ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19 ) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้ รับผลกระทบจากการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ประกอบมาตรา 16 วรรคหนึ่ ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบ โดยทั่วกันว่า กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีตามมติเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19 ได้ดาเนินการกู้ เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ ที่ออกภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19 โดยการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสาหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1 . กระทรวงการคลังได้ดำเนินกา รจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับ ปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 วงเงิน 20,000 ล้านบาท (สองหมื่นล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 พันธบัตรรัฐบาลที่ออกเป็นพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่ งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5 ( ESGLB 376 A ) ที่ออกจำหน่ายเพิ่มเติม ( Reopened bond ) ส่งผลให้ยอดคงค้างของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 มีจำนวน 105,000 ล้านบาท (หนึ่งแสนห้าพันล้านบาทถ้วน) 1.2 พันธบัตรรัฐบาลมีอายุคงเหลือ 14.22 ปี โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจานวน ในวันที่ 17 มิถุนายน 2580 และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกาหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุด ธนาคารแห่งประเทศไทยให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป 1.3 พันธบัตรรัฐบาลมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.390 ต่อปี ชำระปีละ 2 ครั้ง ในวันที่ 17 มิถุนายน และ 17 ธันวาคม ของทุกปี สาหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะจ่าย ณ วันครบกาหนด ไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกาหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนไปจ่ายในวันทาการถัดไป โดยไม่นับวันหยุดตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าว เข้ารวมเพื่อคำนวณดอกเบี้ยในงวดที่ถึงกำหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้นการจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้าย ให้คำนวณดอกเบี้ยจนถึงวันก่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลที่เลื่อนออกไป ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 104 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 พฤษภาคม 2566
2 . วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้ 2.1 วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ( Competitive Bidding : CB ) ซึ่งผู้ที่ได้รับ การจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินอื่น บริษัทประกัน และ Contractual Savings Funds 2.2 วิธีการเส นอซื้อ ( Non Competitive Bidding : NCB ) ในวงเงินไม่เกินร้อยละ 20 ของวงเงินจาหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ สหกรณ์ 3 . การจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ 2 ดาเนินการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2566 จานวน 20 , 000 ล้านบาท (สองหมื่นล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดผลการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ดังนี้ วันที่จําหน่ําย วันที่ชําระเงิน วิธีกําร จําหน่ําย วงเงิน จําหน่ําย (ล้ํานบําท) จํานวนเงินที่ได้รับ (บําท) ส่วนเพิ่ม/(ส่วนลด) (บําท) ดอกเบี้ยจ่ําย รับล่วงหน้ํา (บําท) อัตรําผลตอบแทน เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี) 29 มีนาคม 2566 31 มีนาคม 2566 CB 19,700 21,643,981,699 . 78 1,753,695,853 . 78 190,285,846 . 00 2 . 6352 NCB 300 329,603,712 . 00 26,705,958 . 00 2,897,754 . 00 รวม 20,000 21 ,973,585,411 .78 1,780,401,811 . 78 193,183,600 . 00 4 . กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจาหน่าย นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาล โดยกาหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราร้อยละ 0.03 (ศูนย์จุดศูนย์สาม) ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่จ่ายและเงินต้นพันธบัตรที่จ่ายคืน ประกาศ ณ วันที่ 2 7 เมษายน พ.ศ. 256 6 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนพิเศษ 104 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 พฤษภาคม 2566