ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการวัดและการรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการตามมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการวัดและการรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการตามมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการวัดและการรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการตามมาตรฐานของคุณภาพ การให้บริการโทรคมนาคม โดยที่ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2565 กาหนดให้ผู้รับ ใบอนุญาตมีหน้าที่ต้องดาเนินการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการตามแนวทางการวัดและการรายงานค่าชี้วัด คุณภาพบริการที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกำหนด รวมทั้งมีหน้าที่ต้องจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับมาตรฐานและคุ ณภาพ การให้บริการโทรคมนาคมเพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบ โดยเผยแพร่ผลการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ผ่านทางเว็บไซต์ของผู้รับใบอนุญาตเป็นรายไตรมาสตามรูปแบบที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติกำหนด อาศัยอานาจตามความใน ข้อ 7 และข้อ 8 ของประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการ โทรคมนาคม ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2565 สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการและพื้นที่เฝ้าระวัง รูปแบบรายงานและการเผยแพร่ผลการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการและระดับค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับการเผยแพร่ผลการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 ข้อ 3 บรรดาประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งอื่นใด ในส่วนที่ได้กาหนดไว้แล้ว ในประกาศนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศนี้แทน ข้อ 4 ให้แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการ โทรคมนาคม เป็นไปตามภาคผนวก ก ท้ายประกาศนี้ ข้อ 5 ให้ผู้รับใบอนุญาตรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการสาหรับยื่นต่อสานักงาน กสทช. ตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุ ณภาพการให้บริการโทรคมนาคม ตามภาคผนวก ข ท้ายประกาศนี้ โดยสามารถ ยื่นเป็นหนังสือด้วยตนเองต่อสำนักงาน กสทช. หรือยื่นผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงาน กสทช. ก็ได้ ้ หนา 39 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 307 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565
ข้อ 6 ให้ผู้รับใบอนุญาตรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการสาหรับเผยแพร่ให้ผู้ใช้บริการทราบ ตามประกำศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม ตามภาคผนวก ค ท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 25 6 5 ไตรรัตน์ วิริยะศิริกุล รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ รักษาการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ้ หนา 40 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 307 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565
1 ภาคผนวก ก แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ 1 . บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมประจำที่ (บริการโทรศัพท์ประจำที่ บริการโทรศัพท์สาธารณะ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล) 1 . 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 1 . 1 . 1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้ บริการ ( Supply time for initial connection ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 1.1.2 ร้อยละของการติดตั้งบริการสาเร็จ ภายในวันที่กำหนด ( Percentage of service installation completed on or before the date confirmed ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 1.1.3 จำนวนของความผิดปกติที่ถูกรายงาน ต่อจำนวนผู้ใช้บริการ 100 ราย ( Number of fault reports per 100 subscribers ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 1.1.4 ระยะเวลาในการซ่อมแซม ( Fault repair time ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 1.1.5 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาด ในการเรียกเก็บค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 1.1.6 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้บริการ ดูแลลูกค้าจากศูนย์ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือ น 1.1.7 ความพร้อมในการใช้งานของ เครื่องโทรศัพท์สาธารณะ ( Payphone Service Availability ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน
2 1 . 2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 1 . 2 . 1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรศัพท์ ภายในโครงข่ายของผู้ประกอบการ เดียวกัน - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุก ช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน และ รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตร มาส 1.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรข้าม โครงข่ายต่างผู้ประกอบการ - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุก ช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน และ รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตร มาส 1 . 3 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 1 . 3 . 1 ร้อยละของเวลารวมที่ อุปกรณ์กระจาย สัญญาณปลายทาง ไม่สามารถให้บริการ ได้ใน 1 เดือน ( network unavailability : cumulative Last Mile Node outage time in a month ratio ) - อ้างอิงสถิติการให้บริการจริงที่บันทึกไว้ในฐานข้อมูลของระบบ Network Management System ( NMS ) ซึ่งรวบรวมจาก อุปกรณ์กระจายสัญญาณ ปลายทาง ( Last Mile Node ) ที่มีใช้งานอยู่จริง ทั้งนี้ อุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง ( Last Mile Node ) สาหรับให้บริการ อินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง ยกตัวอย่าง เช่น อุปกณ์ Optical line terminal ( OLT ) Dig ital Subscriber Line Access Multiplexer ( DSLAM ) หรือ Cable Modem Termination System ( CMTS ) เป็นต้น - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน
3 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 1.3.2 ค่า Round Trip Time ( RTT ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.3 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ ใหม่กว่า ) - ดาเนินการทดสอบด้วยการส่งคาสั่ง Ping แบบ ICMP ( Internet Control Message Protocol ) ขนาด 32 Byte จากอุปกรณ์ปลายทางไปยังเครื่อง Server - ดาเนินการทดสอบโดยอุปกรณ์ปลายทางทาการเชื่อมต่อไปยัง IP Address ของ Server ที่จัดเตรียมไว้ โดยอ้างอิงตามคำแนะนำในมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 (2008 - 07) Annex A Annex B และ Annex C ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) - อุปกรณ์ปลายทางที่ใช้วัด ( Test - PC ) จะต้องมีคุณสมบัติที่รองรับความเร็วของระบบที่จ ะทำการวัด - ช่วงเวลาที่มีการใช้งานหนาแน่น 17.00 น. – 21.00 น. ทั้งนี้หากผู้ใช้บริการไม่สะดวกให้เข้าทาการวัดใน ช่วงเวลาที่มีการใช้งานหนาแน่น ให้ทาการวัดในช่วงเวลาที่ได้ตกลงและได้รับความเห็นชอบจากผู้ใช้บริการ แทน - ระยะเวลาที่ทาการวัดและจำนวนครั้งในการวัด ให้ผู้ รับใบอนุญาตกำหนดตามความเหมาะสม - ผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้จัดเตรียมไฟล์และจัดเตรียม Server ที่ใช้ในการวัดโดยแนวทางการติดตั้ง server และการวัดให้เป็นไปตามมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 (2008 - 07) Annex B ( หรือส่วนที่ตรงกัน ในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 แนวทางการติดตั้ง server และการวัดตามมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 Annex B - ใช้เป็นค่าชี้วัดอ้างอิงในการ ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ เป็นรายกรณี หรือกรณีแก้ไขปัญหา เรื่องร้องเรียน โดยเป็นค่าเป้าหมาย ที่ใช้ในการวัดเฉพาะวง อินเทอร์ เน็ต ภายในประเทศ ( Local Network ) - ไม่ต้องจัดส่งรายงานผลการวัด (รายไตรมาส) ให้สำนักงาน กสทช.
4 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 1.3.3 ความเร็วเฉลี่ยในการส่งข้อมูลแบบ FTP ( Average speed of FTP transfers ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.1.7 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ ใหม่กว่า ) โดยใช้จุดเริ่มต้นวัดตาม Method B - Idle time ระหว่างการทดสอบ FTP ดาวน์โหลดหรืออัพโหลดแต่ละครั้ง สามารถกาหนดได้ตามความ เหมาะสม เพื่อให้มีเวลาในการเคลียร์ระบบการทดสอบให้เหมือนกับเป็นการทดสอบใหม่ทุกครั้ง - ดาเนินการทดสอ บโดยอุปกรณ์ปลายทางทาการเชื่อมต่อไปยัง IP Address ของ Server ที่จัดเตรียมไว้ โดยอ้างอิงตามคำแนะนำในมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 (2008 - 07) Annex A Annex B และ Annex C ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) - อุปกรณ์ปลายทางที่ใช้วัด ( Test - PC ) จะต้องมีคุณสมบัติที่รองรับความเร็วของระบบที่จะทำการวัด - ช่วงเวลาที่มีการใช้งานหนาแน่น 17.00 น. – 21.00 น. ทั้งนี้ หากผู้ใช้บริการไม่สะดวกให้เข้าทำการวัดใน ช่วงเวลาที่มีการใช้งานหนาแน่น ให้ทาการวัดในช่วงเวลาที่ได้ตกลงและได้รับความเห็นชอบจากผู้ใช้บริการ แทน - ระยะเวลาที่ทาการวัดและจำนวนครั้งในการวัด ให้ผู้รับใบอนุญาตกำหนดตามความเหมาะสม - ผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้จัดเตรียมไฟล์และจัดเตรียม Server ที่ใช้ในการวัดโดยแนวทางการติดตั้ง server และการวัดให้เป็นไปตามมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 (2008 - 07) Annex B ( หรือส่ว นที่ตรงกัน ในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) ดังรูปที่ 1 - ใช้เป็นค่าชี้วัดอ้างอิงในการ ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ เป็นรายกรณี หรือกรณีแก้ไขปัญหา เรื่องร้องเรียน โดยเป็นค่าเป้าหมาย ที่ใช้ในการวัดเฉพาะวง อินเทอร์ เน็ต ภายในประเทศ ( Local Network ) - ไม่ต้องจัดส่งรายงานผลการวัด (รายไตรมาส) ให้สำนักงาน กสทช.
5 2 . บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ 2 . 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2 . 1 . 1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่ม เปิดใช้บริการ ( Service activation time ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 2.1.2 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดในการเรียกเก็บ ค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน 2.1.3 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอ ใช้บริการดูแลลูกค้าจากศูนย์ ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดื อน 2.1.4 จำนวนครั้งที่หน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐาน ไม่สามารถ ให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 4 ชั่วโมง ใน 1 เดือนต่อ จำนวน Cell ทั้งหมดในทุก สถานีฐาน ( N etwork unavailability : number of cell outages continuously over 4 hours in a month ) - อ้างอิงสถิติการให้บริการจริงที่บันทึกไว้ในฐานข้อมูลของระบบ Network Management System ( NMS ) ซึ่ง รวบรวมมาจากแต่ละหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ในแต่ละสถานีฐาน ( Base station ) ที่มีใช้งานอยู่จริง - การระบุขอบเขตวิธีการนับของหน่วยนับ “ Cell ” ในการใช้ประกอบการรายงานสานักงาน กสทช. เป็น ดังนี้ เทคโนโลยี 2 G : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector เทคโนโลยี 3G ขึ้นไป : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Carrier บนแต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector - การรายงานผลการวัดให้รายงาน ผลรวมทุ กเทคโนโลยี และรวมถึง กรณี preventive maintenance ด้วย - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน - การเก็บข้อมูล สานักงา น กสทช. ขอความร่วมมือให้เก็บข้อมูลแยก รายเทคโนโลยี และสามารถนาส่ง ข้อมูล ดังกล่าว ให้สานักงาน กสทช. ได้ หากมีการร้องขอ
6 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2.1.5 ร้อยละของจำนวนหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐานที่ไม่ สามารถให้บริการได้สะสม เกินกว่า 24 ชั่วโมงภายใน 1 เดือน ( Network unavailability : number of cell outages continuously over 24 hours in a month ) - อ้างอิงสถิติการให้บริการจริงที่บันทึกไว้ในฐานข้อมูลของระบบ Network Management System ( NMS ) ซึ่ง รวบรวมมาจากแต่ละหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ในแต่ละสถานีฐาน ( Base station ) ที่มีใช้งานอยู่จริง - การระบุขอบเขตวิธีการนับของหน่วยนับ “ Cell ” ในการใช้ประกอบการรายงานสานักงาน กสทช. เป็น ดังนี้ เทคโนโลยี 2 G : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector เทคโนโลยี 3G ขึ้นไป : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Carrier บนแต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector - การรายงานผลการวัดให้รายงาน ผลรวมทุกเทคโนโลยี และรวมถึง กรณี preventive maintenance ด้วย - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน - การเก็บข้อมูล สานักงา น กสทช. ขอความร่วมมือให้เก็บข้อมูลแยก รายเทคโนโลยี และสามารถนาส่ง ข้ อมูล ดังกล่าว ให้สานักงาน กสทช. ได้ หากมีการร้องขอ 2.1.6 ร้อยละของเวลารวมที่ทุก หน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุ ย่อย ( Cell ) ภายในสถานี ฐานไม่สามารถให้บริการได้ ใน 1 เดือนของเวลาที่ต้อง ให้บริการทั้งหมด ( network unavailability : cumulative cell outage time in a month ) - อ้างอิงสถิติการให้บริการจริงที่บันทึกไว้ในฐานข้อมูลของระบบ Network Management System ( NMS ) ซึ่ง รวบรวมมาจากแต่ละหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ในแต่ละสถานีฐาน ( Base station ) ที่มีใช้งานอยู่จริง - การระบุขอบเขตวิธีการนับของหน่วยนับ “ Cell ” ในการใช้ประกอบการรายงานสานักงาน กสทช. เป็น ดังนี้ เทคโนโลยี 2 G : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector เทคโนโลยี 3G ขึ้นไป : หน่วยนับ Cell หมายถึง แต่ละ Carrier บนแต่ละ Radio Unit ของแต่ละ Sector - การรายงานผลการวัดให้รายงาน ผลรวมทุกเทคโนโลยี และรวมถึง กรณี preventive maintenance ด้วย - วัดเป็นรายเดือน และ รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดย แยกข้อมูลในแต่ละเดือน - การเก็บข้อมูล สานักงา น กสทช. ขอความร่วมมือให้เก็บข้อมูลแยก รายเทคโนโลยี และสามารถนาส่ง ข้อมูล ดังกล่าว ให้สานักงาน กสทช. ได้ หากมีการร้องขอ
7 2 . 2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรศัพท์ ภายในโครงข่ายของ ผู้ประกอบการเดียวกัน - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1 . ช่วงเวลา 10.00 น. – 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2 . ช่วงเวลา 16.00 น. – 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุก ไตรมาส 2.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรข้าม โครงข่ายต่างผู้ประกอบการ - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1 . ช่วงเวลา 10.00 น. – 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2 . ช่วงเวลา 16.00 น. – 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุก ไตรมาส 2 . 2 . 3 อัตราส่วนของกรณีที่สาย หลุด ( Drop Call Rate ) - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาต - วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1 . ช่วงเวลา 10.00 น. – 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2 . ช่วงเวลา 16.00 น. – 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุก ไตรมาส
8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2 . 2 . 4 คุณภาพของเสียง ( Mean Opinion Score ( MOS ) ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ITU - T P . 862 หรือ ITU - T P . 863 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - ไฟล์เสียงสำหรับใช้ในการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการคุณภาพของเสียงให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1 . เป็นไฟล์เสียงภาษาอังกฤษที่เป็นไปตาม ITU - T P . 862 หรือส่วนที่ตรงกันในฉบับที่ใหม่กว่า 2 . เป็นไฟล์เสียงภาษาอังกฤษที่เป็นไปตาม ITU - T P . 863 หรือส่วนที่ตรงกันในฉบับ ที่ใหม่กว่า - การวัดให้แบ่งออกตามภูมิภาค ( 4 ภูมิภาค ) และผู้รับใบอนุญาตเลือกจังหวัดในภูมิภาคนั้น ๆ เองในการวัด - ให้มีเครื่องที่ส่วนกลาง (ในกรุงเทพฯ) และทำการวัดโดยการเรียกเข้าจากภูมิภาคต่าง ๆ เข้าสู่ส่วนกลาง ไม่น้อยกว่า 50 ครั้งต่อเดือนต่อภูมิภาค (ภูมิภาคเรียกเข้าส่วนกลาง) โดยการวัดทั้งหมดวัดภายในโครงข่ายเดียวกัน ( on - net ) - วัดเป็นรายเดือน และรายงำน ส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส 2 . 2 . 5 อัตราส่วนของกรณีที่สาย หลุด ( Drop Call Rate ) ใน พื้นที่เฝ้าระวัง - อ้างอิงตามสถิติการให้บริการจริงของผู้รับใบอนุญาตในพื้นที่เฝ้าระวัง ต่อไปนี้ 1. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2. ท่าอากาศยานดอนเมือง 3. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 4. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 5. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) 6. สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) และ/หรือ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ ( บางซื่อ ) - วัดเฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส 2 . 3 . ค่าชี้วัดคุณภาพบริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2.3.1 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ค่า Round Trip Time ( RTT ) ต่ำกว่าค่าที่กาหนด - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.3 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) โดย ดาเนินการทดสอบด้วยการส่งคาสั่ง Ping แบบ ICMP ( Internet Control Message Protocol ) ขนาด 32 Byte จาก อุปกรณ์ปลายทางไปยังเครื่อง Server กลางที่จัดเตรียมไว้โดยสานักงาน กสทช. จนกระทั่งแพ็คเก็ตกลับมายังอุปกรณ์ ปลายทา งอีกครั้งหนึ่ง ด้วยวิธีการระบุเป้าหมายของคำสั่งเป็นเลขหมาย IP หรือ IP Address เท่านั้น - อ้างอิงตามคาแนะนาในมาตรฐาน ETSI EG 202 057 - 4 v 1.2.1 Annex A Annex B และ Annex C (หรือส่วนที่ ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - พื้นที่ในการวัดและจานวนครั้งในการวัดให้เป็ นไปตาม ที่กาหนดใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 และตารางที่ 3 โดยให้ระบุ ข้อมูลพื้นที่ในการวัด เช่น พิกัด สถานที่ตั้ง และแผนที่ - กรณีเทคโนโลยี 5 G ให้ทาการวัดในพื้นที่ให้บริการตามที่กาหนดในเงื่อนไขการอนุญาตของประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น - อุปกรณ์ปลายทางที่ดำเนินการ ทดสอบอาจอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้ และอยู่ในพื้นที่ที่มีความแรง ของสัญญาณโทรศัพท์มือถือ เพียงพอต่อการวัด และอุปกรณ์ ต้นทางและปลายทางไม่มีการใช้ งานอื่นใดอยู่ - ค่าชี้วัดคุณภาพบริการไม่ใช้ บังคับกับพื้นที่หรือช่วงเวลาที่มี การใช้งานหนาแน่นผิดปกติ
9 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล ย่าน 700 MHz 1800 MHz 2600 MHz และ 26 GHz และมีจานวน ครั้งในการวัดแต่ละครั้งไม่ ต่ำกว่า 10 0 ครั้งต่อพื้นที่ ตารางที่ 1 พื้นที่การวัดในส่วนภูมิภาค ของแต่ละไตรมาส ไตรมาส พื้นที่การวัด 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ภาคใต้ 3 ภาคกลาง / ภาคตะวันออก 4 ภาคเหนือ ตารางที่ 2 พื้นที่เฝ้าระวังและจำนวนครั้งในการวัด พื้นที่เฝ้าระวัง ข้อกำหนดในการวัด จานวนครั้งในการวัด ( Sampling ) เส้นทางสายหลักและสายรองในพื้นที่ ส่วนภูมิภาค - ไม่ต่ากว่า 120 ครั้ง เส้นทางในบริเวณพื้นที่ชุมชน (ภายในอาเภอเดียวกัน) ไม่ต่ากว่า 5 จังหวัดของ ภูมิภาคนั้น ๆ จังหวัดละไม่ต่ากว่า 1 อาเภอ ไม่ต่ากว่า 60 ครั้งต่ออำเภอ ( special event ) เช่น บริเวณ สถานที่ที่มีการจัดงานเฉลิมฉลอง เทศกาลปีใหม่ เป็นต้น - อุปกรณ์ปลายทางที่ใช้ในการ ทดสอบต้องรองรับความเร็วอย่าง น้อยเท่ากับความเร็วสูงสุดของ ระบบที่จะ ทำการทดสอบ - กรณีที่ใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ ผ่านอุปกรณ์ปลายทางจะต้องปิด โปรแกรม anti - virus และ firewall บนคอมพิวเตอร์หรือ โปรแกรมอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการ เบี่ยงเบน ของค่าผลลัพธ์ที่พึงได้ ก่อนการทดสอบทุกครั้ง - SIM card ที่ใช้ในการทดสอบ จะต้องไม่ถูกจำกัดความเร็วจาก ร ะบบของผู้รับใบอนุญาต เช่น กรณีที่ SIM card มีการใช้งาน ปริมาณข้อมูลเกินกว่าค่าที่ผู้รับ ใบอนุญาตตั้งไว้จะถูกจำกัด ความเร็ว หรือในกรณีที่ SIM card ไม่ได้ลงทะเบียนเพื่อให้ใช้งานได้ที่ ความเร็วสูงสุดของระบบ เป็นต้น - การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ปลายทางที่ใช้ในการทด สอบและ โครงข่ายของผู้รับใบอนุญาตต้อง กำหนดการเชื่อมต่อเป็นราย เทคโนโลยี (2 G 3 G 4 G และ 5 G ) ไปยังโครงข่ายโดยใช้คลื่นความถี่
10 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข ตารางที่ 3 พื้นที่เฝ้าระวังในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลในแต่ละไตรมาส พื้นที่เฝ้าระวัง จานวนครั้งในการวัด ( Sampling ) ไตรมาสที่ทำการวัด 1 2 3 4 เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ไม่ต่ากว่า 120 ครั้ง เส้นทางพิเศษ ไม่ต่ากว่า 120 ครั้ง สถานที่เฝ้าระวัง 1. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2. ท่าอากาศยานดอนเมือง 3. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 4. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนน บรมราชชนนี) 5. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) 6. สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) และ/ หรือ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ไม่ต่ากว่า 40 ครั้งต่อสถานที่ สถานที่ชุมชนอื่น ๆ จำนวน 5 สถานที่ ไม่ต่ากว่า 40 ครั้งต่อสถานที่ เส้นทางรถไฟฟ้า 1. รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ 2. รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท (สายสี เขียวอ่อน) 3. รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม (สายสีเขียว เข้ม) และ รถไฟฟ้าบีทีเอส (สายสีทอง) 5 . รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) 6. รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) 7 . รถไฟชานเมือง สาย นครวิถี และสาย ธานีรัถยา (สายสีแดง อ่อนและสายสีแดง เข้ม ) ไม่ต่ากว่า 40 ครั้งต่อสาย ของผู้รับใบอนุญาตโดยตรง โดย มิได้เป็นการเชื่อมต่อไปยัง โครงข่ายหรือคลื่นความถี่ของผู้รับ ใบอนุญาตรายอื่นที่ผู้รับใบอนุญาต ใช้บริการข้ามโครงข่า ย โทรศัพท์เคลื่อนที่ภายในประเทศ - การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ปลายทางกับคอมพิวเตอร์ต้อง กำหนดให้เป็น WAN เพื่อลด ข้อจำกัดของแบนด์วิดท์ ( Bandwidth ) ของสัญญาณ - ระบบปฏิบัติการ ( OS ) บน คอมพิวเตอร์ต้องกำหนดขนาด TCP window size ให้รองรับกับ เทคโนโลยีที่จะทำการทดสอบ - ดำเนินการ วัดในช่วงเวลา 08.00 น. – 20 .00 น. ระหว่างวันจันทร์ถึงวัน ศุกร์ - ไม่ต้องดำเนินการวัดค่าชี้วัด คุณภาพบริการสาหรับเทคโนโลยี 2 G
11 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข หมายเหตุ : 1 . เส้นทางพิเศษ หมายถึง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1) ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 ) 2 . สถานที่ชุมชนอื่น ๆ ให้ผู้รับใบอนุญาตทำการกาหนดสถานที่ดังกล่าวตามความเหมาะสม 3 . พื้นที่ชุมชน หมายถึง พื้นที่บริเวณแหล่งที่พักอาศัย ค้าขาย สถานที่ราชการ ภายในเขตอำเภอนั้นๆ สถานที่ชุมชน หมายถึง สถานที่ท่องเที่ยว สวนสาธารณะ ห้างสรรพสินค้า มหาวิทยาลัย เป็นต้น 4 . ผู้รับใบอนุญาตต้องจัดส่งข้อมูลเพิ่มเติมประกอบการจัดส่งรายงานรายไตรมาส ดังนี้ 4.1 จำนวนครั้งในการวัด ( Sampling ) ในแต่ละประเภทพื้นที่เฝ้าระวัง 4.2 รายชื่ออำเภอและจังหวัดที่ทาการวัดของพื้นที่เฝ้าระวังประเภทเส้นทางในบริเวณพื้นที่ชุมชน 4.3 แผนที่แสดงเส้นทางและระยะทางโดยรวมในการวัดพื้นที่เฝ้าระวัง ดังนี้ เส้นทางสายหลักและสายรองในพื้นที่ส่วนภูมิภาค เส้นทางในบริเวณพื้นที่ชุมชน (ภายในอำเภอเดียวกัน) เส้น ทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสัมปทาน เส้นทางพิเศษ 2.3.2 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ได้สาเร็จ ( FTP success ratio ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.1.7 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) โดย ใช้จุดเริ่มต้นวัดตาม Method B - Idle time ระหว่างการทดสอบ FTP กรณี Download ห รือ Upload แต่ละครั้ง สามารถกำหนดได้ตามความ เหมาะสม เพื่อให้มีเวลาในการเคลียร์ระบบการทดสอบให้เหมือนกับเป็นการทด สอบใหม่ทุกครั้ง - พื้นที่ในการวัดและจำนวนครั้งในการวัดให้เป็นไปตาม ที่กาหนดใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 และตารางที่ 3 โดยให้ระบุ ข้อมูลพื้นที่ในการวัด เช่น พิกัด สถานที่ตั้ง และแผนที่ - ดำเนินการทดสอบโดยอุปกรณ์ปลายทางทำการเชื่อมต่อไปยัง IP Address ของ Server กลางที่จัดเตรียมไว้โดย สานักงาน กสทช. โดยมีขนาดไฟล์และเวลาที่กาหนด ( Timeout ) สาหรับ Download หรือ Upload ผ่าน FTP เป็นไป ตามที่กาหนดใน ตารางที่ 4 - กรณีเทคโนโลยี 5 G ให้ทาการวัดในพื้นที่ให้บริการตามที่กาหนดในเงื่อนไขการอนุญาตของประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล ย่าน 700 MHz 1800 MHz 2600 MHz แ ละ 26 GHz และมีจำนวน ครั้งในการวัดแต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 10 0 ครั้งต่อพื้นที่ - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3 . 1
12 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข ตารางที่ 4 : ขนาดไฟล์รูปแบบการทดสอบและเวลา Timeout สาหรับทดสอบ Download และ Upload ผ่าน FTP ประเภท เทคโนโลยี รูปแบบการทดสอบ ขนาดไฟล์ เวลาที่กำหนด ( Timeout ) Download 2 G Single session 1 Mbyte 10 นาที 3 G Single session 15 Mbyte 4 G และ 5 G ( ที่ไม่ได้ใช้คลื่นความถี่ ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) Single session 30 Mbyte 5 G ( ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) Single session 500 Mbyte Upload 2 G Single session 500 kbyte 3 G Single session 2 Mbyte 4 G และ 5 G ( ที่ไม่ได้ใช้คลื่น ความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) Single session 4 Mbyte 5G ( ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) Single session 100 Mbyte 2.3.3 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ได้ไม่ต่า กว่าอัตราบิตที่กำหนด ( FTP ratio subjected to specified bit rate ) - เป็นไปตาม แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ที่กาหนด ใน ข้อ 2.3.2 - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3 . 1 2.3.4 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ HTTP โหลดได้ไม่ต่ากว่า เวลาที่กาหนด ( HTTP ratio - ขนาด Website ที่โหลดได้มาต้องเท่ากับขนาดของ Website ที่ทดสอบ จึงจะถือว่าการทำ HTTP โหลดนั้นสาเร็จ - เวลาเริ่มใช้งานและเวลาสิ้นสุดของการที่ HTTP โหลดสาเร็จ อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.8.6 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3 . 1
13 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข subjected to specified time duration ) - ชนิดของ Browser สาหรับการทดสอบอ้างอิงตามคำแนะนำในมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 5 v 2. 5.1 (2019 - 1 1) ข้อ 4.3.1 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) - Idle time ระหว่างการท ดสอบ HTTP แต่ละครั้ง สามารถกาหนดได้ตามความเหมาะสม เพื่อให้มีเวลาในการล้างข้อมูล ระบบการทดสอบให้เหมือนกับเป็นการทดสอบใหม่ทุกครั้ง - ดาเนินการทดสอบโดยอุปกรณ์ปลายทางใส่ URL ของ Website ผ่าน Browser ที่ใช้สาหรับการทดสอบเพื่อทาการ ดาวน์โหลด Website จาก Server กลาง ที่จัดเตรียมไว้โดยสำนักงาน กสทช. ผ่านโปรโตคอล HTTP โดยมีขนาด Website และเวลาที่กาหนด ( Timeout ) สาหรับการดาวน์โหลด Website เป็นไปตามที่กาหนดใน ตารางที่ 5 ตารางที่ 5 : ขนาด Website และเวลาที่กำหนด ( Timeout ) สาหรับการดาวน์โหลด Website เทคโนโลยี ขนาด Website สำหรับทดสอบ เวลาที่กำหนด ( Timeout ) 2 G 1 Mbyte 10 นาที 3 G 3.5 Mbyte 3 นาที 4 G และ 5 G ( NSA ) และ 5 G ( SA ) ที่ไม่ใช้ คลื่นความถี่ย่าน 2600 MHz 3.5 Mbyte 1 นาที 5 G ( SA ) ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 MHz 3.5 Mbyte 25 วินาที - พื้นที่ในการวัดและจำนวนครั้งในการวัดให้เป็นไป ตาม ที่กาหนดใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 และตารางที่ 3 โดยให้ระบุ ข้อมูลพื้นที่ในการวัด เช่น พิกัด สถานที่ตั้ง และแผนที่ - กรณีเทคโนโลยี 5 G ให้ทาการวัดในพื้นที่ให้บริการตามที่กาหนดในเงื่อนไขการอนุญาตของประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล ย่าน 700 MHz 1800 MHz 2600 MHz แ ละ 26 GHz และมีจานวน ครั้งในการวัดแต่ละครั้งไม่ ต่ำกว่า 10 0 ครั้งต่อพื้นที่ 2.3.5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ สามารถเข้าถึงบริการสตรีม มิ่ง ( Streaming service accessibility ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 6.5.4 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) โดย คำนวณจาก ( 1 - Streaming Service Non - Accessibility ) × 100 (%) - ไฟล์ที่จะใช้ในการวัดจัดเตรียมไว้ที่ Server ของเว็บไซต์ www . y outube . com โดยมีคุณสมบัติและเวลาที่กาหนด ( Timeout ) เป็นไปตามที่กาหนดใ น ตารางที่ 6 - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3 . 1
14 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข ตารางที่ 6 คุณสมบัติของไฟล์ที่จะใช้ในการวัดและเวลาที่กาหนด ( Timeout ) เทคโนโลยี Resolution Duration เวลาที่กำหนด ( Timeout ) 3G 360p ไม่ต่ากว่า 3 นาที 5 นาที 4G และ 5 G ( NSA ) และ 5 G ( SA ) ที่ไม่ใช้คลื่น ความถี่ย่าน 2600 MHz 720 p ไม่ต่ากว่า 3 นาที 5 นาที 5 G ( SA ) ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 MHz 1080p ไม่ต่ากว่า 3 นาที 5 นาที - แยกอุปกรณ์ที่ทาการวัดโดยไม่รวมกับค่าชี้วัดคุณภาพบริการอื่น - กำหนดพื้นที่ทาการวัดและ จำนวนครั้งในการวัด ดังนี้ เส้นทางในบริเวณพื้นที่ชุมชน (ในแต่ละภูมิภาค) รวมทุกพื้นที่ชุมชนไม่ต่ากว่า 100 ครั้ง เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ไม่ต่ากว่า 100 ครั้ง - กรณีเทคโนโลยี 5 G ให้ทาการวัดในพื้นที่ให้บริการตามที่กาหนดในเงื่อนไขการอนุญาตของประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล ย่าน 700 MHz 1800 MHz 2600 MHz แ ละ 26 GHz และมีจานวน ครั้งในการวัดแต่ละครั้งไม่ ต่ำกว่า 10 0 ครั้งต่อพื้นที่ 2.3.6 อัตราส่วนจำนวนครั้งการ แสดงวีดิทัศน์แบบสตรีมมิ่งได้ อย่างสมบูรณ์ ( Streaming reproduction success ratio ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 6.5.6 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) โดย คำนวณจาก ( 1 - Streaming Reproduction Cut - off Ratio ) × 100 (%) - ไฟล์ที่จะใช้ในการวัดจัดเตรียมไว้ที่ Server ของเว็บไซต์ www . youtube . com โดยมีคุณสมบัติและเวลาที่กาหนด ( Timeout ) เป็ นไปตามที่กำหนดใน ตารางที่ 6 - แยกอุปกรณ์ที่ทาการวัดโดยไม่รวมกับค่าชี้วัดคุณภาพบริการอื่น - กำหนดพื้นที่ทาการวัดและ จำนวนครั้งในการวัด ดังนี้ เส้นทางในบริเวณพื้นที่ชุมชน (ในแต่ละภูมิภาค) รวมทุกพื้นที่ชุมชนไม่ต่ากว่า 100 ครั้ง เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ไม่ต่ากว่า 100 ครั้ง - กรณีเทคโนโลยี 5 G ให้ทาการวัดในพื้นที่ให้บริการตามที่กาหนดในเงื่อนไขการอนุญาตของประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อน ที่สากล ย่าน 700 MHz 1800 MHz 2600 MHz และ 26 GHz และมีจานวน ครั้งในการวัดแต่ละครั้งไม่ ต่ำกว่า 10 0 ครั้งต่อพื้นที่ - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3 . 1
15 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2.3.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการส่ง SMS จากฝั่งส่งไปยังฝั่งรับ ( SMS end - to - end delivery time ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2. 7 .1 (2019 - 11) ข้อ 7.4.5 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) - สาหรับ การกาหนดสภาวะแวดล้อมและสถานที่ในการทดสอบ แนะนำให้มีการทดสอบทั้งใน outdoor และ indoor โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้ อ 4.1 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - ส่วนรายละเอียดจำนวนตัวอักษรของข้อความ SMS ช่วงระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ SMS และระยะเวลาที่ SMS มาถึงอุปกรณ์ปลายทางไม่ทันตามเวลาที่กาหนด ( Timeout ) อ้างอิงจากมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v 2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.2.2.1 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) ขนาด SMS เท่ากับ 120 ตัวอักษรภาษาอังกฤษ เวลาที่ กำหนด ( Timeout ) ที่ถือว่า SMS ไม่มาถึงอุปกรณ์ปลายทางเท่ากับ 175 วินาที และระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ SMS สามารถกาหนดได้ตามความเหมาะสม - ต้องตั้งค่าเวลา ของอุปกรณ์ต้นทางและปลายทางให้ตรงกันก่อนการทดสอบทุกครั้งเพื่อให้สามารถวัดระยะเวลาในการ ส่ง SMS จากฝั่งส่งถึงฝั่งรับได้อย่างถูกต้อง - การส่ง SMS เป็นแบบ Single Recipient ( ปลายทางเดียว ) ซึ่งเป็นการส่ง SMS จากต้นทางหมายเลขหนึ่งไปยัง ปลายทางอีกหมายเลขหนึ่ง - ไม่ต้องทำการวัดค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ 2.3.8 อัตราส่วนจานวน SMS ที่ไป ถึงฝั่งรับได้สาเร็จ ( SMS completion success ratio ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2 . 7 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 7.4.4 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) โดย คำนวณจาก SMS completion success ratio = ( 1 - SMS Completion Failure Ratio ) x 100 (%) - สาหรับ การกาหนดสภาวะแวดล้อมและสถานที่ในการทดสอบ แนะนำให้มีการทดสอบทั้งใน outdoor และ indoor โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.1 ( หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - ส่วนรายละเอียดจำนวนตัวอักษรของข้อความ SMS ช่วงระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ SMS และระยะเวลาที่ SMS มาถึงอุปกรณ์ปลายทางไม่ทันตามเวลาที่กาหนด ( Timeout ) อ้างอิงจากมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v 2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.2.2 .1 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ) ขนาด SMS เท่ากับ 120 ตัวอักษรภาษาอังกฤษ เวลาที่ กำหนด ( Timeout ) ที่ถือว่า SMS ไม่มาถึงอุปกรณ์ปลายทางเท่ากับ 175 วินาที และระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ SMS สามารถกาหนดได้ตามความเหมาะสม - ต้องตั้งค่าเวลาของอุปกรณ์ ต้นทางและปลายทางให้ตรงกันก่อนการทดสอบทุกครั้งเพื่อให้สามารถวัดระยะเวลาในการ ส่ง SMS จากฝั่งส่งถึงฝั่งรับได้อย่างถูกต้อง - การส่ง SMS เป็นแบบ Single Recipient ( ปลายทางเดียว ) ซึ่งเป็นการส่ง SMS จากต้นทางหมายเลขหนึ่งไปยัง ปลายทางอีกหมายเลขหนึ่ง - ไ ม่ต้องทำการวัดค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ
16 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เงื่อนไข 2.3.9 ระยะเวลาที่ใช้ในการส่ง MMS จากฝั่งส่งไปยังฝั่งรับ ( MMS end - to - end delivery time ) - อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2 . 7 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 7.3.9 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า) - สาหรับการกาหนดสภาวะแวดล้อมและสถานที่ในการทดสอบ แนะนาให้มีการทดสอบทั้งในลักษณะ outdoor และ indoor โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v 2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.1 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่ กว่า) - กำหนดขนาด MMS เท่ากับ 90 kbyte อ้างอิงตามขนาด MMS ที่ใหญ่ที่สุดในมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 5 v 2. 5 . 1 ข้อ 4.2.2.3 เวลาที่กาหนด ( Timeout ) ที่ถือว่า MMS ไม่มาถึงอุปกรณ์ปลายทาง อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 5 v 2. 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.2.2.3 และระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ MMS สามารถกำหนดได้ตามความเหมาะสม - ต้ องตั้งค่าเวลาของอุปกรณ์ต้นทางและปลายทางให้ตรงกันก่อนการทดสอบทุกครั้งเพื่อให้สามารถวัดระยะเวลาในการส่ง MMS จากฝั่งส่งถึงฝั่งรับได้อย่างถูกต้อง - การส่ง MMS เป็นแบบ Single Recipient ( ปลายทางเดียว ) ซึ่งเป็นการส่ง MMS จากต้นทางหมายเลขหนึ่งไปยัง ปลายทางอีกหมายเ ลขหนึ่ง - ไม่ต้องทำการวัดค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ 2.3.10 อัตราส่วนจานวน MMS ที่ ไปถึงฝั่งรับได้สาเร็จ ( MMS completion success ratio ) - วิธีการทดสอบให้อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2 . 7 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 7.3.8 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่น ที่ใหม่กว่า) โดยคำนวณจาก MMS end - to - end success ratio = ( 1 - MMS End - to - End Failure Ratio ) x 100 (%) - สาหรับการกาหนดสภาวะแวดล้อมและสถานที่ในการทดสอบ แนะนาให้มีการทดสอบทั้งในลักษณะ outdoor และ indoor โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 - 250 - 5 v 2 . 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อที่ 4.1 (หรือส่วนที่ตรงกันในเวอร์ชั่นที่ใหม่ กว่า) - กำหนดขนาด MMS เท่ากับ 90 kbyte อ้างอิงตามขนาด MMS ที่ใหญ่ที่สุดในมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 5 v 2. 5 . 1 ข้อ 4.2.2.3 เวลาที่กาหนด ( Timeout ) ที่ถือว่า MMS ไม่มาถึงอุปกรณ์ปลายทาง อ้างอิงตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 5 v 2. 5 . 1 ( 2019 - 11 ) ข้อ 4.2.2.3 และระยะห่างเวลาระหว่างการส่งแต่ละ MMS สามารถกำหนดได้ตามความเหมาะสม - ต้องตั้งค่าเวลาของอุปกรณ์ต้นทางและปลายทางให้ตรงกันก่อนการทดสอบทุกครั้งเพื่อให้สามารถวัดระยะเวลาในกำรส่ง MMS จากฝั่งส่งถึงฝั่งรับได้อย่างถูกต้อง - การส่ง MMS เป็นแบบ Single Recipient ( ปลายทางเดียว ) ซึ่งเป็นการส่ง MMS จากต้นทางหมายเลขหนึ่งไปยัง ปลายทางอีกหมายเลขหนึ่ง - ไม่ต้องทำการวัดค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ 2.3.11 ค่าอัตราบิตเฉลี่ยของการ รับส่งข้อมูลแบบ FTP ( Average FTP Bitrate ) - เป็นไปตาม แนวทางการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ที่กาหนดใน ข้อ 2.3.2 - เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดใน ข้อ 2.3.1
17 ภาคผนวก ข รายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับยื่นต่อสำนักงาน กสทช. 1 . รำยงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับบริการ โทรคมนาคมผ่ำนโครงข่ายโทรคมนาคมประจำที่ (บริการโทรศัพท์ประจำที่ บริการโทรศัพท์สาธารณะ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ) ประจาไตรมาสที่ พ.ศ. หน่วยงาน ผู้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตเลขที่ 1. 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 1 . 1 . 1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้บริการ ( Supply time for initial connection ) - ภายใน 10 วันทาการ (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1 . 1 . 2 ร้อยละของการติดตั้งบริการสาเร็จภายในวันที่กำหนด ( Percentage of service installation completed on or before the date confirmed ) - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1 . 1 . 3 จำนวนของความผิดปกติที่ถูกรายงาน ต่อจำนวนผู้ใช้บริการ 100 ราย ( Number of reported faults per 100 subscribers ) - ไม่ เกิน 5 ครั้ง ต่อผู้ใช้บริการ 100 ราย (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1 . 1 . 4 ระยะเวลาในการซ่อมแซม ( Fault repair time ) - ไม่ เกิน 24 ชั่วโมง (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1 . 1 . 5 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการเรียกเก็บ ค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - ไม่ เกิน ร้อยละ 0 . 3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1 . 1 . 6 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้บริการดูแลลูกค้าจากศูนย์ ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - ไม่ เกิน 60 วินาที (ให้วัดเป็นรายเดือน)
18 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 1 . 1 . 7 ความพร้อมในการใช้งานของ เครื่องโทรศัพท์สาธารณะ ( Payphone Service Availability ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล (ให้วัดเป็นราย เดือน) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 ในเขตต่างจังหวัด (ให้วัดเป็น รายเดือน) 1. 2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 1.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่ เป็นการโทรศัพท์ภายในโครงข่ายของผู้ประกอบการ เดียวกัน - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส 1.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่ เป็นการโทรข้ามโครงข่ายต่างผู้ประกอบการ - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส
19 1. 3 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เ ป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 1.3.1 ร้อยละของเวลารวมที่อุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทางไม่ สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือน ( network unavailability : cumulative Last Mile Node outage time in a month ratio ) - ไม่เกิน ร้อยละ 1 (ให้วัดเป็นรายเดือน) 1.3.2 ค่า Round Trip Time ( RTT ) - ใช้เป็นค่าชี้วัดอ้างอิงในการตรวจสอบคุณภาพการให้บริการเป็นรายกรณี หรือกรณีแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน - ไม่ต้องจัดส่งรายงานผลการวัด (รายไตรมาส) ให้สำนักงาน กสทช. 1.3.3 ความเร็วเฉลี่ยในการส่งข้อมูลแบบ FTP ( Average speed of FTP transfers )
20 2 . รำยงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับบริการโทรคมนาคมผ่ำน โ ครงข่ายโทรคมนาคม เคลื่อนที่ ประจาไตรมาสที่ พ.ศ. หน่วยงาน ผู้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตเลขที่ 2. 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 2.1.1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้บริการ ( Service activation time ) - สาหรับระบบ Pre - paid ไม่เกิน 3 ชั่วโมง สาหรับร้อย ละ 90 ของการขอเริ่มเปิดใช้ บริการ (ให้วัดเป็นรายเดือน) - สาหรับระบบ Post - paid ไม่เกิน 5 ชั่วโมงทาการ สาหรับร้อยละ 90 ของการ ขอเริ่มเปิดใช้บริการ (ให้วัด เป็นรายเดือน) 2.1.2 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการเรียกเก็บ ค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) 2.1.3 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้บริการดูแลลูกค้าจากศูนย์ ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - ไม่เกิน 60 วินาที (ให้วัดเป็นรายเดือน) 2.1.4 จำนวนครั้งที่หน่วยรับ - ส่งสัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายใน สถานีฐาน ไม่สามารถให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 4 ชั่วโมง ใน 1 เดือนต่อจำนวน Cell ทั้งหมดในทุกสถานีฐาน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 4 hours in a month ) - ไม่เกิน 10 ครั้ง ต่อ 10 0 Cell ต่อเดือน (ให้วัดเป็นรายเดือน)
21 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ผลการประเมิน (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 2.1.5 ร้อยละของจำนวนหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐานที่หยุดทำงานสะสมเกินกว่า 24 ชั่วโมง ภายใน 1 เดือน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 24 hours in a month ) - ไม่เกิน ร้อยละ 3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) 2.1.6 ร้อยละของเวลารวมที่ทุกหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐานไม่สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือน ของเวลาที่ต้องให้บริการทั้งหมด ( network unavailability : cumulative cell outage time in a month ) - ไม่เกิน ร้อยละ 1 (ให้วัดเป็นรายเดือน)
22 2 .2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หมายเหตุ เดือน x เดือน y เดือน z ค่าเฉลี่ย 2.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่ เป็นการโทรศัพท์ ภายในโครงข่ายของผู้ ประกอบการ เดียวกัน หมายเหตุ วัดใน 2 ช่วงเวลา 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. – 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่ เป็น การโทรข้ามโครงข่ายต่างผู้ประกอบการ หมายเหตุ วัดใน 2 ช่วงเวลา 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. – 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2.3 อัตราส่วนของกรณีที่สายหลุด ( Drop Call Rate ) หมายเหตุ วัดใน 2 ช่วงเวลา 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. - 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่ เกิน ร้อยละ 2 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่เกิน ร้อยละ 2
23 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ภูมิภาค เป้าหมาย ผลการวัด ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน x เดือน x เฉลี่ย 2 . 2 . 4 คุณภาพของเสียง ( Mean Opinion Score ( MOS ) ) ภาคเหนือ จังหวัด… โทรเข้ากรุงเทพฯ - ร้อยละ 90 ของ ข้อมูลที่วัดได้ ต้องไม่ต่ากว่าค่า 2.5 ( MoS Score ) [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย ภาคใต้ จังหวัด… โทรเข้ากรุงเทพฯ [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย ภาคกลาง จังหวัด… โทรเข้ากรุงเทพฯ [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด… โทรเข้ากรุงเทพฯ [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย MOS เฉลี่ย
24 รายงานคุณภาพการ ให้บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ ใน พื้นที่เฝ้าระวัง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ชื่อพื้นที่ เป้าหมาย ผลการวัด ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน) หมายเหตุ เดือน x เดือน Y เดือน z ค่าเฉลี่ย 2.2.5 อัตราส่วนของกรณีที่สาย หลุด ( Drop Call Rate ) ในพื้นที่เฝ้าระวัง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - ไม่ เกิน ร้อยละ 2 ท่าอากาศยานดอนเมือง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)
25 2 . 3 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค* สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและ สายรอง เส้นทางในบริเวณพื้นที่ ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.1 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ค่า Round Trip Time ( RTT ) ต่ำกว่าค่าที่กาหนด เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มี ค่า 500 มิลลิวินาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มี ค่า 150 มิลลิวินาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่น ความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มี ค่า 150 มิลลิวินาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มี ค่า 110 มิลลิวินาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ]
26 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค* สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและ สายรอง เส้นทางในบริเวณพื้นที่ ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.2 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP ได้สาเร็จ ( FTP success ratio ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 7 0 สาหรับ กรณี Upo ad [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ เทคโนโลยี 5 G (ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ เทคโนโลยี 5 G (ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 5 G (ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 5 G (ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ]
27 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค* สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและสายรอง เส้นทางในพื้นที่ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.3 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP ได้ไม่ต่ำกว่าอัตราบิตที่ กำหนด ( FTP ratio subjected to specified bit rate ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 75 0 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 300 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 2.5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 500 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ]
28 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ผลการวัด เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ 2.3.3 - อัตราส่วนจำนวนครั้งที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP ได้ไม่ต่ำกว่าอัตราบิตที่ กำหนด ( FTP ratio su bjected to specified bit rate ) เทคโนโลยี 5 G ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 2.5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 5 G ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 500 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตรา บิต ( Bitrate ) มีค่า 1.25 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ]
29 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค * สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและสายรอง เส้นทางในพื้นที่ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.4 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ HTTP โหลด ได้ไม่ต่ำกว่าเวลาที่กาหนด ( HTTP ratio subjected to specified time duration ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่ กำหนดเท่ากับ 3 นาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่ กำหนดเท่ากับ 1 นาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่น ความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่ กำหนดเท่ากับ 1 นาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่ กำหนดเท่ากับ 25 วิ นาที [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] [ ค่าเฉลี่ย ms ] [ ค่าเฉลี่ย ms ]
30 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค * สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและสายรอง เส้นทางในพื้นที่ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่สามารถเข้าถึง บริการสตรีมมิ่ง ( Streaming service accessibility ) เทคโนโลยี 3G ( Resolution 360 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ไม่ต้องทำการวัด (ผู้รับใบอนุญาตจะทำการวัด และส่งข้อมูลด้วยก็ได้) [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไม่ต้องทำการวัด (ผู้รับใบอนุญาตจะทำการ วัด และส่งข้อมูลด้วยก็ได้) เทคโนโลยี 4 G ( Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่น ความถี่ 2600 MHz Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 108 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ]
31 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ผลการวัด สถานที่ในส่วนภูมิภาค * สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เส้นทางสายหลักและสายรอง เส้นทางในพื้นที่ชุมชน เส้นทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ที่กำหนดแต่ละไตรมาส ** 2.3.6 อัตราส่วนจานวนครั้งการแสดง วีดีทัศน์แบบสตรีมมิ่งได้อย่างสมบูรณ์ ( Streaming reproduction success ratio ) เทคโนโลยี 3G ( Resolution 360 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ไม่ต้องทำการวัด (ผู้รับใบอนุญาตจะทำการวัด และส่งข้อมูลด้วยก็ได้) [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไม่ต้องทำการวัด (ผู้รับใบอนุญาตจะทำการ วัด และส่งข้อมูลด้วยก็ได้) เทคโนโลยี 4 G ( Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] เทคโนโลยี 5 G ชื่อพื้นที่… ชื่อพื้นที่… หมายเหตุ เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่น ความถี่ 2600 MHz Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] ไตรมาส 1 นครราชสีมา ขอนแก่น ไตรมาส 2 สงขลา ภูเก็ต ไตรมาส 3 เขต EEC กทม.และปริมณฑล ไตรมาส 4 เชียงใหม่ เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 108 0 p ) - ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 [ อัตราส่วน ] [ อัตราส่วน ] 2.3.11 ค่าอัตราบิตเฉลี่ยของการรับส่งข้อมูล แบบ FTP ( Average FTP Bitrate ) เทคโนโลยี 5 G ที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า 20 เมกะบิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ] เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 MHz - ไม่น้อย กว่า 5 เมกะบิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload [ ความเร็วเฉลี่ย ] [ ความเร็วเฉลี่ย ]
32 * สถานที่ในส่วนภูมิภาค ไตรมาส ที่ 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , ไตรมาส ที่ 2 ภาคใต้ , ไตรมาส ที่ 3 ภาคกลาง / ภาคตะวันออก , ไตรมาส ที่ 4 ภาคเหนือ ** พื้นที่เฝ้าระวังอื่น ( สถานที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑ ล) ไตรมาส ที่ 1 เส้นทางพิเศษ , ไตรมาส ที่ 2 สถานที่เฝ้าระวัง (1. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2. ท่าอากาศยานดอน เมือง 3. สถานีขนส่งผู้โดยสาร กรุงเทพ (จตุจักร) 4. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 5. สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) 6. สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) และ/หรือ สถานีกลางกรุงเทพ อภิวัฒน์ (บางซื่อ) ไตรมาส ที่ 3 สถานที่ชุมชน อื่นๆ , ไตรมาส ที่ 4 เส้นทางรถไฟฟ้า (1. รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ 2. รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท (สายสีเขียว อ่อน) 3. รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม (สายสีเขียวเข้ม) และ รถไฟฟ้าบีทีเอส (สายสีทอง) 5 . รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้าเงิน) 6 . รถไฟฟ้ามหำนคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) 7 . รถไฟชานเมือง สาย นครวิถี และสาย ธานีรัถยา (สายสีแดง อ่อนและสายสีแดงเข้ม )
33 ภาคผนวก ค รายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการสำหรับเผยแพร่ให้ผู้ใช้บริการทราบ 1 . รำยงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับบริการโทรคมนาคมผ่ำนโครงข่ายโทรคมนาคมประจำที่ (บริการโทรศัพท์ประจำที่ บริการโทรศัพท์สาธารณะ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ) ประจาไตรมาสที่ พ.ศ. หน่วยงาน ผู้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตเลขที่ 1. 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 1.1.1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้บริการ ( Supply time for initial connection ) - ภายใน 10 วันทาการ (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.1.2 ร้อยละของการติดตั้งบริการสาเร็จภายในวันที่กำหนด ( Percentage of service installation completed on or before the date confirmed ) - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.1.3 จำนวนของความผิดปกติที่ถูกรายงาน ต่อจำนวน ผู้ใช้บริการ 100 ราย ( Number of reported faults per 100 subscribers ) - ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อผู้ใช้บริการ 100 ราย (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.1.4 ระยะเวลาในการซ่อมแซม ( Fault repair time ) - ไม่เกิ น 24 ชั่วโมง (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.1.5 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการเรียก เก็บค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ]
34 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 1.1.6 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้บริการดูแลลูกค้าจาก ศูนย์ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - ไม่เกิน 60 วินาที (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.1.7 ความพร้อมในการใช้งานของ เครื่องโทรศัพท์สาธารณะ ( Payphone Service Availability ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล (ให้วัดเป็นราย เดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 ในเขตต่างจังหวัด (ให้วัดเป็น รายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/เป็นไป ตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ]
35 1 . 2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ ( ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ) หมายเหตุ 1.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรศัพท์ภายในโครงข่ายของ ผู้ประกอบการเดียวกัน - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ย ทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส 1.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรข้ามโครงข่ายต่างผู้ประกอบการ - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ย ทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส
36 1 . 3 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ ( ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ) หมายเหตุ 1.3.1 ร้อยละของเวลารวมที่ อุปกรณ์กระจายสัญญาณ ปลายทาง ไม่สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือน ( network unavailability : cumulative Last Mile Node outage time in a month ratio ) - ไม่เกิน ร้อยละ 1 ( ให้วัดเป็นรายเดือน ) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 1.3.2 ค่า Round Trip Time ( RTT ) - ใช้เป็นค่าชี้วัดอ้างอิงในการตรวจสอบคุณภาพการให้บริการเป็นรายกรณี หรือกรณีแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน - ไม่ต้องจัดส่งรายงานผลการวัด (รายไตรมาส) ให้สำนักงาน กสทช. 1.3.3 ความเร็วเฉลี่ยในการส่งข้อมูลแบบ FTP ( Average speed of FTP transfers )
37 2 . รำยงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการ สำหรับบริการโทรคมนาคมผ่ำน โ ครงข่ายโทรคมนาคม เคลื่อนที่ ประจาไตรมาสที่ พ.ศ. หน่วยงาน ผู้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตเลขที่ 2. 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ ( ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน/เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก) หมายเหตุ 2 . 1 . 1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้บริการ ( Service activation time ) - สาหรับระบบ Pre - paid ไม่เกิน 3 ชั่วโมง สาหรับร้อยละ 90 ของการขอเริ่มเปิดใช้บริการ (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] - สาหรับระบบ Post - paid ไม่เกิน 5 ชั่วโมงทำการ สาหรับร้อย ละ 90 ของการขอเริ่มเปิดใช้บริการ (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 2 . 1 . 2 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดใน การเรียกเก็บค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) - ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] - การประเมินว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีมากต้องมีคุณภาพบริการรายเดือน เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากใน ทุกเดือนของไตรมาสนั้น ๆ - เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากน้อยกว่าร้อย ละ 0.003 2 . 1 . 3 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้บริการ ดูแลลูกค้าจากศูนย์ตอบรับโทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) - ไม่เกิน 60 วินาที (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] - การประเมินว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีมากต้องมีคุณภาพบริการรายเดือน เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากใน ทุกเดือนของไตรมาสนั้น ๆ - เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากน้อยกว่า 18 วินาที
38 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ ( ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน/เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก) หมายเหตุ 2.1.4 จำนวนครั้งที่หน่วยรับ - ส่งสัญญาณวิทยุ ย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐาน ไม่สามารถ ให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 4 ชั่วโมงใน 1 เดือนต่อจำนวน Cell ทั้งหมดในทุกสถานี ฐาน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 4 hours in a month ) - ไม่เกิน ร้อยละ 1 0 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 2.1.5 ร้อยละของจำนวนหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณ วิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐานที่หยุด ทำงานสะสมเกินกว่า 24 ชั่วโมงภายใน 1 เดือน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 24 hours in a month ) - ไม่เกิน ร้อยละ 3 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] 2.16 ร้อยละของเวลารวมที่ทุกหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานี ฐานไม่สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือน ของเวลาที่ต้องให้บริการทั้งหมด ( network unavailability : cumulative cell outage time in a month ) - ไม่เกิน ร้อยละ 1 (ให้วัดเป็นรายเดือน) เดือน x [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน y [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] เดือน z [ ต่ำกว่าเกณฑ์/ เป็นไปตามเกณฑ์ ] .
39 2 . 2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ ( ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน/เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก) หมายเหตุ 2.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการโทรศัพท์ ภายในโครงข่าย ของ ผู้ประกอบการเดียวกัน 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. – 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - การประเมินว่าเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานระดับดีมากต้องมีคุณภาพบริการ รายเดือนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดั บ ดีมากในทุกเดือนของไตรมาสนั้น ๆ - เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากมากกว่าร้อย ละ 99.68 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็นการ โทรข้ามโครงข่าย ต่างผู้ประกอบการ 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. - 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - การประเมินว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีมากต้องมีคุณภาพบริการรายเดือน เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากใน ทุกเดือนของไตรมาสนั้น ๆ - เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากมากกว่าร้อย ละ 97.54 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2.3 อัตราส่วนของกรณีที่สายหลุด ( Drop Call Rate ) 1 . ช่วงเวลา 10 . 00 น. - 13 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่เกิน ร้อยละ 2 - การประเมินว่าเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานระดับดีมากต้องมีคุณภาพบริการ รายเดือนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับ ดีมากในทุกเดือนของไตรมาสนั้น ๆ - เกณฑ์มาตรฐานระดับดีมากน้อยกว่าร้อย ละ 0.18 2 . ช่วงเวลา 16 . 00 น. - 19 . 00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน ไม่เกิน ร้อยละ 2
40 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ภูมิภาค เป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน) หมายเหตุ 2.2.4 คุณภาพของเสียง ( Mean Opinion Score ( MOS ) ) ภาคเหนือ จังหวัด… โทรเข้า กรุงเทพฯ - ร้อยละ 90 ของข้อมูลที่วัดได้ ต้อง ไม่น้อยกว่า ค่า 2.5 (เฉลี่ยทุก 3 เดือน) ภาคใต้ จังหวัด… โทรเข้า กรุงเทพฯ ภาคกลาง จังหวัด… โทรเข้า กรุงเทพฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด… โทรเข้า กรุงเทพฯ
41 2 . 3 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 2.3.1 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ค่า Round Trip Time ( RTT ) ต่ำกว่าค่าที่กาหนด เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มีค่า 500 มิลลิวินาที เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มีค่า 150 มิลลิวินาที เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มีค่า 150 มิลลิวินาที เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 โดยกำหนดให้ RTT มีค่า 110 มิลลิวินาที 2.3.2 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ได้สาเร็จ ( FTP success ratio ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Upoad เทคโนโลยี 5 G (ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 5 G (ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload เทคโนโลยี 5 G (ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 5 G (ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 สาหรับ กรณี Upload
42 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 2.3.3 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ได้ ไม่น้อยกว่า อัตราบิตที่กาหนด ( FTP ratio subjected to specified bit rate ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 75 0 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 300 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 2.5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 500 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload เทคโนโลยี 5 G ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 2.5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 5 G ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 500 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 5 เมกะ บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 โดยกำหนดให้อัตราบิต ( Bitrate ) มีค่า 1.25 กิโล บิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload
43 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 2.3.4 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ HTTP โหลดได้ ไม่น้อยกว่า เวลาที่ กำหนด ( HTTP ratio subjected to specified time duration ) เทคโนโลยี 3 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่กาหนดเท่ากับ 3 นาที เทคโนโลยี 4 G - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่กาหนดเท่ากับ 1 นาที เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่กาหนดเท่ากับ 1 นาที เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 โดยมีเวลาที่กาหนดเท่ากับ 25 วิ นาที 2.3.5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่สามารถ เข้าถึงบริการสตรีมมิ่ง ( Streaming service accessibility ) เทคโนโลยี 3G ( Resolution 360 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เทคโนโลยี 4 G ( Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 720p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 108 0 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 2.3.6 อัตราส่วนจำนวนครั้งการแสดงวี ดีทัศน์แบบสตรีมมิ่งได้อย่าง สมบูรณ์ ( Streaming reproduction success ratio ) เทคโนโลยี 3G ( Resolution 360 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เทคโนโลยี 4 G ( Resolution 72 0 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 เทคโนโลยี 5 G ( NSA และ SA ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 720p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 เทคโนโลยี 5 G ( SA ที่ใช้คลื่นความถี่ 2600 MHz Resolution 108 0 p ) - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
44 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ ค่าเป้าหมาย ค่าคุณภาพบริการ (ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน / เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน) หมายเหตุ 2.3. 11 ค่าอัตราบิตเฉลี่ยของการรับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ( Average FTP Bitrate ) เทคโนโลยี 5 G ที่ ไม่ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) - ไม่น้อยกว่า 20 เมกะบิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Download เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์) - ไม่น้อยกว่า 5 เมกะบิตต่อวินาที สาหรับ กรณี Upload