดเผยรายการเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้ ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ ตราสารทุน ตราสารทุนต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รวมเงินลงทุนเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไร ขาดทุน

( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ ตราสารทุน ตราสารทุนต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนด เกินกว่า 3 เดือน อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมเงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย

( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน / ราคาทุน ตัดจําหน่าย มูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่นๆ บวก (หัก ) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รวมเงินลงทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุน รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ 6.2 ให้ บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี เงินลงทุนที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX

6 . 3 ให้เปิดเผยระยะเวลาคงเหลือของตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นและราคาทุนตัดจําหน่าย ดังนี้ (หน่วย : บาท) 25 X 1 รวม 25 X 0 รวม ครบกําหนด ครบกําหนด 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่นๆ รวม บวก (หัก) กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง หั ก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวม 6 . 4 ให้เปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนตราสารหนี้ตามประเภทดังต่อไปนี้ (25X1:25X0) ( หน่วย : บาท ) ประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม ณ สิ้นงวด จํานวนการเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมระหว่างงวด สินทรัพย์ทางการเงินที่กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นตามสัญญาจาก สินทรัพย์ทางการเงินในวันที่กําหนดไว้เป็นการรับชําระเงินต้นและ ดอกเบี้ยจากจํานวนเงินต้นคงค้างเท่านั้น โดยไม่รวมสินทรัพย์ ทางการเงินที่เข้านิยามการถือเพื่อค้าตาม มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 9 (เมื่อมีการประกาศใช้) หรือที่บริษัทบริหาร และประเมินผลงานด้วยการประเมินมูลค่ายุติธรรม ) กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นตามสัญญาในวันที่กําหนดไว้ไม่เป็นการรับ ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยจากจํานวนเงินต้นคงค้างเท่านั้น สินทรัพย์ทางการเงินที่เข้านิยามการถือเพื่อค้า สินทรัพย์ทางการเงินที่บริษัทบริหารและประเมินผลงานด้วยการ ประเมินมูลค่ายุติธรรม

  1. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและ ดอกเบี้ยค้างรับเปรียบเทียบ 2 ปี อย่างน้อย ดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ รวม ทรัพย์สินจํานอง เป็นประกัน หลักทรัพย์เป็น ประกัน อื่นๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้าน เครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้าน เครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม xxx xxx xxx xxx การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัด บัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญา เช่า ระยะยาว รายได้ดอกเบี้ย ที่ยังไม่ได้รับ จากสัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของ ความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อ เริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ลูกหนี้ ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สิน แบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผย รายละเอียดเกี่ยวกับวงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น

สําหรับเงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน ให้เปิดเผยยอดคงค้างตามบัญชีของปีปัจจุบัน และปีเปรียบเทียบด้วย หากบริษัทประกันชีวิตมีเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 8. อนุพันธ์ ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ให้เปิดเผย อนุพันธ์ ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้อธิบายโดยย่อถึงกลยุทธ์และวิธีการบริหาร จัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแต่ละประเภทสําหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม การป้อ งกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ซึ่งบริษัทประกันชีวิต ถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยง รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (hedging instruments) รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (hedged Items ) วิธีการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่าง เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเพื่อประเมินความมีประสิทธิผลของการ ป้องกันความเสี่ยง วิธีการกําหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง และแหล่งที่มาของความไม่มีประสิทธิผล ของการป้องกัน ความเสี่ยง ตลอดจนข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูล เชิงคุณภาพอื่น ๆ ตามที่กําหนดในมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 9. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการตัดรายการออกจากบัญชี เช่น - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยไม่ตัดรายการออกจากบัญชีทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยตัดรา ยการออกจากบัญชีทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้องต่อเนื่อง ในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 10 . เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการ ร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

11 . อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้เปิดเผยรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเปรียบเทียบ 2 ปี 25 X 1 : 25 X 0 (หน่วย : บาท) ชื่อโครงการ / รายการ ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม รวม และเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ - จํานวนที่ได้รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนสําหรับ ( 1 ) รายได้ค่าเช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ( 2 ) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับงวด ( 3 ) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งไม่ไ ด้ก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับงวด - จํานวนเงินและข้อจํากัดที่มีในการรับรู้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน หรือจํานวนเงินที่ได้รับจาก รายได้และจากการจําหน่าย - ข้อตกลงที่สําคัญในการซื้อ ก่อสร้าง หรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - การกระทบยอดระหว่างมูลค่าตาม บัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันต้นงวดกับวันสิ้น งวด โดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อ กับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการ รวมรายจ่ายเข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมบริษัทประกันชีวิต ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุติธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเ ปลี่ยนแปลงอื่นๆ

กรณีที่อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนไม่มีการประเมินโดยผู้ประเมินอิสระซึ่งมีคุณสมบัติของ ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพและมีประสบการณ์ในทําเลที่ตั้งและประเภทของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่มีการ ประเมินนั้น บริษัทต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงไว้ด้วย 12. สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง ให้เปิดเผยรายละเอียดของสินทรัพย์ลงทุนสําหรับสัญญาประกันชีวิตที่ผู้เอาประกันภัยรับ ความเสี่ยงในสินทรัพย์ลงทุน เช่น สัญญายูนิตลิงค์ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสาร ทุน ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX … รวมทั้งสิ้น XXX XXX 13. ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยรายละเอียดของทรัพย์สินรอการขาย เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 : 25 X 0 ประเภททรัพย์สินรอการขาย ยอดต้นงวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอดปลายงวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) 1. ทรัพย์สินที่ได้จากการชําระหนี้ 1.1 อสังหาริมทรัพย์ 1.2 สังหาริมทรัพย์ รวม 2. อื่นๆ * รวมทรัพย์สินรอการขาย หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมทรัพย์สินรอการขายสุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX * กรณีสินทรัพย์ที่เลิกใช้งานไม่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องแสดงรายการ 14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้

25 X 1 : 25 X 0 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอดต้น งวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอดต้น งวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอดต้น งวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิต้นงวด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิปลายงวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ที่ดิน ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อาคาร ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อุปกรณ์ สินทรัพย์เลิกใช้งาน อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX นอกจากนี้ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้เปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้และมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงนั้นด้วย จํานวนและข้อจํากัดใน กรรมสิทธิ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน และราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมสําหรับที่ดิน อาคาร และอุ ปกรณ์ ซึ่งหักค่าเสื่อมราคาทั้ง จํานวนแต่ยังใช้งานอยู่ รวม ทั้งให้ระบุปีที่ตีราคาของสินทรัพย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาด้วย กรณีของที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่เข้าเงื่อนไขในการจัดประเภ ทเป็นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเ ลิกตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสินทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละประเภท ของสินทรัพย์ด้วย

15 . ค่าความนิยม ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการได้มาซึ่งค่าความนิยม และรายละเอียดอื่นๆ ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 16. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยแสดงต้นทุน และค่าตัดจําหน่ายสะสม รวมทั้งค่าเผื่อการด้อยค่ำ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 : 25 X 0 ราคาทุน ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอด ต้น งวด เพิ่มขึ้น ยอด ปลาย งวด ยอด ต้น งวด ค่าตัด จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอด ต้น งวด ขาดทุน จากการ ด้อยค่า ระหว่าง ปี ยอด ปลาย งวด สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สุทธิต้น งวด สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สุทธิปลาย งวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) เกิดจากการพัฒนาขึ้นภายในบริษัทประกันชีวิต … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการซื้อ / ได้มาในภายหลัง … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการรวม / โอนธุรกิจ มูลค่าปัจจุบันของธุรกิจที่ ยังมีผลบังคับ … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX รวมทั้งสิ้น XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX สําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือกลุ่มสัญญาประกันภัยให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการได้มา ซึ่งสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าว 17. สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่นๆ ตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนด 15

  1. หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้แสดงรายละเอียดของส่วนปร ะกอบของหนี้สินของสัญญาประกันภัย ดังนี้ (หน่วย บาท) 25 X 1 25 X 0 หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัย ต่อ สุทธิ หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วนที่ เอาประกันภัย ต่อ สุทธิ สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX สํารองค่าสินไหมทดแทน - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นที่ได้รับรายงานแล้ว - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงาน XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด * XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกันภัย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX รวม XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX * กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ ต้องแสดงรายการ ให้เปิดเผยวิธีการที่ใช้ในการกําหนดข้อสมมติที่ใช้ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากสัญญาประกันภัย และให้เปิดเผยจํานวนเงินตามข้อสมมติหากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติ โ ดยควรมีข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. ข้อสมมติในเรื่องอัตราการตาย อัตราการบาดเจ็บ และอัตราการอยู่รอด 2. ข้อสมมติในเรื่องประสบการณ์การเกิดค่าสินไหมทดแทน 3. ข้อสมมติในเรื่องค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 4. ข้อสมมติในเรื่องอัตราคิดลด 5. ข้อสมมติเกี่ยวกับการจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้กับผู้เอาประกันภัย สําหรับสัญญา ประกันภัยที่มีลักษณะดังกล่าว (เช่นประเภทสะสมทรัพย์ ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ เป็นต้น)

18 . 1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX สํารองเพิ่มขึ้นจากกรมธรรม์ประกันภัยใหม่และกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับ XXX XXX สํารองลดลงจากการจ่ายผลประโยชน์ กรมธรรม์ประกันภัยขาดอายุ การยกเลิกกรมธรรม์ ประกันภัย ฯลฯ (XXX) (XXX) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองประกันภัย * XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากประสบการณ์จริง XXX XXX การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ XXX XXX 31 ธันวาคม XXX XXX * หากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้บริษัทเปิดเผยผลกระทบแยกตามข้อสมมติต่าง ๆ ได้แก่ อัตราคิดลด อัตรามรณะและอัตราการเจ็บป่วย ค่าใช้จ่ายดําเนินการ และอัตราขาดอายุ 18.2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 18 . 2 . 1 สํารองค่าสินไหมทดแทน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองค่าสินไหมทดแทน 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างปีปัจจุบัน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงประมาณการค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นในปีก่อน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทน * XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายระหว่างปี ( XXX ) ( XXX ) การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ XXX XXX 31 ธันวาคม XXX XXX * หากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้บริษัทเปิดเผยผลกระทบแยกตามข้อสมมติต่าง ๆ เช่น อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น

18 . 2 . 2 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้รายได้ ดังนี้ 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX เบี้ยประกันภัยรับสําหรับงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในงวดนี้ (XXX) (XXX) 31 ธันวาคม XXX XXX 18 . 2 . 3 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในสํารอง ดังนี้ (กรณีที่บริษัทไม่ต้องตั้งสํารองความ เสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ไม่ต้องเปิดเผยหมายเหตุนี้) 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX ตั้งเพิ่มระหว่างปี XXX XXX หมดสิ้นไประหว่างปี (XXX) (XXX) 31 ธันวาคม XXX XXX 18.3 ตารางพัฒนาการค่าสินไหมทดแทน ให้บริษัทประกันชีวิตแสดงตารางพัฒนาการค่าสินไหมทดแทน 2 ตาราง คือ ตารางค่าสินไหม ทดแทนก่อนการประกันภัยต่อ และตารางหลังการประกันภัยต่อโดยแสดงข้อมูลย้อนหลังไปให้ไกลที่สุดเท่าที่ จะทําได้แต่ไม่จําเป็นต้องย้อนหลังเกิน 10 ปี (สําหรับการนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 มาใช้ เป็นครั้งแรกให้ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี กรณีไ ม่สามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้เปิดเผยข้อเท็จจริงนั้นในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน) 18.3.1 ตารางค่าสินไหมทดแทนก่อนการประกันภัยต่อ (หน่วย : บาท) ปีอุบัติเหตุ / ปีที่รายงาน 25 X 0 - 4 25 X 0 - 3 25 X 0 - 2 25 X 0 - 1 25 X 0 25 X 1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทน : - ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ XXX XXX XXX XXX XXX XXX - หนึ่งปีถัดไป XXX XXX XXX XXX XXX - สองปีถัดไป XXX XXX XXX - สามปีถัดไป XXX XXX - สี่ปีถัดไป XXX ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสัมบูรณ์ XXX XXX XXX XXX XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) รวมสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX

18.3.2 ตารางค่าสินไหมทดแทนสุทธิ (หน่วย : บาท) ปีอุบัติเหตุ / ปีที่รายงาน 25 X 0 - 4 25 X 0 - 3 25 X 0 - 2 25 X 0 - 1 25 X 0 25 X 1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทน : - ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ XXX XXX XXX XXX XXX XXX - หนึ่งปีถัดไป XXX XXX XXX XXX XXX - สองปีถัดไป XXX XXX XXX - สามปีถัดไป XXX XXX - สี่ปีถัดไป XXX ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสัมบูรณ์ XXX XXX XXX XXX XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) รวมสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 18.4 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ให้เปิดเผยรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินค่ามรณกรรม เงินครบกําหนด เงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินปันผล อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 19 . หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินตามสัญญาลงทุน ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม รับฝากในงวด ถอนออกในงวด ค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการ รายได้จากการลงทุน ผลกระทบจากการปรับมูลค่ายุติธรรม อื่นๆ 31 ธันวาคม XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX

  1. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร XXX XXX เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม XXX XXX เงินกู้ยืมระยะยาวที่กําหนดชําระเกินหนึ่งปี 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินกู้ยืม XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยื ม ทั้งสิ้น XXX XXX นอกจากนี้ ให้เปิดเผย (1) ประเภทและราคาตามบัญชีของทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน (2) เงื่อนไขและข้อจํากัดตามที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ยืม (3) วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมทั้งสิ้น (4) อัตราดอกเบี้ยของยอดคงค้างโดยให้แสดงเป็นช่วงของอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแต่ละประเภท 21. เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ XXX XXX เงินค้างจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX เจ้าหนี้ประกันภัยต่ออื่น XXX XXX รวมเจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ XXX XXX

  2. หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สิน อนุพันธ์ ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่น เหล่านั้นให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุน เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม

23 . ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ รับรองทั่วไป สําหรับภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ให้เปิดเผยจํานวนค่าใช้จ่าย และ กระทบยอดการเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ค้างจ่าย อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ค่าใช้จ่ายโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ( บาท ) ( บาท ) ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย หัก ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ รวมค่าใช้จ่าย XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX 25 X 1 25 X 0 ภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ( บาท ) ( บาท ) มูลค่าปัจจุบันสุทธิของภาระผูกพัน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่ยังไม่รับรู้ ต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ รวมภาระผู กพัน XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX 25 X 1 25 X 0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก ผลประโยชน์โครงการจ่าย กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX

25 X 1 25 X 0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ เงินสมทบโครงการจากบริษัทประกันภัย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX สมมติฐานที่สําคัญของหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเปรียบเทียบ 2 ปี และผลกระทบต่อภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ 24. ประมาณการหนี้สิน ให้เปิดเผยประมาณการหนี้สินอื่นๆ นอกจากภาระหนี้สินที่มีต่อผู้เอาประกันภัยให้เป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25. เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลาย รายการ ในกรณีที่บริษัทประกันชีวิตออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและทุน และ เครื่ องมือทางการเงินนั้ นประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการซึ่ งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมี ความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตราสารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) บริษัทประกัน ชีวิตต้องเปิดเผยลักษณะของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวด้วย ตามที่กําหน ดในมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 26. การหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน หากมีการหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้แสดงรายละเอีย ดดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) มูลค่าขั้นต้น มูลค่าที่ นํามาหัก กลบในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าสุทธิ ที่แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าที่ไม่ได้นํามาหักกลบ ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าสุทธิ มูลค่าหัก กลบตาม สัญญา ที่ไม่เข้า เงื่อนไขตาม มาตรฐาน การบัญชี มูลค่า หลักประกัน ทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง สินทรัพย์ทางการเงิน

  • ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดย มีสัญญาว่าจะขายคืน/ ธุรกรรมยืมหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาว่าจะซื้อคืน/ ธุรกรรมให้ยืมหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - หนี้สิน อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx ให้เปิดเผยคําอธิบายเกี่ยวกับสิทธิของการหักกลบที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงินที่ได้รับรู้ และอยู่ภายใต้ข้อกําหนดของสัญญาหักกลบที่มีผลบังคับใช้ และข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเปิดเผยของรายการที่ไม่ได้นํามาหักกลบในงบแสดงฐานะการเงิน นอกจากนี้ ให้กระทบยอดมูลค่าสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินกับรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) ประเภทของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่าสุทธิที่ แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน รายการใน งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน มูลค่าตาม บัญชีของ รายการใน งบแสดงฐานะ การเงิน มูลค่าตามบัญชี ของรายการใน งบแสดงฐานะ การเงินที่ไม่ได้ อยู่ในเงื่อนไข การหักกลบ สินทรัพย์ทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดย มีสัญญาว่าจะขายคืน/ ธุรกรรมยืมหลักทรัพย์ xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ## xxx xxx - สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx สินทรัพย์ อนุพันธ์ ## xxx xxx - อื่นๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะซื้อคืน/ธุรกรรม ให้ยืมหลักทรัพย์ xxx เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ## xxx xxx - หนี้สิน อนุพันธ์ xxx หนี้สิน อนุพันธ์ ## xxx xxx - อื่นๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx
  1. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงิน สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืม สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สิน อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้ เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25 X 0 บาท บาท เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ในบางกรณีบริษัทประกันชีวิตไม่สามารถรับรู้ผลกําไรหรือผลขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน เนื่องจากไม่มีมูลค่ายุติธรรมทั้งจากราคาเสนอซื้อขายในตลาด ที่มีสภาพคล่องสําหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่อย่างเดียวกัน ( กล่าวคือ ข้อมูลระดับ 1 ) หรือจากเทคนิคการ ประเมินมูลค่าที่ใช้เฉพาะข้อมูลจากตลาดที่สามารถสังเกตได้ ในกรณีดังกล่าวบริษัทประกันชีวิตต้องเปิดเผย ข้อมูลตามประเภทของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ดังนี้

นโยบายการบัญชีในการรับรู้กําไรหรือขาดทุน จากผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก และราคา ของการทํารายการเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยต่างๆ ( รวมถึงเวลา ) ที่ผู้ร่วมตลาดใช้พิจารณาในการ กําหนดราคาสินทรัพย์หรือหนี้สิน ( หน่วย : บาท ) 25X1 25X0 ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ ต้นงวด การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสัญญา การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการทยอยรับรู้ การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการสิ้นสุดสัญญา ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ สิ้นงวด - เหตุผลที่บริษัทประกันชีวิตสรุปว่า ราคาของการทํารายการไม่ได้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม รวมถึงรายละเอียดของหลักฐานที่สนับสนุนมูลค่ายุติธรรมนั้น 28. การจัด ประเภท สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินเมื่อนําแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับ เครื่องมือทางการเงินสําหรับธุรกิจประกันภัยมาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ในรอบระยะเวลารายงานที ่ บริ ษั ทประกั นชี วิ ตนําแนวปฏิ บั ติ ทางการบั ญชี เกี ่ ยวกับ เครื่องมือทางการเงินสําหรับธุรกิจประกันภัย มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน การจัดประเภท เดิม การจัดประเภท ใหม่ มูลค่าตาม บัญชีเดิม มูลค่าตาม บัญชีใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน - สินทรัพย์ อนุพันธ์ ## … … xxx xxx - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ## … … xxx xxx - สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความ เสี่ยง ## … … xxx xxx - อื่นๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ## … … xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน ## … … xxx xxx - หนี้สิน อนุพันธ์ ## … … xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น ## … … xxx xxx - อื่นๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx

นอกจากนี้ ให้แสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) มูลค่าตามบัญชี เดิม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี มูลค่าตาม บัญชีใหม่ จากการจัดประเภท รายการใหม่ จากการวัดมูลค่า รายการใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน 1 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สิน อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 4 . กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงิน xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน 1 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม xxx xxx xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สิน อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมหนี้สินทางการเงิน xxx xxx xxx xxx

สําหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการเมื่อนําแนวปฏิบัติทางการบัญชี เกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงินสําหรับธุรกิจประกันภัยเป็นครั้งแรก ให้เปิดเผยอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลเข้าใจเกี่ยวกับวิธีที่บริษัทประกันชี วิตได้ถือปฏิบัติตามข้อกําหนด ของการจัดประเภทและวัดมูลค่า - เหตุผลในการกําหนดหรือยุติการกําหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ณ วันที่ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก 29. ทุนเรือนหุ้น ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้ (1) ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้นสามัญ (2) ในกรณีที่บริษัทมีหุ้นบุริมสิทธิ ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ตามประเภทของหุ้น บุริมสิทธิ เช่น หุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปันผลหรือไม่สะสมเงินปันผล เป็นต้น (3) ในกรณีที่บริษัทมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออกและ จํานวนคงเหลือ เงื่อนไขและเงื่อนเวลาในการใช้สิทธิดังกล่าว และภาระผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สําหรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออก เงื่อนไขและ เงื่อนเวลาในการใช้สิทธิดังกล่าว รวมถึงจํานวน ชนิด และราคาของหุ้นที่ผู้มีสิทธิสามารถซื้อได้ จํานวนคงเหลือ และภาระผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) ในกรณีที่บริษัทมีการเพิ่มหรื อลดทุน ให้เปิดเผยจํานวนทุนที่เพิ่มหรือลด ชนิดของหุ้น จํานวน หุ้น มูลค่าต่อหุ้น ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนหรือลดทุนจากกระทรวงพาณิชย์ เมื่อใด ในกรณีที่อยู่ระหว่างดําเนินการในเรื่องดังกล่าวให้เปิดเผยว่าได้ดําเนินการถึงขั้นตอนใด 30. กา รรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทรายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงาน ดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงานเป็นการประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไป และ การประกันชีวิตควบการลงทุน ก็ได้ 31. ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ให้แสดงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื่น รวมค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX

  1. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ให้เปิดเผยรายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ได้ถูกจําแนกไปตามหน้าที่และยังไม่ได้แสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินส่วนอื่น เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน เป็นต้น 33. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( หน่วย : บาท ) รายการ 25x1 25 x 0 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx 34. ผลกระทบทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้เปิดเผยภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น อย่างน้อย ดังนี้ ( หน่วย : บาท) 25 X 1 25 X 0 จํานวน ก่อนภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวน สุทธิจาก ภาษี จํานวน ก่อนภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวน สุทธิจาก ภาษี กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านงบ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรม อนุพันธ์ สําหรับการ ป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรม อนุพันธ์ สําหรับการ ป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการ ดําเนินงานในต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตี ราคาสินทรัพย์ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน XX XX XX XX XX XX ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการ ร่วมค้า XX XX XX XX XX XX องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX รวม XX XX XX XX XX XX

  2. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 36. รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือบริษัทประกันชีวิตให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน สําหรับการเปิดเผยผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่ผู้บริหารสําคัญ ให้เปิดเผยผลตอบแทนหรือ ผลประโยชน์อื่นใด ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินที่จ่ายให้แก่ผู้บริ หารสําคัญของบริษัทประกันชีวิต ทั้งนี้ นิยามของผู้บริหารสําคัญให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 37. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ และทรัพย์สิ นแต่ละชนิด ที่วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตามกฎหมายว่า ด้วยการประกันชีวิต 38. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ให้เปิดเผยทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทและมูลค่าตามบัญชี ของทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ต่อทรัพย์สินนั้น 39. หลักประกันที่ได้รับ ในกรณีที่บริษัทประกันชีวิตได้รับหลักประกัน (ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ทางการเงินหรือไม่ใช่สินทรัพย์ ทางการเงิน) และมีสิทธิในการนําหลักประกันที่ได้รับ ไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง โดยที่ถือว่า เจ้าของหลักประกันนั้นไม่ได้ไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทประกันชีวิตต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 39.1 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่บริษัทประกันชีวิตได้รับ 39 . 2 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่นําไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง และไม่ ว่า บริษัทประกันชีวิตมีภาระผูกพันที่จะต้องส่งคืนหลักประกันหรือไม่ และ 39 . 3 ข้อกําหนดและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลั กประกัน 40. เงินสมทบกองทุน ให้เปิดเผยจํานวนเงินสมทบสะสมที่ได้จ่ายเข้ากองทุน 41. สัญญาเช่าระยะยาว ให้เปิดเผยโดยสรุปเนื้อหาของสัญญา วันที่สัญญาครบกําหนด ข้อผูกพันของสัญญา และข้อห้ามต่าง ๆ ตาม สัญญาดังกล่าว และจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง

  3. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ให้เปิดเผยถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปฏิบัติอยู่ไปเป็น มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ พร้อมทั้งระบุถึงเหตุผลและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้นต่ อ บัญชีที่เกี่ยวข้องในงบดุลและกําไร ( ขาดทุน ) สุทธิหลังจากปรับปรุงจํานวนภาษีที่เกี่ยวข้อง 43. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและ ข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดีก่อ ข้อผูกมัด ในการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่ อาจเกิดขึ้นหรือ ข้อผูกมัด ใด ๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่ เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งความเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้ง อธิบายโดยสังเขปเกี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเ งิน และเปิดเผย ข้อมูลต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของบริษัทประกันชีวิตเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่าย หนึ่งในเรื่องหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่างรุนแรง บริษัทประกันชีวิตไม่จําเป็นต้องเปิดเผยข้อมูล ดังกล่าว แต่ต้องเปิดเผยถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้ อเท็จจริงและเหตุผลของการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้น สําหรับภาระผูกพันจากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงาน ให้เปิดเผย จํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับระยะเวลาแต่ละ ช่วงดังต่อ ไปนี้ ( 1 ) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี ( 2 ) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ( 3 ) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 44. ความ เสี่ยง ของบริษัท ให้เปิดเผยความเสี่ยงของบริษัทให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้เปิดเผยข้อมูลซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินประเมินลักษณะและขอบเขตของความ เสี่ยงที่เกิดจากสัญญาประกันภัย ตามย่อหน้าที่ 39 ของมาตรฐานการรายงานทาง การเงินเรื่องสัญญา ประกันภัย และจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน สําหรับความเสี่ยงจากเครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้สําหรับความเสี่ยงแต่ละประเภท เช่น ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และ ความเสี่ยงด้า นตลาด ที่เกิดจากเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ ( 1 ) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงและการเกิดขึ้นของความเสี่ ยง

วัตถุประสงค์และนโยบายการบริหารความเสี่ยง และ ( 2 ) ข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงำน การกระจุกตัวของความเสี่ยง 45. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังรอบระยะเวลารายงาน และประมาณการ ผลกระทบทางการเงินที่อาจเกิดจากเหตุการณ์ดังกล่าวหรือข้อเท็จจริงที่ว่าบริษัทประกันชีวิตไม่สามารถ ประมาณ ผลกระทบดังกล่าว

1.3 ความหมายของรายการใน งบแสดงฐานะการเงินและ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต คําอธิบายความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จนี้เป็นเพียง แนวทางในการแสดงรายการตามแบบงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของบริษัทที่ประกอบ ธุรกิจประกันชีวิตเท่านั้น อย่างไรก็ตาม บริษัทประกันชีวิตยังคงต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดในการแส ดงรายการ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน นอกจากนี้การจัดประเภทรายการในงบการเงิน ให้พิจารณาเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจมากกว่ารูปแบบทาง กฎหมาย เช่น หุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิบริษัทประกันชีวิตที่ออกหุ้นในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินที่แน่นอน หรือที่สามารถทราบได้ ณ วันที่ กําหนดไว้หรือวันที่ทราบได้ หรือหุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการ เรียกร้องให้บริษัทประกันชีวิตไถ่ถอนหุ้นในหรือหลังวันที่ที่กําหนดไว้ด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือที่สามารถ ทราบได้ หุ้นบุริมสิทธินั้นต้องจัดประเภทเป็นหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน การแสดงราย การในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อาจแสดงเป็นหน่วยของหลักพัน หลักหมื่น หลักแสน หรือหลักล้านได้ตามความเหมาะสม และให้ระบุหน่วยของหลักที่ใช้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินนั้น ๆ ด้วย งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (cash and cash equivalent) เงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท เช่น 1.1 ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่บริษัทมีอยู่ รวมทั้งเงินสดย่อย ธนาณัติ ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ 1.2 เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย์ ใบรับฝาก และบัตรเงินฝำก ทั้งนี้ไม่รวมเงินฝาก ธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงินอื่น ที่ได้แสดงไว้ภายใต้รายการสินทรัพย์ลงทุน 1.3 เช็คที่ถึงกําหนดชําระแต่ยังมิได้นําฝาก เช็คเดินทาง ดราฟท์ของธนาคาร รายการเทียบเท่าเงิน สด หมายถึง เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งพร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงิน สดในจํานวนที่ทราบได้และมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อย หรือไม่มีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้านเค รดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น (ถ้ามี)

  1. เบี้ยประกันภัยค้างรับ (premium receivable) หมายถึง เบี้ยประกันภัยค้างรับจากการรับประกันภัยโดยตรง ซึ่งยังมิได้รับชําระจากผู้เอาประกันภัย หรือตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต 3. รายได้จากการลงทุนค้างรับ (accrued investment income) หมายถึง ดอกเบี้ยและเงินปันผลค้างรับจากสถาบันการเงิน จากเงินลงทุนในหลักทรัพย์ รวมทั้ง ดอกเบี้ ยและผลประโยชน์อื่ นใดที่ เกิดจากการประกอบธุรกรรมลงทุนค้างรับ เช่น ค่าเช่าค้างรับจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เป็ นต้น และแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ถ้ามี) โดย ไม่รวมถึงรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้กู้ยืม 4. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ (reinsurance assets) หมายถึง สิทธิตามสัญญาสุทธิ ( net contractual rights) ของผู้เอาประกันภัยต่อภายใต้สัญญา ประกันภัยต่อ ได้แก่ สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อซึ่งได้จากการคํานวณสํารอง สําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว และสํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 5. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ (amount due from reinsurance) หมายถึง 5 . 1 เงินค้างรับจากบริษัทประกันภัยต่ออันเกิดจากการเอาประกันภัยต่อทั้ งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เบี้ยประกันภัยต่อ ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ และรายการค้างรับอื่นๆ จากบริษัท ประกันภัยต่อ 5 . 2 เงินที่บริษัทวางไว้จากการเอาประกันภัยต่อ 6. สินทรัพย์อนุพั นธ์ (derivative assets) หมายถึง มูลค่ายุติธรรม หรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นกําไรของอนุพันธ์ รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่แยก ออกมาจากสัญญาหลัก อนุพันธ์ (derivative financial instruments) หมายถึง เครื่องมือทางการเงิน หรือสัญญาอื่น ที่มีลักษณะทุกข้อดังต่อไปนี้ 1. มูลค่าของตราสารดังกล่าวจะผันแปรไปตามอัตราดอกเบี้ย ราคาของเครื่องมือทางการเงิน ราคา สินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี 2. ราคาหรือดัชนีอัตรา อันดับความน่าเชื่อถือหรือดัชนีความน่าเชื่อถือ หรือตัวแปรอื่นใด 2. ไม่มีการจ่ายเงินลงทุนสุทธิ เมื่อเริ่มแรก หรือจ่ายด้วยจํานวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัญญา ประเภทอื่น ซึ่งมีการตอบสนองในลักษณะเดียวกันของปัจจัยตลาด และ 3. การรับหรือจ่ายชําระจะกระทําในอนาคต ตัวอย่างของอนุพันธ์ เช่น สัญญา forward future swap option และ hybrid derivatives อื่นๆ

เงินลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง หมายถึง การลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่ประกอบไปด้วย 1. สัญญาหลักซึ่งไม่จัดเป็น อนุพันธ์ (non - derivative host contract) และ 2. อนุ พันธ์ แฝง (embedded derivatives) ซึ ่ งทําให้ ผลตอบแทนของตราสารดั งกล่ำว เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาของกลุ่มหุ้น ราคาของสินค้าโภค ภัณฑ์ ดัชนีของราคาหรืออัตราใด ๆ ความเสี่ยงทางด้านเครดิต และดัชนีทางด้านเครดิต ฯลฯ ตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์ แฝง เช่น ธุรกรรม equity linked note ธุรกรรม credit linked note หรือ credit linked deposit ธุรกรรม inverse floater notes ธุรกรรม range accrual notes ธุรกรรม puttable bond และ convertible bond 7. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ รายการที่แสดงภายใต้หัวข้อนี้ประกอบด้วย 7 . 1 หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ (government and state enterprise securities) หมายถึง ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร หรือตราสารอื่นที่ออกโดยรัฐบาลไทย องค์การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นและจังหวัด หุ้นกู้ พันธบัตรหรือตราสารอื่นที่องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก 7 . 2 ตราสารหนี้ภาคเอกชน (private enterprises debt securities) หมายถึง หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยบริษัทเ งินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่มีลักษณะเป็น การระดมทุน ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยธุรกิจอื่นที่มีลักษณะเป็นการระดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตามที่สํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด และตราสารแห่งหนี้อื่นใดที่มีลักษณะเป็นการ ระดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตำมข้อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7 . 3 ตราสารหนี้ต่างประเทศ (foreign debt securities) หมายถึง ตราสารที่ออกหรือค้ําประกัน โดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การหรือหน่วยงานของ รัฐบาลต่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ นิติบุคคลที่จัดตั้ งตามกฎหมายต่างประเทศ หรือรัฐวิสาหกิจตาม กฎหมายต่างประเทศ และให้หมายรวมถึงตราสารหนี้ต่างประเทศ แต่ออกจําหน่ายในประเทศไทยด้วย 7 . 4 เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิน หมายถึง เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิน รวมทั้งใบรับฝากเงินและบัตรเงินฝากที่ออกโดย ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ที่มีระยะเวลาครบกําหนดเกินสามเดือนนับแต่วันที่ได้มา 7 . 5 ตราสารหนี้อื่น (other debt securities) หมายถึง ตราสารหนี้ที่มิอาจแสดงไว้ในรายการที่กล่าวข้างต้น 7 . 6 ตราสารทุน (equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ทั้งที่มีหรือไม่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องในประเทศ 7 . 7 ตราสารทุนต่างประเทศ (foreign equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ทั้งที่มีหรือไม่มีการซื้อขา ยในตลาดซื้อขายคล่องต่างประเทศ

7 . 8 อื่นๆ ( others) หมายถึง ตราสารทุกประเภทที่มิได้กล่าวถึงข้างต้น 8. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ (loan and accrued interest receivable) หมายถึง เงินให้กู้ยืมทุกประเภทแก่ลูกหนี้ เงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน รวมทั้ง ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวมถึงดอกเบี้ยค้างรับและรายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถึง กําหนดชําระตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืมดังกล่าว หักรายได้รอตัดบัญชี และค่าเผื่อ ผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยรวมถึงเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม 9. ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( allowance for expected credit loss) หมายถึง จํานวนเงินที่กันไว้สําหรับส่วนที่คาดว่าจะไม่ได้รับจากเครื่องมือทางกา รเงินที่วัดมูลค่าด้วย ราคาทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่คาดว่าจะไม่ได้รั บใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และส่วน ที่คาดว่าจะไม่ได้รับตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่ วมค้า (investment in subsidiaries, associate and joint ventures ) หมายถึง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้บริษัทแสดงรายการเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าเป็นมูลค่า สุทธิหลังจากหักด้วยบัญชีค่าเผื่อการด้อยค่าแล้ว 11. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (investment property) หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ (ที่ดิน หรืออาคาร หรือส่วนควบอาคาร หรือทั้งที่ดินและอาคาร) ที่ถือครอง โดยเจ้าของหรือโดยผู้เช่าภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า หรือจากการเพิ่มขึ้น ของมูลค่าสินทรัพย์ หรือทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ไม่ได้มีไว้เพื่อ 11.1 ใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน ของกิจการ 11.2 ขายตามปกติธุรกิจ 12. สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง (assets held to cover linked liabilities) หมายถึง สินทรัพย์ลงทุนสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ ผู้ เอาประกันภัยรับความเสี่ ยงในการ เปลี่ยนแปลงมูลค่าของสินทรัพย์ลงทุนดังกล่าว เช่น กรมธรรม์ประเ ภทยูนิตลิงค์ เป็นต้น

  1. ทรัพย์สินรอการขาย (properties foreclosed) หมายถึง 13.1 ทรัพย์สินที่ตกเป็นของบริษัทประกันชีวิตเนื่องจากการชําระหนี้ หรือเนื่องจากการที่บริษัท ประกันชีวิตได้ซื้อทรัพย์สินที่จํานองไว้กับบริษัทประกันชีวิตนั้นจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่งศาลหรือเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งการเข้าครอบครองทรัพย์สินจากการให้เช่าการเงินหรื อการให้เช่าซื้อ 13.2 ที่ดิน อาคารและทรัพย์สินอื่น เพื่อใช้ดําเนินธุรกิจหรือ สําหรับพนักงานซึ่งมิได้ใช้เพื่อการดังกล่าว แล้ว ที่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้อง 14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ (property plant and equipment , net) หมายถึง 14.1 ที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง อสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใ ช้ในการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัท หรือเพื่อสวัสดิการของพนักงานและลูกจ้างของบริษัท 14.2 อุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องตกแต่งติดตั้งและยานพาหนะต่างๆ 14.3 ที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น ที่เลิกใช้เพื่อการดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงาน โดยสินทรั พย์ ดังกล่าวที่ไม่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 15. ค่าความนิยม (goodwill) หมายถึง ค่าความนิยมตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 16. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น (other intangible assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินที่สามารถระบุได้ และไม่มีกายภาพตามที่กําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน นอกจากค่าความนิยมตามรายการที่ 15 เช่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือ กลุ่มสัญญาประกันภัย ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สัมปทาน เป็นต้น 17. สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (deferred tax asset) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตคาดว่าจะได้รับคืนในอนาคตซึ่งเกิดจาก 17.1 ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี 17.2 ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป 17.3 เครดิตภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 18. สินทรัพย์อื่น (other assets) หมายถึง สินทรัพย์นอกจากที่ กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 ถึง 17 ทั้งนี้ หากรายการใดมี สาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 19. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม (bank overdrafts and borrowings) หมายถึง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หนี้สินที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมจากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น รวมทั้งการขายหรือขายช่วงลดตั๋วเงินกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน รวมถึงหนี้สินตามธุรกรรมซื้อหรือขาย หลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน (repo) 20. หนี้สินจากสัญญาประกันภัย (insurance liabilities) หมายถึง หนี้ สินและภาระผูกพันที่ บริษัทมีต่อผู้ เอาประกันภัยอันเกิดจากสัญญาประกันภัย (insurance contract) ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 20.1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว (long - term technical reserves) หมายถึง สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว อันเป็นภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมี ต่อผู้เอาประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะยาว หมายความว่า สัญญาประกันภัยที่มีระยะเวลาของสัญญาเกินกว่า 1 ปี หรือมีการรับรองการต่ออายุอัตโนมัติ ซึ่งบริษัทไม่สามารถบอกเลิกสัญญาและไม่สามารถปรับเพิ่มหรือ ลดเบี้ยประกันภัย รวมถึงเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ใดๆ ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ คํานิยามให้เป็นไปตาม ประกาศว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต 20.2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น (short - term technical reserves) หมายถึง สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น อันเป็นภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมีต่อ ผู้เอำประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะสั้น หมายความว่า สัญญาประกันภัยที่ ไม่มีลักษณะหรือเงื่ อนไข เช่นเดียวกับสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ทั้งนี้ คํานิยามให้เป็นไปตามประกาศว่าด้วยการประเมิน ราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต 20 . 2 . 1 สํารองค่าสินไหมทดแทน (clai m liability) หมายถึง ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยัง ไม่ได้ตกลงหรือยังไม่ได้รับรายงานและค่าสินไหมทดแทนที่ตกลงแล้วแต่ผู้เอาประกันภัยยังไม่ได้รับไป ทั้งนี้ ในการประมาณการค่าสินไหมทดแทนดังกล่าว ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การคํานวณเ งินสํารองประกันภัยซึ่งได้มีการรวมค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนในการประมาณ การเงินสํารองดังกล่าวแล้ว 202 . 2 . 2 สํารองเบี้ยประกันภัย ( premium liability) หมายถึง ภาระผูกพันตามสัญญาประกันภัย ซึ่งเป็นจํานวนที่สูงกว่าระหว่างสํารอง เบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรา ยได้ และสํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด

20 . 2 . 2 . 1 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (unearned premium reserve) หมายถึง เบี้ยประกันภัยส่วนที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ของบริษัทสําหรับ กรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับอยู่ 20 . 2 . 2 . 2 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (unexpired risk reserve) หมายถึง จํานวนเงินที่ผู้รับประกันภัยจัดสํารองไว้เพื่อชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนที่อาจเกิด ขึ้นในอนาคต สําหรับการประกันภัยที่ยังมีผลอยู่ 20 . 3 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ( unpaid policy benefits) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมิได้ชําระให้แก่ผู้เอาประกันภัย หรือ ผู้รับประโยชน์ 20 . 4 หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกันภัย (due to insured) หมายถึง เงินค่าเบี้ยประกันภัยที่รับล่วงหน้าจากผู้เอาประกันภัย และเงินที่บริษัทต้องจ่ายให้แก่ ผู้เอาประกันภัยตามสัญญานอกเหนือจากเงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย 21. หนี้สินจากสัญญาลงทุน (investment liabilities) หมายถึง หนี้สินและภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมีต่อผู้เอาประกันภัยตามสัญญาที่ไม่เข้าเงื่อนไข เป็นสัญญาประกันภัยตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดภาระ หนี้สินทางการเงิน 22. เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ (amount due from reinsurance) ห มายถึง 22 . 1 เงินค้างจ่ายให้กับบริษัทประกันภัยต่ออันเกิดจากการเอาประกันภัยต่อทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เบี้ยประกันภัยต่อ ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัย ค่าสินไหมทดแทน และ รายการค้างจ่ายอื่นๆ ให้กับบริษัทประกันภัยต่อ 22 . 2 เงินที่บริษัทถือไว้จากการเอาประกันภัยต่อ 23. หนี้สิน อนุพันธ์ (derivative liabilities) หมายถึง มูลค่ายุติธรรมหรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นขาดทุนของ อนุพันธ์ รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่แยก ออกจากสัญญาหลักที่เกิดจากการวัดมูลค่ายุติธรรม 24. หนี้สินทางการเงินอื่น หนี้สินทางการเงินอื่น หมายถึง หนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้แสดงเป็นเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี้สิน จากสัญญาลงทุน และหนี้สิน อนุพันธ์ เช่น หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ( trading liabilities) หรือ หนี้สินทาง การเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ( financ ial liabilities designated at fair value through profit or loss)

  1. ภาษีเงินได้ค้างจ่าย (income tax payable) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 26. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (employee benefit obligation) หมายถึง หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 27. หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (deferred tax liability) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตต้องจ่ายในอนาคตซึ่งเกิดจากผลต่างชั่วคราวที่ต้องเสีย ภาษี ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 28. หนี้สินอื่น (other liabilities) หมายถึง หนี้สินนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 19 ถึง 27 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญ ให้แยกแสดงออกมาต่างหาก 29. ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ (equity / head office equity) 29.1 ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ (share capital / fund from head office) 29 . 1 . 1 ทุนจดทะเบียน (authorized share capital) หมายถึง ทุนของบริษัทที่จดทะเบียนตามกฎหมาย ให้แสดงชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนแต่ละชนิด ดังนี้ 29 . 1 . 1 . 1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 29 . 1 . 1 . 2 หุ้นสามัญ ( ordinary shares) 29 . 1 . 2 ทุนที่ออกและชําระแล้ว (issued and paid – up share capital) หมายถึง จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่นําออกจําหน่ายและเรียกให้ชําระมูลค่าหุ้นแล้ว ให้แสดงเป็นหุ้นแต่ละชนิด ดังนี้ 29.1.2.1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 29.1.2.2 หุ้นสามัญ ( ordinary shares) 29.2 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (stock rights, warrants and options) หมายถึง มูลค่าของสิทธิที่บริษัทประกันชีวิตออกให้แก่ผู้ถือในการซื้อหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ 29.3 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้น (premium (discount) on share capital) 29 . 3 . 1 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (premium or discount on preference shares) หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นบุริมสิทธิส่วนที่สูงกว่า หรือต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นบุริมสิทธิ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้น บุริมสิทธิสามารถนํารายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้ 29 . 3 . 2 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นสามัญ (premium or discount on ordinary shares) หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นสามัญส่วนที่สูงกว่า หรือต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นสามัญ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นสามัญ สามารถนํารายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้

29.4 ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน ( premium on treasury shares) หมายถึง เงิน มูลค่าสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นทุนซื้อคืน – หุ้นบุริมสิทธิ หรือหุ้นสามัญ ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืน ทั้งนี้ สําหรับกรณีของการตัดหรือยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืนเพื่อลด ทุน จะหมายถึง ราคาตามมูลค่า (par value) ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืนที่ตัดออก ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่มำตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับ หุ้นทุนซื้อคืนของกิจการที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนด 29.5 กําไร (ขาดทุน) สะสม (retained earnings) 29 . 5 . 1 จัดสรรแล้ว (appropriated) 29 . 5 . 1 . 1 ทุนสํารองตามกฎหมาย (legal reserve) หมายถึง สํารองที่ กันไว้จากกําไรสุทธิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์หรือตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด 29 . 5 . 1 . 2 จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares reserve) หมายถึง สํารองที่กันไว้จากกําไรสุทธิตามข้อกําหนดในการซื้อหุ้นทุนของ บริษัทประกันชีวิต กลับมาในภายหลัง 29 . 5 . 2 อื่น ๆ (others) หมายถึง จํานวนที่จัดสรรจากกําไรสุทธิหรือกําไรสะสมเพื่อการใดๆ ตามมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ให้แสดงเป็นแต่ละประเภท เช่น เพื่อรักษาระดับเงินปันผล เพื่อขยายกิจการ หรือตามเงื่อนไข ของภาระผูกพัน เป็นต้น 29 . 5 . 3 ยังไม่ได้จัดสรร (unappropriated) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) สะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ที่คงเหลือจากการ จัดสรรแล้วตามรายการที่ 29 . 5 . 1 ในกรณีที่มียอดดุลสุทธิเป็นผลขาดทุนสะสม ให้แสดงจํานวนเงินไว้ใน เครื่องหมายวงเล็ บ และเรียกเป็น “ ขาดทุนสะสม ” 29 . 6 หุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares) หมายถึง หุ้นทุนของบริษัทประกันชีวิตที่ออกจําหน่ายแล้ว และบริษัทประกันชีวิตได้ซื้อหุ้น ทุนของบริษัทประกันชีวิตนั้นกลับมาในภายหลัง ด้วยราคาทุนที่บริษัทประกันชีวิตจ่ายเพื่อซื้อหุ้น ทุนกลับคืน 29 . 7 องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ (other components of equity) หมายถึง ผลสะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงานของ 29 . 7 . 1 กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และ 29 . 7 . 2 รายการอื่นของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเจ้าของ (owner changes) ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง นอกจากที่กําหนดให้ แสดงในรายการที่ 29 . 1 – 29 . 6

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ (revenues) 1. เบี้ยประกันภัยรับ (gross written premiums) หมายถึง รายได้เนื่องจากการรับประกันภัยโดยตรง และการรับประกันภัยต่อ หักเบี้ยประกันภัย ยกเลิกและส่งคืนที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เอาประกันภัย 2. เบี้ยประกันภัยเอาต่อ (premiums ceded to reinsurers) หมายถึง เบี้ยประกันภัยจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจากการเอาประกันภัย ต่อและการเอาประกันภัย ต่อช่วงทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3. สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ่ม (ลด) จากปีก่อน ( net change in unearned premium reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ของบริษัทสําหรับกรมธรรม์ ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 4. เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิจากการเอาประกันภัยต่อ (net earned premiums) หมำยถึง รายได้เนื่องจากการรับประกันภัยโดยตรงและรายได้จากการรับประกันภัยต่อ หักเบี้ย ประกันภัยยกเลิกและส่งคืนผู้เอาประกันภัย หักด้วยเบี้ยประกันภัยจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจากการเอา ประกันภัยต่อและการเอาประกันภัยต่อช่วงทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปรับปรุงด้วยกา รเปลี่ยนแปลงใน สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ 5. รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ (fee and commission income) หมายถึง รายได้ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัยประเภทการลงทุน ( Investment contracts) และค่าบําเหน็จที่บริษัทได้รับเนื่องในการประกันภัยต่อ และค่าธรรมเนียมอื่นใดที่บริษัทได้รับใน การเข้าทําสัญญาประกันภัย 6. รายได้จากการลงทุน (investment income) หมายถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล ส่วนลด ค่าธรรมเนียมจากการกู้ยืม ซื้อ ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน ด อกเบี้ยจากเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น ดอกผลจากการให้เช่าซื้อรถและจากการให้เช่าทรัพย์สิน แบบลิสซิ่ง รวมทั้งดอกเบี้ย ค่าเช่า และผลประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการประกอบธุรกรรมลงทุนไม่ว่าจะเป็น การลงทุนในหลักทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่นๆ ทั้ง นี้ โดยให้สุทธิจากค่าใช้จ่ายต่างๆ อัน เกิดขึ้นเนื่องจากการลงทุนแสวงหาผลประโยชน์

  1. ผลกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน (gains (losses) on investment) หมายถึง กําไร ( ขาดทุน ) ที่เกิดขึ้นจริงจากการจําหน่ายเงินลงทุน และจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงิน ลงทุน การจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการชําระหนี้ ทั้งนี้โดยให้สุทธิจากค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยตรงกับรายการนั้นๆ 8. ผลกําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม (fair value gains and l osses) หมายถึง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่เงินลงทุนในหลักทรัพย์ และอนุพันธ์ทางการเงินที่รับรู้มูลค่ายุติธรรมในงบกําไรขาดทุน จากการวัดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ และจากกําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น 9. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากการ บัญชีป้องกันความเสี่ยง ( gains (losses) on hedge accounting) หมายถึง รายการดังต่อไปนี้ 9.1 การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง และรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง 9.2 การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดและการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง เฉพาะส่วนที่ไม่มี ประสิทธิผล - กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เมื่อการป้องกันความเสี่ยงสิ้นสุด ทั้งนี้ รายการดังกล่าวให้แสดงยอดสุทธิของผลกําไรที่หักผลขาดทุนแล้ว ในกรณีที่ยอดสุทธิเป็นผล ขาดทุน ให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ 10. ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) ( share of profit (loss) from investments in associates and joint ventures) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในกิจการที่บริษัทถือไว้ กรณีบันทึกเงินลงทุนดังกล่าว ตามวิธีส่วนได้เสีย ตามที่กําหนด ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 11. รายได้อื่น (other income) หมายถึง รายได้จากการดําเนินงานนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 - 10 โดยให้รวมถึง รายได้จากการให้บริการด้านอื่นนอกเหนือจากด้านการประกันภัย และกําไรอื่น เช่น กําไรจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และทรัพย์สินอื่นที่มิได้ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน และในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการขายทรัพย์สิน ดังกล่าว ให้นํามาหักจากรายการนี้เพื่อแสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลขาดทุนให้ นําไปแสดงไว้เป็นค่าใช้จ่ายอื่นในรายการที่ 21 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก

ค่าใช้จ่าย (expenses) 12. สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภั ยระยะยาวเพิ่ ม (ลด) (change in long - term technical reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองสําหรับภาระผูกพันที่มีต่อผู้เอาประกันภัยจากการประกันภัย ระยะยาว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 13 . สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุดเพิ่ม (ลด) (change in unexpired risk reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองความเสี่ยงภัยที่เป็นส่วนเพิ่มจากสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือ เป็นรายได้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 14 . ผลปร ะโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน ( gross benefits and claim paid) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย ได้แก่ เงินครบกําหนด เงินค่ามรณกรรม เงิน ค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินได้ประจํา เงินปันผล โดยเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี ปัจจุบัน ซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่าจะต้อง ชําระ และจํานวนเงินค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่า จะต้องชําระ และจํานวนเงินที่จ่ายสําหรับการประเมินและจัดการค่าสินไหมทดแทน เช่น ค่าใช้จ่ายในการ ดําเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินไหมทดแท น รวมถึงค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อมอื่นๆ เกี่ยวกับการ จัดการค่าสินไหมทดแทน 15 . ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัย ต่อ ( benefits and claim paid recovered from reinsurers) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย และจํานวนเงินค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นใน รอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่าจะต้องจ่ายและจํานวน เงินที่จ่ายสําหรับการประเมินและจัดการค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับคืนจากการประกันภัย ต่อ 16 . ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ (commissions and brokerages) หมายถึง ค่านายหน้า ค่าจ้าง และค่าบําเหน็จ ที่จ่ายให้ตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต รวมทั้งผู้บริหารตัวแทนประกันชีวิต เนื่องในการชักชวนหรือชี้ช่อง หรือจัดการให้บุคคลได้ทําสัญญาประกันภัย กับบริษัท และค่าบําเหน็จที่บริษัทจ่ายไปเนื่องในการรับประกันภัยต่อ 17 . ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น (other underwriting expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นจากการรับประกันภัย ทั้งนี้ ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับศูนย์โทรศัพท์กรณี การขายผ่านทางโทรศัพท์ และค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อมอื่นๆ เกี่ยวกับการรับประกันภัย และให้รวมถึง เงินสมทบต่างๆ ที่บริษัทประกันชีวิตได้จ่ายให้แก่สํานักงาน คปภ. ก องทุนประกันชีวิต ตามข้อกําหนดของ พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง

18 . ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน (operating expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานที่ไม่เกี่ยวกับการรับประกันภัยและการจัดการค่าสินไหมทดแทน 19 . ต้นทุนทางการเงิน (finance costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการก่อหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต เช่น ดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าธรรมเนียมธนาคาร ดอกเบี้ยที่เกิดจากสัญญาเช่าการเงิน ทั้งนี้ให้ต้นทุนทางการเงินรับรู้ตามวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง เป็นต้น 20. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้น ( expected credit loss) หมายถึง ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ของเครื่องมือทางการเงิน ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสาร หนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรำยงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 21. ค่าใช้จ่ายอื่น (other expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการรับประกันภัยและ การลงทุน โดยให้รวมถึงขาดทุน อื่น เช่น ผลเสียหายจากการทุจริตของพนักงาน และผลขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และทรัพย์สินอื่น ที่มิได้ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน ในกรณีที่มีกําไรจากการขายทรัพย์สินดังกล่าว ให้นํามาหักล้างจากรายการนี้เพื่อ แสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลกําไร ให้นําไปแสดงเป็นรายได้อื่นไว้ในรายการที่ 11 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก 22. ค่าใช้จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ (tax expense (tax income)) หมายถึง ผลรวมของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ใช้ในการคํานวณกําไร หรือขาดทุนสําหรับงวด ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 23. กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (net profit (loss)) หมายถึง ยอดรวมรายได้หักด้วยยอดรวมค่าใช้จ่าย หากมี ผลขาดทุนสุทธิ ให้แสดงจํานวนเงินไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บ 24. กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (other comprehensive income) หมายถึง รายการรายได้และค่าใช้จ่าย (รวมถึงการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่) ซึ่งมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 24.1 รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 24 . 1 . 1 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ( gains (losses) on remeasuring investments at fair value through other comprehensive income)

หมายถึง ผลกําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.2 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรม อนุพันธ์ สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสด ( gains (losses) on cash flow hedges) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่ายุติธรรม อนุพันธ์ ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสด เฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง 24.1.3 กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี (gains (losses) from deferred cost of hedging) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในส่วนที่เป็นมูลค่าตาม เวลาของสัญญาสิทธิที่จะซื้อหรือจะขายหรือส่วนของอัตราแลกเปลี่ย นล่วงหน้าของสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน และกําไรและขาดทุนจากการตัด จําหน่ายรายการข้างต้น ณ วันที่กําหนดให้เครื่องมือทางการเงินเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ตามที่กําหนด ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.4 กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ( gains (losses) arising from translating the financial statements of a foreign operation) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่าง ประเทศ ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง และกําไรและขาดทุนจาก การวัดมูลค่ายุติธรรม อนุพันธ์ ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ เฉพาะ ส่วนที่มีประสิทธิผล ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.5 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joint venture will be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริษัทร่วม และการร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ใน กําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบั ญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง 24.1.6 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to components of other comprehensive income will be r eclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับ รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง

24.2 รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 24 . 2 . 1 กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ( gains (losses) on changes in revaluation surplus) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24 . 2 . 2 กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุน ( gains (losses) on financial liabilit y designated at fair value through profit or loss) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงิน ที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เฉพาะส่วนที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงความ เสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินทางการเงิ นนั้น 24 . 2 . 3 กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรั บ โครงการผลประโยชน์พนักงาน ( actuarial gains (losses) on defined employee benefit plans) หมายถึง ผลกําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ตามโครงการผลประโยชน์ พนักงาน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.2.4 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่ไม่ จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joint venture will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริษัท ร่วมและการร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง 24.2.5 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่ไม่ จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to com ponents of other comprehensive income will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับ รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ถ้ามีรายการนอกเหนือจากข้างต้น ให้นําเสนอและจัดประเภทตามมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงำนทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (earnings per share) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) ที่คํานวณตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินว่าด้วยเรื่องกําไรต่อหุ้น หากมีผลขาดทุนให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ โดยแยกแสดงเป็น 1) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้ นฐาน (basic earnings per share) 2) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด (diluted earnings per share) หมายเหตุ : คําแปลภาษาอังกฤษที่กําหนดในที่นี้ใช้เป็นแนวทางเท่านั้น บริษัทสามารถใช้คําแปลอื่นที่เหมาะสม หรือใกล้เคียงได้

หมวดที่ 2 แบบงบการเงิน กรณีที่บริษัท เลือก ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน แต่ยังไม่ สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย

2 .1 แบบงบการเงิน รายไตรมาส

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท สินทรัพย์ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เบี้ยประกันภัยค้างรับ รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ … วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด

หน่วย : บาท หนี้สินและส่วนของเจ้าของ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี้สินจากสัญญาประกันภัย หนี้สินจากสัญญาลงทุน เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ หนี้สินอนุพันธ์ หนี้สินทางการเงินอื่น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื้อคืน อื่น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน รายได้ เบี้ยประกันภัยรับ หัก เบี้ยประกันภัยจ่ายจากการเอาประกันภัยต่อ เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ หัก สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ่ม ( ลด ) จากงวดก่อน เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิจากการประกันภัยต่อ รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาวเพิ่ม ( ลด ) สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุดเพิ่ม ( ลด ) ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน หัก ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่น สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่น สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรอบระยะเวลา - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับ … สิ้นสุดวันที่ … วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 2. บริษัทสามารถเลือกที่จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท ตราสารหนี้ที่วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น การป้องกันความ เสี่ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี่ยงรอตัดบัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย์ ตราสารทุนที่ กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หนี้สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับ โครงการผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที่โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ่ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที่โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ่ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา ยอดคงเหลือ … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ รวม แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที่ … วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการอื่นของ การ เปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากเจ้าของ รวมองค์ประกอบ อื่นของส่วนของ เจ้าของ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ทุนที่ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่า กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื้อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื้อคืน

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี้ยประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง เงินรับ ( เงินจ่าย ) เกี่ยวกับการประกันภัยต่อ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื่น รายได้อื่น เงินจ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าจ้างและค่าบําเหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ่มทุน / เงินเพิ่มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นรอบระยะเวลา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ้นรอบระยะเวลา หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที่ดอกเบี้ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั้งนี้การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับ … สิ้นสุดวันที่ … วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมุติฐาน 3. ข้อมูลเพิ่มเติม ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยกําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่มีรายการดังกล่าว หรือในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกันชี วิตที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูล บริษัทไม่ต้องแสดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่านี้ในรูปแบบอื่น ให้บริษัทปฏิบัติตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เป ลี่ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา นโยบายการบัญชี และข้อเท็จจริง ที่ว่าบริษัทประกันชีวิตได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีหรือวิธีคํานวณ โดยเปิดเผยถึงลักษณะและผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลง นั้น ประมาณการและข้อสมมติฐาน ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยลักษณะและจํานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงประมาณการของจํานวนเงินที่ เคยรายงานไว้ (ถ้ามี)

ข้อมูลเพิ่มเติม 1. การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ให้แสดงรายละเอียดและมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เครื่องมือ ทางการเงิน ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร หรือขาดทุน เครื่องมือ ทางการเงิน ที่กําหนดให้ วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร หรือขาดทุน เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนใน ตราสารทุน ที่กําหนดให้ วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เครื่องมือ ทาง กำรเงินที่ วัดมูลค่า ด้วยราคา ทุนตัด จําหน่าย รวม สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx - - xxx - xxx สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx - - - - xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ - xxx - - xxx xxx สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม - - - - xxx xxx หนี้สินจากสัญญาลงทุน - - - - xxx xxx หนี้สินอนุพันธ์ xxx - - - - xxx หนี้สินทางการเงินอื่น - xxx - - xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx

  1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX รวม XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – สุทธิ XXX XXX 3. เบี้ยประกันภัยค้างรับ ให้แสดงรายละเอียดของเบี้ยประกันภัยค้างรับและแยกอายุเบี้ยประกันภัยค้างรับ ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) จากการรับประกันภัยโดยตรง รายการ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกิน 30 วัน ค้างรับ 30 – 60 วัน ค้างรับ 60 – 90 วัน ค้างรับเกินกว่า 90 วัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เบี้ยประกันภัยค้างรับ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

  2. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อ ( บาท ) ( บาท ) สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว สํารองค่าสินไหมทดแทน สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ( URR) อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX 5. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดลูกหนี้ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินวางไว้จากการประกันภัยต่อ เงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้ประกันภัยต่ออื่น รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX

  3. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน มูลค่ายุติธรรม วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมสินทรัพย์ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนด เกินกว่า 3 เดือน xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx

( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน มูลค่ายุติธรรม วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุน xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx หากบริษัทประกันชีวิตมีตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ให้บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี เงินลงทุนที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX

  1. สินทรั พย์ทางการเงินตราสารทุน ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน มูลค่ายุติธรรม วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด มูลค่ายุติธรรม ตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน ตราสารทุนในประเทศ xxx xxx ตราสารทุนต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน xxx xxx ตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารทุนในประเทศ xxx xxx ตราสารทุนต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ในกรณีที่มีหลักทรัพย์ที่อยู่ในระหว่างการให้ยืม หรือหลักทรัพย์ที่นําไปวางเป็นหลักประกัน ให้เปิดเผย จํานวนหลักทรัพย์และมูลค่าของหลักทรัพย์ในแต่ละประเภทที่นําไปประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย 8. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักใน กรณีที่เข้าเงื่อนไขตาม ที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยในแต่ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบ 2 งวด พร้อมทั้ง อธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้

อนุพันธ์ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

  1. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและดอกเบี้ย ค้างรับเปรียบเทียบ 2 งวด อย่างน้อย ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้ำงรับ รวม ทรัพย์สินจํานองเป็น ประกัน หลักทรัพย์ เป็นประกัน อื่นๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม - สุทธิ xxx xxx xxx xxx

( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัด บัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว รายได้ ดอกเบี้ยที่ยัง ไม่ได้รับจาก สัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสําคัญของความเสี่ยง ด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้าน เครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้าน เครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือ ได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและ ดอกเบี้ยค้างรับ ลูกหนี้ให้ เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่า ทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผยรายละเอียด เกี่ยวกับวงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น สําหรับเงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน ให้เปิดเผยยอดคงค้างตามบัญชีของงวดปัจจุบัน และปีเปรียบเทียบด้วย หากบริษัทประกันชีวิตมีเงินให้ กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการตัดรายการออกจากบัญชี เช่น - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยไม่ตัดรายการออกจากบัญชีทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยตัดรา ยการออกจากบัญชีทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้องต่อเนื่อง ในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 1 1 . เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 1 2 . อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นสาระสําคัญให้กระทบยอดระหว่างมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริม ทรัพย์ เพื่อการลงทุน ณ วันต้นงวดกับวันสิ้นงวด โดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อกับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวม รายจ่ายเข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมกิจการ ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุติธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ 1 3 . สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกั นภัยรับความเสี่ยง ให้เปิดเผยรายละเอียดของสินทรัพย์ลงทุนสําหรับสัญญาประกันชีวิตที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยงใน สินทรัพย์ลงทุน เช่น สัญญายูนิตลิงค์ เปรียบเทียบ 2 งวด ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสาร ทุน ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX … รวมทั้งสิ้น XXX XXX

  2. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ ดังนี้ (หน่วย : บาท) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สินทรัพย์ เลิกใช้ งาน รวม มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ 1 ม.ค. วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน ซื้อเพิ่ม / รับโอนระหว่างงวด - ราคาทุน ตีราคาเพิ่ม (ลด) จําหน่าย / โอนออกระหว่างงวด - มูลค่าสุทธิตามบัญชี ค่าเสื่อมราคาสําหรับงวด ค่าเผื่อการด้อยค่าสําหรับงวด มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ …วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX กรณีของที่ดิน อาคารและทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่ เข้าเงื่อนไขในการจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสิน ทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละ ประเภทของสินทรัพย์ด้วย 15. สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่นๆ ตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนด 16. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงินให้เปิ ดเผยข้อมูลให้เป็นไป ตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  3. หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบของหนี้สินของสัญญาประกันภัย ดังนี้ (หน่วย : บาท) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัย ต่อ สุทธิ หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัยต่อ สุทธิ สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX สํารองค่าสินไหมทดแทน - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นที่ได้รับรายงานแล้ว - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงาน XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด* XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกันภัย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX รวม XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX *กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ต้อง แสดงรายการ 17.1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX สํารองเพิ่มขึ้นจากกรมธรรม์ประกันภัยใหม่และกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมี ผลบังคับ XXX XXX สํารองลดลงจากการจ่ายผลประโยชน์ กรมธรรม์ประกันภัยขาดอายุ การ ยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ฯลฯ (XXX) (XXX) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองประกันภัย XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากประสบการณ์จริง XXX XXX การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ XXX XXX ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX

17.2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 17.2.1 สํารองค่าสินไหมทดแทน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองค่าสินไหมทดแทน วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างงวดปัจจุบัน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงประมาณการค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นในงวดก่อน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายระหว่างงวด ( XXX ) ( XXX ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ XXX XXX ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX 17.2.2 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้รายได้ ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยรับสําหรับงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในงวดนี้ (XXX) (XXX) ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX 17.2.3 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในสํารอง ดังนี้ (กรณีที่บริษัทไม่ต้องตั้งสํารองความเสี่ยงภัยที่ ยังไม่สิ้นสุดไม่ต้องเปิดเผยหมายเหตุนี้) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) ยอดคงเหลือต้นงวด XXX XXX ตั้งเพิ่มระหว่างงวด XXX XXX หมดสิ้นไประหว่างงวด (XXX) (XXX) ยอดคงเหลือปลายงวด XXX XXX

17.3 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ให้เปิดเผยรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน (บาท) วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด (บาท) เงินค่ามรณกรรม เงินครบกําหนด เงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินปันผล อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 18. หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดหนี้สินตามสัญญาลงทุน เช่น สัญญาประเภทยูนิตลิงค์ 19. เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ( บาท ) ( บาท ) เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ XXX XXX เงินค้างจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX เจ้าหนี้ประกันภัยต่ออื่น XXX XXX รวมเจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ XXX XXX

  1. หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สินอนุพันธ์ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่น เหล่านั้นให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้า งบกําไรขาดทุน เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม

  2. เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ ในกรณีที่กิจการออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและทุน และเครื่องมือ ทางการเงิน นั้นประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการซึ่งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตราสารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) กิจการต้องเปิดเผยลักษณะของ เครื่องมือดังกล่าวตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง 22. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงิน ตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงิน ตราสาร ทุน xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้ เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25 X 0 บาท บาท เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

  3. การรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทประกันชีวิตที่ออกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์รายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงาน เป็นการประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไปและการประกันชีวิตควบการลงทุนก็ได้ 24. รายได้จากการลงทุน ( หน่วย : บาท ) รายการ วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ก่อน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล xxx xxx xxx xxx รายได้อื่นๆที่เกิดจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่นๆ โดยให้แยก ประเภทตามความเหมาะสม xxx xxx รวม xxx xxx หมายเหตุ ดอกเบี้ยรับสุทธิจากอนุพันธ์ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยให้รวมอยู่ในรายได้ ดอกเบี้ยของแต่ละรายการที่เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ( hedged items) 25. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน ( หน่วย : บาท ) รายการ วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ก่อน กําไร(ขาดทุน)จากการจําหน่ายและการตัดรายการ เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx xxx xxx xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx

  4. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ( หน่วย : บาท ) รายการ วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นงวด ระหว่างกาลปี ก่อน กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx 27. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (หน่วย : บาท) รายการ วันสิ้นงวดระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นงวดระหว่างกาล ปีก่อน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx 28. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 29. รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกิจการให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน 30. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ และทรัพย์ สินแต่ละชนิดที่ วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตามกฎหมายว่าด้วยการ ประกันชีวิต

  5. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ให้เปิดเผยทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทและมูลค่าตามบัญชี ของทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ต่อทรัพย์สินนั้น 32. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและ ข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดี ก่อ ข้อผูกมัด ในการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นหรือ ข้อผูกมัด ใดๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งความเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้งอธิบาย โดยสังเขปเกี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเงินและเปิด เผยข้อมูล ต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของกิจการเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่ายหนึ่งในเรื่อง หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่างรุนแรง กิจการไม่จําเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวแต่ต้องเปิดเผย ถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริงและเหตุผลของกำรไม่เปิดเผยข้อมูลนั้น สําหรับ ข้อผูกมัด จากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงานให้เปิดเผย จํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับระยะเวลาแต่ละ ช่วงดังต่อไปนี้ ( 1 ) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่ งปี ( 2 ) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ( 3 ) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 33. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินระหว่างกาล ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินระหว่างกาลและ ประมาณการผลกระทบทางการเงินที่อาจเกิดจากเหตุการณ์ดังกล่าวหรือข้อเท็จจริงที่ว่ากิจการไม่สามารถ ประมาณผลกระทบดังกล่าว

2 .2 แบบ งบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทิน ที่ล่วงมา

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท สินทรัพย์ 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เบี้ยประกันภัยค้างรับ รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที่ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ …25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หน่วย : บาท หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี้สินจากสัญญาประกันภัย หนี้สินจากสัญญาลงทุน เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ หนี้สินอนุพันธ์ หนี้สินทางการเงินอื่น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ่ากว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื้อคืน อื่น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) รายได้ เบี้ยประกันภัยรับ หัก เบี้ยประกันภัยจ่ายจากการเอาประกันภัยต่อ เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ หัก สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ่ม ( ลด ) จากงวดก่อน เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิจากการประกันภัยต่อ รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาวเพิ่ม ( ลด ) สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุดเพิ่ม ( ลด ) ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน หัก ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่น สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่น สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที่ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ …25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั ้นพื้นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 2. บริษัทสามารถเลือกที่จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท ตราสารหนี้ที่วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น การป้องกันความ เสี่ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี่ยงรอตัดบัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย์ ตราสารทุนที่ กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หนี้สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับ โครงการผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที่โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ่ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที่โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ่ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที่ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที่ …25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ทุนที่ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ่า กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื้อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื้อคืน องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ รวม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการอื่นของ การ เปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากเจ้าของ รวมองค์ประกอบ อื่นของส่วนของ เจ้าของ

หมวดที่ 2 หน่วย : บาท 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี้ยประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง เงินรับ ( เงินจ่าย ) เกี่ยวกับการประกันภัยต่อ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื่น รายได้อื่น เงินจ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าจ้างและค่าบําเหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ่มทุน / เงินเพิ่มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ้นปี หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที่ดอกเบี้ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั้งนี้การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที่ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ …25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมติฐาน 3. ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการก ํากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยกําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่มีรายการดังกล่าว หรือในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกันชีวิตที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูล บริษัทไม่ต้องแ สดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่านี้ในรูปแบบอื่น ให้บริษัทปฏิบัติตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีที่สําคัญอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. เกณฑ์การเสนองบการเงิน (1) การนําเสนอ เช่น มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา เป็นต้น (2) การวัดค่าในการจัดทํางบการเงิน (3) การจัดทํางบการเงินรวม (4) การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี

  1. สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ (1) การจัดประเภทสัญญาประกันภัย ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการจัดประเภทสัญญาที่บริษัทเข้าทํากับผู้เอาประกันภัยในการแบ่ง ประเภทเป็นสัญญาลงทุน สัญญาประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะสั้น สัญญาประกันภัยระยะยาว (2) การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ให้เปิดเผยเกณฑ์ การรับรู้และหยุดรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายประเภทที่สําคัญ ได้แก่ - รายได้และค่าใช้จ่ายจากการรับประกันภัย ซึ่งรวมถึงรายได้และค่าใช้จ่ายจากการ ประกันภัยต่อ - รายได้จากค่าธรรมเนียม / รายได้และค่าใช้จ่าย ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ - รายได้และค่าใช้จ่ายจากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท และการรับรู้กําไรขาดทุน จากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท - รายได้อื่นที่สําคัญ - การเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว - การเปลี่ยนแปลงในสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้และส ํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด - การเปลี่ยนแปลงของค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น - ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน - ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น - ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน - รายได้และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (3) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยนโยบายที่ใช้พิจารณาส่วนประกอบของรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (4) สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ และเกณฑ์ใน การพิจารณาค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ (5) สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง กําหนดสําหรับตราสารหนี้ที่ เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเงินลงทุนแต่ละประเภท เหตุ ผลของการจัดประเภท และวัดมูลค่าของเงินลงทุน นโยบายของบริษัทในการรับรู้หรือตัดรายการออกจากบัญชีในวันที่มีการซื้อขาย ( trade date) หรือวันที่มีการจ่ายชําระ ( settlement date) นโยบายการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงิน ลงทุน นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการคิดต้นทุนของตราสารหนี้ ตลอดจนเกณฑ์การตัดจําหน่าย และการได้รับ คืน เป็นต้น

(6) สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง กําหนดสําหรับตราสารทุน เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเงินลงทุนแต่ละประเภท เหตุผลของการจัดประเภท และวัดมูลค่าของเงินลงทุน นโยบายของบริษัทในการรับรู้หรือตัดรายการออกจากบัญชีในวันที่มีการซื้ อขาย ( trade date) หรือวันที่มีการจ่ายชําระ ( settlement date) นโยบายการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงิน ลงทุน นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการคิดต้นทุนของตราสารทุน ตลอดจนเกณฑ์การตัดจําหน่าย และการได้รับ คืน เป็นต้น (7) อนุพันธ์ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าอนุพันธ์ ตามที่มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (8) เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง กําหนดสําหรับเงินให้กู้ยืม เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่า เหตุผลของการจัดประเ ภทและวัดมูลค่า ตลอดจน เกณฑ์การตัดจําหน่าย และการได้รับคืน เป็นต้น (9) ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ให้เปิดเผยเกณฑ์การคํานวณค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตามที่ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (10) สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดตามสัญญา ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยน แปลงของกระแสเงินสดตามสัญญา เช่น เงื่อนไขต่างๆ ที่ใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ และการปฏิบัติทางการบัญชีตามที่มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (11) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าของอสังหาริมทรัพ ย์เพื่อการลงทุน (12) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ให้เปิดเผยเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตลอดจนเปิดเผยเกณฑ์การตัดหนี้สูญและ หนี้สูญได้รับคืน

(13) ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยเกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช้กําหนดราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์หรือ สังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจากการรับชําระหนี้หรือจากการบังคับจํานอง และอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่ เลิกใช้งานที่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง (14) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า เกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาทรัพย์สิน และวิธีการใน การแยกส่วนประกอบทรัพย์สินเพื่อคิดค่าเสื่อมราคา รวมถึงให้เปิดเผยถึงวิธีการบัญชี อัตราร้อยละ หรือจํานวน ปี อายุการใช้งานที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคํานวณค่า เสื่อมราคาตามประเภทของทรัพย์สิน และวิธีการบัญชีที่ใช้ใน การคํานวณค่าเสื่อมราคาจากที่ตีราคาเพิ่มนี้ไว้ด้วย (15) ค่าความนิยม ให้เปิดเผยการวัดมูลค่าเมื่อแรกเริ่มและในภายหลังของค่าความนิยมที่ได้มาจากการรวม ธุรกิจและการพิจารณาการด้อยค่าของค่าความนิยม (16) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท ดังต่อไปนี้ - วิธีการวัดมูลค่าเมื่อแรกเริ่มและในภายหลัง - วิธีการตัดจําหน่ายสําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่อายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอน รวมทั้งอายุการให้ประโยชน์ และอัตราการตัดจําหน่าย - การประเมินอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ไม่ทราบแน่นอน - เกณฑ์การรับรู้กําไรและขาดทุนจากการจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวต น (17) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และการทดสอบการด้อยค่าของสินทรัพย์นอกเหนือจากที่ได้ กล่าวไปแล้วในหัวข้ออื่น (18) สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (19) หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีสําหรับสัญญาประกันภัย เช่น หลักเกณฑ์ในการรับรู้หนี้สิน จากสัญญาประกันภัย หลักเกณฑ์และข้อสมมติฐานที่ใช้ในการคํานวณสํารองสําหรั บภาระหนี้สินจากสัญญา ประกันภัยระยะยาว เกณฑ์ที่ใช้ในการคํานวณผลตอบแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยที่ถือกรมธรรม์ประกันภัย ประเภทยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และกรมธรรม์ประกันภัยควบการลงทุนประเภทต่างๆ การคํานวณสํารองเบี้ย ประกันภัยซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์การคํานวณสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยั งไม่ ถือเป็นรายได้ของบริษัท และสํารอง

ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด และการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทนซึ่งประกอบด้วยค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงานและค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับรายงานแล้ว ในกรณีที่บริษัทมีการออกสัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลย พินิจ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า รวมถึงเกณฑ์ในการแสดงรายการของส่วนประกอบต่างๆ (ส่วน การร่วมรับผลประโยชน์ ส่วนค้ําประกันผลประโยชน์ ฯลฯ) ในงบการเงิน (20) หนี้สินจากสัญ ญาลงทุน ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีสําหรับสัญญาลงทุน เช่น หลักเกณฑ์ในการรับรู้และเลิกรับรู้ หนี้สินจากสัญญาลงทุน เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเริ่มแรกและในภายหลัง และเกณฑ์ที่ใช้ในการคํานวณ ผลตอบแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัย ในกรณีที่บริษัทมีการออกสัญญาลงทุนที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า รวมถึงเกณฑ์ในการแสดงรายการของส่วนประกอบต่างๆ (ส่วนการ ร่วมรับผลประโยชน์ ส่วนค้ําประกันผลประโยชน์ ฯลฯ) ในงบการเงิน (21) หนี้สินทางการเงินอื่น ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทางการเงิน ซึ่งไม่ รวมถึงอนุพันธ์ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด ( 2 1 . 1 ) หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) กำรจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทางการเงินเพื่อ ค้า ซึ่งไม่รวมถึงอนุพันธ์ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด ( 2 1 . 2 ) หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมู ลค่าตามที่มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด เช่น ลักษณะของหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เกณฑ์ที่ใช้ในการกําหนดหนี้สินทางการเงินดังกล่าวในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก วิธี ที่บริษัทประกันชีวิตได้ถือปฏิบั ติเป็นไปตามเงื่อนไขในการกําหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน (22) การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (เฉพาะกรณีที่เลือกใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง) ให้เปิดเผยนโยบายในการป้องกันความเสี่ยงแต่ละประเภท (การป้องกันความเสี่ยงใน มูลค่ายุติธรรม การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ) เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หลักเกณ ฑ์ในการบันทึกบัญชี หลักเกณฑ์ในการวัดมูลค่ายุติธรรม หลักเกณฑ์ในการประเมินความมีประสิทธิผล ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด

(23) การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ให้เปิดเผยเกณฑ์ที่ใช้ในการแปล งค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการ และ ณ วันที่ในงบการเงิน การรับรู้ผลกําไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าว รวมทั้ง หลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีในกรณีที่มีการทําสัญญาประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน (24) ภา ระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการผลประโยชน์พนักงานของบริษัทประกันชีวิต วิธีการ จัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพและโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เกณฑ์การจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน และเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าหนี้สินจากโครงการผลประโยชน์ พนักงานดังกล่าว ประมาณการและข้อสมมติฐาน ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสมมติฐานที่ใช้เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและแหล่งที่มา ที่สําคัญอื่นของความไม่แน่นอนในการประมาณการที่มีอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน รวมทั้งการใช้ ดุลยพินิ จของฝ่ายบริหารในการนํานโยบายการบัญชีของบริษัทประกันชีวิตไปถือปฏิบัติซึ่งมีผลกระทบอย่างมี นัยสําคัญ ต่อจํานวนเงินของรายการที่รับรู้ไว้ในงบการเงิน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง 1. การจัดป ระเภทสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ให้แสดงรายละเอียดและมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) 25 x 1 : 25 x 0 เครื่องมือ ทางการเงิน ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร หรือขาดทุน เครื่องมือ ทางการเงิน ที่กําหนดให้ วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร หรือขาดทุน เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนใน ตราสารทุน ที่กําหนดให้ วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรม ผ่านกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เครื่องมือ ทาง การเงินที่ วัดมูลค่า ด้วยราคา ทุนตัด จําหน่าย รวม สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx - - xxx - xxx

สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx - - - - xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ - xxx - - xxx xxx สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม - - - - xxx xxx หนี้สินจากสัญญาลงทุน - - - - xxx xxx หนี้สินอนุพันธ์ xxx - - - - xxx หนี้สินทางการเงินอื่น - xxx - - xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx 2. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด – สุทธิ XXX XXX

  1. เบี้ยประกันภัยค้างรับ ให้แสดงรายละเอียดของเบี้ยประกันภัยค้างรับและแยกอายุเบี้ยประกันภัยค้างรับ ดังนี้ จากการรับประกันภัยโดยตรง ( หน่วย : บาท ) รายการ 25 X 1 25 X 0 ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกิน 30 วัน ค้างรับ 30 – 60 วัน ค้างรับ 60 – 90 วัน ค้างรับเกินกว่า 90 วัน รวมเบี้ยประกันภัยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เบี้ยประกันภัยค้างรับ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX สําหรับเบี้ยประกันภัยรับที่ค้างกับตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต ให้เปิดเผยหลักเกณฑ์ การติดตามหนี้ดังกล่าว 4. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อ ( บาท ) ( บาท ) สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว สํารองค่าสินไหมทดแทน สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ( URR) * อื่นๆ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ – สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX * กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ต้องแสดงรายการ

  2. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ ให้แสดงรายละเอียดลูกหนี้ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินวางไว้จากการประกันภัยต่อ เงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ลูกหนี้ประกันภัยต่ออื่น หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ - สุทธิ XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX นอกจากนี้ให้จําแนกอายุรายการเงินค้างรับจากการประกันภัยต่อ ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) ยังไม่ถึงกําหนดรับชําระ ค้างรับไม่เกินระยะเวลา 12 เดือน ค้างรับเป็นระยะเวลา 1 - 2 ปี ค้างรับเกินกว่า 2 ปี รวมเงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 6. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) 25X1 มูลค่ายุติธรรม 25 X0 มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน xxx xxx

( หน่วย : บาท ) 25X1 มูลค่ายุติธรรม 25 X0 มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมสินทรัพย์ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนด เกินกว่า 3 เดือน xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx ( หน่วย : บาท ) 25X1 มูลค่ายุติธรรม 25 X0 มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ xxx xxx ตราสารหนี้ภาคเอกชน xxx xxx ตราสารหนี้ต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุน xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx หากบริษัทประกันชีวิตมีตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

นอกจากนี้ให้บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี เงินลงทุนที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX 7. สินทรั พย์ทางการเงินตราสารทุน ( หน่วย : บาท ) 25X1 มูลค่ายุติธรรม 25X0 มูลค่ายุติธรรม ตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน ตราสารทุนในประเทศ xxx xxx ตราสารทุนต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน xxx xxx ตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารทุนในประเทศ xxx xxx ตราสารทุนต่างประเทศ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน

นอกจากนี้ สําหรับเงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ให้เปิดเผยเหตุผลในการจัดประเภทตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเหตุผลในการถือครองตราสารทุนดังกล่าว และหากมีกา รตัดรายการเงินลงทุน ดังกล่าวออกจากบัญชี ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) 25 x 1 : 25 x 0 มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่มีการตัด รายการ เงินปันผลรับ กําไรหรือขาดทุน สะสมจาก การตัดรายการ เหตุผลในการ ตัดรายการ เงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นถูกตัด รายการออกจากบัญชี: … xxx xxx xxx … … xxx xxx xxx … … xxx xxx xxx … รวม xxx xxx xxx ในกรณีที่มีหลักทรัพย์ที่อยู่ในระหว่างการให้ยืม หรือหลักทรัพย์ที่นําไปวางเป็นหลักประกัน ให้เปิดเผย จํานวนหลักทรัพย์และมูลค่าของหลักทรัพย์ในแต่ละประเภทที่นําไปประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย มูลค่ายุติธรรม เงินปันผลรับระหว่างปี เงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น … xxx xxx … xxx xxx … xxx xxx รวม xxx xxx

  1. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักใน กรณีที่เข้าเงื่อนไขตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องโดยใน แต่ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบปี 25 X 1 และ 25 X 0 พร้อม ทั้งอธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้ อนุพันธ์ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ (หน่วย : บาท) ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

  2. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและ ดอกเบี้ยค้างรับเปรียบเทียบ 2 ปี อย่างน้อย ดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ รวม ทรัพย์สินจํานอง เป็นประกัน หลักทรัพย์เป็น ประกัน อื่นๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้าน เครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้าน เครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม xxx xxx xxx xxx การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัด บัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญา เช่า ระยะยาว รายได้ดอกเบี้ย ที่ยังไม่ได้รับ จากสัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อ เริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่า ทรัพย์สิน แบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx

สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผย รายละเอียดเกี่ยวกับวงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น สําหรับเงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน ให้เปิดเผยยอดคงค้างตามบัญชีของปีปัจจุบัน และปีเปรียบเทียบด้วย หากบริษัทประกันชีวิตมีเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 10. อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ให้เปิดเผยอนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้อธิบายโดยย่อถึงกลยุทธ์และวิธีการ บริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแต่ละประเภทสําหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูล ค่ายุติธรรม การป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ซึ่งบริษัท ประกันชีวิตถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยง รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (hedging instruments) รายการที่มีการป้องกันความเสี่ ยง (hedged Items) วิธีการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจ ระหว่างเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเพื่อประเมินความมีประสิทธิผล ของการป้องกันความเสี่ยง วิธีการกําหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง และแหล่งที่มาของความไม่มี ประสิ ทธิผลของการป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูล เชิงคุณภาพอื่น ๆ ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 11. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของ สินทรัพย์ทางการเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการตัดรายการออกจากบัญชี เช่น - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยไม่ตัดรายการออกจากบัญชีทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยตัดรา ยการออกจากบัญชีทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้อง ต่อเนื่องในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 1 2 . เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการ ร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

1 3 . อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้เปิดเผยรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเปรียบเทียบ 2 ปี 25 X 1 : 25 X 0 (หน่วย : บาท) ชื่อโครงการ / รายการ ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม รวม และเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ - จํานวนที่ได้รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนสําหรับ ( 1 ) รายได้ค่าเช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ( 2 ) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับงวด ( 3 ) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับงวด - จํานวนเงินและข้อจํากัดที่มีในการรับรู้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน หรือจํานวนเงินที่ได้รับจาก รายได้และจากการจําหน่าย - ข้อตกลงที่สําคัญในการซื้อ ก่อสร้าง หรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - การกระทบยอดระหว่างมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันต้นงวดกับวันสิ้น งวด โดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อ กับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการ รวมรายจ่ายเข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมบริษัทประกันชีวิต ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเ ป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุติธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ กรณีที่อสังหาริมทรัพย์เพื่ อการลงทุนไม่มีการประเมินโดยผู้ ประเมินอิสระซึ่ งมีคุณสมบัติของ ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพและมีประสบการณ์ในทําเลที่ตั้งและประเภทของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่มีการ ประเมินนั้น บริษัทต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงไว้ด้วย

1 4 . สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง ให้เปิดเผยรายละเอียดของสินทรัพย์ลงทุนสําหรับสัญญาประกันชีวิตที่ผู้เอาประกันภัยรับความ เสี่ยงในสินทรัพย์ลงทุน เช่น สัญญายูนิตลิงค์ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 รายการ ( บาท ) ( บาท ) เงินสด XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX หน่วยลงทุนที่จัดประเภทเป็นตราสาร ทุน ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XXX XXX … รวมทั้งสิ้น XXX XXX 1 5 . ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยรายละเอียดของทรัพย์สินรอการขาย เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 : 25 X 0 ประเภททรัพย์สินรอการขาย ยอดต้นงวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอดปลายงวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) 1. ทรัพย์สินที่ได้จากการชําระหนี้ 1.1 อสังหาริมทรัพย์ 1.2 สังหาริมทรัพย์ รวม 2. อื่นๆ * รวมทรัพย์สินรอการขาย หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมทรัพย์สินรอการขายสุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX * กรณีสินทรัพย์ที่เลิกใช้งานไม่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องแสดงรายการ 1 6 . ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้

25 X 1 : 25 X 0 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอดต้น งวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอดต้น งวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอดต้น งวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิต้นงวด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิปลายงวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ที่ดิน ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อาคาร ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อุปกรณ์ สินทรัพย์เลิกใช้งาน อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX นอกจากนี้ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้เปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้และมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงนั้นด้วย จํานวนและข้อจํากัดใน กรรมสิทธิ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน และราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมสําหรับที่ดิน อาคาร และอุ ปกรณ์ ซึ่งหักค่าเสื่อมราคาทั้ง จํานวนแต่ยังใช้งานอยู่ รวม ทั้งให้ระบุปีที่ตีราคาของสินทรัพย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาด้วย กรณีของที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่เข้าเงื่อนไขในการจัดประเภ ทเป็นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเ ลิกตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสินทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละประเภท ของสินทรัพย์ด้วย

1 7 . ค่าความนิยม ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการได้มาซึ่งค่าความนิยม และรายละเอียดอื่นๆ ตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 1 8 . สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยแสดงต้นทุน และค่าตัดจําหน่าย สะสม รวมทั้งค่าเผื่อการด้อยค่ำ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25 X 1 : 25 X 0 ราคาทุน ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอด ต้น งวด เพิ่มขึ้น ยอด ปลาย งวด ยอด ต้น งวด ค่าตัด จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอด ต้น งวด ขาดทุน จากการ ด้อยค่า ระหว่าง ปี ยอด ปลาย งวด สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สุทธิต้น งวด สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สุทธิปลาย งวด ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) เกิดจากการพัฒนาขึ้นภายในบริษัทประกันชีวิต … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการซื้อ / ได้มาในภายหลัง … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการรวม / โอนธุรกิจ มูลค่าปัจจุบันของธุรกิจที่ ยังมีผลบังคับ … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX รวมทั้งสิ้น XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX สําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือกลุ่มสัญญาประกันภัยให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการได้มา ซึ่งสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าว 1 9 . สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการ เปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่นๆ ตามที่มาตรฐานการ รายงานทางการเงินกําหนด 15

  1. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน หา กบริษัทมี การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน ให้เปิดเผยข้อมูล ให้ เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 1 . หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ให้แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบของหนี้สินของสัญญาประกันภัย ดังนี้ (หน่วย บาท) 25 X 1 25 X 0 หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วน ที่เอา ประกันภัย ต่อ สุทธิ หนี้สินตาม สัญญา ประกันภัย หนี้สินส่วนที่ เอาประกันภัย ต่อ สุทธิ สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX สํารองค่าสินไหมทดแทน - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นที่ได้รับรายงานแล้ว - ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรายงาน XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX สํารองเบี้ยประกันภัย - สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ - สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด * XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX XXX XXX ( XXX ) ( XXX ) XXX XXX ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกันภัย XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX รวม XXX ( XXX ) XXX XXX ( XXX ) XXX * กรณีที่ความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (URR) ต่ํากว่าสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (UPR) ไม่ ต้องแสดงรายการ ให้เปิดเผยวิธีการที่ใช้ในการกําหนดข้อสมมติที่ใช้ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากสัญญาประกันภัย และให้เปิดเผยจํานวนเงินตามข้อสมมติหากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติ โ ดยควรมีข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. ข้อสมมติในเรื่องอัตราการตาย อัตราการบาดเจ็บ และอัตราการอยู่รอด 2. ข้อสมมติในเรื่องประสบการณ์การเกิดค่าสินไหมทดแทน 3. ข้อสมมติในเรื่องค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 4. ข้อสมมติในเรื่องอัตราคิดลด 5. ข้อสมมติเกี่ยวกับการจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้กับผู้เอาประกันภัย สําหรับสัญญา ประกันภัยที่มีลักษณะดังกล่าว (เช่นประเภทสะสมทรัพย์ ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ เป็นต้น)

21 . 1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX สํารองเพิ่มขึ้นจากกรมธรรม์ประกันภัยใหม่และกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับ XXX XXX สํารองลดลงจากการจ่ายผลประโยชน์ กรมธรรม์ประกันภัยขาดอายุ การยกเลิกกรมธรรม์ ประกันภัย ฯลฯ (XXX) (XXX) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองประกันภัย * XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากประสบการณ์จริง XXX XXX การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ XXX XXX 31 ธันวาคม XXX XXX * หากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้บริษัทเปิดเผยผลกระทบแยกตามข้อสมมติต่าง ๆ ได้แก่ อัตราคิดลด อัตรามรณะและอัตราการเจ็บป่วย ค่าใช้จ่ายดําเนินการ และอัตราขาดอายุ 21 .2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 21 . 2 . 1 สํารองค่าสินไหมทดแทน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในสํารองค่าสินไหมทดแทน 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างปีปัจจุบัน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงประมาณการค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นในปีก่อน XXX XXX การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้อสมมติในการคํานวณสํารองค่าสินไหมทดแทน * XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายระหว่างปี ( XXX ) ( XXX ) การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ XXX XXX 31 ธันวาคม XXX XXX * หากสามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้บริษัทเปิดเผยผลกระทบแยกตามข้อสมมติต่าง ๆ เช่น อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น

21 . 2 . 2 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้รายได้ ดังนี้ 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX เบี้ยประกันภัยรับสําหรับงวด XXX XXX เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในงวดนี้ (XXX) (XXX) 31 ธันวาคม XXX XXX 21 . 2 . 3 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ให้เปิดเผยการเปลี่ยนแปลงในสํารอง ดังนี้ (กรณีที่บริษัทไม่ต้องตั้งสํารองความ เสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด ไม่ต้องเปิดเผยหมายเหตุนี้) 25 X 1 (บาท) 25 X 0 (บาท) 1 มกราคม XXX XXX ตั้งเพิ่มระหว่างปี XXX XXX หมดสิ้นไประหว่างปี (XXX) (XXX) 31 ธันวาคม XXX XXX 21.3 ตารางพัฒนาการค่าสินไหมทดแทน ให้บริษัทประกันชีวิตแสดงตารางพัฒนาการค่าสินไหมทดแทน 2 ตาราง คือ ตารางค่าสินไหม ทดแทนก่อนการประกันภัยต่อ และตารางหลังการประกันภัยต่อโดยแสดงข้อมูลย้อนหลังไปให้ไกลที่สุดเท่าที่ จะทําได้แต่ไม่จําเป็นต้องย้อนหลังเกิน 10 ปี (สําหรับการนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 มาใช้ เป็นครั้งแรกให้ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี กรณีไ ม่สามารถทําได้ในทางปฏิบัติให้เปิดเผยข้อเท็จจริงนั้นในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน) 21.3.1 ตารางค่าสินไหมทดแทนก่อนการประกันภัยต่อ (หน่วย : บาท) ปีอุบัติเหตุ / ปีที่รายงาน 25 X 0 - 4 25 X 0 - 3 25 X 0 - 2 25 X 0 - 1 25 X 0 25 X 1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทน : - ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ XXX XXX XXX XXX XXX XXX - หนึ่งปีถัดไป XXX XXX XXX XXX XXX - สองปีถัดไป XXX XXX XXX - สามปีถัดไป XXX XXX - สี่ปีถัดไป XXX ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสัมบูรณ์ XXX XXX XXX XXX XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) รวมสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX

21.3.2 ตารางค่าสินไหมทดแทนสุทธิ (หน่วย : บาท) ปีอุบัติเหตุ / ปีที่รายงาน 25 X 0 - 4 25 X 0 - 3 25 X 0 - 2 25 X 0 - 1 25 X 0 25 X 1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทน : - ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ XXX XXX XXX XXX XXX XXX - หนึ่งปีถัดไป XXX XXX XXX XXX XXX - สองปีถัดไป XXX XXX XXX - สามปีถัดไป XXX XXX - สี่ปีถัดไป XXX ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสัมบูรณ์ XXX XXX XXX XXX XXX XXX ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) (XXX) รวมสํารองค่าสินไหมทดแทน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 21. 4 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ให้เปิดเผยรายละเอียด อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินค่ามรณกรรม เงินครบกําหนด เงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินปันผล อื่นๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 22 . หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินตามสัญญาลงทุน ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม รับฝากในงวด ถอนออกในงวด ค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการ รายได้จากการลงทุน ผลกระทบจากการปรับมูลค่ายุติธรรม อื่นๆ 31 ธันวาคม XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX

2 3 . เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร XXX XXX เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม XXX XXX เงินกู้ยืมระยะยาวที่กําหนดชําระเกินหนึ่งปี 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินกู้ยืม XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ทั้งสิ้น XXX XXX นอกจากนี้ ให้เปิดเผย (1) ประเภทและราคาตามบัญชีของทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน (2) เงื่อนไขและข้อจํากัดตามที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ยืม (3) วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมทั้งสิ้น (4) อัตราดอกเบี้ยของยอดคงค้างโดยให้แสดงเป็นช่วงของอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแต่ละประเภท 2 4 . เจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ XXX XXX เงินค้างจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ XXX XXX เจ้าหนี้ประกันภัยต่ออื่น XXX XXX รวมเจ้าหนี้บริษัทประกันภัยต่อ XXX XXX

2 5 . หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สินอนุพันธ์ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่น เหล่านั้นให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม ( หน่วย : บาท ) 25 X 1 25 X 0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไร ขาดทุน เงินกู้ยืม อื่นๆ รวม

2 6 . ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ รับรองทั่วไป สําหรับภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ให้เปิดเผยจํานวนค่าใช้จ่าย และ กระทบยอดการเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ค้างจ่าย อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ค่าใช้จ่ายโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ( บาท ) ( บาท ) ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย หัก ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ รวมค่าใช้จ่าย XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX 25 X 1 25 X 0 ภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ( บาท ) ( บาท ) มูลค่าปัจจุบันสุทธิของภาระผูกพัน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่ยังไม่รับรู้ ต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ รวมภาระผู กพัน XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX 25 X 1 25 X 0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก ผลประโยชน์โครงการจ่าย กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX

25 X 1 25 X 0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ( บาท ) ( บาท ) 1 มกราคม ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ เงินสมทบโครงการจากบริษัทประกันภัย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX สมมติฐานที่สําคัญของหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเปรียบเทียบ 2 ปี และผลกระทบต่อภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ 2 7 . ประมาณการหนี้สิน ให้เปิดเผยประมาณการหนี้สินอื่นๆ นอกจากภาระหนี้สินที่มีต่อผู้เอาประกันภัยให้เป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 8 . เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ ในกรณีที่บริษัทประกันชีวิตออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและทุน และ เครื่ องมือทางการเงินนั้ นประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการซึ่ งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมี ความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตราสารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) บริษัทประกัน ชีวิตต้องเปิดเผยลักษณะของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวด้วย ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

2 9 . การหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน หากมีการหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้แสดงรายละเอียดดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) มูลค่าขั้นต้น มูลค่าที่ นํามาหัก กลบในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าสุทธิ ที่แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าที่ไม่ได้นํามาหักกลบ ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าสุทธิ มูลค่าหัก กลบตาม สัญญา ที่ไม่เข้า เงื่อนไขตาม มาตรฐาน การบัญชี มูลค่า หลักประกัน ทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง สินทรัพย์ทางการเงิน - ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดย มีสัญญาว่าจะขายคืน/ ธุรกรรมยืมหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาว่าจะซื้อคืน/ ธุรกรรมให้ยืมหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx ให้เปิดเผยคําอธิบายเกี่ยวกับสิทธิของการหักกลบที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงินที่ได้รับรู้ และอยู่ภายใต้ข้อกําหนดของสัญญาหักกลบที่มีผลบังคับใช้ และข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเปิดเผยของรายการที่ไม่ได้นํามาหักกลบในงบแสดงฐานะการเงิน

นอกจากนี้ ให้กระทบยอดมูลค่าสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินกับรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ดังนี้ 25 x 1 : 25 x 0 ( หน่วย : บาท ) ประเภทของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่าสุทธิที่ แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน รายการใน งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน มูลค่าตาม บัญชี ของ รายการใน งบแสดงฐานะ การเงิน มูลค่าตามบัญชี ของรายการใน งบแสดงฐานะ การเงินที่ไม่ได้ อยู่ในเงื่อนไข การหักกลบ สินทรัพย์ทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดย มีสัญญาว่าจะขายคืน/ ธุรกรรมยืมหลักทรัพย์ xxx เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ## xxx xxx - สินทรัพย์อนุพันธ์ x xx สินทรัพย์อนุพันธ์ # # xxx xxx - อื่นๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะซื้อคืน/ธุรกรรม ให้ยืมหลักทรัพย์ xxx เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ## xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ xxx หนี้สินอนุพันธ์ # # xxx xxx - อื่นๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx 30 . มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงิน ตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้ เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25 X 0 บาท บาท เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ในบางกรณีบริษัทประกันชีวิตไม่สามารถรับรู้ผลกําไรหรือผลขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน เนื่องจากไม่มีมูลค่ายุติธรรมทั้งจากราคาเสนอซื้อขายในตลาด ที่มีสภาพคล่องสําหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่อย่างเดียวกัน ( กล่าวคือ ข้อมูลระดับ 1 ) หรือจากเทคนิคการ ประเมินมูลค่าที่ใช้เฉพาะข้อมูลจากตลาดที่สามารถสังเกตได้ ในกรณีดังกล่าวบริษัทประกันชีวิตต้องเปิดเผย ข้อมูลตามประเภทของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ดังนี้ นโยบายการบัญชีในการรับรู้กําไรหรือขาดทุน จากผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก และ ราคาของการทํารายการเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยต่างๆ ( รวมถึงเวลา ) ที่ผู้ร่วมตลาดใช้ พิจารณาในการกําหนดราคาสินทรัพย์หรือหนี้สิน ( หน่วย : บาท ) 25X1 25X0 ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ ต้นงวด การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสัญญา การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการทยอยรับรู้ การเปลี่ยนแปลงระหว่างงวดเนื่องจากการสิ้นสุดสัญญา ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ สิ้นงวด - เหตุผลที่บริษัทประกันชีวิตสรุปว่า ราคาของการทํารายการไม่ได้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม รวมถึงรายละเอียดของหลักฐานที่สนับสนุนมูลค่ายุติธรรมนั้น

31 . การจัด ประเภท สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน เมื่อนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ในรอบระยะเวลารายงานที่บริษัทประกันชีวิตนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน การจัดประเภท เดิม การจัดประเภท ใหม่ มูลค่าตาม บัญชีเดิม มูลค่าตาม บัญชีใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ## … … xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ## - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ## - สินทรัพย์อนุพันธ์ ## … … xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ## … … xxx xxx - สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความ เสี่ยง ## … … xxx xxx - อื่นๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ## … … xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน ## … … xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ ## … … xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น ## … … xxx xxx - อื่นๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx

นอกจากนี้ ให้แสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ ( หน่วย : บาท ) มูลค่าตามบัญชี เดิม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี มูลค่าตาม บัญชีใหม่ จากการจัดประเภท รายการใหม่ จากการวัดมูลค่า รายการใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน 1 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น - สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 4 . กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงิน xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน 1 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม xxx xxx xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมหนี้สินทางการเงิน xxx xxx xxx xxx

สําหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการเมื่อนํามาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9 มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ให้เปิดเผยอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลเข้าใจเกี่ยวกับวิธีที่บริษัทประกันชี วิตได้ถือปฏิบัติตามข้อกําหนด ของการจัดประเภทและวัดมูลค่า - เหตุผลในการกําหนดหรือยุติการกําหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ณ วันที่ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการเป็นการ วัดมูล ค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย และสําหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการ จากมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนเป็นการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น อัน เป็นผลมาจากการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือ ทางการเงิน ให้เปิดเผยดังต่อไปนี้ ( หน่วย : บาท ) รายการ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินหรือหนี้สินทาง การเงิน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน ผลกําไรหรือผลขาดทุนของ มูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับรู้ใน กําไรหรือขาดทุนหรือกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในระหว่าง รอบระยะเวลารายงาน หาก สินทรัพย์ทางการเงินหรือ หนี้สินทางการเงินไม่ได้ถูก เปลี่ยนแปลงการจัดประเภท รายการ ผลกําไรหรือผลขาดทุนของ มูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับรู้ใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน ระหว่างรอบระยะเวลารายงาน หากสินทรัพย์ทางการเงินหรือ หนี้สินทางการเงินไม่ได้ถูก เปลี่ยนแปลงการจัดประเภท รายการ สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการจาก มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยดังต่อไปนี้

รายการ อัต ราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่กําหนดในวันที่ ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก รายได้ดอกเบี้ยหรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยที่ รับ ให้บริษัทเปิดเผยการกระทบยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 เรื่อง หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าตามที่กําหนดในมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 105 เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน และประมาณการหนี้สิน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 ( ปรับปรุง 2559 ) เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นกับยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวดของค่าเผื่อผลขาดทุนตามที่กําหนดในมาตร ฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน ( หน่วย : บาท ) ค่าเผื่อการด้อยค่า เพิ่มขึ้น (ลดลง) ค่าเผื่อผลขาดทุน สินทรัพย์ทางการเงิน 1 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - อื่นๆ xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงิน xxx xxx xxx ภาระผูกพันการให้สินเชื่อ xxx xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx

32 . ทุนเรือนหุ้น ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้ (1) ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้นสามัญ (2) ในกรณีที่บริษัทมีหุ้นบุริมสิทธิ ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ตามประเภทของหุ้น บุริมสิทธิ เช่น หุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปันผลหรือไม่สะสมเงินปันผล เป็นต้น (3) ในกรณีที่บริษัทมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออกและ จํานวนคงเหลือ เงื่อนไขและเงื่อนเวลาในการใช้สิทธิดังกล่าว และภาระผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สําหรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออก เงื่อนไขและ เงื่อนเวลาในการใ ช้สิทธิดังกล่าว รวมถึงจํานวน ชนิด และราคาของหุ้นที่ผู้มีสิทธิสามารถซื้อได้ จํานวนคงเหลือ และภาระผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) ในกรณีที่บริษัทมีการเพิ่มหรือลดทุน ให้เปิดเผยจํานวนทุนที่เพิ่มหรือลด ชนิดของหุ้น จํานวน หุ้น มูลค่าต่อหุ้น ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถื อหุ้น ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนหรือลดทุนจากกระทรวงพาณิชย์ เมื่อใด ในกรณีที่อยู่ระหว่างดําเนินการในเรื่องดังกล่าวให้เปิดเผยว่าได้ดําเนินการถึงขั้นตอนใด 3 3 . การรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทรายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงาน ดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงานเป็นการประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไป และ การประกันชีวิตควบการลงทุน ก็ได้ 34. รายได้จากการลงทุน ( หน่วย : บาท ) รายการ 25x1 25 x 0 ดอกเบี้ยรับ xxx xxx เงินปันผล xxx xxx รายได้อื่นๆที่เกิดจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่นๆ โดยให้แยก ประเภทตามความเหมาะสม xxx xxx รวม xxx xxx หมายเหตุ ดอกเบี้ยรับสุทธิจากอนุพันธ์ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยให้รวมอยู่ในรายได้ ดอกเบี้ย ของแต่ละรายการที่เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ( hedged items)

  1. กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน ( หน่วย : บาท ) รายการ 25x1 25 x 0 กําไร(ขาดทุน)จากการจําหน่ายและการตัดรายการ เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx xxx xxx xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx 36. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ( หน่วย : บาท ) รายการ 25x1 25 x 0 กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่นๆ xxx xxx รวม xxx xxx 3 7 . ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ให้แสดงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน อย่างน้อย ดังนี้ 25 X 1 25 X 0 ( บาท ) ( บาท ) ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื่น รวมค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX

3 8 . ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ให้เปิดเผยรายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ได้ถูกจําแนกไปตามหน้าที่และยังไม่ได้แสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินส่วนอื่น เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน เป็นต้น 39. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( หน่วย : บาท ) รายการ 25x1 25 x 0 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx 40. ผลกระทบทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้เปิดเผยภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น อย่างน้อย ดังนี้ ( หน่วย : บาท) 25 X 1 25 X 0 จํานวน ก่อนภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวน สุทธิจาก ภาษี จํานวน ก่อนภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวน สุทธิจาก ภาษี กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการ ป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการ ป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการ ดําเนินงานในต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตี ราคาสินทรัพย์ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน XX XX XX XX XX XX

  1. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 42. รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือบริษัทประกันชีวิตให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน สําหรับการเปิดเผยผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่ผู้บริหารสําคัญ ให้เปิดเผยผลตอบแทนหรือ ผลประโยชน์อื่นใด ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินที่จ่ายให้แก่ผู้บริ หารสําคัญของบริษัทประกันชีวิต ทั้งนี้ นิยามของผู้บริหารสําคัญให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 43. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ และทรัพย์สินแต่ละชนิด ที่วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตามกฎหมายว่า ด้วยการประกันชีวิต 44. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ให้เปิด เผยทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทและมูลค่าตามบัญชี ของทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและ ข้อผูกมัด ต่อทรัพย์สินนั้น 45. หลักประกันที่ได้รับ ในกรณีที่บริษัทประกันชีวิตได้รับหลักประกัน (ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ทางการเงินหรือไม่ใช่สินทรัพย์ ทางการเงิน) และมีสิทธิในการนําหลักประกันที่ได้รับไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง โดยที่ถือว่า เจ้าของหลักประกันนั้นไม่ได้ไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทประกันชีวิตต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 45 .1 มูลค่า ยุติธรรมของหลักประกันที่บริษัทประกันชีวิตได้รับ 45 . 2 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่นําไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง และไม่ ว่า บริษัทประกันชีวิตมีภาระผูกพันที่จะต้องส่งคืนหลักประกันหรือไม่ และ 45 . 3 ข้อกําหนดและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักประกั น 46. เงินสมทบกองทุน ให้เปิดเผยจํานวนเงินสมทบสะสมที่ได้จ่ายเข้ากองทุน ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการ ร่วมค้า XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการ ป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด XX XX XX XX XX XX องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX รวม XX XX XX XX XX XX

  2. สัญญาเช่าระยะยาว ให้เปิดเผยโดยสรุปเนื้อหาของสัญญา วันที่สัญญาครบกําหนด ข้อผูกพันของสัญญา และข้อห้ามต่าง ๆ ตาม สัญญาดังกล่าว และจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง 48. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ให้เปิดเผยถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปฏิบัติอยู่ไปเป็น มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ พร้อมทั้งระบุถึงเหตุผลและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้นต่อ บัญชีที่เกี่ยวข้องในงบดุลและกําไร ( ขาดทุน ) สุทธิหลังจากปรับปรุงจํานวนภาษีที่เกี่ ยวข้อง 49. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและ ข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดี ก่อ ข้อผูกมัด ในการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นหรือ ข้อผูกมัด ใด ๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อ ง พร้อมทั้งความเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้งอธิบาย โดยสังเขปเกี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเงิน และเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความ ไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของบริษัทประกันชีวิตเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่าย หนึ่งในเรื่องหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่ำงรุนแรง บริษัทประกันชีวิตไม่จําเป็นต้องเปิดเผยข้อมูล ดังกล่าว แต่ต้องเปิดเผยถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริงและเหตุผลของการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้น สําหรับ ข้อผูกมัด จากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงาน ให้เปิดเผยจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับ ระยะเวลาแต่ละช่วงดังต่อไปนี้ ( 1 ) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี ( 2 ) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ( 3 ) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 50. ความ เสี่ยง ของบริษัท ให้เปิดเผยความเสี่ยงของบริษัทให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้เปิดเผยข้อมูลซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินประเมินลั กษณะและขอบเขตของความ เสี่ยงที่เกิดจากสัญญาประกันภัย ตามย่อหน้าที่ 39 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินเรื่องสัญญา ประกันภัย และจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน

สําหรับความเสี่ยงจากเครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้สําหรับความเสี่ยงแต่ละประเภท เช่น ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านสภาพ คล่อง และ ความเสี่ยงด้านตลาด ที่เกิดจากเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ ( 1 ) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงและการเกิดขึ้นของความเสี่ ยง วัตถุประสงค์และนโยบายการบริหารความเสี่ยง และ ( 2 ) ข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน การกระจุกตัวของความเสี่ยง 51. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังรอบระยะเวลารายงาน และประมาณการ ผลกระทบทางการเงินที่อาจเกิดจากเหตุการณ์ดังกล่าวหรือข้อเท็จจริงที่ว่าบริษัทประ กันชีวิตไม่สามารถ ประมาณผลกระทบดังกล่าว

2 .3 ความหมายของรายการใน งบแสดงฐานะการเงินและ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต คําอธิบายความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จนี้เป็นเพียง แนวทางในการแสดงรายการตามแบบงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของบริษัทที่ประกอบ ธุรกิจประกันชีวิตเท่านั้น อย่างไรก็ตาม บริษัทประกันชีวิตยังคงต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดในการแส ดงรายการ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน นอกจากนี้การจัดประเภทรายการในงบการเงิน ให้พิจารณาเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจมากกว่ารูปแบบทาง กฎหมาย เช่น หุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิบริษัทประกันชีวิตที่ออกหุ้นในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินที่แน่นอน หรือที่สามารถทราบได้ ณ วันที่ กําหนดไว้หรือวันที่ทราบได้ หรือหุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการ เรียกร้องให้บริษัทประกันชีวิตไถ่ถอนหุ้นในหรือหลังวันที่ที่กําหนดไว้ด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือที่สามารถ ทราบได้ หุ้นบุริมสิทธินั้นต้องจัดประเภทเป็นหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน การแสดงราย การในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อาจแสดงเป็นหน่วยของหลักพัน หลักหมื่น หลักแสน หรือหลักล้านได้ตามความเหมาะสม และให้ระบุหน่วยของหลักที่ใช้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินนั้น ๆ ด้วย งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (cash and cash equivalent) เงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท เช่น 1.1 ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่บริษัทมีอยู่ รวมทั้งเงินสดย่อย ธนาณัติ ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ 1.2 เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย์ ใบรับฝาก และบัตรเงินฝาก ทั้งนี้ไม่รวมเงินฝาก ธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงินอื่น ที่ได้แสดงไว้ภายใต้รายการสินทรัพย์ลงทุน 1.3 เช็คที่ถึงกําหนดชําระแต่ยัง มิได้นําฝาก เช็คเดินทาง ดราฟท์ของธนาคาร รายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งพร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงิน สดในจํานวนที่ทราบได้และมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อย หรือไม่มีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ให้เป็นไป ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรำยงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น (ถ้ามี)

  1. เบี้ยประกันภัยค้างรับ (premium receivable) หมายถึง เบี้ยประกันภัยค้างรับจากการรับประกันภัยโดยตรง ซึ่งยังมิได้รับชําระจากผู้เอาประกันภัย หรือตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต 3. รายได้จากการลงทุนค้างรับ (accrued investment income) หมายถึง ดอกเบี้ยและเงินปันผลค้างรับจากสถาบันการเงิน จากเงินลงทุนในหลักทรัพย์ รวมทั้ง ดอกเบี้ ยและผลประโยชน์อื่ นใดที่ เกิดจาก การประกอบธุรกรรมลงทุนค้างรับ เช่น ค่าเช่าค้างรับจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เป็นต้น และแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ถ้ามี) โดย ไม่รวมถึงรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้กู้ยืม 4. สินทรัพย์จากการประกันภัยต่อ (reinsurance assets) หมายถึง สิทธิ ตามสัญญาสุทธิ ( net contractual rights) ของผู้เอาประกันภัยต่อภายใต้สัญญา ประกันภัยต่อ ได้แก่ สํารองประกันภัยส่วนที่เรียกคืนจากบริษัทประกันภัยต่อซึ่งได้จากการคํานวณสํารอง สําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว และสํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น 5. ลูกหนี้จากสัญญาประกันภัยต่อ (amount due from reinsurance) หมายถึง 5 . 1 เงินค้างรับจากบริษัทประกันภัยต่ออันเกิดจากการเอาประกันภัยต่อทั้ งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เบี้ยประกันภัยต่อ ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ และรายการค้างรับอื่นๆ จากบริษัท ประกันภัยต่อ 5 . 2 เงินที่บริษัทวางไว้จากการเอาประกันภัยต่อ 6 . สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ( debt instruments – financial assets) หมายถึง สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารหนี้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยไม่รวมถึงเงินให้กู้ยืม ทั้งที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัทประกัน ชีวิต หรือที่โอนกรรมสิทธิ์แล้วแต่มีสัญญาซื้อคืน รวมทั้งเงินลงทุนในลูกหนี้ที่ รับโอนมาที่เข้าข่ายเป็นการขายที่ แท้จริงตามหลักการบัญชี ( True sale) และเงินลงทุนในธุรกรรมเงินกู้ยืมที่มีอนุพันธ์แฝง โดยแสดงมูลค่าสุทธิ หลังจากบวกหรือหักค่าเผื่อการปรับมูลค่าและค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของเงินลงทุน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบั ญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยรวมถึงสินทรัพย์ ทางการเงินตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ ( debt securities) ประกอบด้วย 6.1 หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ( government and state enterprise securities)

หมายถึง ตั๋ว เงินคลัง พันธบัตร หรือตราสารอื่นที่ออกโดยรัฐบาลไทย องค์การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นและจังหวัด หุ้นกู้ พันธบัตรหรือตราสารอื่นที่องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก 6.2 ตราสารหนี้ภาคเอกชน ( private enterprises debt secu rities) หมายถึง หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยบริษัทเอกชนที่มีลักษณะเป็นการระดมทุน ตั๋วแลกเงินที่ออก โดยธุรกิจอื่นที่มีลักษณะเป็นการระดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กําหนด และตราสารแห่งหนี้อื่นใดที่มีลักษณะเป็นการระ ดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตามข้อกําหนด ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 6.3 ตราสารหนี้ต่างประเทศ ( foreign debt securities) หมายถึง ตราสารที่ออกหรือค้ําประกัน โดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การหรือหน่วยงานของ รัฐบาลต่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ นิ ติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายต่างประเทศ หรือรัฐวิสาหกิจตาม กฎหมายต่างประเทศ และให้หมายรวมถึงตราสารหนี้ต่างประเทศ แต่ออกจําหน่ายในประเทศไทยด้วย 6.4 เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิน ( deposit at banks or financial institutions) หมายถึง เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิ น รวมทั้งใบรับฝากเงินและบัตรเงินฝากที่ออกโดย ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ที่มีระยะเวลาครบกําหนดเกินสามเดือนนับแต่วันที่ได้มา 6.5 เงินลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง ( investments in structured note) หมายถึง การลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่ป ระกอบไปด้วย 1) สัญญาหลักซึ่งไม่จัดเป็นอนุพันธ์ ( non - derivative host contract) และ 2) อนุ พันธ์ แฝง ( embedded derivatives) ซึ ่ งทําให้ ผลตอบแทนของตราสารดั งกล่ำว เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาของกลุ่มหุ้น ราคาของสินค้าโภค ภัณฑ์ ดั ชนีของราคาหรืออัตราใดๆ ความเสี่ยงทางด้านเครดิต และดัชนีทางด้านเครดิต ฯลฯ ตัวอย่างของเครื่ องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง เช่น ธุรกรรม equity linked note ธุรกรรม credit linked note หรือ credit linked deposit ธุรกรรม inverse floater notes ธุรกรรม range accrual notes ธุรกรรม puttable bond และ convertible bond 6.6 ตราสารหนี้อื่น ( other debt securities) หมายถึง ตราสารหนี้และเงินลงทุนในกองทุนที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารหนี้ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางกา รเงินที่เกี่ยวข้อง ที่มิอาจแสดงไว้ในรายการที่กล่าวข้างต้น

  1. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ( equity instruments – financial assets) หมายถึง สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารทุน ยกเว้นเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง (เช่น หุ้นทุน) ตราสารทุน ( equity securities) ประกอบด้วย 7.1 ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ( marketable equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่มีกำรซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7.2 ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ( non - marketable equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7.3 หลักทรัพย์อื่น ( other equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่มิอาจแสดงไว้ในรายการที่กล่าวข้างต้น 8. สินทรัพย์อนุพันธ์ (derivative assets) หมายถึง มูลค่ายุติธรรม หรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นกําไรของอนุพันธ์ รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่แยก ออกมาจากสัญญาหลัก อนุพันธ์ (derivative financial instruments) หมายถึง เครื่องมือทางการเงิน หรือสัญญาอื่น ที่มีลักษณะทุกข้อดังต่อไปนี้ 1. มูลค่าของตราสารดังกล่าวจะผันแปรไปตามอัตราดอกเบี้ย ราคาของเครื่องมือทางการเงิน ราคา สินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี ราคาหรือดัชนีอัตรา อันดับความน่าเชื่อถือหรื อดัชนีความ น่าเชื่อถือ หรือตัวแปรอื่นใด 2. ไม่มีการจ่ายเงินลงทุนสุทธิเมื่อเริ่มแรก หรือจ่ายด้วยจํานวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัญญา ประเภทอื่น ซึ่งมีการตอบสนองในลักษณะเดียวกันของปัจจัยตลาด และ 3. การรับหรือจ่ายชําระจะกระทําในอนาคต ตัวอย่างของอนุพันธ์ เช่น สัญญา forward future swap option และ hybrid derivatives อื่นๆ 9. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ (loan and accrued interest receivable) หมายถึง เงินให้กู้ยืมทุกประเภทแก่ลูกหนี้ เงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน รวมทั้ง ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวมถึงดอกเบี้ยค้างรับและรายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถึง กําหนดชําระตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืมดังกล่าว หักรายได้รอตัดบัญชี และค่าเผื่อ ผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยรวมถึงเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม

  2. ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( allowance for expected credit loss) หมายถึง จํานวนเงินที่กันไว้สําหรับส่วนที่คาดว่าจะไม่ได้รับจากเครื่องมือทำงการเงินที่วัดมูลค่าด้วย ราคาทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่คาดว่าจะไม่ไ ด้รับใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และส่วน ที่คาดว่าจะไม่ได้รับตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า (investment in subsidiaries, associate and joint ventures ) หมายถึง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้บริษัทแสดงรายการเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่ว มค้าเป็นมูลค่า สุทธิหลังจากหักด้วยบัญชีค่าเผื่อการด้อยค่าแล้ว 12. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (investment property) หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ (ที่ดิน หรืออาคาร หรือส่วนควบอาคาร หรือทั้งที่ดินและอาคาร) ที่ถือครอง โดยเจ้าของหรือโดยผู้เช่าภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า หรือจากการเพิ่มขึ้น ของมูลค่าสินทรัพย์ หรือทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ไม่ได้มีไว้เพื่อ 12.1 ใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงานของกิจการ 12.2 ขายตำมปกติธุรกิจ 13. สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความเสี่ยง (assets held to cover linked liabilities) หมายถึง สินทรัพย์ลงทุนสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ ผู้ เอาประกันภัยรับความเสี่ ยงในการ เปลี่ยนแปลงมูลค่าของสินทรัพย์ลงทุนดังกล่าว เช่น กรมธรรม์ประเภทยูนิตลิงค์ เป็นต้น 14. ทรัพย์สินรอการขาย (properties foreclosed) หมายถึง 14.1 ทรัพย์สินที่ตกเป็นของบริษัทประกันชีวิตเนื่ องจากการชําระหนี้ หรือเนื่องจากการที่บริษัท ประกันชีวิตได้ซื้อทรัพย์สินที่จํานองไว้กับบริษัทประกันชีวิตนั้นจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่งศาลหรือ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งการเข้าครอบครองทรัพย์สินจากการให้เช่าการเงินหรือการให้เช่าซื้อ 14.2 ที่ดิน อาคารและทรั พย์สินอื่น เพื่อใช้ดําเนินธุรกิจหรือ สําหรับพนักงานซึ่งมิได้ใช้เพื่อการดังกล่าว แล้ว ที่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  3. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ (property plant and equipment , net) หมายถึง 15.1 ที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง อสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัท หรือเพื่อสวัสดิการของพนักงานและลูกจ้างของบริษัท 15.2 อุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องตกแต่งติดตั้งและยานพาหนะต่างๆ 15.3 ที่ดิน อาคาร และทรั พย์สินอื่น ที่เลิกใช้เพื่อการดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงาน โดยสินทรัพย์ ดังกล่าวที่ไม่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 16 . ค่าความนิยม (goodwill) หมายถึง ค่าความนิยมตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 17. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น (other intangible assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินที่สามารถระบุได้ และไม่มีกายภาพตามที่กําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน นอกจากค่าความนิยมตามรายการที่ 15 เช่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือ กลุ่มสัญญาประกันภัย ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สัมปทาน เป็นต้น 18. สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (deferred tax asset) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตคาดว่าจะได้รับคืนในอนาคตซึ่งเกิดจาก 18.1 ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี 18.2 ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป 18.3 เครดิตภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 19. สินทรัพย์อื่น (other assets) หมายถึง สินทรัพย์นอกจากที่ กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 ถึง 17 ทั้งนี้ หากรายการใดมี สาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 20 . เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม (bank overdrafts and borrowings) หมายถึง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หนี้สินที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมจากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น รวมทั้งการขาย หรือขายช่วงลดตั๋วเงินกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน รวมถึงหนี้สินตามธุรกรรมซื้อหรือขาย หลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน (repo)

21 . หนี้สินจากสัญญาประกันภัย (insurance liabilities) หมายถึง หนี้ สินและภาระผูกพันที่ บริษัทมีต่อผู้ เอาประกันภัยอันเกิดจากสัญญาประกันภัย (insurance contract) ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 21.1 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว (long - term technical reserves) หมายถึง สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว อันเป็นภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมี ต่อผู้เอาประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะยาว หมายความว่า สัญญาประกันภัยที่มีระยะเวลาของสัญญาเกินกว่า 1 ปี หรือมีการรับรองการต่ออายุอัตโนมัติ ซึ่งบริษัทไม่สามารถบอ กเลิกสัญญาและไม่สามารถปรับเพิ่มหรือ ลดเบี้ยประกันภัย รวมถึงเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ใดๆ ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ คํานิยามให้เป็นไปตาม ประกาศว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต 21.2 สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น (short - term techn ical reserves) หมายถึง สํารองสําหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้น อันเป็นภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมีต่อ ผู้เอาประกันภัย สัญญาประกันภัยระยะสั้น หมายความว่า สัญญาประกันภัยที่ ไม่มีลักษณะหรือเงื่ อนไข เช่นเดียวกับสําหรับสัญญาประกันภัยระยะยาว ทั้งนี้ คํานิยามให้เป็ นไปตามประกาศว่าด้วยการประเมิน ราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต 2 1 . 2 . 1 สํารองค่าสินไหมทดแทน (claim liability) หมายถึง ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยัง ไม่ได้ตกลงหรือยังไม่ได้รับรายงานและค่าสินไหมทดแทนที่ตกลงแล้วแต่ผู้ เอาประกันภัยยังไม่ได้รับไป ทั้งนี้ ในการประมาณการค่าสินไหมทดแทนดังกล่าว ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การคํานวณเงินสํารองประกันภัยซึ่งได้มีการรวมค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนในการประมาณ การเงินสํารองดังกล่าวแล้ว 2 1 . 2 . 2 สํารองเบี้ยประกันภัย ( premium liability) หมายถึง ภาระผูกพันตามสัญญาประกันภัย ซึ่งเป็นจํานวนที่สูงกว่าระหว่างสํารอง เบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ และสํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด 2 1 . 2 . 2 . 1 สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (unearned premium reserve) หมายถึง เบี้ยประกันภัยส่วนที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ของบริษัทสําหรับ กรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับอยู่ 2 1 . 2 . 2 . 2 สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุด (unexpired risk reserve) หมายถึง จํานวนเงินที่ผู้รับประกันภัยจัดสํารองไว้เพื่อชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนที่อาจเกิด ขึ้นในอนาคต สําหรับการประกันภัยที่ยังมีผลอยู่ 2 1 . 3 ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยค้างจ่าย ( unpaid policy benefits) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมิได้ชําระให้แก่ผู้เอาประกันภัย หรือ

ผู้รับประโยชน์ 2 1 . 4 หนี้สินอื่นตามกรมธรรม์ประกั นภัย (due to insured) หมายถึง เงินค่าเบี้ยประกันภัยที่รับล่วงหน้าจากผู้เอาประกันภัย และเงินที่บริษัทต้องจ่ายให้แก่ ผู้เอาประกันภัยตามสัญญานอกเหนือจากเงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย 22. หนี้สินจากสัญญาลงทุน (investment liabilities) หมายถึง หนี้สินและภาระผูกพันที่บริษัทประกันชีวิตมีต่อผู้เอาประกันภัยตามสัญญาที่ไม่เข้าเงื่อนไข เป็นสัญญาประกันภัยตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดภาระ หนี้สินทางการเงิน 23. เจ้าหนี้ บริษัทประกันภัยต่อ (amount due from reinsuranc e) หมายถึง 2 3 . 1 เงินค้างจ่ายให้กับบริษัทประกันภัยต่ออันเกิดจากการเอาประกันภัยต่อทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เบี้ยประกันภัยต่อ ผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัย ค่าสินไหมทดแทน และ รายการค้างจ่ายอื่นๆ ให้กับบริษัทประกันภัยต่อ 2 3 . 2 เงินที่บริษัทถือไว้จากการเอาประ กันภัยต่อ 24. หนี้สินอนุพันธ์ (derivative liabilities) หมายถึง มูลค่ายุติธรรมหรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นขาดทุนของอนุพันธ์ รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่แยก ออกจากสัญญาหลักที่เกิดจากการวัดมูลค่ายุติธรรม 25. หนี้สินทางการเงินอื่น หนี้สินทางการเงินอื่น หมายถึง หนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้แสดงเป็นเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี้สินจากสัญญาลงทุน และหนี้สินอนุพันธ์ เช่น หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ( trading liabilities) หรือ หนี้สิน ทางการเงินที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ( financ ial liabilities designated at fair value through profit or loss) 26. ภาษีเงินได้ค้างจ่าย (income tax payable) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 27. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (employee benefit obligation) หมายถึง หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง 28. หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (deferred tax liability) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตต้องจ่ายในอนาคตซึ่งเกิดจากผลต่างชั่วคราวที่ต้องเสีย ภาษี ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. หนี้สินอื่น (other liabilities) หมายถึง หนี้สินนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 19 ถึง 27 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญ ให้แยกแสดงออกมาต่างหาก 30. ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ (equity / head office equity) 30.1 ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ (share capital / fund from head office) 30 . 1 . 1 ทุนจดทะเบียน (authorized share capital) หมายถึง ทุนของบริษัทที่จดทะเบียนตามกฎหมาย ให้แสดงชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนแต่ละชนิด ดังนี้ 30 . 1 . 1 . 1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 30 . 1 . 1 . 2 หุ้ นสามัญ ( ordinary shares) 30 . 1 . 2 ทุนที่ออกและชําระแล้ว (issued and paid – up share capital) หมายถึง จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่นําออกจําหน่ายและเรียกให้ชําระมูลค่าหุ้นแล้ว ให้แสดงเป็นหุ้นแต่ละชนิด ดังนี้ 30.1.2.1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 30.1.2.2 หุ้นสามัญ ( ordinary shares) 30.2 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (stock rights, warrants and options) หมายถึง มูลค่าของสิทธิที่บริษัทประกันชีวิตออกให้แก่ผู้ถือในการซื้อหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ 30.3 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้น (premium (discount) on share capital) 30 . 3 . 1 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (premium or discount on preference shares) หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นบุริมสิทธิส่วนที่สูงกว่า หรือต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นบุริมสิทธิ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ําก ว่ามูลค่าหุ้น บุริมสิทธิสามารถนํารายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้ 30 . 3 . 2 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นสามัญ (premium or discount on ordinary shares) หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นสามัญส่วนที่สูงกว่า หรือต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นสามัญ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นสามัญ สามารถนํารายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้ 30.4 ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน ( premium on treasury shares) หมายถึง เงิน มูลค่าสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นทุนซื้อคืน – หุ้นบุริมสิทธิ หรือหุ้นสามัญ ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืน ทั้งนี้ สําหรับกรณีของการตัดหรือยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืนเพื่อลด ทุน จะหมายถึง ราคาตามมูลค่า (par value) ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืนที่ตัดออก ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับ หุ้นทุนซื้อคืนของกิจการที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนด

30.5 กํา ไร (ขาดทุน) สะสม (retained earnings) 30 . 5 . 1 จัดสรรแล้ว (appropriated) 30 . 5 . 1 . 1 ทุนสํารองตามกฎหมาย (legal reserve) หมายถึง สํารองที่ กันไว้จากกําไรสุทธิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์หรือตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด 30 . 5 . 1 . 2 จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares reserve) หมายถึง สํารองที่กันไว้จากกําไรสุทธิตามข้อกําหนดในการซื้อหุ้นทุนของ บริษัทประกันชีวิต กลับมาในภายหลัง 30 . 5 . 2 อื่น ๆ (others) หมายถึง จํานวนที่จัดสรรจากกําไรสุทธิหรือกําไรสะสมเพื่อการใดๆ ตามมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ให้แสดงเป็นแต่ละประเภท เช่น เพื่อรักษาระดับเงินปันผล เพื่อขยายกิจการ หรือตามเงื่อนไข ของภาระผูกพัน เป็นต้น 30 . 5 . 3 ยังไม่ได้จัดสรร (unappropriated) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) สะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ที่คงเหลือจากการ จัดสรรแล้วตามรายการที่ 29 . 5 . 1 ในกรณีที่มียอดดุลสุทธิเป็นผลขาดทุนสะสม ให้แสดงจํานวนเงินไว้ใน เครื่องหมายวงเล็ บ และเรียกเป็น “ ขาดทุนสะสม ” 30 . 6 หุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares) หมายถึง หุ้นทุนของบริษัทประกันชีวิตที่ออกจําหน่ายแล้ว และบริษัทประกันชีวิตได้ซื้อหุ้น ทุนของบริษัทประกันชีวิตนั้นกลับมาในภายหลัง ด้วยราคาทุนที่บริษัทประกันชีวิตจ่ายเพื่อซื้อหุ้น ทุนกลับคืน 30 . 7 องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ (other components of equity) หมายถึง ผลสะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงานของ 30 . 7 . 1 กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และ 30 . 7 . 2 รายการอื่นของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเจ้าของ (owner changes) ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง นอกจากที่กําหนดให้ แสดงในรายการที่ 30 . 1 – 30 . 6

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ (revenues) 1. เบี้ยประกันภัยรับ (gross written premiums) หมายถึง รายได้เนื่องจากการรับประกันภัยโดยตรง และการรับประกันภัยต่อ หักเบี้ยประกันภัย ยกเลิกและส่งคืนที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เอาประกันภัย 2. เบี้ยประกันภัยเอาต่อ (premiums ceded to reinsurers) หมายถึง เบี้ยประกันภัยจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจากการเอาประกันภัย ต่อและการเอาประกันภัย ต่อช่วงทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3. สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้เพิ่ม (ลด) จากปีก่อน ( net change in unearned premium reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ของบริษัทสําหรับกรมธรรม์ ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 4. เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิจากการเอาประกันภัยต่อ (net earned premiums) หมำยถึง รายได้เนื่องจากการรับประกันภัยโดยตรงและรายได้จากการรับประกันภัยต่อ หักเบี้ย ประกันภัยยกเลิกและส่งคืนผู้เอาประกันภัย หักด้วยเบี้ยประกันภัยจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจากการเอา ประกันภัยต่อและการเอาประกันภัยต่อช่วงทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปรับปรุงด้วยกา รเปลี่ยนแปลงใน สํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ 5. รายได้ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ (fee and commission income) หมายถึง รายได้ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัยประเภทการลงทุน ( Investment contracts) และค่าบําเหน็จที่บริษัทได้รับเนื่องในการประกันภัยต่อ และค่าธรรมเนียมอื่นใดที่บริษัทได้รับใน การเข้าทําสัญญาประกันภัย 6. รายได้จากการลงทุน (investment income) หมายถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล ส่วนลด ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน ดอกเบี้ยจากเงินฝากธนาคารและ สถาบันกำรเงินอื่น รวมทั้งดอกเบี้ย ค่าเช่า เงินปันผล และผลประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการประกอบธุรกรรม ลงทุนไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่นๆ ของประเภทดังต่อไปนี้ 6.1 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย 6.2 ตราสารหนี้ที่วั ดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 6.3 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 6.4 ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 6.5 ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

6.6 สินทรัพย์ทำงการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม 6.7 เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง และ ให้สุทธิ จากค่าใช้จ่ายต่างๆ อันเกิดขึ้นเนื่องจากการลงทุนแสวงหาผลประโยชน์ 7. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจาก เครื่องมือทางการเงิน ( gains (losses) on financial instruments) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่ายหรือตัดรายการออกจากบัญชีของ 7.1 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย 7.2 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 7.3 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 7.4 ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 7.5 อนุพันธ์ 7.6 เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 8. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม ของเครื่องมือทางการเงิน (fair value gains and losses) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุนของ 8.1 ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 8.2 ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน 8.3 อนุพันธ์ 8.4 เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม อีกทั้งการปรับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และกําไร ( ขาดทุน ) จากอัตรา แลกเปลี่ยน ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 9. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ( gains (losses) on hedge accounting) หมายถึง รายการดังต่อไปนี้ 9.1 การป้องกันความเสี่ยงในมูล ค่ายุติธรรม - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง และรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง 9.2 การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดและการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ

  • กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง เฉพาะส่วนที่ไม่มี ประสิทธิผล - กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เมื่อการป้องกันความเสี่ยงสิ้นสุด ทั้งนี้ รายการดังกล่าวให้แสดงยอดสุทธิของผลกําไรที่หักผลขาดทุนแล้ว ในกรณีที่ยอดสุทธิเป็นผล ขาดทุน ให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ 10. ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) ( share of profit (loss) from investments in associates and joint ventures) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในกิจการที่บริษัทถือไว้ กรณีบันทึกเงินลงทุนดังกล่าว ตามวิธีส่วนได้เสีย ตามที่กําหนด ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 11. รายได้อื่น (other income) หมายถึง รายได้จากการดําเนินงานนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 - 10 โดยให้รวมถึง รายได้จากการให้บริการด้านอื่นนอกเหนือจากด้านการประกันภัย และกําไรอื่น เช่น กําไรจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และทรัพย์สินอื่นที่มิได้ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน และในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการขายทรัพย์สิน ดังกล่าว ให้นํามาหักจากรายการนี้เพื่อแสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลขาดทุนให้ นําไปแสดงไว้เป็นค่าใช้จ่ายอื่นในรายการที่ 21 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก ค่าใช้จ่าย (expenses) 12. สํารองประกันภัยสําหรับสัญญาประกันภั ยระยะยาวเพิ่ ม (ลด) (change in long - term technical reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองสําหรับภาระผูกพันที่มีต่อผู้เอาประกันภัยจากการประกันภัย ระยะยาว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 13 . สํารองความเสี่ยงภัยที่ยังไม่สิ้นสุดเพิ่ม (ลด) (change in unexpired risk reserve) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสํารองความเสี่ยงภัยที่เป็นส่วนเพิ่มจากสํารองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือ เป็นรายได้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันกับวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีก่อน 14 . ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทน ( gross benefits and claim paid) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย ได้แก่ เงินครบกําหนด เงินค่ามรณกรรม เงิน ค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย เงินได้ประจํา เงินปันผล โดยเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี ปัจจุบัน ซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่าจะต้อง ชําระ และจํานวนเงินค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่า จะต้องชําระ และจํานวนเงินที่จ่ายสําหรับการประเมินและจัดการค่าสินไหมทดแทน เช่น ค่าใช้จ่ายในการ

ดําเนินคดีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินไหมทดแท น รวมถึงค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อมอื่นๆ เกี่ยวกับการ จัดการค่าสินไหมทดแทน 15 . ผลประโยชน์จ่ายตามกรมธรรม์ประกันภัยและค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัย ต่อ ( benefits and claim paid recovered from reinsurers) หมายถึง เงินที่ต้องจ่ายตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย และจํานวนเงินค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นใน รอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันซึ่งได้ชําระไปแล้วและยังมิได้ชําระ รวมทั้งจํานวนที่คาดว่าจะต้องจ่ายและจํานวน เงินที่จ่ายสําหรับการประเมินและจัดการค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับคืนจากการประกันภัย ต่อ 16 . ค่าจ้างและค่าบําเหน็จ (commissions and brokerages) หมายถึง ค่านายหน้า ค่าจ้าง และค่าบําเหน็จ ที่จ่ายให้ตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิต รวมทั้งผู้บริหารตัวแทนประกันชีวิต เนื่องในการชักชวนหรือชี้ช่อง หรือจัดการให้บุคคลได้ทําสัญญาประกันภัย กับบริษัท และค่าบําเหน็จที่บริษัทจ่ายไปเนื่องในการรับประกันภัยต่อ 17 . ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น (other underwriting expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นจากการรับประกันภัย ทั้งนี้ ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับศูนย์ โทรศัพท์กรณี การขายผ่านทางโทรศัพท์ และค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อมอื่นๆ เกี่ยวกับการรับประกันภัย และให้รวมถึง เงินสมทบต่างๆ ที่บริษัทประกันชีวิตได้จ่ายให้แก่สํานักงาน คปภ. กองทุนประกันชีวิต ตามข้อกําหนดของ พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 18 . ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน (operating expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานที่ไม่เกี่ยวกับการรับประกันภัยและการจัดการค่าสินไหมทดแทน 19 . ต้นทุนทางการเงิน (finance costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการก่อหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต เช่น ดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าธรรมเนียมธนาคาร ดอกเบี้ยที่เกิดจากสัญญาเช่าการเงิน ทั้งนี้ให้ต้นทุนทางการเงินรับรู้ตามวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง เป็นต้น 20. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจ ะเกิดขึ้น ( expected credit loss) หมายถึง ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ของเครื่องมือทางการเงิ นที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสาร หนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. ค่าใช้จ่ายอื่น (other expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการรับประกันภัยและ การลงทุน โดยให้รวมถึงขาดทุน อื่น เช่น ผลเสียหายจากการทุจริตของพนักงาน และผลขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และทรัพย์สินอื่น ที่มิได้ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน ในกรณีที่มีกําไรจากการขายทรัพย์สินดังกล่าว ให้นํามาหักล้างจากรายการนี้เพื่อ แสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลกําไร ให้นําไปแสดงเป็นรายได้อื่นไว้ในรายการที่ 11 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก 22. ค่าใช้จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ (tax expense (tax income)) หมายถึง ผลรวมของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ใช้ในการคํานวณกําไร หรือขาดทุนสําหรับงวด ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 23. กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (net profit (loss)) หมายถึง ยอดรวมรายได้หักด้วยยอดรวมค่าใช้จ่าย หากมี ผลขาดทุนสุทธิ ให้แสดงจํานวนเงินไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บ 24. กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (other comprehensive income) หมายถึง รายการรายได้และค่าใช้จ่าย (รวมถึงการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่) ซึ่งมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 24.1 รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 24 . 1 . 1 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ( gains (losses) on remeasuring investments at fair value through other comprehensive income) หมายถึง ผลกําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนที่วัดมูลค่าผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.2 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสด ( gains (losses) on cash flow hedges) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงใน กระแสเงินสด เฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีแ ละมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.3 กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี (gains (losses) from deferred cost of hedging) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในส่วนที่เป็นมูลค่าตามเวลา ของสัญญาสิทธิที่จะซื้อหรื อจะขายหรือส่วนของอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือส่วน ต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน และกําไรและขาดทุนจากการตัดจําหน่าย

รายการข้างต้น ณ วันที่กําหนดให้เครื่องมือทางการเงินเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ตามที่กําหน ดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.4 กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ( gains (losses) arising from translating the financial statements of a foreign operation) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการแปลงค่ำงบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ตามที่ กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง และกําไรและขาดทุนจากการ วัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ เฉพาะส่วนที่ มีประสิทธิผล ตามที่กําหน ดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.5 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joi nt venture will be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริษัทร่วมและการ ร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือ ขาดทุนในภา ยหลัง ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.1.6 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to components of other comprehensive income will be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.2 รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 24 . 2 . 1 กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ( gains (losses) on changes in revaluation surplus) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ตามที่กําหนดในมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.2.2 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ( gains (losses) on investment in e quity instruments designated at fair value through other comprehensive income) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุนที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 24 . 2 . 3 กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทำงการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน ( gains (losses) on financial liability designated at fair value through profit or loss)

หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมู ลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เฉพาะส่วนที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงความ เสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินทางการเงินนั้น 24 . 2 . 4 กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ( actuarial gains (losses) on defined employee benefit plans) หมายถึง ผลกําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยตามโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.2. 5 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่ไม่ จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joint venture will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริ ษัทร่วมและการ ร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง ตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 24.2. 6 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ด เสร็จอื่นสําหรับรายการที่ไม่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to components of other comprehensive income will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่ไม่ จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดในมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ถ้ามีรายการนอกเหนือจากข้างต้น ให้นําเ สนอและจัดประเภทตามมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (earnings per share) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) ที่คํานวณตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินว่าด้วยเรื่องกําไรต่อหุ้น หากมีผลขาดทุนให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ โดยแยกแสดงเป็น 1) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (basic earnings per share) 2) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด (diluted earni ngs per share) หมายเหตุ : คําแปลภาษาอังกฤษที่กําหนดในที่นี้ใช้เป็นแนวทางเท่านั้น บริษัทสามารถใช้คําแปลอื่นที่เหมาะสม หรือใกล้เคียงได้

หมวดที่ 3 แบบงบการเงิน กรณีที่บริษัท เลือก ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน แ ละ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย

3 .1 แบบงบการเงิน รายไตรมาส

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท สินทรัพย์ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี Ê สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี Ê ยค้างรับ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า อสังหาริมทรัพย์เพื É อการลงทุน ทรัพย์สินรอการขาย ที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื É น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื É น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที É … . … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด

หน่วย : บาท หนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัย หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี Ê สินสัญญาลงทุน หนี Ê สินอนุพันธ์ หนี Ê สินทางการเงินอื É น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Ê สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี Ê สินอื É น รวมหนี Ê สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที É ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื Ê อคืน อื É น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ * ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากเครื É องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื É องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี É ยง ผลขาดทุนด้านเครดิตที É คาดว่าจะเกิดขึ Ê น รายได้จากการลงทุนสุทธิ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที É ออก รายได้ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ ต้นทุนทางการเงินอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื É น ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื É น กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี Ê ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที É ออก รายได้ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี É ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี É ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี Ê สินทางการเงินที É กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É นสําหรับรอบระยะเวลา - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั Ê นพื Ê นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : * บริษัทอาจแสดงรายได้หรือค่าใช้จ่ายจากกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ ( นอกเหนือจาก รายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ) โดยแสดงรวมเป็นจํานวนเดียวกัน หรือกิจการอาจแสดงแยกต่างหากสําหรับจํานวนที É ได้รับคืนมาจากผู้รับประกันภัยต่อ และ จํานวนการปันส่วนเบี Ê ยประกันภัยที É จ่ายซึ É งรวมกันแล้วได้จํานวนเท่ากับจํานวนรวมข้างต้น 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที É 1 2. บริษัทสามารถเลือกที É จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับ … สิ Ê นสุดวันที É … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท ตราสารหนี Ê ที É วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื É น การป้องกันความ เสี É ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี É ยงรอตัด บัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ ตราสารทุนที É กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น หนี Ê สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน สํารองทางการเงิน จากสัญญา ประกันภัย / สัญญา ประกันภัยต่อ การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย สําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี É ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที É ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับรอบระยะเวลา ยอดคงเหลือ … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ รวม แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี É ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที É … . … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นปีบัญชีล่าสุด กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการอื É นของ การ เปลี É ยนแปลงที É เกิดจากเจ้าของ รวม องค์ประกอบอื É น ของส่วนของ เจ้าของ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ ทุนที É ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ É ำ กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื Ê อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื Ê อคืน

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี Ê ยประกันภัยรับ เบี Ê ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที É เกี É ยวข้องโดยตรงอื É น ๆ เกี É ยวกับการประกันภัยต่อ รับคืนจากการประกันภัยต่อ ดอกเบี Ê ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื É น รายได้อื É น ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที É เกี É ยวข้องโดยตรงอื É น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที É ทําให้ได้มาซึ É งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื É น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื Ê อที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ É มทุน / เงินเพิ É มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ É มขึ Ê น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นรอบระยะเวลา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ Ê นรอบระยะเวลา หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที É ดอกเบี Ê ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั Ê งนี Ê การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินรายไตรมาส บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับ … สิ Ê นสุดวันที É … . … วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน และ วันสิ Ê นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีก่อน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมติฐานที่สําคัญ 3. ข้อมูลเพิ่มเติม ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ให้เป็นไปตามที่กําหนด ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันชีวิต กําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่ มีรายการดังกล่าวหรือในกรณีที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกันภัยที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต้องเปิดเผย ข้อมูล บริษัทไม่ต้องแสดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่ำนี้ในรูปแบบอื่น ให้บริษัทปฏิบัติตามข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา นโยบายการบัญชี และข้อเท็จจริงที่ว่าบริษัท ประกันชีวิตได้เปลี่ย นแปลงนโยบายการบัญชีหรือวิธีคํานวณ โดยเปิดเผยถึงลักษณะและผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงนั้น ประมาณการและข้อสมมติฐานที่สําคัญ ให้บริษัทประกันชีวิตเปิดเผยลักษณะและจํานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงประมาณการของจํานวนเงินที่เคย รายงานไว้ (ถ้ามี)

ข้อมูลเพิ่มเติม 1 . องค์ประกอบของงบแสดงฐานะการเงิน การวิเคราะห์จํานวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินสําหรับสัญญาประกัน ภัย สัญญาลงทุนที่ มี ลักษณะร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลพินิจ และสัญญาลงทุนที่ไม่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ แสดงอยู่ในตารางด้านล่างดังต่อไปนี้ มีส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย - สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หนี้สินจากสัญญาประกันภัย - หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินสัญญาลงทุน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย - สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หนี้สินจากสัญญาประกันภัย - หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินสัญญาลงทุน วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลภาพรวมในระดับบริษัท

หมายเหตุ : [1] IFRS 17 ( 94 - 96 ) กิจการสามารถรวมหรือแยกข้อมูลตามประเภทของสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงานที่รายงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการ รายงานทาง การเงิน ( ย่อหน้าที่ 29 – 31 IAS 1 ที่กําหนดข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับความมีสาระสําคัญและการรวบข้อมูล ) ตัวอย่างของเกณฑ์การรวบที่อาจจะเหมาะสมสําหรับข้อมูลที่เปิดเผยเกี่ยวกับสัญญาประกันภัยได้แก่ ( ก) ประเภทของสัญญา (เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์หลัก) ( ข) เขตภูมิศาสตร์ (เช่น ประเทศ หรือ ภูมิภาค) หรือ ( ค) ส่วนงานที่รายงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานดําเนินงาน โดยประเภทที่แยกแสดงตามย่อหน้าที่ 96 อาจมีเพียงสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ในกรณีที่สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้นั้น ๆ ครอบคลุมหล ำย ๆ ประเภทสัญญาที่ออก จึงทําให้ไม่สามารถแสดงรายกำรสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้นั้น ๆ ตามประเภทของสัญญาที่ออกได้

  1. รายได้และค่าใช้จ่ายจากการประกันภัย 2.1 รายได้และผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย การวิเคราะห์รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย และค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญา ประกันภัยต่อที่บริษัทถือไว้โดยแยกตาม [ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ] [1] เปรียบเทียบ 2 รอบระยะเวลา รวมถึงข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับจํานวนเงิ นที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และ การกระทบยอด สัญญาประกันภัย แสดง อยู่ในตารางดังต่อไปนี้ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีก่อน ส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X รายได้จากการประกันภัย สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย จํานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสําหรับ ความคุ้มครองที่เหลืออยู่ - ค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ หลังจากการจัดสรรองค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน - การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยง ที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หลังจากการจัดสรร องค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน - กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ - รายการอื่น การได้รับคืนกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย รายได้จากการประกันภัยจากสัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธี ปันส่วนเบี้ยประกันภัย รายได้จากการประกันภัยจากสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีปันส่วน เบี้ยประกันภัย รายได้จากการประกันภัยทั้งหมด ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต - การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ และการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หรือ วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลภาพรวมในระดับบริษัท โดยแสดงข้อมูล รำยได้และผลการดาเนินงาน การบริการประกันภัย

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีก่อน ส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X การรับรู้เมื่อเกิดขึ้น รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ล่วงหน้าอื่น ๆ ที่เลิกรับรู้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การด้อยค่าของสินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัยทั้งหมด วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่าง กาลปีก่อน ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ - สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย จํานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสําหรับ ความคุ้มครองที่เหลืออยู่ - ค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ - การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงที่รับรู้สําหรับ ความเสี่ยงที่หมดลงแล้ว - สัญญาที่มีกําไรที่รับรู้จากการบริการที่ได้รับ - รายการอื่น ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ – สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ – สัญญาซึ่งวัดมูลค่าภายใต้วิธี ปันส่วนเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัยต่อ ที่ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกําหนดของภาระผูกพัน ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ เกี่ยวข้องกับค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่ เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ

การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจาก การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ทั้งหมด ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย

3 . ประเภท ก - สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 3 . 1 ประเภท ก – สัญญาประกันภัยที่ออก 3 . 1 . 1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินสําหรับความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ สัญญาประกันภัยที่ออก รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่เป็น ส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วัน รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การ เปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการ ของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว ( ข้อ 3.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่า องค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 3.1.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา ( ข้อ 3.1.3) - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่งการประกันภั ย ( ข้อ 3.1.4)

วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินสําหรับความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ สัญญาประกันภัยที่ออก รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่เป็น ส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่าย แ ล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

3 . 1 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการ บริการประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจาก การให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้างภาระ และการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกใน รอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การ เปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

3 . 1 . 3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาประกันภัยที่ได้มา ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายใน อนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายใน อนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับใน อนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการ เลิกรับรู้ ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

3 . 1 . 4 สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับรายการที่ รับรู้ ก่อนการรับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้องและรายการค่าเผื่อการด้อยค่า สัญญาประกันภัยที่ออก วันสิ้นรอบ ระยะเวลาระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยสุทธิ

3.2 ประเภท ก - สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ 3.2.1 การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปี บัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหม ทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิต้นงวด รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยต่อ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการ ประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิปลายงวด วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยต่อ ที่ถือไว้ ที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว ( ข้อ 3.2.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ ( ข้อ 3.2.2) - ผลกระทบของ สัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา ( ข้อ 3.2.3)

3 . 2 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิต้นงวด การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วและค่าใช้จ่ายจากการประกันภัยต่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับ รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้าง ภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจาก การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับการ บริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลง ในกระแสเงินสดที่ทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหม ทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว

วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่เกี่ยวข้องกับผลขาดทุนจาก สัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับการบริการใน อดีต ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิปลายงวด

3.2.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ใน รอบระยะเวลา โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาประกันภัยที่ไม่มีกําไร สุทธิ สัญญาประกันภัยที่มีกําไร สุทธิ รวม สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [5] [5] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น การ เลิกรับรู้ ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

4 . ประเภท ข - สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ 4.1 ประเภท ข - สัญญาประกันภัยที่ออก 4.1.1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง ตัวอย่างการเปิดเผยในข้อ 4.1.1 แสดงการกระทบยอดสําหรับรายการที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัด มูลค่าทั่วไป วิธีค่าธรรมเนียมผันแปร และวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย ในกรณีที่ประเภทของ สัญญาที่จัดประเภทตาม IFRS 17 ย่อหน้าที่ 96 ไม่มีการวัดมูลค่าด้วยวิธีการปันส่วนเบี้ยประกั นภัย การแยกหัวตาราง (คอลัมน์) ด้านล่าง จะเหมือนกับหมายเหตุข้อ 3.1.1 วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับ สัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป วิธีค่าธรรมเนียมผันแปร และ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับ ความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว ( ข้อ 4.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 4.1.2) - ผลกระทบของสัญญาที่ รับรู้ใน รอบระยะเวลา ( ข้อ 4.1.3) - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ( ข้อ 4.1.4) - การเปิดเผยเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้อง ( ข้อ 4.1 .5)

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย รวม สัญญาประกันภัยที่ออก ไม่รวม องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุ น องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยง ทางการเงิน ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญา ประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จาก สัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วัน รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการ ในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแส เงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับ ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระและ การกลับรายการของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญา ประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย รวม สัญญาประกันภัยที่ออก ไม่รวม องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุ น องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยง ทางการเงิน กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจาก สัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จาก สัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

4.1.2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการ บริการประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้าง ภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตาม สัญญาที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

4.1.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ใน รอบระยะเวลา บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง โดยรำยการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาที่ออก สัญญาที่ได้มา ไม่ใช่ สัญญา ที่สร้าง ภาระ เมื่อ เริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระเมื่อ เริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มา ซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการ เลิกรับรู้ ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

4 .1.4 สินทรัพย์ จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับรายการที่ รับรู้ ก่อนการรับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้องและรายการค่าเผื่อการด้อยค่า 4.1.5 การ เปิดเผย เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้อง หากกิจการเลือกที่จะไม่ปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับบางการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา บริษัทต้องเปิดเผยผลกระทบของทางเลือกดังกล่าวต่อ การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับรอบระยะเวลาปัจจุบัน สําหรับสัญญาที่มี ลักษณะการ ร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง หากกิจการเปลี่ยนเกณฑ์การแบ่งแยก จํานวน รายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ระหว่างกําไรหรือขาดทุนและกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลในรอบระยะเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงวิธีเกิดขึ้น ดังต่อไปนี้ (ก) เหตุผลว่าทําไมกิจการจําเป็นต้องเปลี่ยนเกณฑ์ในการแบ่งแยก (ข) จํานวนเงินของรายการปรับปรุงในแต่ละรายการในงบการเงินที่ได้รับผลกระทบ และ (ค) มูลค่าตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ณ วันที่มีการ เปลี่ยนแปลง สัญญาประกันภัยที่ออก วันสิ้นรอบ ระยะเวลาระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยสุทธิ

  1. ประเภท ค – สัญญาที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย และไม่วัดมูลค่าด้วยวิธี การปันส่วนเบี้ย ประกันภัย 5 . 1 ประเภท ค – สัญญาประกันภัยที่ออก 5 . 1 . 1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้ นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับกลุ่มสัญญา ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน มูลค่าปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สิน จากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วัน รับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการใน อดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแส วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่า ทั ่วไป และวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว ( ข้อ 5.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 5.1.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา ( ข้อ 5.1.3) - สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ( ข้อ 5.1.4)

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้ นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับกลุ่มสัญญา ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน มูลค่าปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน เงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้ นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ และการกลับรายการของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญา ประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สิน จากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์ จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

5 . 1 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิต้นงวด การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยง ที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการ บริการประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจาก การให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้าง ภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตาม สัญญาที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ ได้รับที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่าย แ ล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน 5 . 1 . 3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ใน รอบระยะเวลา โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาที่ออก สัญญาที่ได้มา ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายใน อนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายใน อนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับใน อนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

5 . 1 . 4 สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับรายการที่ รับรู้ ก่อนการรับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้องและรายการค่าเผื่อการด้อยค่า สัญญาประกันภัยที่ออก วันสิ้นรอบ ระยะเวลาระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชี ล่าสุด สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยสุทธิ

5.2 ประเภท – ค สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ 5.2.1 กระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่มสัญญาที่ไม่ได้อยู่ ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิต้นงวด รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยต่อ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้น ตามสัญญา ของค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่ เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิง ที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทํา ให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตาม สัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญา อ้างอิงที่สร้างภาระ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับ ประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยต่อ ที่ถือไว้ ที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัด มูลค่าทั ่วไป และวิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้น แล้ว ( ข้อ 5.2.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ ( ข้อ 5.2.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา ( ข้อ 5.2.3)

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่มสัญญาที่ไม่ได้อยู่ ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน รวม ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อ ที่ถือไว้ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์สัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิปลายงวด [3] หมายเหตุ : ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

  1. 2 .2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิต้นงวด การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วและค่าใช้จ่ายจากการประกันภัยต่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกใน รอบระยะเวลา การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับ รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้าง ภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจาก การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อใน รอบระยะเวลา ที่เกี่ยวข้องกับการ บริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลง ในกระแสเงินสดที่ทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหม ทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่เกี่ยวข้องกับผลขาดทุนจาก สัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อใน รอบระยะเวลา ที่เกี่ยวข้องกับการบริการใน อดีต ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย

วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิปลายงวด ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิปลายงวด 5 .2.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในรอบระยะเวลา โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาประกันภัยที่ไม่มีกําไร สุทธิ สัญญาประกันภัยที่มีกําไร สุทธิ รวม สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [5] [5] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น การเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

6 . การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ให้แสดงรายละเอียดและมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เครื่องมือทาง การเงินที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุน เครื่องมือทาง การเงินที่กําหนด ให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือ ขาดทุน เงินลงทุนในตรา สารหนี้ที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนใน ตราสารทุนที่ กําหนด ให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เครื่องมือทาง การเงินที่วัด มูลค่าด้วย ราคาทุนตัด จําหน่าย รวม สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx - - xxx - xxx สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx - - - - xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ - xxx - - xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม - - - - xxx xxx หนี้สินจากสัญญาลงทุน - - - - xxx xxx หนี้สินอนุพันธ์ xxx - - - - xxx หนี้สินทางการเงินอื่น - xxx - - xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์อ้างอิง [1] xxx xxx xxx xxx xxx xxx เงินลงทุนอื่น xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx [1] อ้างอิงตาม IFRS 17 (111 - 113) สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง กิจการต้องอธิบายส่วนประกอบของรายการอ้างอิงและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของรายการ อ้างอิง

มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินตามประเภทผลิตภัณฑ์แสดงตามรายการด้านล่าง วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ โดยตรง [1] อื่น ๆ รวม สินทรัพย์อ้างอิง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ อื่น ๆ รวม เงินลงทุนอื่น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ อื่น ๆ รวม [1] อ้างอิงตาม IFRS 17 (111 - 113) สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง กิจการต้องอธิบายส่วนประกอบของรายการอ้างอิงและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของรายการ อ้างอิง

  1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX รวม XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - สุทธิ XXX XXX 8. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด ราคาทุนตัดจําหน่าย ราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจําหน่าย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนด เกินกว่า 3 เดือน อื่น ๆ รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย วันสิ้นรอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุน รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ หากบริษัทประกันภัยมีตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

นอกจากนี้ให้บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี ตราสารหนี้ที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX 9. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารทุนในประเทศ ตราสารทุนต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตราสารทุนในประเทศ ตราสารทุนต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ในกรณีที่มีหลักทรัพย์ที่อยู่ในระหว่างการให้ยืม หรือหลักทรัพย์ที่นําไปวางเป็นหลักประกัน ให้เปิดเผย จํานวนหลักทรัพย์และมูลค่าของหลักทรัพย์ในแต่ละประเภทที่นําไปประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย

  1. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักในกรณี ที่เข้าเงื่อนไขตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยใน แต่ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบ 2 รอบระยะเวลา พร้อม ทั้งอธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้ อนุพันธ์ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

  2. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ (ไม่รวมเงินให้กู้ยืมจากสัญญาประกันภัย ( Policy Loan)) ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและดอกเบี้ย ค้างรับเปรียบเทียบ 2 รอบระยะเวลา อย่างน้อย ดังนี้ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ รวม ทรัพย์สินจํานอง เป็นประกัน หลักทรัพย์ เป็นประกัน อื่น ๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม - สุทธิ xxx xxx xxx xxx

วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว รายได้ดอกเบี้ย ที่ยังไม่ได้รับ จากสัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อ หรือได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้ - สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ย ค้างรับ ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สิน แบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับ วงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น หากบริษัทมีเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชี แ ละ มาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการเลิกรับรู้รายการออกจากบัญชี เช่น - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยไม่เลิกรับรู้ทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยเลิกรับรู้ทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้องต่อเนื่องในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 13. เงินลงทุนในบ ริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 14. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นสาระสําคัญให้กระทบยอดระหว่างมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อ การลงทุน ณ วันต้นรอบระยะเวลากับวันสิ้นรอบระยะเวลาโดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อกับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวม รายจ่ายเข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมกิจการ ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุ ติธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ

  2. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ ดังนี้ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สินทรัพย์ เลิกใช้งาน รวม มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ 1 ม.ค. วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน ซื้อเพิ่ม / รับโอนระหว่าง รอบระยะเวลา - ราคาทุน ตีราคาเพิ่ม (ลด) จําหน่าย / โอนออกระหว่าง รอบระยะเวลา - มูลค่าสุทธิตามบัญชี ค่าเสื่อมราคาสําหรับ รอบระยะเวลา ค่าเผื่อการด้อยค่าสําหรับ รอบระยะเวลา มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ …วันสิ้น รอบระยะเวลา ระหว่างกาลปีปัจจุบัน XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) (XXX) XXX กรณีของที่ดิน อาคารและทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่เข้า เงื่อนไขในการจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสินทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละประเภทของสินทรัพย์ ด้วย 16. สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้ เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการเปลี่ยนแปลง ใน สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่น ๆ ตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนด 17. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงินให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตาม ที่ กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  3. หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดหนี้สินตามสัญญาลงทุน 19. หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สินอนุพันธ์ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่นเหล่านั้น ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่น ๆ รวม วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้า งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่น ๆ วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดย แสดงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตเข้า งบกําไรขาดทุน เงินกู้ยืม อื่น ๆ รวม

  4. เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ ในกรณีที่กิจการออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและทุน และเครื่องมือทางการเงิน นั้นประกอบด้วย อนุพันธ์ แฝงหลายรายการซึ่งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตรา สารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) กิจการต้องเปิดเผยลักษณะของ เครื่องมือดังกล่าวด้วย ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 21. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง วันสิ้นงวดระหว่างกาลปีปัจจุบัน : วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง วันสิ้นรอบระยะเวลาระหว่างกาลปีปัจจุบัน วันสิ้นปีบัญชีล่าสุด เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 22. การรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทประกันภัยที่ออกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์รายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงานเป็น การประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไป และการประกันชีวิตควบการลงทุน ก็ได้ 23. รายได้จากการลงทุน รายการ วันสิ้นรอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้นรอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ก่อน ดอกเบี้ยรับ xxx xxx เงินปันผล xxx xxx รายได้อื่น ๆที่เกิดจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่น ๆ โดยให้แยกประเภทตามความเหมาะสม xxx xxx รวม xxx xxx หมายเหตุ ดอกเบี้ยรับสุทธิจากอนุพันธ์ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยให้รวมอยู่ในรายได้ดอกเบี้ยของแต่ละ รายการที่เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ( hedged items)

  1. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน รายการ วันสิ้นง รอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้น รอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ก่อน กําไร(ขาดทุน)จากการจําหน่ายและการเลิกรับรู้รายการ เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx xxx xxx xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx รวม xxx xxx 25. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน รายการ วันสิ้น รอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ปัจจุบัน วันสิ้น รอบ ระยะเวลา ระหว่างกาลปี ก่อน กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx รวม xxx xxx

  2. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รายการ วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีปัจจุบัน วันสิ้นงวดระหว่าง กาลปีก่อน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ข้อผูกมัดที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx 27. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 28 รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกิจการให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน 29. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ และทรัพย์สินแต่ละ ชนิดที่วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตาม กฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต 30. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและข้อผูกมัด ให้เปิ ดเผยทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและข้อผูกมัดในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทและมูลค่าตามบัญชี ของทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและข้อผูกมัดต่อทรัพย์สินนั้น

  3. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดี ก่อข้อผูกมัดในการซื้อหรือให้ได้มำซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นหรือข้อผูกมัดใด ๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่ เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งความเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้ง อธิบายโดยสังเขปเกี่ยวกับลักษณะของหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเงิน และ เปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมู ลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของกิจการเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่ายหนึ่งใน เรื่องหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่างรุนแรง กิจการไม่จําเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว แต่ ต้องเปิดเผยถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริงและเหตุผลของการไม่เปิดเผยข้ อมูลนั้น สําหรับข้อผูกมัดจากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงาน ให้เปิดเผย จํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับระยะเวลา แต่ละช่วงดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี (2) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี (3) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 32. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินระหว่างกาลและประมาณ การผลกระทบทางการเงิ นที ่ อาจเกิ ดจากเหตุ การณ์ ดั งกล่ำวหรื อข้ อเท็ จจริ งที ่ ว่ำกิ จการ ไม่สามารถประมาณผลกระทบดังกล่าว

3 .2 แบบ งบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทิน ที่ล่วงมา

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท สินทรัพย์ 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี Ê สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี Ê ยค้างรับ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า อสังหาริมทรัพย์เพื É อการลงทุน ทรัพย์สินรอการขาย ที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื É น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื É น รวมสินทรัพย์ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หน่วย : บาท หนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัย หนี Ê สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี Ê สินสัญญาลงทุน หนี Ê สินอนุพันธ์ หนี Ê สินทางการเงินอื É น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Ê สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี Ê สินอื É น รวมหนี Ê สิน ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ทุนที É ออกและชําระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท หุ้นสามัญ จํานวนหุ้น … หุ้น มูลค่าหุ้นละ … บาท ใบสําคัญแสดงสิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกิน ( ตํ Éำกว่า ) มูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ กําไร ( ขาดทุน ) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื Ê อคืน อื É น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หัก หุ้นทุนซื Ê อคืน - หุ้นสามัญ องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี Ê สินและส่วนของเจ้าของ * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ * ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย รายได้จากการลงทุน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากเครื É องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื É องมือทางการเงิน กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี É ยง ผลขาดทุนด้านเครดิตที É คาดว่าจะเกิดขึ Ê น รายได้จากการลงทุนสุทธิ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที É ออก รายได้ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ ต้นทุนทางการเงินอื É น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื É น ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) รายได้อื É น กําไร ( ขาดทุน ) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ กําไร ( ขาดทุน ) สุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี Ê ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในกระแสเงินสด กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับการป้องกันความเสี É ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที É ออก รายได้ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที É ถือไว้ กําไร ( ขาดทุน ) จากต้นทุนการป้องกันความเสี É ยงรอตัดบัญชี กําไร ( ขาดทุน ) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร ( ขาดทุน ) จากการเปลี É ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กําไร ( ขาดทุน ) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น กําไร ( ขาดทุน ) จากหนี Ê สินทางการเงินที É กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน กําไร ( ขาดทุน ) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง องค์ประกอบอื É นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น ภาษีเงินได้เกี É ยวกับองค์ประกอบของกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É น สําหรับรายการที É ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นขั Ê นพื Ê นฐาน กําไร ( ขาดทุน ) ต่อหุ้นปรับลด หมายเหตุ : 1. บริษัทสามารถแยกแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็น 2 งบได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที É 1 2. บริษัทสามารถเลือกที É จะแสดงรายการในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสุทธิจากผลกระทบจากภาษีเงินได้ โดยให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปีสิ Ê นสุดวันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท ตราสารหนี Ê ที É วัด มูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื É น การป้องกันความ เสี É ยงในกระแสเงินสด การแปลงค่างบ การเงินจากการ ดําเนินงานใน ต่างประเทศ ต้นทุนการป้องกัน ความเสี É ยงรอตัด บัญชี ส่วนแบ่งกําไร ( ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื É นในบริษัท ร่วมและการร่วมค้า ส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ ตราสารทุนที É กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น หนี Ê สินทางการเงิน กําหนดให้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน สํารองทางการเงิน จากสัญญา ประกันภัย / สัญญา ประกันภัยต่อ การประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย สําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ 1 ม . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ผลกระทบของการเปลี É ยนนโยบายการบัญชี ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชี ยอดคงเหลือที É ปรับปรุงแล้ว จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) จ่ายปันผล / กําไรที É โอนไปให้สํานักงานใหญ่ * เพิ É ม ( ลด ) หุ้นบุริมสิทธิ / หุ้นสามัญ / ทุนจากสํานักงานใหญ่ * หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ … กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ . ค . 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบแสดงการเปลี É ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ * ณ วันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) ทุนที É ออกและ ชําระแล้ว / ทุน จากสํานักงาน ใหญ่ * ใบสําคัญแสดง สิทธิที É จะซื Ê อหุ้น ส่วนเกิน ( ตํ É ำ กว่า ) มูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนหุ้น ทุนซื Ê อคืน กําไร ( ขาดทุน ) สะสม หุ้นทุนซื Ê อคืน องค์ประกอบอื É นของส่วนของเจ้าของ รวม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื É น รายการอื É นของ การ เปลี É ยนแปลงที É เกิดจากเจ้าของ รวม องค์ประกอบอื É น ของส่วนของ เจ้าของ

หมวดที่ 3 หน่วย : บาท 25 xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) 25 xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า ) กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน เบี Ê ยประกันภัยรับ เบี Ê ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที É เกี É ยวข้องโดยตรงอื É น ๆ เกี É ยวกับการประกันภัยต่อ รับคืนจากการประกันภัยต่อ ดอกเบี Ê ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการลงทุนอื É น รายได้อื É น ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที É เกี É ยวข้องโดยตรงอื É น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที É ทําให้ได้มาซึ É งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื É น ค่าใช้จ่าย ( รายได้ ) ภาษีเงินได้ เงินสดรับ - สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดจ่าย - สินทรัพย์ทางการเงิน … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมลงทุน ซื Ê อที É ดิน อาคารและอุปกรณ์ … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเพิ É มทุน / เงินเพิ É มทุนจากสํานักงานใหญ่ * เงินกู้ยืม เงินปันผลผู้ถือหุ้น … เงินสดสุทธิได้มา ( ใช้ไป ) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ É มขึ Ê น ( ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ ต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ Ê นปี หมายเหตุ : * ใช้สําหรับสาขาของบริษัทต่างประเทศ 1. ในกรณีที É ดอกเบี Ê ยจ่ายมีนัยสําคัญและได้แยกแสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน ให้แสดงในงบกระแสเงินสดในลําดับก่อนรายการภาษีเงินได้ 2. ทั Ê งนี Ê การแสดงรายการภายใต้กระแสเงินสดจากกิจกรรมแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานการบัญชีที É เกี É ยวข้อง แบบงบการเงินสําหรับรอบปีปฎิทินที É ล่วงมาแล้ว บริษัท … ประกันชีวิต งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ Ê นสุดวันที É … . … . … 25xx ( ปีบัญชีล่าสุด ) และ 25xx ( ปีบัญชีก่อนหน้า )

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต หมายเหตุประกอบงบการเงิน มี 3 ส่วน ได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 2. ประมาณการและข้อสมมติฐานที่สําคัญ 3. ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง ให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต เปิดเผยรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ให้เป็นไปตามที่กําหนด ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามที่คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันชีวิต กําหนดเพิ่มเติม โดยอย่างน้อยจะต้องมีรายการดังต่อไปนี้ และหากบริษัทไม่มีรายการดังกล่าวหรือในกรณีที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินไม่กําหนดให้บริษัทประกัน ภัยที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต้องเปิดเผย ข้อมูล บริษัทไม่ต้องแสดงรายการนั้นในงบการเงิน ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือมีข้อกําหนดให้เปิดเผยรายการเหล่านี้ในรูปแบบอื่น ให้บริษัทปฏิบัติตามข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เปลี่ ยนแปลงนั้น หลักเกณฑ์และสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีที่สําคัญอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. เกณฑ์การเสนองบการเงิน (1) การนําเสนอ เช่น มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ การใช้หน่วยเงินตรา เป็นต้น (2) การวัดค่าในการจัดทํางบการเงิน (3) การจัดทํางบการเงินรวม (4) การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 2. สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ (1) วิธีการวัดมูลค่า ให้เปิดเผยวิธีการวัดมูลค่าโดยแบ่งตามสัญญาที่บริษัทมีและประเภทสัญญาตามการจัดประเภทสัญญา

(2) การจัดประเภทสัญญา ให้ เปิดเผย เกณฑ์ในการจัดประเภทสัญญาที่บริษัทมีในการแบ่งประเภทเป็น - สัญญาประกันภัย - สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ - สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง - สัญญาลงทุน - สัญญาลงทุนที่มีลักษณะร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลพินิจ (3) การจัดกลุ่มสัญญาประกันภัย ให้เปิดเผยนโยบายที่ใช้พิจารณาการจัดกลุ่มสัญญาประกันภัย (4) กา รรับรู้สัญญาและการเลิกรับรู้รายการสัญญา ให้เปิดเผย เกณฑ์ การรับรู้สัญญาและการเลิกรับรู้รายการสัญญา รวมถึงการปรับแต่งของสัญญา ประกันภัย โดยแบ่งตามวิธีการวัดมูลค่า (5) การวัดมูลค่า ให้เปิดเผยเกณฑ์การพิจารณาการวัดมูลค่าดังต่อไปนี้ ( 5 . 1 ) กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา - กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ภายใต้ขอบเขตของสัญญา - ขอบเขตของสัญญา - ต้นทุนที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน (5.2) การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรก โดยแบ่งตามวิธีการวัดมูลค่า - กําไรจากการให้บริการตามสัญญา (5.3) กำรวัดมูลค่าในภายหลัง โดยแบ่งตามวิธีการวัดมูลค่า รวมถึง - การเปลี่ยนแปลง ในกระแสเงินสดเพื่อทําให้ เสร็จสิ้นตามสัญญา - การเปลี่ยนแปลงในกําไรจากการให้บริการตามสัญญา

(6) การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และหยุดรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายประเภทที่สําคัญ ได้แก่ (6.1) ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย จากสัญญาประกันภัยที่ออก - รายได้จากการประกันภัย - ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ประกอบด้วย : • ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ไม่รวมองค์ประกอบที่เป็นการลงทุน ; • ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ; • การ ตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ; • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต และ • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต - ค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานอื่น ๆ (6.2) ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย จากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ - รายได้ ( ค่า ใช้จ่าย ) สุทธิ จากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ ( จํานวนเดียว ) หรือแสดงรายการ แยกจากกันสําหรับจํานวนที่ได้รับคืนจากผู้รับประกันภัยต่อและ การปันส่วนของเบี้ย ประกันภัยจ่าย ( 6 . 3 ) รายได้ หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ( 6 . 4 ) อื่น ๆ - รายได้และค่าใช้จ่ายจากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท และการรับรู้กําไรขาดทุน จากเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท - รายได้อื่นที่สําคัญ - การเปลี่ยนแปลงของค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น - ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื่น ๆ - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (7) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยนโยบายที่ใช้พิจารณาส่วนประกอบของรายการเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด (8) สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนดสําหรับ ตรา สาร หนี้ เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเงินลงทุนแต่ละประเภท เหตุผลของการจัดประเภทและ วัดมูลค่าของเงินลงทุน นโยบายของบริษัทในการรับรู้หรือการเลิกรับรู้รายการออกจากบัญชีในวั นที่มี การซื้อขาย (trade date) หรือวันที่มีการจ่ายช ํา ระ (settlement date) นโยบายการเปลี่ยนแปลง

การจัด ประเภทเงินลงทุน นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการคิดต้นทุนของตราสารหนี้ ตลอดจนเกณฑ์การ ตัดจําหน่าย และการได้รับคืน เป็นต้น (9) สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ให้เปิดเผยตาม ที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนดสําหรับ ตราสารทุน เ ช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่าเงินลงทุนแต่ละประเภท เหตุผลของการจัดประเภทและ วัดมูลค่าของเงินลงทุน นโยบายของบริษัทในการรับรู้หรือการเลิกรับรู้รายการออกจากบัญชีในวันที่มี การซื้อขำย (trade date) หรือวันที่มีการจ่ายชําระ (settlement date) นโยบายการเปลี่ยนแปลง การจัดประเภทเงินลงทุน นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการคิดต้นทุนของตราสารทุน ตลอดจนเกณฑ์ การตัดจําหน่าย และการได้รับคืน เป็นต้น (10) อนุพันธ์ ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าอนุพันธ์ตา มที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐาน การรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (11) เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนดสําหรับ เงินให้กู้ยืม เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการวัดมูลค่า เหตุผลของการจัดประเภทและวัดมูลค่า ตลอดจนเกณฑ์ การตัดจําหน่าย และการได้รับคืน เป็นต้น โดยไม่รวมเงินให้กู้ยืมที่อยู่ภายใต้มาตรฐานกา รรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 สัญญาประกันภัย (12) ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ให้เปิดเผยเกณฑ์การคํานวณค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตามที่มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด (13) สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการปรับแต่งของกระแสเงินสดตามสัญญา ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) ที่เกี่ยวกับการปรับแต่งของกระแสเงินสดตามสัญญา เช่น เงื่อนไข ต่าง ๆ ที่ใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ และการปฏิบัติทางการบัญชีตามที่มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่เกี่ยวข้องกําหนด (14) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

(15) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ให้เปิดเผยเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตลอดจนเปิดเผยเกณฑ์การตัดหนี้สูญและหนี้สูญได้รับ คืนที่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง (16) ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยเกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช้กําหนดราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ ที่ได้มา จากการรับชําระหนี้หรือจากการบังคับจํา นอง และอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่เลิกใช้งานที่ เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง (17) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ให้เปิดเผยเกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่า เกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาทรัพย์สิน และวิธีการใน การแยก ส่วนประกอบ ทรัพย์สิน เพื่อคิดค่ำเสื่อมราคา รวมถึงให้เปิดเผยถึงวิธีการบัญชี อัตราร้อยละ หรือจํานวน ปี อายุการใช้งานที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคํานวณค่าเสื่อมราคาตามประเภทของทรัพย์สิน และวิธีการ บัญชีที่ใช้ในการคํานวณค่าเสื่อมราคาจากที่ตีราคาเพิ่มนี้ไว้ด้วย (18) ค่าความนิยม ให้ เปิดเผย การวัดมูลค่าเมื่อแรก เริ่มและในภายหลังของค่าความนิยมที่ได้มาจากการวมธุรกิจและการ พิจารณาการด้อยค่าของค่าความนิยม (19) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท ดังต่อไปนี้ - วิธีการวัดมูลค่าเมื่อแรกเริ่มและในภายหลัง - วิธีการตัดจําหน่ายสําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่อายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอน รวมทั้งอายุ การให้ประโยชน์ และอัตราการตัดจําหน่าย - การประเมินอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ไม่ทราบแน่นอน - เกณฑ์การรับรู้กําไรและขาดทุนจากการจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(20) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ใ ห้เปิดเผย เกณฑ์ การรับรู้และการทดสอบการด้อยค่าของสินทรัพย์นอกเหนือจากที่ได้กล่าว ไปแล้วใน หัวข้ออื่น (21) สิ นทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้ เปิดเผย เกณฑ์การรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (22) หนี้สินทางการเงินอื่น ให้ เปิดเผย เกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทางการเงิน ซึ่ง ไม่รวมถึง อนุพันธ์ตามที่มาตรฐานการบั ญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด ( 22 . 1 ) หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมูลค่าของหนี้สินทาง การเงินเพื่อค้า ซึ่งไม่รวมถึงอนุพันธ์ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง กําหนด ( 22 . 2 ) หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ให้เปิดเผยเกณฑ์ (หรือหลักการ) การจัดประเภทและวัดมูลค่าตามที่มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด เช่น ลักษณะของหนี้สินทางการเงินที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เกณฑ์ที่ใช้ในการกําหนดหนี้สินทางการเงินดังกล่าวใน การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก วิธีที่กิจการได้ถือปฏิบัติเป็นไปตามเงื่อนไขในการกําหนดให้ หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน (23) การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (เฉพาะกรณีที่เลือกใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง) ให้เปิดเผยนโยบายในการป้องกันความเสี่ยงแต่ละประเภท (การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ) เครื่องมือที่ใช้ป้องกันควำมเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หลักเกณฑ์ในการ บันทึกบัญชี หลักเกณฑ์ในการวัดมูลค่ายุติธรรม หลักเกณฑ์ในการประเมินความมีประสิทธิผล ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้องกําหนด

(24) การแปลงค่าเงินตรำต่างประเทศ ให้เปิดเผยเกณฑ์ที่ใช้ในการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิด รายการ และ ณ วันที่ในงบการเงิน การรับรู้ผลกําไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าว รวมทั้ง หลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีในกรณีที่มีการทําสัญญาประกันความเสี่ยงในอัตราแ ลกเปลี่ยน (25) ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการผลประโยชน์พนักงานของบริษัทประกันภัย วิธีการจัดการกองทุน สํารองเลี้ยงชีพและโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เกณฑ์การจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน และ เกณฑ์ในการรับรู้และวัดมูลค่าหนี้สินจากโครงการผล ประโยชน์พนักงานดังกล่าวตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ประมาณการและข้อสมมติฐานที่สําคัญ ให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสมมติฐานที่ใช้เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและแหล่งที่มาที่สําคัญตลอดจน ความไม่ แน่นอนในการประมาณการที่มีอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาราย งาน รวมทั้งการใช้วิจารณญาณของฝ่ายบริหาร ในการนํา นโยบายการบัญชีของกิจการไปถือปฏิบัติซึ่งมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อจํานวนเงินของรายการที่รับรู้ไว้ในงบ การเงิน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด โดยสําหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 – สัญญาประกันภัยให้เปิดเผย 1. การใช้วิจารณญาณของฝ่ายบริหารในการนํานโยบายการบัญชีของกิจการไปถือปฏิบัติซึ่งมีผลกระทบอย่างมี นัยสําคัญต่อจํานวนเงินของรายการที่รับรู้ไว้ในงบการเงิน ตัวอย่างเช่นเรื่อง - คํานิยามและการจัดประเภทรายการ - การรวมสัญญาประกันภัยและการแยกองค์ประกอบจากสัญญาประกันภัย - กลุ่มข องสัญญา - การรับรู้รายการและการเลิกรับรู้รายการ - การบัญชีสําหรับการปรับแต่งสัญญาและการเลิกรับรู้รายการ - การวัดมูลค่า - กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา - ผล ประกอบการ ทางการเงิน - ทางเลือกทางบัญชีตามย่อหน้า XXX 2. วิธีการ และ วิจารณญาณ ในการกําหนดจํานวนจากการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ประกอบด้วย ( ถ้ามี) - วิธีการปรับปรุงย้อนหลัง (Full retrospective approach) - วิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลง (Modified retrospective approach) - วิธีมูลค่า ยุติธรรม (Fair value approach)

  1. ประมาณ การและสมมติฐาน ( Estimates and assumptions ) ประกอบด้วย - อัตราคิดลด (Discount rates) - ผลตอบแทนสินทรัพย์เพื่อการลงทุน - ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาประกันภัย - ประมาณการค่าใช้จ่ายในอนาคต - วิธีการที่ใช้ในการวัดมูลค่าค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน - ให้ เปิดเผยวิธีการที่ใช้และข้อสมมติที่สําคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ความเสี่ ยงด้านการประกันภัย และด้านตลาด - การวิเคราะห์ความอ่อนไหว กิจการอาจใช้การวิเคราะห์ความอ่อนไหวที่แสดงให้เห็นจํานวนที่แตกต่างจากจํานวนที่ระบุในย่อหน้า 128( ก) แทนการวิเคราะห์ในย่อหน้า 128( ก) โดยกิจการต้องเปิดเผย ; ( ก ) คําอธิบายของวิธีที่ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวนั้นและค่าพารามิเตอร์หลักและข้อ สมมติอ้างอิงของข้อมูลที่นําเสนอ และ ( ข ) คําอธิบายของวัตถุประสงค์ของวิธีที่ใช้และข้อจํากัดใด ๆ ที่อาจมีผลต่อข้อมูลที่นําเสนอ โดยย่อหน้า 128 (ก) ให้เปิดเผยการวิเคราะห์ความอ่อนไหวซึ่ง แสดงให้เห็นว่ากําไรหรือขาดทุนและส่วนของ เจ้าของจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผล ณ สิ้นรอบระยะเวลารายงาน ( 1.1 ) สําหรับความเสี่ยงด้านการประกันภัย - แสดงผลกระทบของสัญญาประกันภัยที่ออก ก่อนและ หลังการลดความเสี่ยง โดยสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ และ ( 1.2 ) สําหรับแต่ละประเภทของความเสี่ยงด้านตลาด - โดยการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงที่เกิดจากสัญญาประกันภัยและที่เกิดจากสินทรัพย์ ทางการเงินที่ถือโดยกิจการ

ข้อมูลเพิ่มเติมและการบริหารความเสี่ยง 1 . องค์ประกอบของงบแสดงฐานะการเงิน การวิเคราะห์จํานวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินสําหรับสัญญาประกัน ภัย สัญญาลงทุนที่ มี ลักษณะร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลพินิจ และสัญญาลงทุนที่ไม่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจซึ่ง รวมถึงจํานวนสินทรัพย์และหนี้สินหมุนเวียนและไม่หมุนเวียน แสดงอยู่ในตารางด้านล่างดั งต่อไปนี้ มีส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมุนเวียน [2] ไม่หมุนเวียน [2] รวม หมายเหตุ X X X X ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย - สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย หนี้สินจากสัญญาประกันภัย - หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินสัญญาลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X0 สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย - สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลภาพรวมในระดับบริษัท

มีส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมุนเวียน [2] ไม่หมุนเวียน [2] รวม หมายเหตุ X X X X กระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย หนี้สินจากสัญญาประกันภัย - หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ที่ไม่รวม สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ ได้มาซึ่งการประกันภัย - สินทรัพย์จากกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ หนี้สินสัญญาลงทุน หมายเหตุ : [1] IFRS 17 ( 94 - 96 ) กิจการสามารถรวมหรือแยกข้อมูลตามประเภทของสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงานที่รายงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการ รายงานทาง การเงิน ( ย่อหน้าที่ 29 – 31 IAS 1 ที่กําหนดข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับความมีสาระสําคัญและการรวบข้อมูล ) ตัวอย่างของเกณฑ์การรวบที่อาจจะเหมาะสมสําหรับข้อมู ลที่เปิดเผยเกี่ยวกับสัญญาประกันภัยได้แก่ ( ก) ประเภทของสัญญา (เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์หลัก) ( ข) เขตภูมิศาสตร์ (เช่น ประเทศ หรือ ภูมิภาค) หรือ ( ค) ส่วนงานที่รายงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานดําเนินงาน โดยประเภทที่แยกแสดงตามย่อหน้าที่ 96 อาจมีเพียงสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ในกรณีที่สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้นั้น ๆ ครอบคลุมหล ำย ๆ ประเภทสัญญาที่ออก จึงทําให้ไม่สามารถแสดงรายการสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้นั้น ๆ ตามประเภทของสัญญาที่ออกได้ [2] กิจการสามารถยกเว้ นการแสดงรายการดังกล่าวได้ หากการแสดงรายการตามสภาพคล่อง (หมายเหตุข้อ 49 ความเสี่ยงของบริษัท) มีความน่าเชื่อถือ และมีความเกี่ยวข้องมาก หากกิจการปฏิบัติตามข้อยกเว้นนี้ สินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดต้องแสดงตามลําดับของสภาพคล่อง ไม่ว่าสินทรัพย์ และหนี้สิน จะนําเสนอได้ด้ วยวิธีการใดก็ตาม กิจการต้องเปิดเผยจํานวนที่คาดว่าจะได้รับคืนหรือจ่ายชําระในระยะเวลาเกินกว่า 12 เดือน สําหรับรายการสินทรัพย์ และหนี้สิน แต่ละบรรทัดซึ่งได้ยอดรวมคงเหลือส่วนที่คาดว่าจะได้รับคืนหรือจ่ายชําระดังนี้ 1 . ไม่เกินกว่า 12 เดือนนับจากรอบระยะเวลารายงาน 2. เกิน กว่า 12 เดือนนับจากรอบระยะเวลารายงาน ( อ้างอิง ย่อหน้าที่ 60 - 61 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนําเสนองบการเงิน กําหนดให้กิจการ ต้องแยกแสดงสินทรัพย์และหนี้สินเป็นรายการหมุนเวียนและไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐานะทางการเงิน)

  1. รายได้และค่าใช้จ่ายจากการประกันภัย 2 . 1 รายได้และผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย การวิเคราะห์รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย และค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญา ประกันภัยต่อที่บริษัทถือไว้โดยแยกตาม [ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ] [1] สําหรับปี 25X1 และ 25X0 รวมถึงข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับจํานวนเงินที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และ การกระทบยอด สัญญาประกันภัย แสดง อยู่ในตารางดังต่อไปนี้ 25 X1 : 25X0 ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X รายได้จากการประกันภัย สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย จํานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสําหรับ ความคุ้มครองที่เหลืออยู่ - ค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ หลังจากการจัดสรรองค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน - การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยง ที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หลังจากการจัดสรร องค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน - กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ - รายการอื่น การได้รับคืนกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย รายได้จากการประกันภัยจากสัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธี ปันส่วนเบี้ยประกันภัย รายได้จากการประกันภัยจากสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีปันส่วน เบี้ยประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลภาพรวมในระดับบริษัท โดยแสดงข้อมูล - รายได้และผลการดาเนินงานการบริการประกันภัย ( ข้อ 2.1) - จานวนเงินที่ได้พิจารณาตามวิธีการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 2.2) - การคาดการณ์การรับรู้กาไรจากการให้บริการตามสัญญา ( ข้อ 2.3)

25 X1 : 25X0 ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X รายได้จากการประกันภัยทั้งหมด ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องโดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ และการกลับรายการของ ผลขาดทุนนั้น การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หรือ การรับรู้เมื่อเกิดขึ้น รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การด้อยค่าของสินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการ ประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัยทั้งหมด

2 . 1 รายได้และผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย (ต่อ) 25 X1 : 25X0 ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม หมายเหตุ X X X X รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ - สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย จํานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสําหรับ ความคุ้มครองที่เหลืออยู่ - ค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ - การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงที่รับรู้สําหรับ ความเสี่ยงที่หมดลงแล้ว - สัญญาที่มีกําไรที่รับรู้จากการบริการที่ได้รับ - รายการอื่น ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ – สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อ – สัญญาซึ่งวัดมูลค่าภายใต้วิธี ปันส่วนเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัยต่อ ที่ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกําหนดของภาระผูกพัน ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ที่เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิง ที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจาก การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ทั้งหมด ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย

2 . 2 จํานวนเงินที่ ได้ พิจารณาตามวิธีการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 สําหรับสัญญาประกันที่ไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย การวิเคราะห์รายได้จากการ ประกันภัยสําหรับสัญญาประกันที่ออก และกําไรจากการให้บริการตามสัญญาโดยวิธีการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่านจะรวมอยู่ในตารางต่อไปนี้ ทั้งนี้ สัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัยจะไม่รวมอยู่ในตารางเนื่องจากบริษัทใช้วิธีกำรปรับปรุงย้อนหลังกับสัญญาดังกล่าว 25 X1 : 25X0 ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] รวม สัญญาประกันภัยที่ออก รายได้จากการประกันภัย สัญญาใหม่และสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลงใน การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีมูลค่ายุติธรรมในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาใหม่และสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลงใน การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีมูลค่ายุติธรรมในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาใหม่และสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลงใน การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีมูลค่ายุติธรรมในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม 2 . 3 การคาดการณ์การรับรู้กําไรจากการให้บริการตามสัญญา

การวิเคราะห์การคาดการณ์การรับรู้กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่เหลืออยู่ ณ วันที่สิ้นสุดรอบ ระยะเวลารายงานในกําไรหรือขาดทุนแสดงอยู่ในตารางต่อไปนี้: 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ จํานวนปีที่ คาดว่าจะรับรู้ การร่วมรับผลประโยชน์ การรับรู้กําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา ทั้งหมดสําหรับสัญญา ประกันภัยที่ออก การรับรู้กําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา ทั้งหมดสําหรับสัญญา ประกันต่อที่ถือไว้ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] ประเภท ก [1] ณ วันที่ 31 ธันวาคม 1 [2] 2 [2] 3 [2] 4 [2] 5 [2] 6 - 10 [2] >10 [2] รวม [ 2 ] ช่วงเวลาที่แสดงข้างต้นเป็นเพียงตัวอย่างประกอบ – การคาดการณ์การรับรู้กําไรจากการให้บริการตามสัญญาในกําไรหรือขาดทุน ( CSM run - off) IFRS 17 ( 109 ) ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่แน่นอนที่จะเปิดเผย ซึ่งเป็นเรื่องเฉพาะของกิจการและต้องใช้วิจารณญาณในการระบุช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้ ผู้อ่านสามารถประเมินผลกระทบของกําไรจาก การให้บริการตามสัญญาที่เหลืออยู่บนผลการดําเนินงานทางการเงินในอนาคต กิจการอาจพิจารณา ระยะเวลาของสัญญาประกันภัยและรูปแบบของการตัดจําหน่ายกําไรจากการให้บริการตามสัญญาในอนาคต รวมถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ จําเป็นต้องเปิดเผย ข้อมูลเชิงปริมาณ ในทางกลับกัน กิจการอาจให้คําอธิบายเชิงคุณภาพว่าเมื่อใดที่กิจการคาดว่าจะรับรู้กําไรจากการให้บริการตาม สัญญาที่เหลืออยู่เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลารายงานในกําไรหรือขาดทุน ดังจะเห็นได้จากจํานวนที่แสดงในตารางด้านบนเกี่ยวกับการคาดการณ์การรับรู้ กําไรจากการให้บริการตามสัญญำสําหรับบริการที่จะให้หรือจะได้รับในอนาคตสําหรับสัญญาที่มีผลบังคับ ณ วันที่รายงาน (ซึ่งจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของ รายได้จากการประกันภัยในอนาคตสําหรับสัญญาที่ออก และรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการประกันภัยต่อสําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถื อไว้) ซึ่ง รวมถึงการเพิ่ มขึ้นของดอกเบี้ยในอนาคตภายใต้ GMM และการปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาในอนาคต เพื่อสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงใน ค่าธรรมเนียมผันแปรสําหรับสัญญาภายใต้ VFA

3 . ประเภท ก - สัญญาซึ่งไม่ได้วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 3 . 1 ประเภท ก - สัญญาประกันภัยที่ออก 3 . 1 . 1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว 25X1 : 25X0 หนี้สินสําหรับความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ สัญญาประกันภัยที่ออก รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่เป็น ส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลง ใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการ ของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข้อ 3.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 3.1.2) - ผลกระทบของ สัญญาที่รับรู้ในปี ( ข้อ 3.1.3) - จานวนเงินที่พิจารณาสำหรับการปฏิบัติใ นช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 3.1.4) - การกระทบยอดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ( ข้อ 3.1.5)

25X1 : 25X0 หนี้สินสําหรับความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ สัญญาประกันภัยที่ออก รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่เป็น ส่วนขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วนขาดทุน หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่มีต่อผลประกอบการจากการให้บริการ ประกันภัย [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่มีผลกระทบกับสินทรัพย์และหนี้สินจาก สัญญาประกันภัย กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

3 . 1 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการบริการ ประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้างภาระและ การกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับ ที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับ ที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน 3 . 1 . 3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาประกันภัยที่ได้มา ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มา ซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

  1. 1 . 4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาใหม่และ สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการปรับ ย้อนหลังแบบ ดัดแปลงในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีมูลค่า ยุติธรรมในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ ยนผ่าน รวม รายได้จากการประกันภัย กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนจากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการให้บริการ ตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

3 . 1 . 5 การกระทบยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงการกระทบยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับ รายการที่ รับรู้ก่อนการรับรู้ที่เกี่ยวข้องจากต้นรอบระยะเวลาไปปลายรอบระยะเวลาโดยแยกแสดง รายการกระทบยอดจากรายการค่าเผื่อการด้อยค่าและการกลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่า และ แสดง การวิเคราะห์การคาดการณ์การรับรู้ สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ที่เหลืออยู่ ณ วันที่สิ้นสุดรอบระยะเวลารายงานในกําไรหรือขาดทุน การคาดการณ์การรับรู้ สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สัญญาประกันภัยที่ออก 25X1 25X0 ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ระหว่างรอบระยะเวลา จํานวนเงินที่เกิดจากการเลิกรับรู้ ณ วันที่มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของกลุ่มของ สัญญาประกันภัย ขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ระหว่างรอบระยะเวลา การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ในรอบระยะเวลาก่อน ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม จํานวนปีที่คาดว่าจะเลิกรับรู้รายการ 1 2 3 รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X0

3.2 ประเภท ก - สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ 3.2.1 การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหม ทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยต่อ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสด เพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่ เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัย ต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่มีต่อรายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่มีผลกระทบกับสินทรัพย์และหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข้อ 3.2.1) - กระทบยอดการวัด มูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ ( ข้อ 3.2.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี ( ข้อ 3.2.3) - จานวนเงินที่พิจารณาสำหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 3.2.4)

25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหม ทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว รวม กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

3 . 2 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1 : 25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหมทดแทน ที่เกิดขึ้น แล้ว และค่าใช้จ่ายจากการประกันภัยต่ออื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องโดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับ รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจาก การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับการบริการใน อนาคต

25X1 : 25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลง ในกระแสเงินสดที่ทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหม ทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่เกี่ยวข้องกับผลขาดทุนจาก สัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับการบริการใน อดีต ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

3.2.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาประกันภัยที่ไม่มีกําไร สุทธิ สัญญาประกันภัยที่มีกําไร สุทธิ รวม สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายใน อนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [5] [5] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น การเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

3.2.4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 กําไรจากการให้บริการตามสัญญาด้วยวิธีการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน 25X1:25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาใหม่และ สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการปรับ ย้อนหลังแบบ ดัดแปลงในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีมูลค่า ยุติธรรมในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจาก การให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับการ บริการในอนาคต ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

4 . ประเภท ข - สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ 4.1 ประเภท ข - สัญญาประกันภัยที่ออก 4.1.1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว โดยให้บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ตามดุลยพินิจที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่ วมรับผลประโยชน์ โดยตรง ตัวอย่างการเปิดเผยในข้อ 4.1.1 แสดงการกระทบยอดสําหรับรายการที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัด มูลค่าทั่วไป วิธีค่าธรรมเนียมผันแปร และวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย ในกรณีที่ประเภทของ สัญญาที่จัดประเภทตาม IFRS 17 ย่อหน้าที่ 96 ไม่มีการวัดมูลค่าด้ว ยวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย การแยกหัวตาราง (คอลัมน์) ด้านล่าง จะเหมือนกับหมายเหตุข้อ 3.1.1 วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับ สัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป วิธีค่าธรรมเนียมผันแปร และ วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข้อ 4.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 4.1.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี ( ข้อ 4.1.3) - จานวนเงินที่พิจารณาสำหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 4.1.4) - การกระทบยอดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่ง การประกันภัย ( ข้อ 4.1.5) - การเปิดเผยเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้อง ( ข้อ 4.1.6)

25X1:25X0 หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย รวม สัญญาประกันภัยที่ออก ไม่รวม องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยง ทางการเงิน ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ล่วงหน้าอื่นๆที่ เลิกรับรู้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต - การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จ สิ้นตามสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับ ค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระและ การกลับรายการของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มา ซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรง อื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม

25X1:25X0 หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการ ปันส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย รวม สัญญาประกันภัยที่ออก ไม่รวม องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน องค์ประกอบ ที่เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยง ทางการเงิน ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

4.1.2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการบริการ ประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการให้บริการ ตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้างภาระและ การกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ที่เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่เกี่ยวข้องกับ การบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3]

25X1:25X0 มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

4.1.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่างสําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง โด ยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 สัญญาที่ออก สัญญาที่ได้มา ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระเมื่อ เริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระเมื่อ เริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มา ซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

4.1.4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 รายได้จากการประกันภัยและกําไรจากการให้บริการตามสัญญาโดยวิธีการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน วิธีการและข้อสมมติฐานที่บริษัทใช้ในการปฏิบัติวิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลง และวิธีมูลค่า ยุติธรรมในช่วงเปลี่ยนแปลงนั้นเปิดเผยไว้ในหมายเหตุ X.X.X บริษัทแยกแสดงตารางด้านล่าง สําหรับ สัญญาประกันภัยที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ ที่ออก และ สัญญาประกันภัยที่มีลักษณะร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง 25X1:25X0 สัญญาใหม่และ สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับปรุง ย้อนหลังในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับย้อนหลัง แบบดัดแปลงใน การปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีมูลค่า ยุติธรรมในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม รายได้จากการประกันภัย กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการให้บริการ ตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

4.1.4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ต่อ) สําหรั บสั ญญาประกั นภั ยที ่ มี ลั กษณะการร่ วมรั บผลประโยชน์ โดยตรง ให้ บริ ษั ทแสดง การเปลี่ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสะสม สําหรับสินทรัพย์เพื่อการลงทุนที่วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับกลุ่มสัญญาที่บริษัทใช้วิธีการปรับย้อนหลังแบบ ดัดแปลง หรือวิธีมูลค่ายุติธรรมในช่วงการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 25X1:25X0 จํานวนที่กําหนด ณ การปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน จํานวนหลังการ ปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสํารองมูลค่ายุติธรรม กําไรสุทธิจากเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ซึ่งจัดประเภทใหม่เป็นกําไรหรือขาดทุนจากการ จําหน่าย ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้อง ยอดคงเหลือปลายงวดสํารองมูลค่ายุติธรรม อ้างอิงถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 88( ข ) หรือ 89( ข ) 88 ในกรณีที่ไม่ได้นําย่อหน้า 89 มาถือปฏิบัติ กิจการต้องเลือกนโยบายการบัญชีระหว่าง ( ก) การรวมรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสําหรับรอบระยะเวลาในกําไรหรือขาดทุน หรือ ( ข) การแยกรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสําหรับรอบระยะเวลา เพื่อรวมในกําไรหรือขาดทุนสําหรับจํานวนเงินที่พิจารณา โดยใช้การปันส่วนอย่างเป็นระบบของรายได้หรือ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยที่คาดการณ์ทั้งหมดตลอดช่วงระยะเวลาของกลุ่มของสัญญา ประกันภัยโดยถือปฏิบัติตามย่อหน้า ข 130 – ข 133 89 สําหรับสัญญาประกันภัยที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง ที่กิจการถือรายการอ้างอิง กิจการต้องเลือกนโยบายการบัญชีระหว่าง: ( ก) รวมรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสําหรับรอบระยะเวลาในกําไรหรือขาดทุน ; หรือ ( ข) แยกรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสําหรับรอบระยะเวลา เพื่อรวมในกําไรหรือขาดทุนสําหรับจํานวนที่ขจัดการจับคู่ อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชีกับรายได้หรือค่าใ ช้จ่ายที่รวมในกําไรหรือขาดทุนของรายการอ้างอิงที่ถือไว้โดยถือปฏิบัติตามย่อหน้า ข 134 – ข 136 ตัวอย่าง สําหรับกลุ่มสัญญาที่กิจการใช้วิธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลง (modified retrospective approach) หรือวิธีมูลค่ายุติธรรมในช่วงเปลี่ยนแปลง เป็นมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 และที่กิจการนําทางเลือกในงบกําไรเบ็ดเสร็จอื่นมาถือปฏิบัติตาม IFRS 17 ( 88 ) (ข ) หรือ IFRS 17 ( 89 ) (ข) กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับจํานวนเงินในทุนสํารองมูลค่ายุติธรรมภาย ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่ถูกกําหนดเมื่อเริ่มการ เปลี่ยนแปลง และคงอยู่ในรอบระยะเวลารายงาน โดยเฉพาะสินทรัพย์เพื่อการลงทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุดเบ็ดเสร็จอื่นที่เกี่ ยวข้องกับ กลุ่มสัญญาดังกล่าว กิจการต้องทําการกระทบยอดคงเหลือต้นงวดและปลายงวดสําหรับ จํานวนเงินสะสมในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การกระทบ ยอดสะสมของทุนสํารองมูลค่ายุติธรรมภายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับสินทรัพย์เพื่อการลงทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุดเ บ็ดเสร็จ อื่นของกลุ่มสัญญาที่มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง กิจการสามารถถือปฏิบัติวิ ธีการปรับย้อนหลังแบบดัดแปลง หรือวิธีมูลค่ายุติธรรมในช่วง เปลี่ยนแปลงเป็นมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 ดังที่แสดงในตาราง

4 . 1 . 5 การกระทบยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงการกระทบยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับ รายการที่ รับรู้ก่อนการรับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้องจากต้นรอบระยะเวลาไปปลาย รอบระยะเวลาโดยแยกแสดงรายการกระทบยอดจากรายการค่าเผื่อการด้อยค่าและการกลับ รายการค่าเผื่อกา รด้อยค่าและแสดงการวิเคราะห์การคาดการณ์การรับรู้สินทรัพย์จากกระแสเงิน สดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยที่เหลืออยู่ ณ วันที่สิ้นสุดรอบระยะเวลารายงานในกําไรหรือ ขาดทุน การคาดการณ์การรับรู้ สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สัญญาประกันภัยที่ออก 25X1 25X0 ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ระหว่างรอบระยะเวลา จํานวนเงินที่เกิดจากการเลิกรับรู้ ณ วันที่มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของกลุ่มของ สัญญาประกันภัย ขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ระหว่างรอบระยะเวลา การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ในรอบระยะเวลาก่อน ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม จํานวนปีที่คาดว่าจะเลิกรับรู้รายการ 1 2 3 รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X0

4 . 1 .6 การเปิดเผยเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้อง หากกิจการเลือกที่จะไม่ปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับบางการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา บริษัทต้องเปิดเผยผลกระทบของทางเลือกดังกล่าวต่อ การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับรอบระยะเวลาปัจจุบัน สําหรับสัญญาที่มี ลักษณะการ ร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง หากกิจการเปลี่ยนเกณฑ์การแบ่งแยก จํานวน รายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ระหว่างกําไรหรือขาดทุนและกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลในรอบระยะเวลาที่มีการเปลี่ยน แปลงวิธีเกิดขึ้น ดังต่อไปนี้ (ก) เหตุผลว่าทําไมกิจการจําเป็นต้องเปลี่ยนเกณฑ์ในการแบ่งแยก (ข) จํานวนเงินของรายการปรับปรุงในแต่ละรายการในงบการเงินที่ได้รับผลกระทบ และ (ค) มูลค่าตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ณ วันที่มีการ เปลี่ยนแปลง

  1. ประเภท ค – สัญญาที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย และไม่วัดมูลค่าด้วยวิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย 5 . 1 ประเภท ค – สัญญาประกันภัยที่ออก 5 . 1 . 1 การกระทบยอดหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว 25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่ม สัญญาที่ไม่ได้อยู่ ภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับกลุ่มสัญญา ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบันของ กระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทาง การเงิน ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สิน จากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม รายได้จากการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูลในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัด มูลค่าทั ่วไป และวิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดหนี้สินสาหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และหนี้สินสาหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข้อ 5.1.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย ( ข้อ 5.1.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี ( ข้ อ 5.1.3) - จานวนเงินที่พิจารณาสำหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 5.1.4) - การกระทบยอดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทาให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ( ข้อ 5.1.5)

25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่ม สัญญาที่ไม่ได้อยู่ ภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับกลุ่มสัญญา ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบันของ กระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทาง การเงิน รายการสินทรัพย์กระแสเงินสดรับรู้ ล่วงหน้าอื่นๆที่เลิกรับรู้ ณ วันรับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการใน อดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสด เพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหม ทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ผลขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ และการกลับรายการของผลขาดทุน การตัดจําหน่ายกระแสเงินสด ที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญา ประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ใน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สิน จากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์

25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่ เหลืออยู่ หนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่ม สัญญาที่ไม่ได้อยู่ ภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ย ประกันภัย หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับกลุ่มสัญญา ภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย รวม ไม่รวม องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน องค์ประกอบที่ เป็นส่วน ขาดทุน มูลค่า ปัจจุบันของ กระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุง ความเสี่ยง สําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทาง การเงิน จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

5 . 1 . 2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัย โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการบริการ ประกันภัย การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงในประมาณการที่ส่งผลต่อสัญญาที่สร้างภาระและ การกลับรายการของผลขาดทุนนั้น สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ เกี่ยวข้องกับหนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ค่าใช้จ่าย (รายได้) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด

25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก มูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม เบี้ยประกันภัยรับ ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ จ่ายแล้ว กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัย ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัย ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

5 . 1 . 3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาที่ออก สัญญาที่ได้มา ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก ไม่ใช่สัญญาที่ สร้างภาระ เมื่อเริ่มแรก สัญญาที่สร้าง ภาระเมื่อ เริ่มแรก รวม ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต - กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย - กระแสเงินสดที่ไม่รวมกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มา ซึ่งการประกันภัย ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยง ทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [4] หนี้สินจากสัญญาประกันภัยที่เพิ่มขึ้นจากสัญญา ที่รับรู้ในรอบระยะเวลา [4] หมายเหตุ : ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย และการเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

5 . 1 . 4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 25X1 : 25X0 สัญญาประกันภัยที่ออก สัญญาใหม่และ สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติ ในช่วงเปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการปรับ ย้อนหลังแบบ ดัดแปลงในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีมูลค่า ยุติธรรมในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม รายได้จากการประกันภัย กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนจากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับที่ เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออก จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5 . 1 . 5 การกระทบยอด สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ให้บริษัทแสดงการกระทบยอดสินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สําหรับ รายการที่ รับรู้ก่อนการรับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้องจากต้นรอบระยะเวลาไปปลาย รอบระยะเวลาโดยแยกแสดงราย การกระทบยอดจากรายการค่าเผื่อการด้อยค่าและการกลับ รายการค่าเผื่อการด้อยค่า และแสดง การวิเคราะห์การคาดการณ์การรับรู้ สินทรัพย์จาก กระแสเงิน สดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ที่เหลืออยู่ ณ วันที่สิ้นสุดรอบระยะเวลารายงานในกําไรหรือขาดทุน การคาดการณ์การรับรู้ สินทรัพย์จาก กระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย สัญญาประกันภัยที่ออก 25X1 25X0 ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย กระแสเงินสดที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ระหว่างรอบระยะเวลา จํานวนเงินที่เกิดจากการเลิกรับรู้ ณ วันที่มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของกลุ่มของ สัญญาประกันภัย ขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ระหว่างรอบระยะเวลา การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ในรอบระยะเวลาก่อน ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมสุทธิจากการกลับรายการที่รับรู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม จํานวนปีที่คาดว่าจะเลิกรับรู้รายการ 1 2 3 รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X0

5.2 ประเภท – ค สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ 5.2.1 กระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว 25X1:25X0 ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย มูลค่าปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์ตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยต่อ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตาม สัญญาของค่าสินไหมทดแทนรับคืนจากการประกันภัยต่อ ที่เกิดขึ้นแล้ว รายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิง ที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุน นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้ เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญาประกันภัยต่อที่ีถือไว้ วัตถุประสงค์เพื่อแสดงข้อมูล ในระดับประเภทสัญญา / เขตภูมิศาสตร์ / ส่วนงาน ตามย่อหน้าที่ 96 สำหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ที่วัดมูลค่าด้วยวิธีการวัดมูลค่าทั ่วไป และวิธีการปันส่วนเบี้ย ประกันภัย โดยแสดงข้อมูล - การกระทบยอดความคุ้มครองที่เหลืออยู่ และค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข้อ 5.2.1) - กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ ( ข้อ 5.2.2) - ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี ( ข้อ 5.2.3) - จานวนเงินที่พิจารณาสำหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐาน การรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 ( ข้อ 5.2.4)

25X1:25X0 ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว สําหรับกลุ่มสัญญาภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ความคุ้มครอง ที่เหลืออยู่ ค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้นแล้วสําหรับ กลุ่มสัญญาที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้วิธีการปัน ส่วนเบี้ยประกันภัย มูลค่าปัจจุบัน ของกระแส เงินสดใน อนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน รวม การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา ของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [3] จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ องค์ประกอบที่เป็นการลงทุน การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์สัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินตามสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม [3] หมายเหตุ : ตัวอย่างเช่น ผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน

  1. 2 .2 กระทบยอดการวัดมูลค่าองค์ประกอบของยอดคงเหลือในสัญญาประกันภัยต่อ โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1 : 25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ยอดคงเหลือต้นงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือต้นงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน การเปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับความเสี่ยงที่สิ้นสุดแล้ว ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหมทดแทนที่ เกิดขึ้น แล้ว และค่าใช้จ่ายจากการประกันภัยต่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยตรง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกใน รอบระยะเวลา การปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญาสําหรับรายได้ ณ วันรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ การกลับรายการขององค์ประกอบที่เป็นส่วนขาดทุนนอกเหนือจากการ เปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญา ประกันภัยต่อที่ีถือไว้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของสัญญา ประกันภัยต่อที่ถือไว้จากสัญญาที่อ้างอิงที่สร้างภาระ ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในงวดที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอดีต – การเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดที่ทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาของค่าสินไหมทดแทนรับคืน จากการประกันภัยต่อที่เกิดขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่เกี่ยวข้องกับผลขาดทุนจาก สัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น

25X1 : 25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงิน สดในอนาคต ค่าปรับปรุงความ เสี่ยงสําหรับความ เสี่ยงที่ไม่ใช่ความ เสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการ ให้บริการตาม สัญญา รวม ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจาก เบี้ยประกันภัยจ่าย จากการเอาประกันภัยต่อในงวดที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอดีต ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงของผู้รับประกันภัย ต้นทุนความคุ้มครองย้อนหลัง (Cost of retroactive cover) สําหรับ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ กระแสเงินสด เบี้ยประกันภัยจ่ายสุทธิ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รับคืนจากการประกันภัยต่อ กระแสเงินสดรวม ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลือปลายงวดสินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดคงเหลือปลายงวดหนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ยอดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5 .2.3 ผลกระทบของสัญญาที่รับรู้ในปี โดยรายการที่แสดงด้านล่างไม่รวมสัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธีการปันส่วนเบี้ยประกันภัย 25X1:25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาประกันภัยที่ไม่มีกําไร สุทธิ สัญญาประกันภัยที่มีกําไร สุทธิ รวม สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา สัญญาที่ซื้อ สัญญาที่ ได้มา ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคต ประมาณการมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน กําไรจากการให้บริการตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ [5] [5] หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น การเลิกรับรู้ของกระแสเงินสดที่รับรู้ล่วงหน้าอื่นๆ

5 .2.4 จํานวนเงินที่พิจารณาสําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 กําไรจากการให้บริการตามสัญญาด้วยวิธีการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน 25X1:25X0 สัญญาประกันต่อที่ถือไว้ สัญญาใหม่และ สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการ ปรับปรุงย้อนหลัง ในการปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีการปรับ ย้อนหลังแบบ ดัดแปลงในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน สัญญาที่วัดมูลค่า ภายใต้วิธีมูลค่า ยุติธรรมในการ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยนผ่าน รวม กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในปัจจุบัน กําไรจากการให้บริการตามสัญญาที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน จากการให้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับบริการในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในประมาณการซึ่งปรับปรุงกําไรจากการ ให้บริการตามสัญญา สัญญาที่รับรู้เริ่มแรกในรอบระยะเวลา ค่าปรับปรุงตามประสบการณ์ – ที่เกิดจากเบี้ยประกันภัยจ่ายจากการ เอาประกันภัยต่อในงวดที่เกี่ยวข้องกับการบริการในอนาคต ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ จํานวนเงินรวมที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5.3 พัฒนาการค่าสินไหมทดแทน 5.3.1 พัฒนาการค่าสินไหมทดแทนก่อนการประกันภัยต่อ การจ่ายค่าสินไหมทดแทนเปรียบเทียบกับประมาณการของจํานวนเงินก่อนการคิดลดของค่าสินไหมทดแทนที่คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ตามตารางพัฒนากา รค่าสินไหมทดแทน ก่อนการประกันภัยต่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 และ 25X0 ปีรับประกันภัย/ปีอุบัติเหตุ* 2 5X0 - 4 2 5 X0 - 3 2 5 X 0 - 2 2 5 X 0 - 1 25X0 25X1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทน ( ก่อนการประกันภัยต่อ , ไม่คิดลด ) ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ หนึ่งปีถัดไป สองปีถัดไป สามปีถัดไป สี่ปีถัดไป ห้าปีถัดไป ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รวมสํารองค่าสินไหมทดแทนสะสม – ปีอุบัติเหตุ 2 5 X 0 - 4 ถึง 25X1 รวมสํารองค่าสินไหมทดแทนสะสม – ก่อนปีอุบัติเหตุ ปรับปรุงอัตราคิดลด ปรับปรุงค่าความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว

5.3.2 พัฒนาการค่าสินไหมทดแทนสุทธิ การจ่ายค่าสินไหมทดแทนเปรียบเทียบกับประมาณการของจํานวนเงินก่อนการคิดลดของค่าสินไหมตามตารางพัฒนาการค่าสินไหมทดแทนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 และ 25X0 ปีรับประกันภัย/ปีอุบัติเหตุ* 2 5X0 - 4 2 5 X0 - 3 2 5 X 0 - 2 2 5 X 0 - 1 25X0 25X1 รวม ประมาณการค่าสินไหมทดแทนสุทธิ ( ประกันภัยต่อสุทธิ , ไม่คิดลด ) ณ สิ้นปีอุบัติเหตุ หนึ่งปีถัดไป สองปีถัดไป สามปีถัดไป สี่ปีถัดไป ห้าปีถัดไป ค่าสินไหมทดแทนจ่ายสะสม และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงอื่น ๆ รวมสํารองค่าสินไหมทดแทนสะสม – ปีอุบัติเหตุ 2 5 X 0 - 4 ถึง 25X1 รวมสํารองค่าสินไหมทดแทนสะสม – ก่อนปีอุบัติเหตุ ปรับปรุงอัตราคิดลด ปรับปรุงค่าความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้วสุทธิ อ้างอิงถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 ย่อหน้าที่ 130 กิจการต้องเปิดเผยค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับที่ได้ประมาณการไว้ของจํานวนค่าสินไหมทดแทนที่ไม่ได้คิดลด (กล่าวคือ พัฒนาการของค่าสินไหมทดแทน) การเปิดเผยเกี่ยวกับพัฒนาการของค่าสินไหมทดแทนต้องเริ่มจากรอบระยะเวลาแรกสุดที่มีค่า สินไหมทดแทนที่มีสาระสําคั ญเกิดขึ้น ที่ยังคงมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงินและจังหวะเวลาของการจ่ายค่าสินไหมทดแทนนั้น ณ สิ้นรอบระยะเวลารายงาน แต่การเปิดเผย ไม่จําเป็นต้อง ย้อน ไปนานเกิน กว่า 10 ปี ก่อนวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กิจการไม่ต้อง เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาการของสินไหมทดแทนที่ยังมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงินและจังหวะเวลาของการจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ โดยปกติจะยุติภายใน 1 ปี กิจการต้องกระทบยอดการเปิดเผยเกี่ยวกับการพัฒนาการของสินไหมทดแทน กับ มูลค่าตามบัญชี แบบรวบยอด ของก ลุ่มสัญญาประกันภัย ซึ่งกิจการเปิดเผยตามย่อหน้า 100 .3 * สนับสนุนให้กิจการเปิดเผยพัฒนาการค่าสินไหมทดแทนตามปีรับประกันภัยเพื่อให้สอดคล้องกับมุมมองการรวมกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่ออกห่า งกันไม่เกิน 1 ปี ( Annual cohort) ทั้งนี้บริษัทสามารถเลือกเปิดเผยตามปีอุบัติเหตุกรณีที่ไม่สามารถเปิดเผยตามปีรับ ประกันภัยได้

6 . การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ให้แสดงรายละเอียดและมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ 25X1:25X0 เครื่องมือทาง การเงินที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กําไรหรือขาดทุน เครื่องมือทาง การเงินที่กําหนด ให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือ ขาดทุน เงินลงทุนในตรา สารหนี้ที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนในตรา สารทุนที่กําหนด ใ ห้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น เครื่องมือทาง การเงินที่วัด มูลค่าด้วยราคา ทุนตัดจําหน่าย รวม สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx - xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx - - xxx - xxx สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx - - - - xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ - xxx - - xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม - - - - xxx xxx หนี้สินจากสัญญาลงทุน - - - - xxx xxx หนี้สินอนุพันธ์ xxx - - - - xxx หนี้สินทางการเงินอื่น - xxx - - xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์อ้างอิง [1] xxx xxx xxx xxx xxx xxx เงินลงทุนอื่น xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx [1] อ้างอิงตาม IFRS 17 (111 - 113) สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง กิจการต้องอธิบายส่วนประกอบของรายการอ้างอิงและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของรายการอ้างอิง

มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินตามประเภทผลิตภัณฑ์แสดงตามรายการด้านล่าง 25X1:25X0 31 ธันวาคม 25X1 มีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ โดยตรง [1] อื่น ๆ รวม สินทรัพย์อ้างอิง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ อื่น ๆ รวม เงินลงทุนอื่น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน สินทรัพย์อนุพันธ์ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ อื่น ๆ รวม [1] อ้างอิงตาม IFRS 17 (111 - 113) สําหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์โดยตรง กิจการต้องอธิบายส่วนประกอบของรายการอ้างอิงและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของรายการ อ้างอิง

  1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ดังนี้ 25X1 25X0 เงินสด XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทไม่กําหนดระยะเวลาจ่ายคืน XXX XXX เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลา และบัตรเงินฝากธนาคาร XXX XXX บัตรเงินฝากสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินลงทุนระยะสั้น XXX XXX รวม XXX XXX หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น XXX XXX เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - สุทธิ XXX XXX 8. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

25X1 25X0 ราคาทุนตัดจําหน่าย ราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจําหน่าย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ เงินฝากสถาบันการเงินที่ครบกําหนด เกินกว่า 3 เดือน อื่น ๆ รวม หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุน หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรหรือขาดทุน รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ หากบริษัทประกันภัยมีตราสารหนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

นอกจากนี้ให้บริษัทวิเคราะห์และเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ มูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อผลขาดทุนที่คาด ว่าจะเกิดขึ้นที่ รับรู้ใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น ตราสารหนี้ที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Stage 2 ) XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX รวม XXX XXX มูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ค่าเผื่อผลขาดทุนที่คาด ว่าจะเกิดขึ้น มูลค่าตามบัญชี ตราสารหนี้ที่วัดด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้าน เครดิต (Stage 2 ) XXX XXX XXX ตราสารหนี้ที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต (Stage 3 ) XXX XXX XXX รวม XXX XXX XXX 9. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารทุนในประเทศ ตราสารทุนต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารทุนในประเทศ ตราสารทุนต่างประเทศ อื่น ๆ รวมตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือ ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมสินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน

นอกจากนี้ สําหรับเงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้ เปิดเผยเหตุผลในการจัดประเภทตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งเหตุผลในการถือครองตราสารทุนดังกล่าว และหากมีกา รเลิกรับรู้เงินลงทุนดังกล่าวออกจากบัญชี ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้ 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม เงินปันผลรับระหว่างปี เงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น … xxx xxx … xxx xxx … xxx xxx รวม xxx xxx 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่มีการ เลิกรับรู้รายการ เงินปันผลรับ กําไรหรือ ขาดทุนสะสม จากการเลิกรับรู้ รายการ เหตุผลในการ เลิกรับรู้รายการ เงินลงทุนในตราสารทุนที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นถูกเลิกรับรู้รายการออกจาก บัญชี: … xxx xxx xxx … … xxx xxx xxx … … xxx xxx xxx … รวม xxx xxx xxx ในกรณีที่มีหลักทรัพย์ที่อยู่ในระหว่างการให้ยืม หรือหลักทรัพย์ที่นําไปวางเป็นหลักประกัน ให้เปิดเผยจํานวน หลักทรัพย์และมูลค่าของหลักทรัพย์ในแต่ละประเภทที่นําไปประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย

  1. อนุพันธ์ ให้แสดงตารางยอดรวมสินทรัพย์และหนี้สินอนุพันธ์รวมถึงอนุพันธ์แฝง ที่ถูกแยกออกจากสัญญาหลักในกรณี ที่เข้าเงื่อนไขตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยในแต่ ละหัวข้อของวัตถุประสงค์ในการใช้ ให้แสดงตารางดังต่อไปนี้แสดงเปรียบเทียบปี 25X1 และ 25X0 พร้อม ทั้งอธิบายโดยย่อถึงลักษณะการใช้ อนุพันธ์ ที่ไม่ได้นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ ประเภทสัญญาและ วัตถุประสงค์ จํานวนเงิน ตามสัญญา มูลค่ายุติธรรมของสัญญา กําไร (ขาดทุน) จาก มูลค่ายุติธรรมของ อนุพันธ์ จํานวนสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน

  2. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ (ไม่รวมเงินให้กู้ยืมจากสัญญาประกันภัย ( Policy Loan)) ให้เปิดเผยรายการเงินลงทุนในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งและดอกเบี้ย ค้างรับเปรียบเทียบ 2 ปี อย่างน้อย ดังนี้ 25X1 : 25X0 การจัดชั้น เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ รวม ทรัพย์สินจํานอง เป็นประกัน หลักทรัพย์ เป็นประกัน อื่น ๆ เงินให้กู้ยืมที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx เงินให้กู้ยืมที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อหรือได้มา xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืม - สุทธิ xxx xxx xxx xxx

25X1 : 25X0 การจัดชั้น ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ ลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวม ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ดอกผลเช่าซื้อ รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ คงเหลือ ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว รายได้ดอกเบี้ย ที่ยังไม่ได้รับ จากสัญญาเช่า ระยะยาว ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า ระยะยาว คงเหลือ ลูกหนี้ที่ไม่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 1 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสําคัญของความ เสี่ยงด้านเครดิต ( Stage 2 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิต ( Stage 3 ) xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx ลูกหนี้ที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกที่ซื้อ หรือได้มา xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมลูกหนี้ - สุทธิ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวมเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ย ค้างรับ ลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สิน แบบลิสซิ่ง - สุทธิ xxx สําหรับเงินให้กู้ยืมประเภทอื่น เช่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานในโครงการสวัสดิการ ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับ วงเงินให้กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และจํานวนเงินให้กู้ยืมค้างชําระของเงินให้กู้ยืม เป็นต้น หากบริษัทมีเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนให้เปิดเผยตามมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. อนุพันธ์ที่นําการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบัติใช้ การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้อธิบายโดยย่อถึงกลยุทธ์และวิธีการบริหาร จัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแต่ละประเภทสําหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม การป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสด และการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่ว ยงานต่างประเทศ ซึ่งบริษัทประกันภัยถือ ปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยง รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (hedging instruments) รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (hedged Items) วิธีการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่าง เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเพื่อประเมินความมีประสิทธิผลของการ ป้องกันความเสี่ยง วิธีการกําหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง และแหล่งที่มาของความไม่มีประสิทธิผล ของการป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพอื่น ๆ ตามที่กําหนดในมาตรฐาน การบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 13. การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน หากบริษัทมีรายการเกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีบางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทาง การเงินนั้นที่ไม่เข้าเงื่อนไขการเลิกรับรู้รายการออกจากบัญชี เช่น - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยไม่เลิกรับรู้ทั้งจํานวน - สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกโอนโดยเลิกรับรู้ทั้งจํานวนแต่ยังมีความเกี่ยวข้องต่อเนื่องในสินทรัพย์เหล่านั้น ให้เปิดเผยตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 14. เงิ นลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ให้เปิดเผยเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  2. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้ เปิดเผย รายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเปรียบเทียบ 2 ปี 25X1 : 25X0 ชื่อโครงการ / รายการ ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม รวม และเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ - จํานวนที่ได้รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนสําหรับ ( 1 ) รายได้ค่าเช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ( 2 ) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับรอบระยะเวลา ( 3 ) ค่าใช้จ่ายใ นการดําเนินงานทางตรง (รวมทั้งค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา) ที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับรอบระยะเวลา - จํานวนเงินและข้อจํากัดที่มีในการรับรู้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน หรือจํานวนเงินที่ได้รับจากรายได้ และจากการจําหน่า ย - ข้อตกลงที่สําคัญในการซื้อ ก่อสร้าง หรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - การกระทบยอดระหว่างมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันต้นรอบระยะเวลากับ วันสิ้นรอบระยะเวลา โดยแสดงถึงรายการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ส่วนเพิ่มโดยแสดงแยกกันระหว่างส่วนเพิ่มที่เกิดจากการซื้อ กับส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมรายจ่าย เข้าเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ( 2 ) ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการรวมกิจการ ( 3 ) สินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นทรัพย์สินรอการขาย ( 4 ) กําไรหรือขาดทุนสุทธิจากการตีราคาให้เป็นมูลค่ายุติ ธรรม ( 5 ) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ( 6 ) การโอนไปหรือโอนจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน และ ( 7 ) การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

กรณีที่อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนไม่มีการประเมินโดยผู้ประเมินอิสระซึ่งมีคุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญใน วิชาชีพ และมีประสบการณ์ในทําเลที่ตั้งและประเภทของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่มีการประเมินนั้น บริษัทต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงไว้ด้วย 16. ทรัพย์สินรอการขาย ให้เปิดเผยรายละเอียดของทรัพย์สินรอการขาย เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25X1 : 25X0 ประเภททรัพย์สินรอการขาย ยอดต้นงวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอดปลายงวด 1. ทรัพย์สินที่ได้จากการชําระหนี้ 1.1 อสังหาริมทรัพย์ 1.2 สังหาริมทรัพย์ รวม 2. อื่น ๆ * รวมทรัพย์สินรอการขาย หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX * กรณีสินทรัพย์ที่เลิกใช้งานไม่เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องแสดงรายการ 17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้

25X1 : 25X0 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอด ต้นงวด เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอด ต้นงวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอด ต้นงวด ค่าเสื่อม ราคา จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ สุทธิ ต้นงวด ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ สุทธิ ปลายงวด ที่ดิน ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อาคาร ราคาทุนเดิม ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม ส่วนที่ตีราคาลดลง อุปกรณ์ สินทรัพย์เลิกใช้งาน อื่น ๆ รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX นอกจากนี้ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ให้เปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้และมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงนั้นด้วย จําน วนและข้อจํากัดในกรรมสิทธิ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน และราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมสําหรับที่ดิน อำคาร และอุปกรณ์ ซึ่งหักค่าเสื่อมราคาทั้งจํานวนแต่ยังใช้งานอยู่ รวมทั้ง ให้ระบุปีที่ตีราคาของสินทรัพย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงการตีราคาด้วย กรณีของที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น ซึ่งบริษัทมิได้ใช้เพื่อดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงานแล้ว แต่ไม่เข้าเงื่อนไขในการจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้ เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 ให้บริษัทเปิดเผยรายการสินทรัพย์เลิกใช้งานแยกตามแต่ละประเภทขอ งสินทรัพย์ด้วย

  1. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 18.1 ค่าความนิยม ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการได้มาซึ่งค่าความนิยม และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกําหนด 18.2 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยแสดงต้นทุน และค่าตัดจําหน่ายสะสม รวมทั้งค่าเผื่อการด้อยค่า เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ 25X1 : 25X0 ราคาทุน ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ยอด ต้นงวด เพิ่มขึ้น ยอด ปลายงวด ยอด ต้นงวด ค่าตัด จําหน่าย ยอด ปลาย งวด ยอดต้น งวด ขาดทุนจาก การด้อยค่า ระหว่างปี ยอด ปลาย งวด สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สุทธิต้นงวด สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สุทธิ ปลายงวด เกิดจากการพัฒนาขึ้นภายในกิจการ … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการซื้อ / ได้มาในภายหลัง … … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX เกิดจากการรวม / โอนธุรกิจ มูลค่าปัจจุบันของธุรกิจที่ยังมีผลบังคับ … รวม XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX รวมทั้งสิ้น XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX สําหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือกลุ่มสัญญาประกันภัยให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่ำว

  2. สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ให้เปิดเผยส่วนประกอบของสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และกระทบยอดการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลอื่น ๆ ตามที่มาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนด 20. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน หาก บริษัท มีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงินให้เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 21. หนี้สินจากสัญญาลงทุน ให้เปิดเผยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินตามสัญญาลงทุน ดังนี้ 25X1 25X0 1 มกราคม รับฝากในรอบระยะเวลา ถอนออกในรอบระยะเวลา ค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการ รายได้จากการลงทุน ผลกระทบจากการปรับมูลค่ายุติธรรม อื่น ๆ 31 ธันวาคม XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) (XXX) XXX XXX XXX XXX

  3. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ให้เปิดเผยรายละเอียดตามประเภทหนี้สิน ดังนี้ เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 25X1 25X0 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร XXX XXX เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม XXX XXX เงินกู้ยืมระยะยาวที่กําหนดชําระเกินหนึ่งปี 25X1 25X0 เงินกู้ยืมจากธนาคารและสถาบันการเงินอื่น XXX XXX เงินกู้ยืมจากการทําธุรกรรมซื้อหรือขายหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ( repo) XXX XXX รวมเงินกู้ยืม XXX XXX รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ทั้งสิ้น XXX XXX นอกจากนี้ ให้เปิดเผย (1) ประเภทและราคาตามบัญชีของทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน (2) เงื่อนไขและข้อจํากัดตามที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ยืม (3) วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมทั้งสิ้น (4) อัตราดอกเบี้ยของยอดคงค้างโดยให้แสดงเป็นช่วงของอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแต่ละประเภท

  4. หนี้สินทางการเงินอื่น หากบริษัทมีรายการหนี้สินทางการเงินที่นอกเหนือจากหนี้สินอนุพันธ์ให้เปิดเผยหนี้สินทางการเงินอื่นเหล่านั้น ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารหนี้ ภาระการส่งคืนหลักทรัพย์ – ตราสารทุน อื่น ๆ รวม 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงของ ความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินกู้ยืม อื่น ๆ รวม 25X1 25X0 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงของ ความเสี่ยงด้านเครดิตเข้างบกําไรขาดทุน เงินกู้ยืม อื่น ๆ รวม

  5. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ให้เปิดเผยข้อมูลโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่รับรอง ทั่วไป สําหรับภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ให้เปิดเผยจํานวนค่าใช้จ่าย และกระทบ ยอดการเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ค้างจ่าย อย่างน้อย ดังนี้ 25X1 25X0 ค่าใช้จ่ายโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย หัก ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ รวมค่าใช้จ่าย XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX 25X1 25X0 ภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ มูลค่าปัจจุบันสุทธิของภาระผูกพัน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ยังไม่รับรู้ หัก ต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ รวมภาระผูกพัน XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX XXX (XXX) XXX 25X1 25X0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน 1 มกราคม ต้นทุนบริการงวดปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก ผลประโยชน์โครงการจ่าย กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX 25X1 25X0 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ 1 มกราคม ผลตอบแทนที่คาดไว้จากสินทรัพย์โครงการ เงินสมทบโครงการจากบริษัทประกันภัย เงินสมทบโครงการจากพนักงาน หัก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 31 ธันวาคม XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX XXX XXX XXX XXX (XXX) XXX XXX

สมมติฐานที่สําคัญของหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเปรียบเทียบ 2 ปี และผลกระทบต่อภาระผูกพันโครงการ ผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ 25. ประมาณการหนี้สิน ให้เปิดเผยประมาณการหนี้สินอื่น ๆ นอกจากภาระหนี้สินที่มีต่อผู้เอาประกันภัยให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 26. เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ ในกรณีที่กิจการออกเครื่องมือทางกำรเงินซึ่งประกอบด้วยส่วนของหนี้สินและทุน และเครื่องมือทางการเงิน นั้นประกอบด้วย อนุพันธ์ แฝงหลายรายการซึ่งมูลค่าของอนุพันธ์แฝงเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กัน ( เช่น ตรา สารหนี้แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนครบกําหนด ) กิจการต้องเปิดเผยลักษณะของ เครื่องมือดั งกล่าวด้วย ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  1. การหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน หากมีการหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้แสดงรายละเอียดดังนี้ 25X1 : 25X0 มูลค่าขั้นต้น มูลค่าที่ นํามาหัก กลบในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าสุทธิ ที่แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน มูลค่าที่ไม่ได้นํามาหักกลบ ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าสุทธิ มูลค่าหักกลบ ตามสัญญา ที่ไม่เข้า เงื่อนไขตาม มาตรฐาน การบัญชี มูลค่า หลักประกัน ทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง สินทรัพย์ทางการเงิน - ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะขายคืน/ธุรกรรมยืม หลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะซื้อคืน/ธุรกรรม ให้ยืมหลักทรัพย์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx xxx xxx ให้เปิดเผยคําอธิบายเกี่ยวกับสิทธิของการหักกลบที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ที่ได้รับรู้ และอยู่ภายใต้ข้อกําหนดของสัญญาหักกลบที่มีผลบังคับใช้ และข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเปิดเผย ของรายการที่ไม่ได้นํามาหักกลบในงบแสดงฐานะการเงิน นอกจากนี้ ให้กระทบยอดมูลค่าสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินกับรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ดังนี้

25X1 : 25X0 ประเภทของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่าสุทธิที่ แสดงในงบ แสดงฐานะ การเงิน รายการใน งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน มูลค่าตามบัญชี ของรายการใน งบแสดงฐานะ การเงิน มูลค่าตามบัญชี ของรายการใน งบแสดงฐานะ การเงินที่ไม่ได้อยู่ ในเงื่อนไขการหัก กลบ สินทรัพย์ทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมซื้อหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะขายคืน/ธุรกรรมยืม หลักทรัพย์ xxx สินทรัพย์ทางการเงิน เพื่อค้า ## xxx xxx - สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx สินทรัพย์อนุพันธ์ ## xxx xxx - อื่น ๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน ( ตัวอย่าง) - ธุรกรรมขายหลักทรัพย์โดยมี สัญญาว่าจะซื้อคืน/ธุรกรรม ให้ยืมหลักทรัพย์ xxx หนี้สินทางการเงิน เพื่อค้า ## xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ xxx หนี้สินอนุพันธ์ ## xxx xxx - อื่น ๆ xxx ## xxx xxx รวม xxx xxx xxx

  1. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าและรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม และให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 : 25X0 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xxx xxx xxx xxx ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xxx xxx xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx ตารางต่อไปนี้แสดงถึงสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและให้เปิดเผยตาม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 25X1 25X0 เงินกู้ยืม [xxx] [xxx] … [xxx] [xxx] มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินต่อไปนี้มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ในบางกรณีกิจการไม่สามารถรับรู้ผลกําไรหรือผลขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย์ทาง การเงินหรือหนี้สินทางการเงิน เนื่องจากไม่มีมูลค่ายุติธรรมทั้งจากราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่อง สําหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่อย่างเดียวกัน ( กล่าวคือ ข้อมูลระดับ 1 ) หรือจากเทคนิคการประเมินมูลค่าที่ ใช้เฉพาะข้อมูลจากตลาดที่สามารถสังเกตได้ ในกรณีดังกล่าวกิจการต้องเปิดเผยข้อมูลตามประเภทของ สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ดังนี้ นโยบายการบัญชีในการรับรู้กําไรหรือขาดทุน จากผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมที่รับรู้เมื่ อเริ่มแรก และ ราคาของการทํารายการเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยต่าง ๆ ( รวมถึงเวลา ) ที่ผู้ร่วมตลาดใช้พิจารณา ในการกําหนดราคาสินทรัพย์หรือหนี้สิน 25X1 25X0 ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ ต้น รอบระยะเวลา การเปลี่ยนแปลงระหว่าง รอบระยะเวลา เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสัญญา การเปลี่ยนแปลงระหว่าง รอบระยะเวลา เนื่องจากการทยอยรับรู้ การเปลี่ยนแปลงระหว่าง รอบระยะเวลา เนื่องจากการสิ้นสุดสัญญา ยอดรวมของผลต่างที่ยังไม่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ณ สิ้น รอบระยะเวลา - เหตุผลที่กิจการสรุปว่า ราคาของการทํารายการไม่ได้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม รวมถึงรายละเอียดของหลักฐานที่สนับสนุน มูลค่ายุติธรรมนั้น

  1. การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินเมื่อนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ในรอบระยะเวลารายงานที่บริษัทประกันภัยนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือ ทางการเงิน มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ให้แสดงรายละเอียด ดังนี้ หมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน การจัดประเภท เดิม การจัดประเภท ใหม่ มูลค่าตามบัญชี เดิม มูลค่าตามบัญชี ใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ## … … xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ ## - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน ## - สินทรัพย์อนุพันธ์ ## … … xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ ## … … xxx xxx - สินทรัพย์ลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยรับความ เสี่ยง ## … … xxx xxx - อื่น ๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ## … … xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน ## … … xxx xxx - หนี้สินอนุพันธ์ ## … … xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น ## … … xxx xxx - อื่น ๆ ## … … xxx xxx รวม xxx xxx

นอกจากนี้ ให้แสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี ดังนี้ มูลค่าตามบัญชี เดิม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชี มูลค่าตามบัญชี ใหม่ จากการจัดประเภท รายการใหม่ จากการวัดมูลค่ารายการ ใหม่ สินทรัพย์ทางการเงิน 1 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - สินทรัพย์อนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . มู ลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 4 . กํา หนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมสินทรัพย์ทางการเงิน xxx xxx xxx xxx หนี้สินทางการเงิน 1 . ราคาทุนตัดจําหน่าย - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม xxx xxx xxx xxx - หนี้สินจากสัญญาลงทุน xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 2 . มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สินอนุพันธ์ xxx xxx xxx xxx - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx 3 . กําหนดให้วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน - หนี้สินทางการเงินอื่น xxx xxx xxx xxx - อื่น ๆ xxx xxx xxx xxx รวม xxx xxx xxx xxx รวมหนี้สินทางการเงิน xxx xxx xxx xxx

สําหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการเมื่อนํามาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9 มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ให้เปิดเผยอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลเข้าใจเกี่ยวกับวิธีที่บริษัทประกันภัยได้ถือปฏิบัติตามข้อก ําหนดของ การจัดประเภทและวัดมูลค่า - เหตุผลในการกําหนดหรือยุติการกําหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน ณ วันที่ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการเป็นการวัด มูลค่าด้วยรา คาทุนตัดจําหน่าย และสําหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการ จากมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนเป็นการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น อันเป็นผลมาจากการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยดังต่อไปนี้ รายการ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทาง การเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ผลกําไรหรือผลขาดทุนของมูลค่า ยุติธรรมที่จะได้รับรู้ในกําไรหรือ ขาดทุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นในระหว่างรอบระยะเวลา รายงาน หากสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงินไม่ได้ถูก เปลี่ยนแปลงการจัดประเภท รายการ ผลกําไรหรือผลขาดทุนของมูลค่า ยุติธรรมที่จะได้รับรู้ในกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นในระหว่างรอบ ระยะเวลารายงาน หากสินทรัพย์ ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภท รายการ สําหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ถูกเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการจากมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุนอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านของมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยดังต่อไปนี้ รายการ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่กําหนดในวันที่ถือ ปฏิบัติเป็นครั้งแรก รายได้ดอกเบี้ยหรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยที่รับ

  1. ทุนเรือนหุ้น ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้ (1) ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้นสามัญ (2) ในกรณีที่ บริษัทมีหุ้ นบุริมสิทธิ ให้เปิดเผยจํานวนและมูลค่าหุ้ นบุริมสิทธิ ตามประเภทของ หุ้นบุริมสิทธิ เช่น หุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปันผลหรือไม่สะสมเงินปันผล เป็นต้น (3) ในกรณีที่บริษัทมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออกและจํานวน คงเห ลือ เงื่อนไข และเงื่อนเวลาในการใช้สิทธิดังกล่าว และภาระผูกพันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สําหรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ให้เปิดเผยจํานวนสิทธิทั้งหมดที่ออก เงื่อนไขและเงื่อนเวลาในการใช้สิทธิดังกล่าว รวมถึงจํานวน ชนิด และราคาของ หุ้นที่ผู้มีสิทธิสามารถซื้อ ได้ จํานวนคงเหลือ และภาระผูกพันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) ในกรณีที่บริษัทมีการเพิ่มหรือลดทุน ให้เปิดเผยจํานวนทุนที่เพิ่มหรือลด ชนิดของหุ้นจํานวนหุ้น มูลค่า ต่อหุ้น ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนหรือลดทุนจากกระท รวงพาณิชย์เมื่อใด ในกรณีที่อยู่ระหว่างดําเนินการในเรื่องดังกล่าวให้เปิดเผยว่าได้ดําเนินการถึงขั้นตอนใด 31. การรายงานข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) ให้บริษัทประกันภัยที่ออกหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์รายงานข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานดําเนินงาน (operating segments) โดยบริษัทอาจแบ่งส่วนงานเป็น การประกันชีวิตแบบสัญญาทั่วไป และการประกันชีวิตควบการลงทุน ก็ได้ 32. ราย ได้จากการลงทุน รายการ 25X1 25X0 ดอกเบี้ยรับ xxx xxx เงินปันผล xxx xxx รายได้อื่น ๆที่เกิดจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่น ๆ โดยให้แยกประเภทตามความเหมาะสม xxx xxx รวม xxx xxx หมายเหตุ ดอกเบี้ยรับสุทธิจากอนุพันธ์ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยให้รวมอยู่ในรายได้ดอกเบี้ยของแต่ละ รายการที่เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ( hedged items)

  2. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือทางการเงิน รายการ 25X1 25X0 กําไร(ขาดทุน)จากการจําหน่ายและการเลิกรับรู้รายการ เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุน ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx xxx xxx xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx รวม xxx xxx 34. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน รายการ 25X1 25X0 กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรม เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารหนี้ที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx ตราสารทุนที่จัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุน xxx xxx อนุพันธ์ xxx xxx อื่น ๆ xxx xxx รวม xxx xxx

  3. รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ผลการวิเคราะห์รายได้จากการลงทุนสุทธิและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสุทธิ แบ่งตามกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ แสดงอยู่ในตารางดังต่อไปนี้ : ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] อื่น ๆ รวม รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) จากการลงทุนสุทธิ - สินทรัพย์ อ้างอิง รายได้ดอกเบี้ยจากสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ได้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านงบกําไรขาดทุน กําไรสุทธิจากเงินลงทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกําไร ขาดทุน ผลขาดทุนด้านเครดิต กําไรสุทธิเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่าน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) จากการลงทุนสุทธิ - สินทรัพย์ อ้างอิง รายได้ (ค่าใช้จ่าย) จากการลงทุนสุทธิ - เงินลงทุนอื่น ๆ รายได้ดอกเบี้ยจากสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ได้วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านงบกําไรขาดทุน กําไรสุทธิจากเงินลงทุนที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกําไร ขาดทุน กําไรสุทธิจากการเลิกรับรู้รายการสินทรัพย์ทางการเงินที่ วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย ผลขาดทุนด้านเครดิต กําไรสุทธิเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ายุติธรรมผ่าน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายได้ (ค่าใช้จ่าย) จากการลงทุนสุทธิ - เงินลงทุนอื่น ๆ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) จากการลงทุนสุทธิ - อื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินจากสัญญาลงทุนสุทธิ กําไรสุทธิจากการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รายได้ (ค่าใช้จ่าย) จากการลงทุนสุทธิ - อื่น ๆ รายได้จากการลงทุนสุทธิ

ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] อื่น ๆ รวม รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัย ที่ออก การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์อ้างอิงของ สัญญาที่วัดมูลค่าภายใต้วิธี VFA ส่วนแบ่งของกิจการจากการเปลี่ยนแปลงของมูลค่า ยุติธรรมของรายการอ้างอิง หรือการเปลี่ยนแปลงใน กระแสเงินสดทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่ไม่ปรับปรุง กําไรจากการให้บริการตามสัญญา ดอกเบี้ยสะสม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและข้อ สมมติฐานทางการเงินอื่น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดที่ทําให้ เสร็จสิ้นตามสัญญาที่อัตราปัจจุบัน เมื่อเทียบกับ locked - in rates การเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัย ที่ออก รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัย ต่อที่ถือไว้ ดอกเบี้ยสะสม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและข้อ สมมติฐานทางการเงินอื่น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดที่ทําให้ เสร็จสิ้นตามสัญญาที่อัตราปัจจุบัน เมื่อเทียบกับ locked - in rates รายได้ ( ค่าใช้จ่าย ) ทางการเงินจากสัญญาประกันภัย ต่อที่ถือไว้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสุทธิ จํานวนเงินที่รับรู้ในงบกําไรขาดทุน รายได้จากการลงทุนสุทธิ - สินทรัพย์อ้างอิง รายได้จากการลงทุนสุทธิ – เงินลงทุนอื่น รายได้จากการลงทุนสุทธิ – อื่น ๆ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสุทธิ จํานวนเงินที่รับรู้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายได้จากการลงทุนสุทธิ - สินทรัพย์อ้างอิง รายได้จากการลงทุนสุทธิ – เงินลงทุนอื่น

ส่วนร่วมรับ ผลประโยชน์ ประเภท ก [1] ประเภท ค [1] ประเภท ง [1] ประเภท จ [1] อื่น ๆ รวม ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสุทธิ จํานวนเงินที่รับรู้ ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย รายได้จากการลงทุนสุทธิ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยสุทธิ รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจาก สัญญาประกันภัยสุทธิ [ 1 ] อ้างอิงตาม IFRS 17 ย่อหน้า 110 บริษัทต้องเปิดเผยและอธิบายจํานวนเงินทั้งหมดของรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยเฉพา ะ อย่างยิ่งกิจการต้องอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยและผลตอบแทนการลงทุนของสินทรัพย์ของกิ จการ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินแหล่งที่มาของ รายได้หรือค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัยที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนและใน กําไรเบ็ดเสร็จ อื่น

3 6. ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ให้แสดงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน อย่างน้อย ดังนี้ 25X1 25X0 ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื่น รวมค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX XXX 37. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ให้เปิดเผยรายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ได้ถูกจําแนกไปตามหน้าที่และยังไม่ได้แสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินส่วนอื่น เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน เป็นต้น 38. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รายการ 25X1 25X0 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น xxx xxx เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย xxx xxx เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ xxx xxx ข้อผูกมัดที่จะให้สินเชื่อ xxx xxx สัญญาค้ําประกันทางการเงิน xxx xxx

  1. ผลกระทบทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้เปิดเผยภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับแต่ละองค์ประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น อย่างน้อย ดังนี้ 25X1 25X0 จํานวนก่อน ภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวนสุทธิ จากภาษี จํานวนก่อน ภาษี ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษี จํานวนสุทธิ จากภาษี กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับ การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์สําหรับ การป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัด บัญชี กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการ ดําเนินงานในต่างประเทศ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุน ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน XX XX XX XX XX XX กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์ พนักงาน XX XX XX XX XX XX ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและ การร่วมค้า XX XX XX XX XX XX องค์ประกอบอื่นของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น XX XX XX XX XX XX รวม XX XX XX XX XX XX

  2. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น ให้เปิดเผยการคํานวณกําไรหรือขาดทุนต่อหุ้น 41. รายการที่เกี่ยวข้องกัน ให้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกิจการให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน สําหรับการเปิดเผยผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่ผู้บริหารสําคัญ ให้เปิดเผยผลตอบแทนหรือผลประโยชน์ อื่นใด ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินที่จ่าย ให้แก่ผู้บริหารสําคัญของบริษัทประกันภัย ทั้งนี้นิยามของ ผู้บริหารสําคัญให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 42. หลักทรัพย์ประกันและทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองวางไว้กับนายทะเบียน ให้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวนเงินตามบัญชีของหลักทรัพย์ แ ละทรัพย์สินแต่ละชนิดที่ วางไว้กับนายทะเบียนเพื่อเป็นหลักทรัพย์ประกัน และทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นเงินสํารองตามกฎหมายว่า ด้วยการประกันชีวิต 43. ทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและข้อผูกมัด ให้เปิดเผยทรัพย์สินอื่นที่มีข้อจํากัดและข้อผูกมัดในแต่ละหัวข้อ โดยแสดงประเภทแ ละมูลค่าตามบัญชีของ ทรัพย์สินพร้อมทั้งข้อจํากัดและข้อผูกมัดต่อทรัพย์สินนั้น 44. หลักประกันที่ได้รับ ในกรณีที่บริษัทประกันภัยได้รับหลักประกัน (ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ทางการเงินหรือไม่ใช่สินทรัพย์ทางการ เงิน) และมีสิทธิในการนําหลักประกันที่ได้รับไปขายหรือวางเป็นป ระกันต่ออีกทอดหนึ่ง โดยที่ถือว่าเจ้าของ หลักประกันนั้นไม่ได้ไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทประกันภัยต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 44 . 1 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่กิจการได้รับ 44 . 2 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่นําไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง และไม่ว่า กิจการมี ภาระผูกพันที่จะต้องส่งคืนหลักประกันหรือไม่ และ 44 . 3 ข้อกําหนดและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักประกัน

  3. เงินสมทบกองทุน ให้เปิดเผยจํานวนเงินสมทบสะสมที่ได้จ่ายเข้ากอง ทุนประกันชีวิต และจํานวนค่าใช้จ่ายเงินสมทบดังต่อไปนี้ - เงินสมทบสํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย - เงินสมทบกองทุนประกันชีวิต 46. สัญญาเช่าระยะยาว ให้เปิดเผยโดยสรุปเนื้อหาของสัญญา วันที่สัญญาครบกําหนด ข้อผูกพันของสัญญา และข้อห้าม ต่าง ๆ ตาม สัญญาดังกล่าว และจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง 47. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ให้เปิดเผย ถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปฏิบัติอยู่ไปเป็น มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ พร้อมทั้งระบุถึงเหตุผลและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้น ต่อบัญชีที่เกี่ยวข้องในงบดุลและกําไร ( ขาดทุน ) สุทธิหลังจากปรับปรุงจํานวนภาษีที่เกี่ยวข้อง 48. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและข้อผูกมัด ในกรณีที่บริษัทถูกเรียกร้องทางคดี ก่อข้อผูกมัดในการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ หรือมีหนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นหรือข้อผูกมัดใด ๆ ที่มีจํานวนเงินเป็นนัยสําคัญ ให้กล่าวโดยสรุปถึงเนื้อหาและจํานวนเงินที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งค วามเห็นของฝ่ายบริหารของบริษัทถึงกรณีที่อาจมีผลเสียหายหรือผลกระทบ รวมทั้งอธิบาย โดยสังเขปเกี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ณ วันที่ในงบการเงิน และเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้หากทําได้ในทางปฏิบัติ - ประมาณการผลกระทบทางการเงิน - ความไม่แน่นอนเกี่ยวกั บจํานวนหรือจังหวะเวลาของการสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ - ความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายจ่ายคืน การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนจะทําให้สถานะของกิจการเกี่ยวกับข้อพิพาทกับอีกฝ่ายหนึ่งในเรื่อง หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเกิดความโอนเอียงอย่างรุนแรง กิจการไม่จําเป็นต้อ งเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว แต่ต้อง เปิดเผยถึงลักษณะทั่วไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริงและเหตุผลของการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้น

สําหรับภาระผูกพันจากสัญญาเช่าดําเนินงานกรณีบริษัทเป็นผู้เช่าสําหรับสัญญาเช่าดําเนินงาน ให้เปิดเผย จํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภา ยใต้สัญญาเช่าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้สําหรับระยะเวลาแต่ ละช่วงดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี (2) ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี (3) ระยะเวลาที่เกินห้าปี 49. ความเสี่ยงของบริษัท ให้เปิดเผยความเสี่ยงของบริษัทให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้เปิดเผยข้อมูลซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินประเมินธรรมชาติและขอบเขตของ ค วำ ม เ ส ี ่ ย ง ด ้ำ น กำ ร ป ร ะ ก ั น ภ ั ย ตำ ม ย ่ อ ห น ้ำ ท ี ่ 39 ข อ ง มำ ต ร ฐำ น กำ ร รำ ย งำ น ทางการเงิ นเรื่องสัญญาประกันภัย และจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเงิน สําหรับความเสี่ยงจากเครื่องมือทางการเงิน ให้เปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้สําหรับความเสี่ยงแต่ละประเภท เช่น ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และ ความเสี่ยงด้านตลาด ที่เกิดจากเครื่องมือทาง การเงิน ได้แก่ ( 1 ) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงและการเกิดขึ้นของความ เสี่ยง วัตถุประสงค์และนโยบายการบริหารความเสี่ยง และ ( 2 ) ข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ฐานะเปิดต่อความ เสี่ยงที่มี ณ วันสิ้นรอ บระยะเวลารายงาน การกระจุกตัวของความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงการรับประกันภัย และความเสี่ยงทางการเงิน (Underwriting and financial risk management) ข้อกําหนด อ้างอิงย่อหน้า 124 สําหรับความเสี่ยงแต่ละประเภทที่เกิดจากสัญญาภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการ รายงานทางกา รเงิน ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาประกันภัย กิจการต้องเปิดเผย ( ก) ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มีและเกิดขึ้นได้อย่างไร ( ข) วัตถุประสงค์ นโยบายและกระบวนการในการจัดการความเสี่ยงและวิธีที่ใช้ในการวัดความเสี่ยง ของบริษัท และ ( ค) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ใน (ก) หรือ (ข) จากรอบระยะเวลาก่อน

อ้างอิงย่อหน้า 125 สําหรับความเสี่ยงแต่ละประเภทที่เกิดจากสัญญาภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย กิจการต้องเปิดเผย (ก) ข้อมูลสรุปเชิงปริมาณเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน การ เปิดเผยข้อมูลนี้ต้องจัดทําขึ้นจากข้อมูลที่เสนอเป็นการภายในให้แก่ผู้บริหารสําคัญของกิจการ (ข) การเปิดเผยข้อมูลตามย่อหน้า 127 - 132 ไม่ได้ถือปฏิบัติตาม (ก) ในย่อหน้านี้ อ้างอิ งย่อหน้า 127 สําหรับการกระจุกตัวของความเสี่ยง บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกระจุกตัว ของความเสี่ยงที่เกิดจากสัญญาภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย รวมถึงคําอธิบายของวิธีการกําหนดการกระจุกตัว และคําอธิบายของลักษณะร่ วมซึ่ง กําหนดของแต่ละการกระจุกตัว (เช่น ประเภทของเหตุการณ์ที่เอาประกันภัย อุตสาหกรรม พื้นที่ทาง ภูมิศาสตร์ หรือสกุลเงิน) การกระจุกตัวของความเสี่ยงทางการเงินอาจเกิดจาก ตัวอย่างเช่น อัตราดอกเบี้ย ที่ประกันไว้ซึ่งมีผลที่ระดับเดียวกันต่อสัญญาจํานวนมาก การกระจุกตัว ของความเสี่ยงทางการเงินอาจเกิด จากการกระจุกตัวของความเสี่ยงที่ไม่เกี่ยวกับการเงิน ตัวอย่างเช่น หากบริษัทให้การประกันภัยความรับผิด ต่อผลิตภัณฑ์แก่บริษัทผลิตยา และถือเงินลงทุนในบริษัทนั้นด้วย อ้างอิงย่อหน้า 131 สําหรับความเสี่ยงด้านเครดิตที่เกิดจากสัญญาภายใต้ข อบเขตของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย กิจการต้องเปิดเผย : ( ก) จํานวนที่แสดงได้ดีที่สุดถึงฐานะเปิดของความเสี่ยงด้านเครดิตสูงสุด ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน โดยแยกแสดงสัญญาประกันภัยที่ออกและสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ และ ( ข) ข้อมู ลเกี่ยวกับคุณภาพของเครดิตของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ที่เป็นสินทรัพย์

อ้างอิงย่อหน้า 132 สําหรับความเสี่ยงด้านสภาพคล่องที่เกิดจากสัญญาภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย กิจการต้องเปิดเผย ( ก) คําอธิบายวิธีการที่กิจการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ( ข) แยกวิเคราะห์การครบกําหนดของกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่ออกที่ เป็นหนี้สิน และกลุ่มของ สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ที่เป็นหนี้สิน ที่แสดงกระแสเงินสดสุทธิของกลุ่มสําหรับแต่ละปีใน 5 ปี แรก หลังจากวันที่รายงานและแสดงยอดรวมของส่วนที่เกิน 5 ปีแรกเป็นอย่างน้อย กิจการไม่ต้อง รวมการวิเคราะห์หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ในย่ อหน้า 55 - 59 การวิเคราะห์อาจทําใน รูปแบบของ (1) การวิเคราะห์โดยประมาณจังหวะเวลาของกระแสเงินสดสุทธิที่ไม่คิดลดที่เหลือของสัญญา หรือ (2) การวิเคราะห์โดยประมาณจังหวะเวลาของการประมาณการของมูลค่าปัจจุบันของกระแส เงินสดในอนาคต ( ค) จํานวนเงินที่ต้องชําระเมื่อทวงถาม โดย อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนเงินดังกล่าวกับมูลค่า ตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาที่เกี่ยวข้อง หากไม่เปิดเผยให้ถือปฏิบัติตาม (ข) ของย่อหน้านี้

  1. การวิเคราะห์ความอ่อนไหวต่อตัวแปรความเสี่ยงด้านราคาตลาด (Sensitivity analysis to market risk variables) อ้างอิงย่อหน้า 128 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงที่ เกิดจากสัญญาภายใต้ขอบเขตมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย เพื่อให้ เป็นไปตามข้อกําหนดนี้ กิจการต้องเปิดเผย ; ( ก) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวซึ่งแสดงให้เห็นว่ากํา ไรหรือขาดทุนและส่วนของเจ้าของจะได้รับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผล ณ สิ้น รอบระยะเวลารายงาน ( 1 ) สําหรับความเสี่ยงด้านการประกันภัย – แสดงผลกระทบของสัญญาประกันภัยที่ออก ก่อน และหลังการลดความเสี่ยงโดยสัญญาประกันภัยต่ อที่ถือไว้ และ ( 2 ) สําหรับแต่ละประเภทของความเสี่ยงด้านตลาด – โดยการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงที่เกิดจากสัญญาประกันภัยและที่เกิดจาก สินทรัพย์ทางการเงินที่ถือโดยกิจการ ( ข) วิธีและข้อสมมติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความอ่อนไหว และ ( ค) การเปลี่ยนแปลงจากรอบระยะเวลาก่อนของวิธีและข้อสมมติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความอ่อนไหว และ เหตุผล ในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว 51. การบริหารเงินทุน (Capital management) กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของกรอบการกํากับดูแลที่กิจการดําเนินงานอยู่ ตัวอย่าง เช่น กรอบการดํารงเงินกองทุนและอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนขั้นต่ํา ในกรณีที่บริษัทมีการเปิดเผย จํานวนอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนของบริษัท ให้เปิดเผยเฉพาะรายการที่ได้สอบทานหรือ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแล้วเท่านั้น หรือ อัตราดอกเบี้ยที่ประกันไว้ หากกิจการถือปฏิบัติตาม ย่อหน้า 20 ในการกําหนดกลุ่มของสัญญาประกันภัย ซึ่งใช้ข้อกําหนดในการรับรู้รายการและการวัดมูลค่า ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย กิจการจะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริง ดังกล่าว 52. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังรอบระยะเวลารายงาน และประมาณการ ผลกระทบทางการเงินที่อาจเกิดจากเหตุการณ์ดังกล่าวหรือข้อเท็จจริงที่ว่ากิจการไม่สามารถประมาณ ผลกระทบดังกล่าว

3 .3 ความหมายของรายการใน งบแสดงฐานะการเงินและ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต คําอธิบายความหมายของรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จนี้เป็นเพียง แนวทางในการแสดงรายการตามแบบงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของบริษัทที่ประกอบ ธุรกิจประกันชีวิตเท่านั้น อย่างไรก็ตาม บริษัทประกันชีวิตยังคงต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดในการแส ดงรายการตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน นอกจากนี้การจัดประเภทรายการในงบการเงิน ให้พิจารณาเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจมากกว่ารูปแบบทาง กฎหมาย เช่น หุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิบริษัทประกันชีวิตที่ออกหุ้นในการบังคับไถ่ถอนด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือ ที่สามารถทราบได้ ณ วันที่ กําหนดไว้หรือวันที่ทราบได้ หรือหุ้นบุริมสิทธิซึ่งให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการเรียกร้องให้ บริษัทประกันชีวิตไถ่ถอนหุ้นในหรือหลังวันที่ที่กําหนดไว้ด้วยจํานวนเงินที่แน่นอนหรือที่สามารถทราบได้ หุ้น บุริมสิทธินั้นต้องจัดประเภทเป็นหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน การแสดงราย การในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อาจแสดงเป็นหน่วยของหลักพัน หลักหมื่น หลักแสน หรือหลักล้านได้ตามความเหมาะสม และให้ระบุหน่วยของหลักที่ใช้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินนั้น ๆ ด้วย งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (cash and cash equivalent) เงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท เช่น 1.1 ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่บริษัทมีอยู่ รวมทั้งเงินสดย่อย ธนาณัติ ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ 1.2 เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย์ ใบรับฝาก และบัตรเงินฝำก ทั้งนี้ไม่รวมเงินฝาก ธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงินอื่น ที่ได้แสดงไว้ภายใต้รายการสินทรัพย์ทางการเงิน 1.3 เช็คที่ถึงกําหนดชําระแต่ยังมิได้นําฝาก เช็คเดินทาง ดราฟท์ของธนาคาร รายการเทียบเท่า เงินสด หมายถึง เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งพร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดใน จํานวนที่ทราบได้และมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อย หรือไม่มีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่ กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้ำนเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ถ้ามี)

  1. รายได้จากการลงทุนค้างรับ (accrued investment income) หมายถึง ดอกเบี้ยและเงินปันผลค้างรับจากสถาบันการเงิน จากเงินลงทุนในเครื่องมือทางการเงิน รวมทั้ง ดอกเบี้ยและผลประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการประกอบธุรกรรมลงทุนค้างรับ เช่น ค่าเช่าค้างรับจากอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน เป็นต้น และแสดงสุทธิจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ถ้ามี) โดยไม่รวมถึงรายได้ ดอกเบี้ยจากเงินให้กู้ยืม 3. สินทรัพย์จากสัญญาปร ะกันภัย ( Insurance contract assets) หมายถึง มูลค่าตามบัญชีของพอร์ตโฟลิโอของสัญญาประกันภัยที่ออกซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 ที่เป็นสินทรัพย์ ประกอบด้วย (1) ประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต ซึ่งปรับปรุงเพื่อสะท้อนมูลค่าเงินตามเวลาและ ความเสี่ย งทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดในอนาคต ในขอบเขตที่ความเสี่ยง ทางการเงินไม่ได้รวมอยู่ในประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต หมายถึง การประมาณการที่ชัดแจ้ง ปราศจากอคติ และถ่วงน้ําหนักด้วยความน่าจะเป็น (ได้แก่ มูลค่าที่คาดไว้) ของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดออก ในอนาคตหักด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้าใน อนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการที่กิจการทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาประกันภัย ( 2 ) ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หมายถึง เงินชดเชยที่กิจการต้องการสําหรับการรับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงินและ จังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่เกิดจากความเสี่ยงที่มิใช่ความเสี่ยงทางการเงินเนื่องจากกิจการต้องทําให้เสร็จสิ้น ตามสัญญาประกันภัย ( 3) กําไรจากการให้บริการตามสัญญา หมายถึง องค์ประกอบของมูลค่าตำมบัญชีของสินทรัพย์หรือหนี้สินสําหรับกลุ่มของสัญญา ประกันภัย ซึ่งเป็นกําไรรอการรับรู้ที่กิจการจะรับรู้เมื่อมีการให้บริการภายใต้สัญญาประกันภัยในกลุ่ม (4) สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หมายถึงสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยซึ่งเป็นรายการที่ รับรู้ก่อนการ รับรู้กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้อง ในอีกด้านหนึ่งประกอบด้วย ( ก ) หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ หมายถึง ภาระผูกพันของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ ควรได้ ( valid claims ) ภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่ยังไม่เกิดขึ้น (เช่น ภาระผูกพันที่ เกี่ยวข้องกับส่วนที่ยัง ไม่สิ้นสุด ระยะเวลาคุ้มครอง ) และจํานวนการจ่ายภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ที่ไม่รวม รายการข้างต้นซึ่งรวมถึงบริการด้า นการประกันภัยที่ยังไม่ได้ให้บริการหรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุนหรือ

จํานวนเงินอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประมาณการของบริการด้านการประกันภัยและยังไม่ได้โอนไปเป็นหนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข ) หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว หมายถึง ภาระผูกพั นของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่เกิดขึ้นแล้วซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้รับการรายงาน ความเสียหาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกันภัย และจํานวนเงินที่ไม่รวมรายกำรข้างต้นที่เกี่ยวข้อง กับการบริการด้านการประกันภัยที่ให้บริการแล้ว หรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุน หรือจํานวนเงินอื่นที่ไม่ เกี่ยวข้องกับประมาณการของการบริการด้านการประกันภัย และไม่ใช่หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ 4. สินทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อ ( Reinsurance contract assets) หมายถึงมูลค่าตามบัญชีของพอร์ตโฟลิโอจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 ที่เป็นสินทรัพย์ ประกอบด้วย (1) ประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต ซึ่งปรับปรุงเพื่อสะท้อน มูลค่าเงินตามเวลาและ ความเสี่ยงทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดในอนาคต ในขอบเขตที่ความเสี่ยงทางการเงินไม่ได้รวมอยู่ใน ประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต หมายถึง การประมาณการที่ชัดแจ้ง ปราศจากอคติ และถ่วงน้ําหนักด้วยความน่าจะเป็น (ได้แก่ มูลค่าที่คาดไว้) ของมู ลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดออกในอนาคตหักด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้าใน อนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการที่กิจการทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาประกันภัย ( 2 ) ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หมายถึง เงินชดเชยที่กิจการต้องการสําหรับกา รรับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงินและ จังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่เกิดจากความเสี่ยงที่มิใช่ความเสี่ยงทางการเงินเนื่องจากกิจการต้องทําให้เสร็จสิ้น ตามสัญญาประกันภัย ( 3) กําไรจากการให้บริการตามสัญญา หมายถึง องค์ประกอบของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือหนี้สินสําห รับกลุ่มของสัญญา ประกันภัย ซึ่งเป็นต้นทุนสุทธิหรือกําไรสุทธิใด ๆ จากการซื้อกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ซึ่งวัดมูลค่าด้วย จํานวนเงินที่เท่ากับผลรวมของกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา จํานวนเงินที่เลิกรับรู้ ณ วันนั้นสําหรับ สินทรัพย์หรือหนี้สินใด ๆ ที่ เคยรับรู้ก่อนหน้าสําหรับกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ ไว้ กระแสเงินสดใด ๆ ที่เกิดขึ้น ณ วันนั้น และรายได้ที่ต้องรับรู้ต้นทุนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุนทันที ตามข้อกําหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ในอีกด้านหนึ่งประกอบด้วย ( ก ) หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่

หมายถึง ภาระผูกพันของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) ภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่ยังไม่เกิดขึ้น (เช่น ภาระผูกพันที่ เกี่ยวข้องกับส่วนที่ยัง ไม่สิ้นสุด ระยะเวลาคุ้มครอง) และจํานวนการจ่ายภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ที่ไม่รวม รายการข้างต้นซึ่งรวมถึงบริการด้านการประกันภัยที่ยังไม่ได้ให้บริการหรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุนหรือ จํานวนเงินอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประมาณการของบริการด้านการประกันภัยและยังไม่ได้โอนไปเป็ นหนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข ) หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว หมายถึง ภาระผูกพันของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่เกิดขึ้นแล้วซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยั งไม่ได้รับการรายงาน ความเสียหาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกันภัย และจํานวนเงินที่ไม่รวมรายการข้างต้นที่เกี่ยวข้อง กับการบริการด้านการประกันภัยที่ให้บริการแล้ว หรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุน หรือจํานวนเงินอื่นที่ไม่ เกี่ยวข้องกับประมาณการของการบริกา รด้านการประกันภัย และไม่ใช่หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ 5. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารหนี้ (debt instruments – financial assets) หมายถึง สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารหนี้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยว ข้อง โดยไม่รวมถึงเงินให้กู้ยืม ทั้งที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัทประกันชีวิต หรือที่โอนกรรมสิทธิ์แล้วแต่มีสัญญาซื้อคืน รวมทั้งเงินลงทุนในลูกหนี้ที่รับโอนมาที่เข้าข่ายเป็นการขายที่แท้จริง ตามหลักการบัญชี ( True sale) และเงินลงทุนในธุรกรรมเงินกู้ยืมที่มีอนุพันธ์แฝ ง โดยแสดงมูลค่าสุทธิหลังจาก บวกหรือหักค่าเผื่อการปรับมูลค่าและค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของเงินลงทุนตามที่กําหนด ในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยรวมถึงสินทรัพย์ทางการเงินตราสาร หนี้ที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ำยุติธรรม ตราสารหนี้ ( debt securities) ประกอบด้วย 5 . 1 หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ (government and state enterprise securities) หมายถึง ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร หรือตราสารอื่นที่ออกโดยรัฐบาลไทย องค์การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นและจังหวัด หุ้นกู้ พันธบัตรหรือตราสารอื่นที่องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก 5 . 2 ตราสารหนี้ภาคเอกชน (private enterprises debt securities) หมายถึง หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยบริษัทเ อกชนที่มีลักษณะเป็นการระดมทุน ตั๋วแลกเงินที่ออกโดย ธุรกิจอื่นที่มี ลักษณะ เป็นการระดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์กําหนด และตราสารแห่งหนี้อื่นใดที่มีลักษณะเป็นการระดมทุนและคล้ายหุ้นกู้ตามข้อกําหนดของ สํานักงานคณะกรรมกา รกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

5 . 3 ตราสารหนี้ต่างประเทศ (foreign debt securities) หมายถึง ตราสารที่ออกหรือค้ําประกัน โดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การหรือหน่วยงานของรัฐบาล ต่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ นิติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายต่างประเทศ หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย ต่างประเทศ และให้หมายรวมถึงตราสารหนี้ต่างประเทศ แต่ออกจําหน่ายในประเทศไ ทยด้วย 5 . 4 เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิน (deposit at banks or financial institutions) หมายถึง เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงิน รวมทั้งใบรับฝากเงินและบัตรเงินฝากที่ออกโดย ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ที่มีระยะเวลาครบกําหนดเกินสามเดือนนับแต่วันที่ได้มา 5.5 เงินลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง ( investments in structured note) หมายถึง การลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่ประ กอบไปด้วย 1) สัญญาหลักซึ่งไม่จัดเป็นอนุพันธ์ ( non - derivative host contract) และ 2 ) อนุพันธ์แฝง ( embedded derivatives) ซึ่งทําให้ผลตอบแทนของตราสารดังกล่าว เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาของกลุ่มหุ้น ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ดัชนีข องราคาหรืออัตราใด ๆ ความเสี่ยงทางด้านเครดิต และดัชนีทางด้านเครดิต ฯลฯ ตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง เช่น ธุรกรรม equity linked note ธุรกรรม credit linked note หรือ credit linked deposit ธุรกรรม inverse floater notes ธุรกรรม range accrual notes ธุรกรรม puttable bond และ convertible bond 5 . 6 ตราสารหนี้อื่น (other debt securities) หมายถึง ตราสารหนี้และเงินลงทุนในกองทุนที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารหนี้ตามที่กําหนดใน มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ที่มิอาจแสดงไว้ในรายการที่กล่าวข้างต้น 6. สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุน (equity instruments – financial assets) หมายถึง สินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกจัดประเภทเป็นตราสารทุน ยกเว้นเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง (เช่น หุ้นทุน) ตราสารทุน ( equity securities) ประกอบด้วย 6 . 1 ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ( market able equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6 . 2 ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ( non - marketable equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่องทั้งในประเทศและต่างประ เทศ 6 . 3 หลักทรัพย์อื่น ( other equity securities) หมายถึง หลักทรัพย์ที่มิอาจแสดงไว้ในรายการที่กล่าวข้างต้น

  1. สินทรัพย์อนุพันธ์ (derivative assets) หมายถึง มูลค่ายุติธรรม หรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นกําไรของอนุพันธ์ รวมถึงอนุพันธ์แฝงที่แยกออก จากสัญญาหลักที่เกิดจากการวัดมูลค่ายุติธรรม ( Mark to market) อนุพันธ์ (derivative financial instruments) หมายถึง เครื่องมือทางการเงิน หรือสัญญาอื่น ที่มีลักษณะทุกข้อดังต่อไปนี้ 1. มูลค่าของตราสารดังกล่าวจะผันแปรไปตามอัตราดอกเบี้ย ราคาเครื่องมือทางการเงิน ราคา สินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีราคาหรือดัชนีอัตรา อันดับความน่าเชื่อถือหรือดัชนีความน่าเชื่อถือ หรือ ตัวแปรอื่นใด 2. ไม่มีการจ่ายเงินลงทุนสุทธิเมื่อเริ่มแรก หรือจ่ายด้วยจํานวนเพี ยงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัญญา ประเภทอื่น ซึ่งมีการตอบสนองในลักษณะเดียวกันของปัจจัยตลาด และ 3. การรับหรือจ่ายชําระจะกระทําในอนาคต ตัวอย่างของอนุพันธ์ เช่น สัญญา forward future swap option และ hybrid derivatives อื่น ๆ 8. เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับ (loan and accrued interest receivable) หมายถึง เงินให้กู้ยืมทุกประเภทแก่ลูกหนี้ แต่ไม่รวมเงินให้กู้ยืมที่มีกรมธรรม์ประกันภัยเป็นประกัน รวมทั้งลูกหนี้ให้เช่าซื้อรถ และลูกหนี้ให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง รวมถึงดอกเบี้ยค้างรับและรายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ ถึงกําหนดชําระตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืมดังกล่าว หักรายได้รอตัดบัญชี และค่าเผื่อผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยรวมถึงเงินให้กู้ยืมที่กําหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม 9. ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( allowance for expected credit loss) หมายถึง จํานวนเงินที่กันไว้สําหรับส่วนที่คาดว่าจะไม่ได้รับจากเครื่องมือทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคา ทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่ำด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งข้อผูกมัดที่จะให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนที่คาดว่าจะไม่ได้รับใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และส่วนที่คาดว่าจะไม่ ได้รับ ตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า (investment in subsidiaries, associate and joint ventures ) หมายถึง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้อง โดยให้บริษัทแสดงรายการเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้าเป็นมูลค่าสุทธิ หลังจากหักด้วยบัญชีค่าเผื่อการด้อยค่าแล้ว

  2. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุน (investment property) หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ (ที่ดิน หรืออาคาร หรือส่วนควบอาคาร หรือทั้งที่ดินและอาคาร) ที่ถือครองโดย เจ้าของหรือโดยผู้เช่าภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า หรือจากการเพิ่มขึ้นของ มูลค่าสินทรัพย์ หรือทั้งสองอย่า ง ทั้งนี้ไม่ได้มีไว้เพื่อ 1) ใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงานของกิจการ 2) ขายตามปกติธุรกิจ 12. ทรัพย์สินรอการขาย (properties foreclosed) หมายถึง 1) ทรัพย์สินที่ตกเป็นของบริษัทประกันชีวิตเนื่องจากการชําระหนี้ หรือเนื่องจากการที่บริษัท ประกันชีวิตได้ซื้อทรัพย์สินที่จํานองไว้กับบริษัทประกันชีวิตนั้นจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่ง ศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ รวมทั้งการเข้าครอบครองทรัพย์สินจากการให้เช่าการเงิน หรื อการให้เช่าซื้อ 2) ที่ดิน อาคารและทรัพย์สินอื่น เพื่อใช้ดําเนินธุรกิจหรือ สําหรับพนักงานซึ่งมิได้ใช้เพื่อการดังกล่าว แล้วที่ เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 13. ที่ดิน อาคารและอุป กรณ์ (property plant and equipment) หมายถึง 1) ที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง อสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัท หรือเพื่อสวัสดิการของพนักงานและลูกจ้างของบริษัท 2) อุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องตกแต่งติดตั้งแ ละยานพาหนะต่าง ๆ 3) ที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น ที่เลิกใช้เพื่อการดําเนินธุรกิจหรือสําหรับพนักงาน โดยสินทรัพย์ ดังกล่าวที่ไม่เข้าเงื่อนไขสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิกตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 14. ค่าความนิยม (goodwill) หมายถึง ค่าความนิยมตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  3. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น (other Intangible assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินที่สามารถระบุได้ และไม่มีกายภาพตามที่กําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน นอกจากค่าความนิยมตามรายการที่ 12 เช่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตนจากการรวมธุรกิจหรือกลุ่ม สัญญาประกันภัย ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สัมปทาน เป็นต้น 16. สินทรัพย์ภาษีเงิน ได้รอตัดบัญชี (deferred tax asset) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตคาดว่าจะได้รับคืนในอนาคตซึ่งเกิดจาก 1) ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี 2) ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป 3) เครดิตภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกไป ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 17. สินทรัพย์อื่น (other assets) หมายถึง สินทรัพย์นอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 ถึง 1 6 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญ ให้แยกแสดงออกมาต่างหาก

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 18. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม (bank overdrafts and borrowings) หมายถึง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หนี้สินที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมจากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น รวมทั้งการขายหรือขายช่วงลดตั๋วเงินกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน รวมถึงหนี้สินตามธุรกรรมซื้อหรือขาย หลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน (repo) 19. หนี้สินจากสัญญาประกันภัย ( Insurance contract liabilities ) หมายถึง มูลค่าตามบัญชีของพอร์ตโฟลิโอของสัญญาประกันภัยที่ออกซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 ที่เป็นหนี้สิน ประกอบด้วย (1) ประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต ซึ่งปรับปรุงเพื่อสะท้อนมูลค่าเงินตามเวลาและ ความเสี่ยงทาง การเงินที่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดในอนาคต ในขอบเขตที่ความเสี่ยง ทางการเงินไม่ได้รวมอยู่ในประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต หมายถึง การประมาณการที่ชัดแจ้ง ปราศจากอคติ และถ่วงน้ําหนักด้วยความน่าจะเป็น (ได้แก่ มูลค่าที่คาดไว้) ของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดออกในอนำคตหักด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้าใน อนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการที่กิจการทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาประกันภัย ( 2 ) ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หมายถึง เงินชดเชยที่กิจการต้องการสําหรับการรับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงิ นและ จังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่เกิดจากความเสี่ยงที่มิใช่ความเสี่ยงทางการเงินเนื่องจากกิจการต้องทําให้เสร็จสิ้น ตามสัญญาประกันภัย ( 3) กําไรจากการให้บริการตามสัญญา หมายถึง องค์ประกอบของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือหนี้สินสําหรับกลุ่มของสัญญาประกันภัย ซึ่ง เป็นกําไรรอการรับรู้ที่กิจการจะรับรู้เมื่อมีการให้บริการภายใต้สัญญาประกันภัยในกลุ่ม (4) สินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัย หมายถึงสินทรัพย์จากกระแสเงินสดที่ทําให้ได้มาซึ่งการประกันภัยซึ่งเป็นรายการที่ รับรู้ก่อนการรับรู้กลุ่ม ของสัญญาประกันภัยที่เกี่ยวข้อง ในอีกด้านหนึ่งประกอบด้วย ( ก ) หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ หมายถึง ภาระผูกพันของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ ควรได้ ( valid claims ) ภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่ยังไม่เกิดขึ้น (เช่น ภาระผูกพันที่ เกี่ยวข้องกับส่วนที่ยัง ไม่สิ้นสุด ระยะเวลาคุ้มครอง) และจํานวนการจ่ายภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ที่ไม่รวม

รายการข้างต้นซึ่งรวมถึงบริการด้า นการประกันภัยที่ยังไม่ได้ให้บริการหรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุนหรือ จํานวนเงินอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประมาณการของบริการด้านการประกันภัยและยังไม่ได้โอนไปเป็นหนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข ) หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว หมายถึง ภาระผูกพั นของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่เกิดขึ้นแล้วซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้รับการรายงาน ความเสียหาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกันภัย และจํานวนเงินที่ไม่รวมรายกำรข้างต้นที่เกี่ยวข้อง กับการบริการด้านการประกันภัยที่ให้บริการแล้ว หรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุน หรือจํานวนเงินอื่นที่ไม่ เกี่ยวข้องกับประมาณการของการบริการด้านการประกันภัย และไม่ใช่หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ 20. หนี้สินจากสัญญาประกันภัยต่อ ( Reinsurance contract liabilities ) หมายถึงมูลค่าตามบัญชีของพอร์ตโฟลิโอจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 ที่เป็นหนี้สิน ประกอบด้วย (1) ประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต ซึ่งปรับปรุงเพื่อสะท้อนมูลค่าเงินตามเวลาและ ความเสี่ ยงทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดในอนาคต ในขอบเขตที่ความเสี่ยง ทางการเงินไม่ได้รวมอยู่ในประมาณการของกระแสเงินสดอนาคต หมายถึง การประมาณการที่ชัดแจ้ง ปราศจากอคติ และถ่วงน้ําหนักด้วยความน่าจะเป็น (ได้แก่ มูลค่าที่คาดไว้) ของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดอ อกในอนาคตหักด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้าใน อนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการที่กิจการทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาประกันภัย ( 2 ) ค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน หมายถึง เงินชดเชยที่กิจการต้องการสําหรับการรับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนเงินและ จังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่เกิดจากความเสี่ยงที่มิใช่ความเสี่ยงทางการเงินเนื่องจากกิจการต้องทําให้เสร็จสิ้น ตามสัญญาประกันภัย ( 3) กําไรจากการให้บริการตามสัญญา หมายถึง องค์ประกอบของมูลค่าตำมบัญชีของสินทรัพย์หรือหนี้สินสําหรับกลุ่มของสัญญา ประกันภัย ซึ่งเป็นต้นทุนสุทธิหรือกําไรสุทธิใด ๆจากการซื้อกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ซึ่งวัดมูลค่าด้วย จํานวนเงินที่เท่ากับผลรวมของกระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญา จํานวนเงินที่เลิกรับรู้ ณ วันนั้นส ําหรับ สินทรัพย์หรือหนี้สินใด ๆที่เคยรับรู้ก่อนหน้าสําหรับกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือ ไว้ กระแสเงินสดใด ๆที่เกิดขึ้น ณ วันนั้น และรายได้ที่ต้องรับรู้ต้นทุนนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุนทันที ตามข้อกําหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

ในอีกด้านหนึ่งประกอบด้วย ( ก ) หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ หมายถึง ภาระ ผูกพันของกิจการในการตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) ภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่ยังไม่เกิดขึ้น (เช่น ภาระผูกพันที่ เกี่ยวข้องกับส่วนที่ยัง ไม่สิ้นสุด ระยะเวลาคุ้มครอง) และจํานวนการจ่ายภายใต้สัญญาประกันภัยที่มีอยู่ที่ไม่รวม รายการข้างต้นซึ่งรวมถึงบริการด้านการประกันภัยที่ยังไม่ได้ให้บริการหรือ องค์ประกอบที่เป็ นการลงทุนหรือ จํานวนเงินอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประมาณการของบริการด้านการประกันภัยและยังไม่ได้โอนไปเป็นหนี้สินสําหรับค่า สินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว ( ข ) หนี้สินสําหรับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแล้ว หมายถึง ภาระผูกพันของกิจการในการ ตรวจสอบและจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ควรได้ ( valid claims ) สําหรับเหตุการณ์ที่เอาประกันภัยที่เกิดขึ้นแล้วซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้รับการรายงาน ความเสียหาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกันภัย และจํานวนเงินที่ไม่รวมรายการข้างต้นที่เกี่ยวข้อง กับการบริการด้านการประกันภัยที่ ให้บริการแล้ว หรือองค์ประกอบที่เป็นการลงทุน หรือจํานวนเงิน อื่นที่ไม่ เกี่ยวข้องกับประมาณการของการบริการด้านการประกันภัย และไม่ใช่หนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ 21. หนี้สินจากสัญญาลงทุน (investment contract liabilities) หมายถึง หนี้สินและภาระผูกพันที่บริษัทประกัน ชีวิตมีต่อผู้ถือกรมธรรม์ตามสัญญาที่ไม่ได้มีการโอนมี ความเสี่ยงด้านการประกันภัยที่มีนัยสําคัญให้แก่ผู้ออกสัญญา โดยสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดภาระหนี้สินทางการเงิน 22. หนี้สินอนุพันธ์ (derivative liabilities) หนี้สินอนุพันธ์ หมายถึง มูลค่ายุติธรรม หรือส่วนปรับมูลค่าที่มีผลเป็นขาดทุนของอนุพันธ์ รวมถึง อนุพันธ์แฝงที่แยกออกจากสัญญาหลักที่เกิดจากการวัดมูลค่ายุติธรรม ( Mark to market) 23. หนี้สินทางการเงินอื่น หนี้สินทางการเงินอื่น หมายถึง หนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้แสดงเป็นเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม หนี้สิน จากสัญญาลงทุน และหนี้สินอนุพันธ์ เช่น หนี้สินทางการเงินเพื่อค้า ( trading liabilities) หรือ หนี้สินทางการเงินที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ( financial liabilities designated at fair value through profit or loss) 24. ภาษีเงินได้ค้างจ่าย (income tax payable) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย

  1. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (employee benefit obligation) หมายถึง หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์พนักงานตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ เกี่ยวข้อง 26. หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (deferred tax liability) หมายถึง จํานวนภาษีเงินได้ที่บริษัทประกันชีวิตต้องจ่ายในอนาคตซึ่งเกิดจากผลต่างชั่วคราวที่ต้องเสีย ภาษี ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 27. หนี้สินอื่น (other liabilities) หมายถึง หนี้สินนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 20 ถึง 28 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้ แยกแสดงออกมาต่างหาก 28. ส่วนของเจ้าของ / ส่วนของสํานักงานใหญ่ (equity / head office equity) 30.1 ทุนเรือนหุ้น / ทุนจากสํานักงานใหญ่ (share capital / fund from head office) 30 . 1 . 1 ทุนจดทะเบียน (authorized share capital) หมายถึง ทุนของบริษัทที่จดทะเบียนตามกฎหมาย ให้แสดงชนิดของหุ้น จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนแต่ละชนิด ดังนี้ 30.1.1.1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 30 . 1 . 1 . 2 หุ้นสามัญ ( ordinary shares) 30 . 1 . 2 ทุนที่ออกและชําระแล้ว (issued and paid – up share capital) หมายถึง จํานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นที่นําออกจําหน่ายและเรียกให้ชําระมูลค่าหุ้นแล้วให้ แสดงเป็นหุ้นแต่ละชนิด ดังนี้ 30.1.2.1 หุ้นบุริมสิทธิ (preference shares) 30.1.2.2 หุ้นสามัญ ( ordinary shares) 30.2 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (stock rights, warrants and options) ห มายถึง มูลค่าของสิทธิที่บริษัทประกันชีวิตออกให้แก่ผู้ถือในการซื้อหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ 30.3 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้น (premium (discount) on share capital) 30 . 3 . 1 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (premium or discount on preference shares)

หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นบุริมสิทธิส่วนที่สูงกว่า หรือต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นบุริมสิทธิ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ สามารถนํารายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้ 30 . 3 . 2 ส่วนเกิน (ต่ํากว่า) มูลค่าหุ้นสามัญ (premium or discount on ordinary shares) หมายถึง เงินหรือมูลค่าของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นสามัญส่วนที่สูงกว่าหรือ ต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ตามที่จดทะเบียนของหุ้นสามัญ หากมีทั้งส่วนเกินและส่วนต่ํากว่ามูลค่าหุ้นสามัญสามารถนํา รายการดังกล่าวมาหักกลบกันแสดงเป็นมูลค่าสุทธิได้ 30.4 ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน ( premium on treasury shares) หมายถึง เงิน มูลค่าสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการขายหุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นบุริมสิทธิ หรือหุ้นสามัญ ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืน ทั้งนี้ สํา หรับกรณีของการตัดหรือยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืนเพื่อลดทุน จะหมายถึง ราคาตามมูลค่า (par value) ส่วนที่สูงกว่าราคาทุนถัวเฉลี่ยของหุ้นทุนซื้อคืนที่ตัดออก ทั้งนี้ ให้เป็นไป ตามที่มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับหุ้นทุนซื้ อคืน ของกิจการที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนด 30.5 กําไร (ขาดทุน) สะสม (retained earnings) 30 . 5 . 1 จัดสรรแล้ว (appropriated) 30 . 5 . 1 . 1 ทุนสํารองตามกฎหมาย (legal reserve) หมายถึง สํารองที่กันไว้จากกําไรสุทธิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด 30 . 5 . 1 . 2 จัดสรรสําหรับหุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares reserve) หมายถึง สํารองที่กันไว้จากกําไรสุทธิตามข้อกําหนดในการซื้อหุ้นทุนของ บริษัทประกันชีวิต กลับมาในภายหลัง 30 . 5 . 2 อื่น ๆ (others) หมายถึง จํานวนที่จัดสรรจากกําไรสุทธิหรือกําไรสะสมเพื่อการใด ๆ ตามมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ให้แสดงเป็นแต่ละประเภท เช่น เพื่อรักษาระดับเงินปันผล เพื่อขยายกิจการ หรือตามเงื่อนไขของ ภาระผูกพัน เป็นต้น 30 . 5 . 3 ยังไม่ได้จัดสรร (unappropriated) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) สะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ที่คงเหลือจากการจัดสรร แล้วตามรายการที่ 30 . 5 . 1 ในกรณีที่มียอดดุลสุทธิเป็นผลขาดทุนสะสม ให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็ บ และเรียกเป็น “ ขาดทุนสะสม ”

30.6 หุ้นทุนซื้อคืน (treasury shares) หมายถึง หุ้นทุนของบริษัทประกันชีวิตที่ออกจําหน่ายแล้ว และบริษัทประกันชีวิตได้ซื้อหุ้นทุน ของบริษัทประกันชีวิตนั้นกลับมาในภายหลัง ด้วยราคาทุนที่บริษัทประกันชีวิตจ่ายเพื่อซื้อหุ้นทุนกลั บคืน 30.7 องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ (other components of equity) หมายถึง ผลสะสมเมื่อสิ้นรอบระยะเวลารายงานของ 30 . 7 . 1 กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และ 30 . 7 . 2 รายการอื่นของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเจ้าของ (owner changes) ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง นอกจากที่กําหนดให้ แสดงในรายการที่ 30 . 1 – 30 . 6

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย 1. รายได้จากการประกันภัย (Insurance revenue) หมายถึง จํานวนรวมของการเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ในรอบระยะเวลาที่ เกี่ยวข้องกับการบริการที่กิจการคาดว่าจะได้รับสิ่งตอบแทน การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นคือ ค่าใช้จ่ายในการ บริการประกันภัยที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลา (วัดมูลค่าด้วยจํานวนที่คาดไว้ ณ วันเริ่ม ต้นรอบระยะเวลา) การ เปลี่ยนแปลงของค่าปรับปรุงความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางการเงิน และจํานวนของกําไร จากการให้บริการตามสัญญา ที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลา 2. ค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัย (Insurance service expenses) หมายถึง การเปลี่ย นแปลงในมูลค่าตามบัญชีของหนี้สินสําหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่ของผลขาดทุน จากกลุ่มของสัญญาที่สร้างภาระและการกลับรายการของผลขาดทุนนั้น และการเปลี่ยนแปลงในภายหลังของ กระแสเงินสดเพื่อทําให้เสร็จสิ้นตามสัญญาที่เกี่ยวข้องกับค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้น 3. ค่าใช้จ่ายสุทธิจากสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ ( Net expenses from reinsurance contracts held) หมายถึง รายได้หรือค่าใช้จ่ายจากกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ (นอกเหนือจาก รายได้หรือ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากการประกันภัย) โดยแสดงรวมเป็นจํานวนเดียวกัน หรืออาจแสดงแยกต่างหาก สําหรับจํานวนที่ได้รับคืนมาจากผู้รับประกันภัยต่อและการปันส่วนของเบี้ยประกันภัยจ่ายที่รวมแล้วให้จํานวน สุทธิที่เท่ากับจํานวนเดียวกันนั้น ถ้าแสดงรายการแยกจากกันสําหรับจ ํานวนที่ได้รับคืนจากผู้รับประกันภัยต่อ และการปันส่วนของเบี้ยประกันภัยจ่าย กิจการต้อง (ก) ปฏิบัติกับกระแสเงินสดจากการประกันภัยต่อที่ขึ้นอยู่กับค่าสินไหมทดแทนบนสัญญาที่อ้างอิง เป็นส่วนหนึ่งของค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะได้รับคืนภายใต้สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ (ข) ปฏิบัติกับจํานวนเงินจากผู้รับประกันภัยต่อที่คาดว่าจะได้รับ ที่ไม่ขึ้นอยู่กับค่าสินไหมทดแทนบน สัญญาที่อ้างอิง (ตัวอย่างเช่น ค่าบําเหน็จจากการเอาประกันภัยต่อบางประเภท) ถือเป็นส่วนหักในค่าเบี้ย ประกันภัยที่จ่ายให้ผู้รับประกันภัยต่อ และ (ค) ไม่แสดงการปันส่วนข องเบี้ยประกันภัยจ่ายเป็นส่วนหักของรายได้

  1. ผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย ( Insurance service result) หมายถึง รายได้จากการประกันภัยที่เกิดขึ้นจากกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่ออก รายได้จากการ ประกันภัยต้องแสดงให้เห็นภาพของการให้ความคุ้มครองและบริการอื่น ๆ ที่เ กิดขึ้นจากกลุ่มของสัญญา ประกันภัยด้วยจํานวนที่สะท้อนถึงสิ่งตอบแทนที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากการเพื่อแลกเปลี่ยนกับการ ให้บริการเหล่านั้น หักค่าใช้จ่ายในการบริการประกันภัยที่เกิดขึ้นจากกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่ออกซึ่ง ประกอบด้วยค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้น (ไม่รวมการจ่ายชําระคืนขององค์ประกอบที่เป็นการลงทุน) ค่าใช้จ่าย บริการประกันภัยอื่นที่เกิดขึ้นและจํานวนอื่น ๆ 5. รายได้จากการลงทุน ( investment inco me) หมายถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล ส่วนลด ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน ดอกเบี้ยจากเงินฝากธนาคารและ สถาบันการเงินอื่น รวมทั้งดอกเบี้ย ค่าเช่า เงินปันผล และผลประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการประกอบธุรกรรม ลงทุนไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือการลงทุนอื่น ๆ ของประเภท ดังต่อไปนี้ • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน • ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขำดทุน • ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น • สินทรัพย์ทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม • เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง และ ให้สุทธิจากค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันเกิดขึ้นเนื่องจากการลงทุนแสวงหาผลประโยชน์ 6. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจาก เครื่องมือทางการเงิน ( gains (losses) on financial instruments) หมายถึ ง กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่าย หรือตัดรายการออกจากบัญชีของ • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่าย • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน • ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน • อนุพันธ์ • เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

  2. กําไร (ขาดทุน) จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน (fair value gains and losses) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูล ค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุนของ • ตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน • ตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุน • อนุพันธ์ • เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม อีกทั้งการปรับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในอสัง หาริมทรัพย์ และกําไร ( ขาดทุน ) จากอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ให้รับรู้ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 8. กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ( gains (losses) on hedge accounting) หมายถึง รายการดังต่อไปนี้ 8 .1 การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง และรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง 8 .2 การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดและการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง เฉพาะส่วนที่ไม่มี ประสิทธิผล - กําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เมื่อการป้องกันความเสี่ยงสิ้นสุด ทั้งนี้ รายการดังกล่าวให้แสดงยอดสุทธิของผลกําไรที่หักผลขาดทุนแล้ว ในกรณีที่ยอดสุทธิเป็นผล ขาดทุน ให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ 9. ค่ำใช้ จ่ำยทางการเงิ นจากสั ญญาประกั นภั ยที ่ ออก ( Finance expe nses from insurance contracts issued) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่เกิดจาก ผลกระทบของมูลค่าของเงินตามเวลาและการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเงินตามเวลา และ ผลกระทบของ ความเสี่ยงทางการเงิน และการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทางการเงินแต่ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสําหรับ กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่มีลักษณะร่วมรับผลประโยชน์โดยตรงที่ปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญา

  3. รายได้ทางการเงินจากสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้ ( Finan ce income from reinsurance contracts held) หมายถึง รายได้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ที่ เกิดจากผลกระทบของมูลค่าของเงินตามเวลาและการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเงินตามเวลา และผลกระทบของ ความเสี่ยงทางการเงิน และการเ ปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทางการเงิน 11. ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ ( Net insurance finance expenses) หมายถึง ผลรวมของค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยที่ออกและรายได้ทางการเงินจาก สัญญาประกันภัยต่อที่ถือไว้ รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัย 12. รายได้จากการลงทุนและค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ ( Net insurance and investment res ult) หมายถึง ผลรวมของผลการดําเนินงานการบริการประกันภัย รายได้จากการลงทุนสุทธิ และ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจากสัญญาประกันภัยสุทธิ 13. ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ( ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย ) ( share of profit (loss) from investments in associates and joint ventures) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในกิจการที่บริษัทถือไว้ กรณีบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตาม วิธีส่วนได้เสีย ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 14. รายได้อื่น (other income) หมายถึง รายได้จากการดําเนินงานนอกจากที่กําหนดให้แสดงไว้ในรายการที่ 1 - 10 โดยให้รวมถึง รายได้ จากการให้บริการด้านอื่นนอกเหนือจากด้านการประกันภัย และกําไรอื่น เช่น กําไรจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และทรัพย์สินอื่นที่มิได้ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน และในกรณีที่มีค่าใ ช้จ่ายในการขายทรัพย์สินดังกล่าว ให้ นํามาหักจากรายการนี้เพื่อแสดงยอดสุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลขาดทุนให้นําไปแสดงไว้เป็น ค่าใช้จ่ายอื่นในรายการที่ 21 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก

รายการอื่น ๆ 15. ต้นทุนทางการเงินอื่น ( other finance costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการก่อหนี้สินไม่เกี่ยวกับการรับประกันภัย เช่น ดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าธรรมเนียมธนาคาร ดอกเบี้ยที่เกิดจากสัญญาเช่าการเงิน ทั้งนี้ให้ต้นทุนทางการเงินรับรู้ตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง เป็นต้น 16. ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( expected credit loss) หมายถึง ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า ( 12 - month expected credit loss) และผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงิน ( lifetime expected credit loss) ของเครื่องมือทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจําหน่ายและเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า สินทรัพย์ตามสัญญา รวมทั้งข้อผูกมัดที่จะ ให้สินเชื่อและสัญญาค้ําประกันทางการเงิน ตามที่กําหนดในมำตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่เกี่ยวข้อง 17. ค่าใช้จ่ายจากการดําเนินงานอื่น (other operating expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการรับประกันภัยและ การลงทุน โดยให้รวมถึงขาดทุน อื่น เช่น ผลเสียหายจากการทุจริตของพนักงาน และผลขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และทรัพย์สินอื่น ที่มิได้ ถือเป็นสินทรัพย์ลงทุน ในกรณีที่มีกําไรจากการขายทรัพย์สินดังกล่าว ให้นํามาหักล้างจากรายการนี้เพื่อแสดงยอด สุทธิ กรณีที่ยอดสุทธิของแต่ละประเภทเป็นผลกําไร ให้นําไปแสดงเป็นรายได้อื่นไว้ในรายการที่ 14 ทั้งนี้ หากรายการใดมีสาระสําคัญให้แยกแสดงออกมาต่างหาก 18. ค่าใช้จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ (tax expense (tax income)) หมายถึง ผลรวมของภาษีเงินได้ของรอบระยะเวลาปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ใช้ในการ คํานวณกําไรหรื อขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลา ตามที่กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 19. กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (net profit (loss)) หมายถึง ยอดรวมรายได้หักด้วยยอดรวมค่าใช้จ่าย หากมีผลขาดทุนสุทธิ ให้แสดงจํานวนเงินไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บ 20. กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (other comprehensive income) หมายถึง รายการรายได้และค่าใช้จ่าย (รวมถึงการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่) ซึ่งมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

2 0 .1 รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 2 0 .1.1 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูล ค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่ น ( gains (losses) on investment in debt instruments at fair value through other comprehensive income) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .1.2 กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพั นธ์สําหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสด ( gains (losses) on cash flow hedges) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงใน กระแสเงินสด เฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐาน การรายงานทาง การเงิ นที่เกี่ยวข้อง 2 0 .1.3 ค่ำใช้ จ่ำยทางการเงิ นจากสั ญญาประกั นภั ยที ่ ออก ( Finance expenses from insurance contracts issued) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยที่ เกิดจากผลกระทบของ มูลค่าของเงินตามเวลาและการเปลี่ย นแปลงของมูลค่าของเงินตามเวลา แล ะ ผลกระทบของ ความเสี่ยงทางการเงิน และการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทางการเงินแต่ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสําหรับ กลุ่มของสัญญาประกันภัยที่มีลักษณะร่วมรับผลประโยชน์โดยตรงที่ปรับปรุงกําไรจากการให้บริการตามสัญญา 2 0 .1.4 รายได้ ทางการเงิ นจากสั ญญาประกั นภั ยต่ อที ่ ถื อไว้ ( Finance income from reinsuran ce contracts held) หมายถึง รายได้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตาม บัญชีของกลุ่มของสัญญาประกันภัยต่อที่ ถือไว้ที่เกิดจากผลกระทบของมูลค่าของเงินตามเวลาและการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเงินตามเวลา และ ผลกระทบของความเสี่ยงทางการเงิน และการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทำงการเงิน 2 0 .1.5 กําไร (ขาดทุน) จากต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงรอตัดบัญชี (gains (losses) from deferred cost of hedging) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในส่วนที่เป็นมูลค่าตามเวลาของ สัญญาสิทธิที่จะซื้อหรือจะขายหรือส่วนของอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือส่วนต่าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน และกําไรและขาดทุนจากการตัดจํา หน่ายรายการ ข้างต้น ณ วันที่กําหนดให้เครื่องมือทางการเงินเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ตามที่กําหนดในมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

2 0 .1.6 กําไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ( gains (losses) arising fr om translating the financial statements of a foreign operation) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการแปลงค่างบการเงินจากการดําเนินงานในต่างประเทศ ตามที่ กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง และกําไรและขาดทุนจากการวัด มูลค่ายุติธรรมอนุพันธ์ที่ ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงในเงิน ลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ เฉพาะส่วนที่มี ประสิทธิผล ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .1.7 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่จัด ประเภทรายการใ หม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joint venture will be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริษัทร่วมและการ ร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .1.8 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่จั ด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to components of other comprehensive income will be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่ จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .2 รายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง 2 0 .2.1 กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ( gains (losses) on changes in revaluation surplus) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ตามที่กําหนดในมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .2.2 กําไร (ขาดทุน) จากกำรวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุ นเบ็ ดเสร็ จอื ่ น ( gains (losses) on investment in equity instruments designated at fair value through other comprehensive income) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุ นในตราสารทุนที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 2 0 .2.3 กําไร (ขาดทุน) จากหนี้สินทางการเงินที่กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรือขาดทุน ( gains (losses) on financial liability designated at fair value through profit o r loss)

หมายถึง กําไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ กําหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรือขาดทุน เฉพาะส่วนที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยง ด้านเครดิตของหนี้สินทางการเงินนั้น 2 0 .2.4 กําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการ ผลประโยชน์ของพนักงาน ( actuarial gains (losses) on defined benefit plans) หมายถึง กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการ ผลประโยชน์ของพนักงาน ตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทำงการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .2.5 ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทร่วมและการร่วมค้าสําหรับรายการที่ไม่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( share of other comprehensive income of associates and joint venture will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นตามวิธีส่วนได้เสียที่ได้รับจากบริษัทร่วมและการ ร่วมค้า (เฉพาะกรณีการจัดทํางบการเงินรวม) สําหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง ตามที่กําหนดในมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 2 0 .2.6 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่ไม่จัด ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ( income tax relating to components of other comprehensive income will not be reclassified subsequently to profit or loss) หมายถึง ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับรายการที่ไม่ จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ซึ่งคํานวณขึ้นตามที่กําหนดในมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ถ้ามีรายการนอกเหนือจากข้างต้น ให้นําเสนอและจัดประเภทตามมาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 21. กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (earnings per share) หมายถึง กําไร (ขาดทุน) ที่คํานวณตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินว่าด้วยเรื่องกําไรต่อหุ้น หากมี ผลขาดทุนให้แสดงจํานวนเงินไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ โดยแยกแสดงเป็น 21.1 กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (basic earnings per share) 2 1 . 2 กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด (diluted earnings per share) หมายเหตุ : คําแปลภาษาอังกฤษที่กําหนดในที่นี้ใช้เป็นแนวทางเท่านั้น บริษัทสามารถใช้คําแปลอื่นที่เหมาะสม หรือใกล้เคียงได้