Mon Dec 26 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551


ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าเพื่อการบริโภค ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับ ฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าเพื่อการบริโภค เป็นมาตรฐานทั่วไป ตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน สินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติ ทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค มาตรฐานเลขที่ มกษ. 7438 ( G ) - 2565 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถั ดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 256 5 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 303 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2565

มกษ. 7438 (G) - 256 5 แนวปฏิบัติในการใช้ มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดี สาหรับ ฟาร์ม เพาะ พันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า เ พื่อการบริโภค แนวปฏิบัตินี้ ใช้อธิบายและขยายความทางวิชาการ ครอบคลุมเหตุผลและแนวทางปฏิบัติในแต่ละข้อกาหนด ของมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบั ติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับ ฟาร์ม เพาะ พันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า เพื่อการบริโภค (มกษ. 7438 - 256 5 ) การตรวจประเมิน การออกใบรับรอง และการให้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติ ทางการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสำหรับ ฟาร์ม เพาะ พันธุ์และอนุบาลสั ตว์น้าเพื่อการบริโภค ให้เป็นไปตาม มกษ. 7438 - 256 5 และระเบียบปฏิบัติสาหรับการรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดี ( Certification Scheme for Good Aquaculture Practices) ฉบับที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนดของ มกษ. 7438 - 256 5 อยู่ในกรอบและมี คำอธิบายข้อกำหนดและ แนว ปฏิบัติ อยู่ภายใต้กรอบ ดังนี้ 1 . ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ครอบคลุมข้อกำหนดสาหรับ ฟาร์ม เพาะพันธุ์และ การ อนุบาลสัตว์น้า 1 / เพื่อการ บริโภค ทั้งการเพาะพันธุ์และ การ อนุบาล สัตว์น้า ในบ่อและแหล่งน้าสาธารณะ ตั้งแต่ ขั้นตอน การ เพาะพันธุ์ กา ร อนุบาล การ รวบรวม จนถึงหลังการรวบรวมก่อนการขนส่งออกจาก ฟาร์ม เพื่อให้ได้ ลูกพันธุ์ สัตว์น้าที่มีคุณภาพ มีความแข็งแรง เหมาะสมสาหรับนาไปเลี้ยงต่อ เป็นอาหารที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 1.2 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ไม่ใช้กับ สัตว์น้าที่มี ข้อกำหนดและมี มาตรฐานสินค้าเกษตร เฉพาะเรื่องแล้ว จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ จระเข้ สาหร่ายทะเล และ กุ้งเครย์ฟิช คาอธิบาย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ กาหนด ใช้ สาหรับ ฟาร์ม เพาะพันธุ์และ การ อนุบาลสัตว์น้า เพื่อการบริโภคทุกชนิด ยกเว้น จระเข้ สาหร่ายทะเล และ กุ้งเครย์ฟิช ซึ่ง มีการกาหนดมาตรฐานและข้อกาหนดเป็นการเ ฉพาะ ได้แก่ การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลจระเข้ (มกษ. 770 1 ) การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงที่ดีสาหรับฟาร์ม สาหร่ายทะเล (มกษ. 7434 ) การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มกุ้งเครย์ฟิชเพื่อการบริโภค ( มกษ. 7435 ) 1 / ฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า หมาย ความรวม ถึง ฟาร์มที่มีการเพาะพันธุ์สัตว์น้า ฟาร์มที่มีการอนุบาลสัตว์น้า และฟาร์ มที่มีการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า

มกษ. 7438 (G) - 256 5 2 กรณี ฟาร์มที่ผลิตลูกกุ้งขาวแวนนาไม ระยะนอเพลียส เพื่อจาหน่ายต้องได้รับการรับรอง มาตรฐาน บังคับ การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มผลิ ตลูกกุ้งขาวแวนนาไมปลอดโรค (มกษ. 7432) และหากได้รับ การรับรอง มาตรฐาน ใดมาตรฐานหนึ่งใน 2 มาตรฐานนี้ ได้แก่ การปฏิบัติ ทางการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์ มเพาะและอนุบาลลูกกุ้งทะเล (มกษ. 7422) หรือมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับ ฟาร์ม เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าเพื่อการ บริโภค (มกษ. 7438 ) จะช่วยให้ผู้ซื้อมั่นใจ ใน คุณภาพของลูกกุ้งขาวแวนนาไมที่จะนาไปเลี้ยง ให้ปลอดภัยสาหรับการบริโภคต่อไป 2. นิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐาน สินค้าเกษตร มีดังต่อไปนี้ 2.1 สัตว์น้าเพื่อการบริโภค ( food - aquatic animal s ) หมายถึง สัตว์น้า ตาม พระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภค ซึ่ งต่อไปนี้ มาตรฐานฉบับนี้ ใช้คาว่า “ สัตว์น้า ” 2.2 บ่อ ( pond) หมายถึง สถานที่บนบกสาหรับเก็บกักน้าไว้ใช้เพื่อการเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น บ่อดิน บ่อซีเมนต์ บ่อผ้าใบ บ่อพลาสติก 2.3 แหล่ง น้าสาธารณะ ( public water resource s ) หมาย ถึง แหล่ งน้าที่ประชาชนใช้หรือที่สงวนไว้ให้ ประชาชนใช้ ประโยชน์ ร่วมกัน และให้หมายความรวมถึง แม่น้า ลาคลอง ทางน้า บึง ทะเลสาบ น่านน้าภายในทะเลอาณาเขต พื้นที่ชุ่มน้า แหล่งน้าตามธรรมชาติอื่นๆ แหล่งน้าที่รัฐจัดสร้าง หรือพัฒนาขึ้นเพื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน แหล่งน้า ระหว่างประเทศที่อยู่ภายใน เขตประเทศไทยซึ่งประชาชนนามาใช้ประโยชน์ได้ และ ทางน้า เพื่อการ ชลประทาน 3. ข้อกำหนด 3. 1 สถานที่ สถานที่เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ในบ่อต้อง ไม่อยู่ในเขตพื้นที่ห้าม เพาะ เลี้ยง สัตว์น้า กรณีสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าในแหล่งน้า สาธารณะ ต้องอยู่ในพื้นที่ที่อนุญาต ให้เพาะเลี้ยงสัตว์น้าใน แหล่งน้าสาธารณะ ตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ สถานที่ ไม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสัตว์น้า ซึ่งเมื่อนำไปเลี้ยงต่ออาจส่งผลต่อ ความปลอดภัย ของผู้บริโภค แ ละ มีความเหมาะสม ต่อการเพาะพันธุ์และ การ อนุบาลสัตว์น้าแต่ละชนิด

3 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3.1 สถานที่ 3. 1 .1 การเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าในบ่อ 3. 1.1.1 ไม่อยู่ในเขตพื้นที่ห้ามเพาะเลี้ยงสัตว์น้าตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง คาอธิบาย ฟาร์ม เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้าต้องไม่ตั้งอยู่ ในเขตพื้ นที่ห้าม เพาะ เลี้ยงสัตว์น้า เช่น เขต พื้นที่ป่า อนุรักษ์ เขตพื้นที่ ป่าชายเลน เนื่องจากผิดกฎหมาย และไม่ควรตั้งอยู่ในเขตที่อาจ ส่งผลกระทบต่อความหลากหลาย ทางชีวภาพและระบบนิเวศ เช่น เขตพื้นที่ชุ่มน้า ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ฟาร์ม เพาะพันธุ์และอนุบำลสัตว์น้า ที่ ตั้งอยู่ บนที่ดินที่เอกชน เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือ มีสิทธิ ในการใช้ ป ระโยชน์ ในที่ดิน สามารถทาได้โดยมิต้องขออนุญาต เว้นแต่เป็น ฟาร์ม เพาะ พันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ควบคุม เช่น กุ้งทะเล ต้อง ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการในพื้นที่ ที่ คณะกรรมการประมงประจาจังหวั ด กาหนดเป็น “ เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้าสาหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าควบคุม ” ตามประเภทของสัตว์น้า ตาม ความ ในมาตรา 28 วรรคหนึ่ง ( 3 ) แห่ง พระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 โดย สามารถสืบค้น ข้อมูลได้จากเว็บ ไซ ต์ สานักงานประมงจังหวัดในพื้นที่ ทั้งนี้ รายชื่อกฎหมายที่เกี่ยว ข้องหรือหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ส่วนราชการกาหนด รายละเอียดตาม ภาคผนวก ก 3. 1 สถานที่ 3. 1.1 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในบ่อ 3. 1.1.2 ไม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อน จากแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่มีผลต่อ สัตว์น้า ที่เพาะพันธุ์และอนุบาล ซึ่ง เมื่อนำไปเลี้ยงต่ ออาจส่งผลต่อ ความปลอดภัย ของ ผู้บริโภค กรณีมีความเสี่ยงต้อง มีมาตรการป้องกันการปนเปื้อน คาอธิบาย บ่อ เพาะพันธุ์และ บ่อ อนุบาล สัตว์น้า ที่ อยู่ ใน สภาพแวดล้อม เสี่ยงต่อการปนเปื้อนหรือ อยู่ ใกล้แหล่งกาเนิด มลพิษ เช่น แปลงเกษตรกรรมที่มีการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร โรงงาน อุตสาหกรรม แหล่งชุมชน หรือ ฟาร์ม ปศุ สัตว์ที่อาจระบายของเสีย น้าเสีย สิ่งปฏิกูล สารเคมี หรือวัตถุอันตราย ลงสู่แหล่งน้าที่นำมาใช้ ในฟาร์ม อาจ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพสัตว์น้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค กรณีที่มีความเสี่ยงต้องมีมาตรการ ป้องกันการปนเปื้อน กรณีสถานที่ตั้ ง ฟาร์ม มีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจาก การปนเปื้อน หรือ แหล่งกาเนิดมลพิษขยายตัว เข้ามาอยู่ใกล้สถานที่ตั้ง ฟาร์ ม หรือ อยู่ ในพื้นที่น้าท่วมซ้าซาก ต้องมีมาตรการ ในการ ป้องกันความเสี่ยง หรือ มี แนวทางจัดการที่แสดงให้เห็นว่าสามารถป้องกันความเสี่ยงนั้นได้ เช่น ปรับรูป แบบการ จัดการภายใน ฟาร์มเ ป็นระบบปิด มีบ่อพักน้าที่สามารถปรับปรุงคุณภาพน้าให้เหมาะสมก่อนนำไปใช้ มีแนวคันดิน ล้อมรอบพื้นที่ฟาร์ม ติดตามข้อมูลข่าวสารการแจ้งเตือน เกี่ยวกับ การปนเปื้อนสารมลพิษและคุณภาพน้า จากหน่วยงาน ที่มีอานาจหน้าที่หรือที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบคุณภำพน้าและสิ่งแวดล้อม เช่น กรมประมง

มกษ. 7438 (G) - 256 5 4 กรมควบคุมมลพิษ กรมเจ้าท่า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หรืออาจสุ่มเก็บตัวอย่างน้าไปตรวจวิเคราะห์ ปัจจัยที่ สงสัย ว่าจะได้รับผล กระทบการปนเปื้อน นั้นๆ เพื่อใช้ประกอบการบริหารจัดการและหาแนวทาง ป้องกันปัญหาการปนเปื้อน สาร มลพิษได้ทัน เวลา 3. 1 สถานที่ 3.1.1 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในบ่อ 3.1.1. 3 ควรอยู่ใกล้แหล่งน้า หรือสามารถจัดหาน้าที่มีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพ หรือสามารถ ปรับปรุงคุณภาพให้เหมาะสมสาหรับการ เพาะพันธุ์และ การ อนุบาล สัตว์น้าแต่ละชนิด คาอธิบาย ฟาร์ม เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์ น้าควร อยู่ใกล้แหล่งน้า ที่มีคุณภาพเหมาะสม และมีปริมาณเพียงพอ ต่อการเพาะพันธุ์และ การ อนุบาลสัตว์น้า แต่ละชนิด กรณี ฟาร์มที่ไม่สามารถ ตั้ง อยู่ใกล้แหล่งน้าควร จัดหาน้า ที่ มีคุณภาพ และควร มีการสารองน้า ให้เพียงพอ ต่อ ความต้องการ สา หรับใช้ ในการเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ก่อนนา น้า จากแหล่งน้า เข้ามาใช้ในฟาร์ม ควรตรวจสอบคุณภาพน้า ด้วย วิธีการ ดังนี้ 1 ) สังเกตคุณภาพน้าทางกายภาพ หากไม่พบสิ่งผิดปกติต่อไปนี้ เช่น มี ซากของสัตว์น้า สี กลิ่น และตะกอน ที่ผิดปกติ เกิด ฟอง มี คราบ น้ามัน เกษตรกร จึง สามารถนาน้าไปใช้ในการเพาะพันธุ์และอนุบาล สั ตว์น้า ได้ 2 ) ในกรณีที่สังเกตพบว่าคุณภาพน้าผิดปกติ หรือมีข้อสงสัย หรือยังไม่มั่นใจ ให้ เก็บตัวอย่างน้า จากบริเวณ ทางน้าเข้าฟาร์ม เพื่อ นำมา ตรวจวัด หรือ วิเคราะห์คุณภาพน้า เช่น อุณหภูมิน้า ปริมาณ ออกซิเจน ละลายน้า ( dissolved o xygen ; DO) ความเป็นกรด - เบส (pH) ความเ ค็ม (salinity) ความกระด้าง ของน้า (hardness) ความเป็นด่าง ( a lkalinity) ตะกอนแขวนลอย (suspended solids) แอมโมเนีย (ammonia) ไนไ ทรต์ (nitrite) โดย เกณฑ์คุณภาพน้าที่เหมาะสมสาหรับการเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า รายละเอียดตามภาคผนวก ข กรณี คุณภาพน้ายังไม่เหมาะ สมต่อการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ควรมีการ ปรับปรุงคุณภาพน้า ให้เหมาะสม ก่อนนามาใช้ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า โดย สามารถทาได้หลายวิธี เช่น 1 ) การนาน้าเข้ามาพักไว้ในบ่อแล้วทิ้งไว้ เพื่อให้น้ามีคุณภาพดีขึ้นเอง ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลาหลายวัน ขึ้นอยู่กั บคุณภาพน้าเดิมก่อนนามาปรับสภาพ 2 ) การใช้เครื่องเติมอากาศ ช่วยเพิ่มปริมาณออกซิเจนละลายในน้า 3 ) การใช้จุลินทรีย์ย่อยสารอินทรีย์ในน้า เช่น ปม. 1 4 ) การใช้สารเคมี เช่น ใช้วัสดุปูน (เช่น แคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือแคลเซียมคาร์บอเนต) โซเดียม ไบคาร์บอเนต เพื่อปรั บค่าความเป็นกรด - เบส ความเป็นด่าง และความกระด้างของน้า หรือใช้คลอรีน (แคลเซียมไฮโพคลอไรต์) ในการฆ่าเชื้อ ก่อ โรคในน้า

5 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3. 1 สถานที่ 3. 1.2 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ 3. 1.2.1 ต้องอยู่ใน พื้นที่ ที่ได้รับอนุญาตให้ ทาการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้า ใน แห ล่งน้าสาธารณะ ตามพระราชกาหนด การประมง พ.ศ. 2558 คาอธิบาย การ เพาะพันธุ์และ การ อนุบาล สัตว์น้าใน แหล่งน้า สาธารณะ ต้องดาเนินการตามพระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2558 ตามความในมาตรา 76 มาตรา 77 มาตรา 78 และ มาตรา 79 หรือที่กรมประมงประกาศเพิ่มเติม เนื่องจาก การเพาะเลี้ยงสั ตว์น้าในกระชังถูกกาหนดให้ เป็นกิจการการเพาะเลี้ยง สัตว์น้า ควบคุม ซึ่ง ต้อง ประกอบกิจการในพื้นที่ “ เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้าสา หรับกิจการการเพาะเลี้ยง สัตว์น้า ควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในกระชัง ” ตามความในมาตรา 77 ซึ่งประกาศกา หนดโดย คณะกรรมการประมง ประจาจังหวัด เพื่อประโยชน์ในการกากับดูแลการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าให้มีคุณภาพ และป้องกันผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม เกษตรกร ที่ จะทาการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้าในแหล่งน้าสาธารณะ ต้อง ได้รับอนุญาต ให้ เพาะ เลี้ยง สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ จาก พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามกฎกระทรวง “ การขออนุญา ตและการอนุญาตให้ทำ การ เพาะ เลี้ยง สัตว์น้าในที่จับสัตว์น้า ซึ่งเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ” และ ตาม ประกาศกรมประมง “ เรื่อง แบบคาขอรับใบอนุญาต ใบรับคาขอ ใบอนุญาต คาขอ รับ โอนใบอนุญาต และคาขอรับใบแทน ใบอนุ ญาต ให้ทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ในที่จับสัตว์ น้า ซึ่งเ ป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ” และ ควร มีหลักฐาน การ ขึ้นทะเบียนเป็นเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ตามระเบียบกรมประมงว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและผู้ประกอบการด้านการประมง 3.1 สถานที่ 3.1.2 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ 3. 1.2.2 ไม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อน จากแหล่งกาเนิดมลพิษ ที่มีผลต่อ สัตว์น้าที่เพาะพันธุ์ และอนุบาล ซึ่งเมื่อนาไปเลี้ยงต่ออาจส่งผลต่อ ความปลอดภัย ของ ผู้บริโภค กรณีมีความเสี่ยง ต้อง มีมาตรการป้องกันการปนเปื้อน คาอธิบาย สถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ต้อง อยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดมลพิษในระยะที่มั่นใจว่าไม่ได้รับผลกระทบ จากการปนเปื้อนจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่ มีต่อ สุขภาพของ สัตว์น้าที่เพาะพันธุ์และอนุบาล ซึ่ง เมื่อนาไปเลี้ยง ต่ออาจ ทาให้มีสารตกค้างในตัวสัตว์น้า และ ส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค กรณี สถานที่ เพาะพันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ อาจ มีความเสี่ยงที่จะ เกิดการปนเปื้อน และ ส่งผลก ระทบ ต่อสัตว์น้า และความปลอดภัยของผู้บริโภค ต้อง มีมาตรการป้องกันและลดความเสี่ยง ตามขั้นตอน ดังนี้

มกษ. 7438 (G) - 256 5 6 1 ) จัดทาแผนป้องกันและรับมือความเสี่ยง เพื่อป้องกัน การปนเปื้อน จากแหล่งกาเนิดม ลพิษที่มีผลต่อ สัตว์น้าที่เพาะพันธุ์และอนุบาล เช่น แผนเคลื่อนย้ายพ่อแม่พันธุ์หรือลูกพันธุ์สัตว์น้า ไป ยัง บ่อสารอง ที่อยู่บนบก แผน เคลื่อนย้ายกระชังออกนอกพื้นที่ที่ได้รับอนุญาต 2 ) จัดหา บ่อ และเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสาหรับการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า เพื่อ เตรียมค วามพร้อม รับสถานการณ์ ในช่วงที่คุณภาพน้าไม่เหมาะสม เช่น บ่อเพาะพันธุ์และบ่ออนุบาลสัตว์น้าสารอง เครื่องเติมอากาศ 3 ) ติดตามข่าวสารหรือสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพน้า และสิ่งแวดล้อม อย่างสม่าเสมอ จาก หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่หรือที่เกี่ยวข้อง ในการตรวจสอบคุณภาพ น้าและสิ่งแวดล้อม เช่น กรมประมง กรมควบคุมมลพิษ 4 ) เมื่อ พบว่าสถานการณ์มีความเสี่ยง เช่น มีสารปนเปื้อนจากน้าหลาก หรือ คุณภาพน้าเสื่อมลงกะทันหัน ต้อง ทำตาม มาตรการป้องกัน หรือ แนวทางการจัดการ ความเสี่ยง ที่ ได้จัดทำไว้ หากจำเป็นต้อง เคลื่อนย้ายกระชังออกนอกพื้นที่ที่ไ ด้รับอนุญาต ต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า มีการจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าที่ดีในทุกขั้นตอน เพื่อได้ลูกพันธุ์สัตว์น้า มีคุณภาพ แข็งแรง เจริญเติบโตดี ลดความเสี่ยงในการเกิดโรค 3. 2. 1 การเตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 1 .1 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในบ่อ 3. 2.1.1 .1 ควรเตรียมบ่อ ให้อยู่ในสภาพดี แข็งแรง มีการปรับสภาพบ่อ และเตรียม อุปกรณ์ที่ใช้ในการเพาะพันธุ์ และ การ อนุบาล สัตว์น้าอย่างถูกสุขลักษณะ คาอธิบาย การเตรียมบ่อ ให้อยู่ ในสภาพดี แข็งแรง และ มี การ ปรับสภาพบ่อ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อย่างถูก สุขลักษณะ ช่วยลดปริมาณสารอินทรีย์ เชื้อก่อโรค พาหะนำเชื้อและศัตรู ของ สัตว์น้า การดูแลรักษา ซ่อมแซม รวมถึง ทาความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ อย่างสม่าเสมอ ช่วยป้องกันการปนเปื้อน ที่ อาจเกิ ดขึ้น ซึ่งมีผล ต่อ สุขภาพของ สัตว์น้า เมื่อ นา สัตว์น้าที่มีการปนเปื้อน ไปเลี้ยงต่ออาจส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ก่อนทาการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ควรมีการเตรียมบ่อ อ ย่างเหมาะสม ดังตัวอย่างการเตรียมบ่อดิน ดังนี้ 1) ตรวจสอบ สภาพ ความแข็งแรงของบ่อ และ ปรับแต่ง บ่อ ไม่ให้มีการรั่วซึม เพื่อ ให้บ่อ อยู่ในสภาพที่ใช้งาน ได้ 2) กรณี บ่อ ที่ผ่านการใช้งาน เพาะพันธุ์และบ่ออนุบาล สัตว์น้า มาแล้ว ควร มี การพักบ่อและ มีวิธี จัดการ ดิน เลน ก้นบ่ออย่าง เหมาะสม เพื่อ ลดปัญหาพื้นบ่อเน่าเสีย และ ลดการ เกิดแก๊สไข่เน่า ( hydrogen sulphide; H 2 S ) และแอ มโมเนีย เช่น ลอก ดิน เลนพื้นบ่อ ใช้จุลินทรีย์บาบัด ดิน พื้น บ่อ ไถพรวนดินและตากแดด กรณีบ่อใหม่ ก่อน เริ่ม ใช้งาน ควรตรวจสอบและปรับสภาพดินพื้นบ่อให้เหมาะสมกับการเพาะพันธุ์ และอนุบาลสัตว์น้าแต่ละชนิด เช่น ค่าความเป็นกรด - เบส

7 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3) สูบน้าออกจากบ่อให้หมด และกาจัดศัตรู สั ตว์น้า เช่น ปลา ปู ที่หลบซ่อนอยู่ในบ่อ กรณีพื้นบ่อเป็นแอ่ง ไม่สามารถตากให้แห้งได้ และยังมีสัตว์น้าชนิดอื่นหลงเหลืออยู่ในบ่อ ให้ ใช้ โล่ติ๊ น หรือ รากหางไหลแดง ประมาณ 20 g ถึง 40 g ต่อน้าในบ่อ 1 m 3 หรือ ใช้ กากชา ซึ่ง โดยทั่วไปมีส่วนประกอบของ สารซาโปนิน ( s a ponin ) ปร ะมาณ 10 % ถึง 20 % ที่ ความเข้มข้นประมาณ 15 mg/l ถึง 25 mg/l (ขึ้นอยู่กับคุณภาพ ของกากชา อุณหภูมิน้า ความเค็ม ขนาด และชนิดของสัตว์น้า) 4) มีการ ฆ่าเชื้อและ ปรับสภาพดิน พื้น บ่อให้เหมาะสม เช่น ใส่วัสดุปูน แร่ธาตุ และตากบ่อก่อนการใช้งาน ครั้งแรกและ รอบต่อไป 5 ) ติดตั้ งเครื่องมือ อย่างถูกวิธี และ เหมาะสม เช่น เครื่องเติมอากาศ เครื่องตีน้า โดยติดตั้งในจานวน ที่เพียงพอและในทิศทางที่ทาให้กระแส น้าหมุนเวียน ภายในบ่อได้อย่างทั่วถึง ไม่เกิดการแบ่งชั้นของน้า เพื่อ ช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้าให้เพียงพอ และ ทาให้สภาพแวดล้อมในบ่อเหมาะสมต่อ การเพาะพันธุ์ และ การ อนุบาลหากเป็นไปได้ ควรเตรียม อุปกรณ์ สำรอง เช่น ระบบไฟฟ้าสำรอง เครื่องสูบน้า หรือเครื่อง เติม อากาศ เพื่อ ให้สามารถใช้งานได้อย่างทันเวลาในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน การ เตรียมและดูแลรักษา อุปกรณ์ เช่น อวน สวิง ภาชนะ และเครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องเติ มอากาศ เครื่องตีน้า ที่ใช้ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้าอย่าง เหมาะสม มี ดังนี้ 1) ควร ล้างทาความสะอาด อุปกรณ์ ที่นามาใช้งาน อาจ ฆ่าเชื้อ โดยการ ตากแดดให้แห้ง หรือ แช่ในสารละลาย เช่น แคลเซียมไฮโ พ คลอไรต์ (คลอรีนผง) โซเดียมไฮโปคลอไร ต์ (คลอรีนน้า) ตามความจาเป็น 2) ควรดูแลรักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนจากการใช้งานเข้าสู่ระบบ การเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า เช่น ดูแล ไม่ให้มีการรั่วซึมของน้ามันหรือน้ามันหล่อลื่น จาก เครื่องมือต่างๆ เช่น เค รื่องเติมอากาศ เครื่องตีน้า หรือเครื่องสูบน้า 3 ) ควรจัดเก็บอุปกรณ์ และเครื่องมือ ในบริเวณที่เหมาะสม เป็นระเบียบ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยหรือ ที่หลบซ่อนของสัตว์ต่างๆ ทั้งที่เป็นและไม่เป็นพาหะนา เชื้อ ซึ่งอาจ ทาให้ เกิดการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค 3.2 การจัดการเพาะพั นธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3.2.1 การเตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 1 .1 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในบ่อ 3.2.1.1 .2 ควร เตรียมน้าและ ปรับปรุงคุณ ภาพน้า ให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์น้า ก่อนนำมาใช้ ใน การเพาะพันธุ์และ การ อนุบาล คาอธิบาย คุณภาพน้ามีการเปลี่ ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ จึงควรมีการตรวจสอบคุณภาพ และปรับปรุงให้เหมาะสม ทั้งก่อนนามาใช้และระหว่างการเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า ซึ่งจะช่วยให้ ลูกพันธุ์ สัตว์น้ามีสุขภาพดี มี อัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตสูง ก่อนนาน้ามาใช้ในการเพาะและอนุบาล สัตว์น้า เกษตรกรควรเตรียมน้าหรือปรับปรุงคุณภาพน้าให้เหมาะสม กับสัตว์น้า แต่ละชนิด โดย ปฏิบัติตามข้อ 3.1.1.3

มกษ. 7438 (G) - 256 5 8 3.2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3.2.1 การเตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 1 .1 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในบ่อ 3.2.1. 1.3 ค วรมี มาตรการเพื่อ ป้องกันศัตรู ของสัตว์น้า พาหะนา เชื้อ และสัตว์น้าอื่นๆ จากภายนอกฟาร์ม เข้า มา ในฟาร์ม คาอธิบาย การป้องกันศัตรูของสัตว์น้า พาหะนาเชื้อ รวมทั้งไข่ ตัวอ่อน และสัตว์น้าขนาดเล็กชนิดอื่น เพื่อ ไม่ให้เข้ามา กิน หรือทำร้ายลูกพันธุ์สัตว์น้า ลดการแย่งปัจจัย ที่มีผล ต่อการเจริญเติบโต เช่น อาหาร ออกซิเจน ที่อยู่อาศัย และป้องกันเชื้อโรค เข้ามาปนเปื้อนในบ่อเพาะพันธุ์และอนุบาล จนทาให้ ลูก สัตว์น้า เจริญเติบ โตช้าและ ได้ผลผลิตต่า การ นำน้าเข้าฟาร์มและนำน้าเข้าสู่ระบบการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ควรมีมาตรการป้องกันศัตรู พาหะนาเชื้อ และสัตว์น้าอื่นๆ จากภายนอกฟาร์มเข้ามาในฟาร์ม เช่น การกรองน้า ด้วย ตะแกรงหรือถุงกรอง 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1 การ เตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1.2 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ 3. 2. 1 .2.1 ต้องใช้พื้นที่ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้าไม่เกินขอบเขตที่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน ที่มีอานาจหน้าที่ 3.2.1. 2.2 ควรสังเกตและเฝ้าระวังคุณภาพน้าทางกายภาพ หรือ ตรวจ สอบ คุณภาพน้า อย่างสม่าเสมอ ตลอดระยะเวลา การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า และควรมีมาตรการจัดการ แก้ไขในสภาวะ ที่คุณภาพน้า มีการเปลี่ยนแปลงฉับพลัน คาอธิบาย การวาง กระชัง เกินกว่าจานวนที่ได้รับอนุญาต เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย อีกทั้ง การ วางกระชัง ที่ หนาแน่น เกินศักยภาพการรองรับของแหล่งน้านั้นๆ ยัง ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้ คุณภาพน้าและดิน พื้น ท้องน้า เสื่อมโทรม ส่งผลกระทบต่อ สัตว์น้าที่ เพาะพันธุ์และอนุบาล และ สิ่งแวดล้อม รวมถึง เกิด ปัญหา การกีดขวาง ทางน้า และการสัญจร 3.2.1.2.1 เกษตรกร ผู้ได้รับอนุญาตให้ทาการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้าใน แหล่งน้า สาธารณะ ต้อง ดาเนิน กิจ การ ของ ฟาร์ม ตามขนาดพื้นที่และจานวน กระชัง ที่ไ ด้รับอนุญาต จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ 3.2.1.2.2 คุณภาพน้าในแหล่งน้าสาธารณะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม จึงควรมีการสังเกตคุณภาพน้าทางกายภาพในแหล่งน้าที่ใช้ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า โดย ปฏิบัติ ตาม ข้อ 3 .1.1.3 ข้อย่อย 1 ) อย่างสม่า เสมอตลอดการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ บริหาร จัดการ ฟาร์ม ทาให้เกิดผลดีต่อสุขภาพและ เพิ่ม อัตรารอดของสัตว์น้า

9 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ทั้งนี้ ควรติดตาม ข้อมูล ข่าวสารหรือ เฝ้าระวัง สถานการณ์ เกี่ยวกับคุณภาพน้า จากหน่วยงาน ที่มีอานาจหน้าที่ หรือที่เกี่ยวข้องในการตรวจ สอบคุณภาพน้าและสิ่งแวดล้อม เช่น กรมประมง กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หรืออาจสุ่มเก็บตัวอย่างน้า เพื่อนาไปวิเคราะห์ คุณภาพ โดยปฏิบัติตาม ข้อแนะนาวิธีการเก็บตัวอย่างน้า รายละเอียดตามภาคผนวก ค เพื่อใช้ เป็นข้อมูล ประกอบการบริหารจัดการ คุณภาพน้า รวม ทั้ง ป้องกันปัญหาการปนเปื้อนมลพิษ กรณี มีความเสี่ยงของ คุณภาพน้าต่อการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ควรจัดการแก้ไข ตาม มาตรการ ป้องกัน และลดความเสี่ยงตามขั้นตอน ที่ได้จัดทาไว้ ตามข้อ 3.1.2.2 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1 การเตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์ และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1.2 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ 3. 2. 1 .2. 3 ควร เตรียมและ จัด วางกระชังอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อ ให้น้าถ่ายเทได้ดี ลดการสะสมของ เชื้อ ก่อ โรค และ ลดความเสี่ยง ใน การเกิดโรค คาอธิบาย เนื่องจาก การ เพาะพันธุ์และ อนุบาล สัตว์น้าต้อ งการน้า ที่ สะอาด และไหลเวียนดี ดังนั้น การเตรียมและ จัด วาง กระชัง ในทาเลที่ตั้ง ที่ เหมาะสม ตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อให้กระแสน้าสามารถถ่ายเทได้ดี ทา ให้มีการถ่ายเทน้าที่ดี ทั้งภายในและภายนอกกระชัง ช่วย ให้ สัตว์น้า เจริญเติบโตดี อัตรารอดสูง ลด การสะสมของเชื้อ ก่อ โรค และ ความเ สี่ยงในการเกิดโรค การเตรียมและจัดวางกระชัง มีข้อแนะนาดังนี้ 1) ควร จัดวางกระชังให้เป็นระเบียบ มี การเว้น ระยะ ห่างระหว่างแถวและ ระหว่าง กระชัง 2) ไม่วางกระชังในลักษณะที่กีดขวางการสัญจรทางน้าหรือในลักษณะที่ อาจ ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ของ บริเวณ ใกล้เคียง 3) ควรคา นึงถึงความแรงของกระแสน้าในแหล่งน้า เช่น แหล่งน้าที่มี กระแสน้าไหลแรงมาก มีผลทาให้ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการว่ายทวนกระแสน้า รวมถึงอาจทาให้กระชังชารุดหรือพังเสียหายได้ 4) ไม่ควร วางกระชังในจุดที่เป็น มุมอับและมีพรรณไม้น้าขึ้นหนาแน่น ซึ่งมีผลทา ให้เกิด สภาวะ น้าไม่ถ่ายเท และ เกิด การขาดออกซิเจน ในกระชัง ส่งผลกระทบต่อ สุขภาพของ สัตว์น้า 5) ส่วนล่างสุดของกระชัง (ก้นกระชัง) ควรลอยอยู่เหนือพื้นท้องน้า ไม่น้อยกว่า 5 0 cm เพื่อ ให้น้าไหลผ่าน ไม่เกิดการสะสม ตะกอน ของเสีย และ ไม่เกิด การหมักหมม ของ ของเสียบริเวณใต้กระชั ง

มกษ. 7438 (G) - 256 5 10 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1 การเตรียมสถานที่ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.1.2 การเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ในแหล่งน้าสาธารณะ 3.2.1.2. 4 ควร ทาความสะอาด และดูแลรักษา กระชัง เครื่องมือ และอุปกรณ์ เป็นระยะๆ เพื่อให้น้าถ่ายเทได้ดี ล ดการสะสมของของเสีย ลดการสะสมของเชื้อ ก่อ โรคและ ลดความเสี่ยง ใน การเกิดโรค คาอธิบาย การทำความสะอาดกระชัง เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ต่างๆ ที่ใช้ในฟาร์มอย่างสม่าเสมอและถูกสุขลักษณะ รวมทั้ง มีการ ฆ่าเชื้อ ตามความเหมาะสม ช่วยลดการ อุดตัน ทาให้น้าไหลเวียนได้ดี ลดการสะสมของเ ชื้อ ก่อ โรค และของเสียที่เป็นพิษ ส่งผลให้สัตว์น้ามีการ เจริญ เติบโตและสุขภาพดี มี อัตรารอดสูง อุปกรณ์หรือเครื่องมือ ที่ อยู่ในสภาพดี สะอาด มีการดูแลรักษา และ ซ่อมบารุง เพื่อให้ พร้อมใช้งานได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ และ จัดเก็บในบริเวณที่เหมาะสม เป็นระเบียบ เพื่อ ไม่ให้เป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือ ที่หลบซ่อนของสัตว์ต่างๆ ทั้งที่เป็นและไม่เป็นพาหะนาเชื้อ ซึ่งอาจ ทาให้ เกิดการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค การ ดูแลและทำความสะอาด กระชัง เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ที่ใช้ใน การเพาะ พันธุ์ และอนุบาลสัตว์น้า มีข้อแนะนา ดังนี้ 1) หมั่นทาความสะอาด กระชัง เพื่ อป้องกันการอุดตัน จากตะไคร่น้า เพรียง หรือสัตว์เกาะติดอื่น ซึ่งเป็นสาเหตุ ทาให้น้า ไม่สามารถ ไหล ผ่านกระชัง 2) ตรวจสอบสภาพ ซ่อมแซม หรือ เปลี่ยน กระชัง ให้ มีสภาพที่ ใช้งาน ได้ดี อยู่เสมอ 3) กรณี ไม่ มี สัตว์น้า ในกระชัง ควรเก็บกระชังขึ้น ทาความสะอาด ตากแดดให้แห้งก่อน นา ไปเก็บในที่ ที่ เหมาะสม 4) อุปกรณ์ เช่น อวน สวิง ภาชนะ เมื่อเสร็จสิ้นการทางานทุกครั้ง ควร ล้างทาความสะอาดและตากแดดให้แห้ง หรือฆ่าเชื้อโดยแช่ในสารละลาย เช่น แคลเซียมไฮโ พ คลอไรต์ (คลอรีนผง) โซเดียมไฮโ พ คลอไร ต์ (คลอรีนน้า) ตามความจำเป็น 5 ) เครื่องมือ เช่น เครื่ องสูบน้า เครื่องเติมอากาศ ควร ดูแลไม่ให้มีการรั่วซึมของน้ามันเครื่องหรือน้ามันหล่อลื่น 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.2 พ่อแม่พันธุ์ สัตว์น้า 3.2.2 . 1 ควรเลือกใช้พ่อแม่พันธุ์ สัตว์น้า ที่มีลักษณะดี สุขภาพดี แข็งแรง และมีความสมบูรณ์เพศ 3. 2.2 . 2 พ่ อแม่พันธุ์หรือลูกพันธุ์สัตว์น้าที่นำมาเลี้ยงเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ ต้องมีเอกสาร เป็น หลักฐาน แสดงแหล่งที่มา กรณีกุ้งทะเลต้องมีหนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้า คาอธิบาย การคั ด เลือกพ่อแม่พันธุ์ที่มีคุณลักษณะดี มีความสมบูรณ์เพศ สุขภาพดี และแข็งแรง ทาให้ได้ลูกพันธุ์ ที่มี สุขภาพ ดี แข็งแรง ทนทานโรค มีการเจริญเติบโตดี อัตรารอดสูง และง่ายต่อการจัดการ ส่งผลให้ เมื่อนาลูกพันธุ์ ไปเลี้ยง มีโอกาสประสบความสาเร็จ นอกจากนี้ การ ทราบประวัติหรือที่มา ของ พ่อแม่พันธุ์ ช่วย ในการคัดเลือก

11 มกษ. 7438 (G) - 256 5 สายพันธุ์ ป้องกันการผสม พันธุ์แบบเลือดชิด ซึ่งอาจจะทาใ ห้ลูกพันธุ์สัตว์น้าที่ผลิตได้ เกิดลักษณะที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ตัวสั้น ตัวคด ปากผิดรูป และช่วยในการ ตามสอบเมื่อเกิดปัญหาในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการเลี้ยง 3. 2.2.1 เกษตรกรควรเลือกใช้พ่อแม่พันธุ์ โดยพิจารณาในประเด็นดังนี้ 1 ) มี คุณลักษณะ ภายนอก ดี เช่น มีอวัยว ะครบถ้วน ไม่พิการหรือมีรูปร่างผิดปกติ มี ลักษณะถูกต้อง ตามชนิดสัตว์ น้า นั้นๆ 2 ) มี สุขภาพดี แข็งแรง ทนทานต่อสภาวะแวดล้อม ไม่มีอาการผิดปกติ ไม่เป็นโรคหรือสงสัยว่าอาจเป็นโรค 3 ) มีความสมบูรณ์เพศ และ มีอายุอยู่ในช่วงวัยที่เหมาะสม ซึ่งจะทา ให้ ได้ ไข่หรือลูกพันธุ์จำ นวนมาก 3. 2.2. 2 ต้อง มี เอกสารหลักฐาน แสดงแหล่งที่มาของ พ่อแม่ พันธุ์ หรือลูกพันธุ์ที่นามาเลี้ยง เพื่อ เป็นพ่อแม่พันธุ์ เช่น หนังสือกากับการ จาหน่าย สัตว์น้า (Movement Document : MD) หนังสือกากับการจาหน่าย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ( Fry Movement Document : FMD) ใบเสร็จรับเงิ น หรือบันทึกที่แสดงชนิด จานวน และแหล่งที่มา ของ พ่อแม่พันธุ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อใช้เป็นเอกสารหลักฐาน ในการ ตามสอบ หากเกิดปัญหาในระหว่าง การเพาะพันธุ์หรือ การ อนุบาล สัตว์น้า หรือระหว่างการนาลูกพันธุ์ไปเลี้ยง รวมทั้ง ใช้ในการบริหารจัดการ เพื่อ ป้องกันการผสมพันธุ์แ บบเลือดชิด กรณี พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ กุ้งทะเล ต้องมีหนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้า โดย พ่อแม่พันธุ์ ต้องมี หนังสือ กากับการซื้อขายสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( Aquacultural Product Purchasing Document : APPD) ส่วน ลูกพันธุ์ ที่ นามาเลี้ยงเ พื่อ ใช้เป็น พ่อแม่พันธุ์ต้องมี หนังสือกากับการซื้อขายลูกพันธุ์ สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( Aquacultural Fry Purchasing Document : AFPD) 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.3 การเพาะพันธุ์และการอนุบาล สัตว์น้า 3.2.3. 1 ควรจัดทำคู่มือประจาฟาร์ม หรื อใช้คู่มือการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าของกรมประมง หรือเอกสารที่เป็นแหล่งความรู้ด้านการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า เพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ คาอธิบาย การจัดทาคู่มือประจาฟาร์ม หรือใช้คู่มือการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าของกรม ประมงหรือเอกสารที่เป็น แหล่งความรู้ด้านการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า เป็นแนวทางในการปฏิบัติ งาน จะช่วย ให้ เกษตรกร สามารถ ปฏิบัติ งาน ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและมีประสิทธิภาพ ทำ ให้ การดาเนินการฟาร์ม ประสบความสาเร็จ และ ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น เกษตรกรควร จัด ทาคู่มือประจาฟาร์ม โดย อาศัย ความรู้หรือประสบการณ์ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า กรณีที่เกษตรกรยังไม่สามารถจัดทาคู่มือประจาฟาร์มเองได้ ควรใช้ คู่มือการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ของกรมประมง หรือเอกสารที่เป็นแหล่งความรู้ด้านการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า เพื่ อเป็นแนวทาง ในการ ปฏิบัติและ ปรับปรุงวิธีการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ให้มีประสิทธิภาพ

มกษ. 7438 (G) - 256 5 12 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.3 การเพาะพันธุ์และการอนุบาล 3.2.3. 2 ควรดาเนินการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนข้าม ลดความเสี่ยงของการเกิดโรค และลดการใช้ยาสัตว์และสารเคมีโดยไม่จาเป็น คาอธิบาย การเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าอย่างถูกสุขลักษณะ จะช่วยให้ ได้ลูกพันธุ์ที่มีความแข็งแรงปราศจากโรค และ ลดจำนวนการใช้ พ่อแม่พันธุ์ ข้อแนะนา การ เพาะพันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า อย่างถูกสุขลัก ษณะ เช่น - ควรจัดให้มี อุปกรณ์ เช่น สวิง ช้อน ประจำ แต่ละ บ่อ หากไม่สามารถจัดให้มีได้ หลังจากการใช้งานในแต่ละบ่อ ควร ล้างทาความสะอาดก่อนการนาไปใช้ งาน ในบ่ออื่น - มีการ เปลี่ยนถ่ายน้า ในบ่อ โดยการ กรอง เพื่อ กำจัดมูลหรือเศษอาหารเหลือ - ทาความสะอาดพื้นและผนังบ่อ อย่างสม่าเ สมอ เพื่อ ป้องกันการปนเปื้อนข้าม ลดความเสี่ยงของการเกิด โรค และ ลด การใช้ยาสัตว์และสารเคมี โดยไม่จำเป็น - ไม่ใช้มูลสัตว์สดในทุกขั้นตอนของการเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า เนื่องจากมูลสัตว์สดเป็นแหล่งสะสม ของเชื้อก่อโรค และอาจมีการปนเปื้อนของยาสัตว์ สารเคมี โลหะหนั ก 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.3 การเพาะพันธุ์และการอนุบาล 3.2.3. 3 การนำลูกพันธุ์สัตว์น้าจากภายนอกฟาร์มมาอนุบาล ต้องมีเอกสาร เป็น หลักฐานแสดงแหล่งที่มา กรณีลูกพันธุ์กุ้งทะเลต้องมีหนังสือกำกับการซื้อขายลูกพันธุ์สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ย ง ( Aquacultural Fry Purchasing Document : AFPD) คาอธิบาย การแสดงแหล่งที่มาของลูกพันธุ์สัตว์น้า เป็น ประโยชน์ ในการตามสอบและ สืบค้นแหล่งที่มาของ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ในกรณีที่มี ปัญหาหรือ ข้อสงสัย การนา ลู กพันธุ์สัตว์น้า ที่ได้จากภายนอกฟาร์ม มาอนุบาลต่อเพื่อการจาหน่าย ลูกพันธุ์ ต้อง มีหนังสือ กากับ การ จำหน่าย สัตว์น้า หรือเอกสารแสดงแหล่งที่มา เพื่อ ให้สามารถ สืบค้นแหล่งที่มาของ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ได้ หาก เกิดปัญหาสารตกค้างในสัตว์น้าสู่ผู้บริโภค ในภายหลัง อีก ทั้งเป็นข้อมูลที่ทาให้ ทราบแหล่งที่มา ของ ลูกพันธุ์สัตว์น้า ที่เชื่อถือได้ เพื่ อใช้ประกอบในการตัดสินใจในการ เลือก ซื้อลูกพันธุ์ ในครั้งต่อไป กรณีลูกพันธุ์กุ้งทะเลต้องมี หนังสือกากับการซื้อขายลูกพันธุ์สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( Aquacultural Fry Purchasing Document : AFPD) เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกรมประมง เรื่อง การจัดทาหนังสือกากับ การซื้อขายสัตว์น้า สาหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าควบคุม ประเภทการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล

13 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2.3 การเพาะพันธุ์และการอนุบาล 3.2.3.4 ควรสังเกตคุณภาพน้าทางกายภาพ หรือ ตรวจ สอบ คุณภาพน้า ระหว่างการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า อย่างสม่าเสมอ และควรปรับปรุงคุณภาพน้าตามความจาเป็นให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์น้า คาอธิบาย ผลจาก การสังเกตคุณภาพน้าหรือตรวจคุณภาพน้าอย่างสม่าเสมอ ใช้ เป็นข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพน้า ให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์น้า การใช้น้าที่มีคุณภาพเหมาะสม ช่วยให้พ่อแม่พันธุ์มี การผสมพันธุ์และวางไข่ ลูกพันธุ์จากการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ามีอัตรารอดสูง สุขภาพดี และลดความเสี่ยงในการเกิดโรค เนื่องจากการผสมพันธุ์และวางไข่ของพ่อแม่พันธุ์ ระยะฟักไข่และช่วงอนุบาลสัตว์น้าวัยอ่อนเป็นช่วงวิกฤติ สัตว์น้ามีความอ่อน แอ หากคุณภาพน้า ไม่เหมาะส ม อาจ ส่งผล กระทบต่อประสิทธิภาพใน การ ผสมพันธุ์ วางไข่ ฟักไข่ และอนุบาลสัตว์น้า เกษตรกร จึง ควร สังเกตคุณภาพน้าทางกายภาพหรือ ตรวจ สอบ คุณภาพน้า ระหว่างการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า อย่างสม่าเสมอ โดยรายการตรวจสอบขึ้นอยู่กับชนิดสัตว์น้า หากพบว่าคุณภาพน้า ไม่เหมาะสม ควร ปรับปรุง ตามความจาเป็น เพื่อให้ น้า กลับมามี คุณภาพ เหมาะสมกับ การ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า นั้น เกณฑ์คุณภาพน้าที่เหมาะสมสาหรับการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า รายละเอียดตามภาคผนวก ข 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 4 อาหารสัตว์น้า การจัดการการให้อา หาร และการเก็บรักษา 3. 2. 4 . 1 กรณีที่ ใช้ อาหารสัตว์ผสมสาเร็จรูป อาหารเสริม สารผสมล่วงหน้า ( พรีมิกซ์ ) และหัวอาหาร สัตว์ ซึ่ง กำหนดให้ต้องขึ้นทะเบียน ตาม พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ต้อง ใช้ชนิดที่ ขึ้นทะเบียนถูกต้อง และ ไม่หมดอายุ 3.2.4. 2 อาหารสั ตว์น้า ทุกชนิดและวัตถุดิบอาหารสัตว์น้าที่ ใช้ในฟาร์ม ต้องไม่ มีส่วนผสมของวัตถุหรือยา ที่ห้ามใช้ผสมในอาหารสัตว์ ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 คาอธิบาย อาหารสัตว์ผสมสาเร็จรูป อาหารเสริม สารผสมล่วงหน้า ( พรีมิกซ์ ) และหัวอาหาร สัตว์ มีกาหนดให้ต้อ ง ขึ้นทะเบียน ถูกต้อง ตาม พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 รายละเอียดตาม “ ประกาศกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กาหนดชื่อ ประเภท ชนิด ลักษณะหรือคุณสมบัติของวัตถุที่ห้ามใช้ผสมในอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ” “ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กาหนดวัตถุที่ห้า มใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ พ.ศ. 2559 ” และ “ ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง กา หนดรายชื่อยาที่ห้ามใช้ผสมในอาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์ เพื่อการป้องกันโรค พ.ศ. 2562 ” เพื่อ การควบคุม คุณภาพอาหารสัตว์ ไม่ให้ ปลอมปน เสื่อมคุณภาพ และ ผิดมาตรฐานที่ขึ้นทะเบียน ไว้

มกษ. 7438 (G) - 256 5 14 อาหารสัตว์น้า เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโต ความต้านทานโรค และอัตรารอด หากมีการปนเปื้อนอาจทำให้มีสารตกค้างในลูกพันธุ์สัตว์น้าที่นำไปเลี้ยงต่อ ซึ่งอาจทำให้มีสารตกค้าง ในสัตว์น้าและส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค กรณี ใช้อาหารสัตว์ผสมสาเร็จรูป อาหารเสริม สารผสมล่ วงหน้า (พรีมิกซ์) และหัวอาหารสัตว์สาหรับพ่อแม่พันธุ์ และลูกพันธุ์สัตว์น้า ต้อง ใช้ ชนิด ที่ขึ้นทะเบียน อย่างถูกต้อง มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสม และต้อง ปราศจาก ยาสัตว์และสารต้องห้ามตามประกาศของทางราชการ การใช้อาหารที่มีคุณภาพต่า หรือไม่มีคุณภาพ ทาให้พ่อแม่พันธุ์ มี ความสมบูรณ์เพศช้าส่งผลให้ ต้องใช้เวลาเลี้ยงนานขึ้น หรือต้องเพิ่มจานวนพ่อแม่พันธุ์ มากขึ้น ต่อการเพาะพันธุ์ในแต่ละครั้ง มีผลกระทบต่อ ต้นทุน และการจัดการ ในการเลี้ยง พ่อแม่พันธุ์และ การ อนุบาล ลูกพันธุ์ รวมทั้งอาจ ส่ง ผลให้ได้ลูกพันธุ์ ที่ ไม่แข็งแรง มีอัตรารอดต่า ขนาดตั วเล็กกว่าปกติ โตช้า และ พิการ 3.2.4.1 ต้อง เลือก ใช้ อาหารสัตว์ผสมสาเร็จรูป อาหารเสริม สารผสมล่วงหน้า (พรีมิกซ์) และหัวอาหารสัตว์ ชนิดที่ขึ้นทะเบียนถูกต้อง ตาม พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 มีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะสม ตรงตามความต้องการทางโภชนากา รของสัตว์น้าแต่ละชนิดและแต่ละช่วงอายุของสัตว์น้า และ ไม่หมดอายุ โดยสังเกตจากบรรจุภัณฑ์ที่ ระบุฉลากโภชนาการ เลขทะเบียนอาหารสัตว์ และ วันหมดอายุ ( วันล่วงอายุ ) ข้อแนะนาวิธีการอ่านเลขทะเบียนอาหารสัตว์ รายละเอียดตามภาคผนวก ง เพื่อให้แน่ใจว่าได้ ใช้อาหารที่มีคุณภาพ เหมาะสมต่อการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และการอนุบาลลูกพันธุ์ ไม่ให้มีการ ปนเปื้อน วัตถุ ที่ห้ามใช้ผสมใน อาหาร สัตว์ ซึ่ง จะทาให้เกิดอันตรายต่อ ผู้บริโภค รวมถึง พิจารณาภาชนะบรรจุอาหารสัตว์น้า ซึ่ง ควรอยู่ในสภาพที่ไม่ชารุด ไม่ฉีกขาด เปื่อยยุ่ย หรือทะลุ 3. 2. 4 . 2 อาหารสัตว์น้า ทุกชนิด และ วัตถุดิบ อาหาร ที่ใช้ ในฟาร์ม เช่น ปลาป่น กากถั่วเหลือง รา ปลายข้าว ปลาสด อาหารมีชีวิต ไข่อาร์ทีเมีย ไรแดง รวมทั้งอาหารสาเร็จรูปที่ผลิตใช้เองในฟาร์ม ต้อง มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อสัตว์น้า และมาจากแหล่งที่เชื่อถือได้หรือมีใบรับรองคุณภาพวัตถุดิบที่แสดงว่าปราศ จากยาสัตว์ และสารต้องห้ามตามประกาศของทางราชการ เช่น คลอแรมเฟนิคอล ไนโทรฟิวแรนส์ มาลาไคต์กรีน ทั้งนี้ เกษตรกรต้อง ไม่มีการเติมหรือผสม สารต้องห้ามตามประกาศของทางราชการ ในอาหารที่ผลิต และที่ซื้อมา หากมีเหตุอันควรสงสัยให้สุ่มตัวอย่าง อาหารสัตว์น้า หรือ วัตถุดิบอาหาร ที่ ใช้ในฟาร์มเพื่อตรวจสอบปริมาณ สารตกค้าง ที่มีความเสี่ยง 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 4 อาหารสัตว์น้า การจัดการการให้อาหาร และการเก็บรักษา 3.2.4.3 อาหารมีชีวิตและอาหารสดที่ใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ควรเลือกใช้ชนิดที่มีคุณค่า ทาง โภชนาการเหมาะสมกับชนิดและวัยของสัตว์น้า มีคุณภาพ มีการผลิตและเตรียมอย่าง ถูกสุขลักษณะ

15 มกษ. 7438 (G) - 256 5 คาอธิบาย อาหารมีชีวิต และ อาหารสด เป็นอาหารที่ มีคุณค่าทางโภชนาการ สูง ส่งผล ต่อความสมบูรณ์เพศของพ่อแม่พันธุ์ รวมถึงส่งเสริม การเจริญเติบโต และ พัฒนาการตามวัย และ ช่วยเพิ่ม อัตราร อดของลูกพันธุ์ จึง เหมาะสาหรับ นามา เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และ อนุบาลลูก พันธุ์ สัตว์น้า อย่างไรก็ตาม อาหารมีชีวิต และ อาหารสด มีการ เสื่อม คุณภาพและเน่าเสียได้ง่าย จึงต้องมี การ เตรียม อย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อให้อาหารคงคุณภาพ ช่วย ลดโอกาส การปนเปื้อน เชื้อที่ทาให้เกิดอันตราย แล ะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สัตว์น้า อาหารมีชีวิต เช่น เพรียงทะเล อาร์ทีเมีย ไรแดง สาหรับใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และ อนุบาลลูก พันธุ์ สัตว์น้า เมื่อได้มาควรรีบทาความสะอาด โดยการล้างด้วยน้าสะอาด เลือกใช้เฉพาะตัวที่ยัง มีชีวิต หรือยังสด ไม่เน่าเสีย สาหรับใช้เป็นอาหาร หาก ใช้ไม่หมด ควรมีการจัดเก็บที่เหมาะสม หากต้องการ นำ อาหารมีชีวิต ไปผสมกับ วัตถุดิบอาหารอื่นเพื่อ ใช้ เป็น อาหารสด ควรล้างทาความสะอาด ก่อนนาไปเป็นส่ วนผสม และเมื่อผลิตเป็นอาหารสดเรียบร้อย แล้ว ควรนาไป ใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และอนุบาล ลูกพันธุ์สัตว์น้า ทันที เพื่อ ให้ คงความ สด รักษา คุณค่าทางโภชนาการ และคุณภาพของอาหาร ทั้งนี้ การผลิต อาหารสดควร ผลิต ให้พอ เหมาะ ต่อ ปริมาณอาหารที่ต้องให้สัตว์น้าในแต่ละมื้อ เพื่อไม่ให้มีอาหารเหลือ กรณีที่ มีอาหาร เหลือ ควรมีการจัดเก็บ อย่าง เหมาะสม เช่น แช่เย็น แช่แข็ง 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์ น้า 3. 2. 4 อาหารสัตว์น้า การจัดการการให้อาหาร และการเก็บรักษา 3.2.4. 4 ควรจัดการให้อาหาร สัตว์น้า อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกใช้ชนิดที่มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมกับ ชนิดและวัยของสัตว์น้า และใช้ในปริมาณที่พอเหมาะกับขนาด ชนิด อายุ จานวน และความหนาแน่น ของสัตว์น้า คาอธิบาย การให้อาหาร สัตว์น้า ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะสมกับชนิด ขนาด และวัยของสัตว์น้า ในปริมาณที่เพียงพอ กับ ความหนาแน่น และจานวน สัตว์น้าที่เลี้ยง ช่วยให้สัตว์น้ามีการเจริญเติบโตดี แข็งแรง ไม่มีเศษอาหารเหลือ ที่ ทาให้ เกิด น้าเน่าเสีย ไม่ เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโ รค และของเสียที่เป็นพิษ สะดวกต่อการ บริหาร จัดการ และ วางแผนการเพาะพันธุ์ ควรมีการ จัดการให้อาหารพ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์สัตว์น้า อย่างมีประสิทธิภาพ ดัง นี้ 1) เลือกชนิดของอาหารสัตว์โดย คานึงถึงความต้องการทางโภชนาการของสัตว์น้า ซึ่งแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ ชนิด ขนา ด อายุ และ วัย ของสัตว์น้า - กรณีอาหารสาเร็จรูป สามารถ ตรวจสอบจากฉลากที่ระบุชนิด ขนาด และวัย ของ สัตว์น้าที่ ใช้ เลี้ยง - กรณี อาหารสด อาหารมีชีวิต และ อาหาร ที่ ผลิตใช้เองในฟาร์ม สามารถศึกษาจากเอกสารที่เป็น แหล่ง ความรู้ด้านอาหารสัตว์น้าของกรมประมงหรือหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง - กรณีอาหาร ผลิต ใช้เองในฟาร์ม ควรระบุ สูตร อาหาร

มกษ. 7438 (G) - 256 5 16 2 ) ควรใช้อาหารเลี้ยงสัตว์น้าที่ไม่เสื่อม สภาพ โด ย ตรวจสอบสภาพของอาหารก่อนนาอาหารไปใช้ ยังอยู่ใน สภาพปกติ เช่น ไม่จับเป็นก้อน ไม่มีสีผิดปกติไปจากเดิม ไม่มีเชื้อรา ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน 3 ) ให้อาหาร สัตว์น้าใ นปริมาณ และ ความถี่ ที่เหมาะ สมกับ ขนาด ชนิด วัย จานวน และความหนาแน่น ของสัตว์น้าที่เลี้ยง และอนุบาล เพื่อให้สัตว์น้า ได้รับอาหาร อย่าง สม่าเสมอ มีการ เจริญเติบโต ดี มีขนาดสม่าเสมอ ลด ปัญหาอาหารเหลือ ค้างในบ่อ ซึ่งเป็นสาเหตุ ให้น้าเสียได้ง่าย 4 ) หมั่น สังเกตพฤติกรรมกา รกินอาหารของสัตว์น้า เพื่อประเมิน และปรับ ปริมาณการให้อาหารสัตว์น้า ให้เหมาะสม 5 ) การนาอาหารสัตว์น้าไปใช้ ยึดหลักการ “ มาก่อนใช้ก่อน ” (first in - first out) 3. 2 การจัดการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า 3. 2. 4 อาหารสัตว์น้า การจัดการการให้อาหาร และการเก็บรักษา 3 .2.4. 5 ควรเก็บรักษาอาหารสัตว์น้าในสถานที่ที่สามารถ รักษาคุณภาพ ของอาหาร สัตว์น้า และป้องกัน การปนเปื้อนได้ คาอธิบาย การจัดเก็บอาหารสัตว์น้า ในสถานที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ ตามชนิดและประเภท เป็นการ ช่วย ชะลอ การเสื่อมสภาพของอาหาร สัตว์น้า และป้องกัน การปนเปื้อน อีกทั้ ง การจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ ทาให้สะดวกต่อ การบริหารจัดการ การดูแลรักษา การตรวจสอบ และการนาไปใช้ การ เก็บรักษาอาหารสัตว์น้า ควร ปฏิบัติ ดังนี้ 1 ) แยก สถานที่สาหรับเก็บ รักษา อาหารสัตว์น้า ให้เป็นสัดส่วน ตามชนิดของอาหาร สัตว์น้า จัดวางให้ เป็น ระเบียบ ถูกสุขลักษณะ มีการชี้ บ่ง ชนิดและประเภทอาหาร สัตว์น้า อย่างชัดเจน และไม่เก็บอาหารสัตว์น้า ในบริเวณเดียวกันกับปัจจัย การ ผลิตอื่นๆ เช่น ยา สัตว์ สารเคมี 2 ) สถานที่เก็บ อาหารสัตว์น้า ควรมีโครงสร้าง วัสดุ หรือ ใช้ วิธีการที่ สามารถ ป้องกัน แสงแดด ฝน และมี อากาศ ถ่ายเท ได้ สะดวก มี อุณหภูมิ และความชื้นไม่สูงจนเกินไป เพื่อ ป้องกัน อาหารสัตว์น้าเสื่อม คุณภาพ จาก สภาวะแวดล้อม รวมทั้ง สามารถ ป้องกันสัตว์เลี้ยงและสัตว์พาหะนำ เชื้อ ได้ 3 ) มีวิธีการจัด เก็บรักษาอาหารสัตว์น้า ที่ เหมาะสมตามชนิดและประเภทอาหาร เช่น ก) อาหารเม็ดสาเร็จรูป ควรจัดวางถุงบรรจุอาหารบนแ ผ่นรองพื้นไม่ให้ถุงบรรจุอาหารสัมผัสกับพื้น โดยตรง ควร วางถุงบรรจุอาหาร ห่างจากผนังและสูงจากพื้นห้องอย่างน้อย 10 cm เพื่อป้องกัน การเสื่อมสภาพของอาหารจากความชื้นและการเกิดเชื้อรา ข) อาหารสด ควรเก็บไว้ในตู้เย็นหรือตู้แช่ แข็ง สาร ผสมล่วงหน้า ควรเก็บตาม คาแนะนา ที่ ระบุในฉลาก เพื่อรักษาความสดและคงคุณภาพของอาหารนั้น

17 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3. 3 การจัดการสุขภาพสัตว์น้า การจัดการดูแลสุขภาพ สัตว์น้า อย่างเหมาะสม เพื่อให้พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์สัตว์น้ามีสุขภาพดี แข็งแรง ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรค 3. 3 . 1 ควร มีการ ติดตาม ดูแล สุขภาพสัตว์น้าอย่างสม่าเสมอ 3.3 . 2 หากพบว่าสัตว์น้ามีอาการผิดปกติ ควรตรวจหาสาเหตุเบื้องต้นและพิจารณาด้านการจัดการ ก่อนการใช้ยาสัตว์และสารเคมี 3.3 . 3 เมื่อสัตว์น้าตายเป็นจานวนมากผิดปกติหรือสงสัยว่าสัตว์น้าตายด้วยโรคระบาด ต้องปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติโรคระบา ดสัตว์ พ.ศ. 2558 โดยต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ที่มีอานาจหน้าที่เพื่อหาสาเหตุ ต้อง กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ น้า ป่วย ออกจากสัตว์น้าปกติไว้ภายในเขตกักกันตามวิธีการ ที่กาหนด มีวิธีการจัดการซากสัตว์น้า อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบการเพาะพันธุ์และอนุบาล และน้าทิ้ง อย่างถูกต้องและเห มาะสม เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค คาอธิบาย การ ติดตามดูแล สุขภาพ พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ สัตว์น้าอย่างสม่าเสมอ เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการ จัดการ ด้าน สุขภาพ ช่วย ให้พบ อาการ ผิดปกติ ของสัตว์น้า ได้เร็ว และ สามารถ แก้ไขปัญหาได้ทันเวลา ซึ่ง สาเหตุ อาจ มาจาก คุณภาพน้าเปลี่ ยนแปลง รวมถึงมีความบกพร่องใน การจัดการเพาะพันธุ์และการอนุบาลสัตว์น้า ทาให้สัตว์น้า เกิดความเครียด อ่อนแอ และติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ดังนั้น การ ปรับ การ จัดการเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ให้เหมาะสม จึงมีความสาคัญ และ ช่วย แก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้น ในระยะเริ่มต้น ได้ การใช้ยาสัตว์ และ สารเคมี ในการ แก้ไขอาการผิดปกติของสัตว์น้า ควรเป็นทางเลือกสุดท้าย และใช้อย่างเหมาะสมเท่าที่จาเป็น การแจ้งเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจหน้าที่ เพื่อหาสาเหตุ เมื่อพบสัตว์น้าตายมากผิดปกติ การจัดการ ซากสัตว์น้า อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบการเพาะพันธุ์และอนุบาล และ น้าทิ้งอย่างถูกต้องและเหมาะสม เป็นการ ป้องกันไม่ให้ เชื้อโรค แพร่กระจาย ภายในฟาร์ม ฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้าข้างเคียง หรือกระจายสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก 3.3.1 ควร ติดตาม และดูแลสุขภาพสัตว์น้าตลอดระยะเวลาการ เพาะพันธุ์และอนุบาล โดยสังเกต พฤติกรรม และความผิดปกติ ของสัตว์น้า เ ช่น การว่ายน้า แยกออกจากฝูง ว่ายแฉลบไปมา ไม่มีแรงว่ายน้า การกินอาหาร มากขึ้นหรือลดลงอย่างผิดสังเกต มี แผลที่ลาตัว จุดเลือดออก อาการบวมน้า หรืออาการอื่นๆ ที่สามารถ สังเกตได้ โดยเฉพาะช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ หรือสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ที่อาจทาให้สัตว์น้า เ กิดความเครียด และอ่อนแอ นอกจากนี้ ควรติดตามเฝ้าระวังสภาพภูมิอากาศและสภาพความผิดปกติของ สัตว์น้าภายนอกฟาร์มร่วมด้วย เกษตรกร ควร กาหนดวิธีการ ปฏิบัติเพื่อ สังเกตหรือติดตาม สุขภาพสัตว์น้าที่ เพาะพันธุ์และอนุบาล ให้ชั ดเ จน เช่น กำหนดสิ่งที่ต้องตรวจ วิธีการตรวจ และช่วงเ วลาหรือความถี่ในการตรวจ พร้อมทั้งมีการบันทึกข้อมูล ความผิดปกติและวิธีการแก้ไข เพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถนาไป ปฏิบัติ ได้ อย่างถูกต้อง และได้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในการ ปรับปรุงระบบการจัดการและป้องกันการเกิด ปัญหา ซ้าในอนาคต 3. 3.2 หากพบว่า สัตว์น้า มีอาการผิดปกติ ตำมที่อธิบายในข้อ 3.3.1 ซึ่ง อาจมีสาเหตุเบื้องต้นมาจาก การจัดการ คุณภาพน้า คุณภาพดิน หรือสภาพอากาศที่ ไม่เหมาะสม ต้อง วิเคราะห์ หาสาเหตุของอาการ ผิดปกติ และ

มกษ. 7438 (G) - 256 5 18 ดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เช่น พบว่าปริมาณออกซิเจน ที่ละลาย น้า ในบ่อลดต่าลงหรือมีปริมาณ ก๊า ซ แอมโมเนียมากเกิน ที่พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์สัตว์น้าจะอยู่ได้ ต้อง จัด การเปลี่ยนถ่ายน้า หรือ ปรับปรุง คุณภาพน้า เพิ่มการ ใช้เครื่อง เติม อากาศ และ ลดปริมาณหรือหยุดให้อาหาร ทั้งนี้ ควร นาข้อมูล การจัดการ ฟาร์ม ย้อนหลัง ที่บันทึกไว้ เช่น คุณภาพน้า สภาพแวดล้อม สภาพอากาศ ประวัติ อาการผิดปก ติและ การเกิดโรค มาร่วมพิจารณา ประกอบการตัดสินใจในการดาเนินการ ด้วย หากมีข้อสงสัยว่าอาการผิดปกติเกิดจากการเป็นโรค ต้อง เก็บตัวอย่าง น้าและ สัตว์น้าไป ตรวจ เพื่อ วินิจฉัย หาสาเหตุ และควรมีการ บันทึกลักษณะของอาการผิดปกติ สาเหตุ และวิธีการแก้ไข รายละเอียดตามภาคผนวก ค เพื่อให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาลใน ครั้งต่อไป 3. 3.3 เมื่อสัตว์น้าตายมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือสงสัยว่าตาย ด้วย โรค ระบาด ต้องปฏิบัติตาม พ ระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดย ดาเนินการดังนี้ 1) แจ้งเจ้าหน้าที่ ที่มีอานาจหน้าที่ และให้ข้อมูลปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาสาเหตุ และดาเนินการแก้ไข โดยเร็ว เช่น เจ้าหน้าที่กรมประมง 2 ) กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ น้า ป่วยหรือสงสัยว่าป่วย ออกจากสัตว์ น้า ปกติ 3) ห้าม เคลื่อนย้ายสัตว์น้า และซากสัตว์น้า ออก นอกฟาร์ม 4 ) จัดการ ซากสัตว์น้า ด้ วยวิธี ที่เหมาะสม เช่น ต้ม เผาทาลาย ฝังกลบโดย ใช้ สาร ฆ่าเชื้อโรค เช่น แคลเซียม ไฮโ พ คลอไร ต์ (คลอรีนผง) หรือ ปูนขาว ในหลุมก่อนทาการฝังกลบ 5 ) จัดการ ฆ่าเชื้อและบำบัดน้าจากบ่อเลี้ยง และบ่อเพาะพันธุ์ สัตว์น้าก่อนหมุนเวียนน้ากลับมาใช้ใหม่ หรือก่อนปล่อยออกนอกฟาร์ม 6 ) บ่อ หรือกระชัง ที่ใช้ในการเพาะพันธุ์และอนุบาล ต้อง มีการฆ่าเชื้อ โดยการตากแดด หรือ ใช้ สารฆ่าเชื้อ เช่น คลอรีนผง ปูนขาว ก่อนการเลี้ยงในรอบต่อไป 7 ) แยก ใช้ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ของสัตว์น้าที่ป่วย กับ สัตว์น้าปกติ หลังการใช้งานต้องจัดการฆ่าเชื้อทุกครั้ง ทั้งนี้ เพื่ อป้องกันไม่ให้เชื้อโรค แพร่กระจาย ภายในฟาร์ม ฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้าข้างเคียง หรือ แพร่กระจาย สิ่งแวดล้อมภายนอก และ ต้องบันทึกลักษณะของอาการผิดปกติ สาเหตุ และวิธีการแก้ไข เพื่อให้สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลในครั้งต่อไป 3. 4 การใช้ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ การใช้ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ เพื่อการจัดการดูแลสุขภาพ และรักษาโรค สัตว์น้า อย่างถูกต้องตามกฏหมาย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ไม่ให้เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า และเพื่อ ความปลอดภัย ของ ผู้บริโภค 3. 4.1 ห้ามใช้ยาสัตว์และสารเคมีต้อง ห้ามตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3.4. 2 การใช้ยาสัตว์ต้องใช้ชนิดที่อนุญาตให้ใช้ได้ตามกฎหมาย กรณีเป็นชนิดที่กาหนดให้ต้องขึ้นทะเบียน ต้องขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้องกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และปฏิบัติตามวิธีการใช้ และมีระยะหยุดยาตามที่ระบุในฉลาก หรือปฏิบัติตามคาแ นะนาของสัตวแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ กรมประมง และต้องบันทึกข้อมูลการใช้

19 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3.4. 3 การใช้สารเคมีต้องใช้ชนิดที่อนุญาตให้ใช้ได้ตามกฎหมาย กรณีเป็นชนิดที่ กำหนดให้ ต้อง ขึ้นทะเบียน ต้อง มีการ ขึ้นทะเบียน กับ หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ และ ปฏิบัติตามวิธีการใช้ที่ระบุ ในฉลาก หรือตำมคาแนะนาของสัตวแพทย์หรือเจ้าหน้าที่กรมประมง 3.4. 4 การใช้ผลิตภัณฑ์จุลชีพ ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ควรเลือกใช้ ชนิด ที่มีการขึ้นทะเบียน กับหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ เช่น กรมประมง และปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้ที่ระบุในฉลาก 3.4.5 ควรเก็บยาสัตว์ สารเคมี และผ ลิตภัณฑ์จุลชีพในที่ที่สามารถป้องกันการเสื่อมสภาพ และป้องกัน การนาไปใช้โดยผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน คาอธิบาย ยาสัตว์และสารเคมีต้องห้ามที่ทางราชการประกาศห้ามใช้นั้น เนื่องจากก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้และ ผู้บริโภคสัตว์น้า ดังนั้น การใช้ยาสัตว์และ สารเคมีต้องห้ามที่ทางราชการประกาศ นอกจากผิดกฎหมายแล้ว ยั งก่อให้เกิดปัญหาการตกค้างของยาสัตว์และสารเคมีในสัตว์น้า ระบบการเลี้ยง และสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เกิดปัญหา ความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค และอาจก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยา ยาสัตว์ และ สารเคมี ที่ อนุญาตให้ใช้ได้ตามกฎหมำย ต้องใช้อย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล เพื่อไม่ให้ เกิดปัญหา การตกค้างของยาสัตว์และสารเคมี ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ความปลอดภัย ของ ผู้บริโภค และอาจก่อให้เกิดปัญหา เชื้อ ดื้อยา ด้วยเช่นกัน 3.4.1 ต้องไม่ใช้ยาสัตว์และสารเคมีที่ทางราชการประกาศห้ามใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ข้อ มูลรายชื่อกฎหมาย และข้อกาหนดกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับยาสัตว์และสารเคมี รายละเอียดตามภาคผนวก ก และข้อแนะนา การอ่านเลขทะเบียนตารับยา รายละเอียดตามภาคผนวก จ 3. 4.2 เมื่อสัตว์น้าเริ่มป่วยหรือตาย มากผิดปกติ เกษตรกรต้องปรึกษากับสัตวแพทย์หรือ เจ้าหน้าที่กรมประมง ที่มี ความรู้และความชานาญด้านโรคสัตว์น้า เพื่อวินิจฉัยสาเหตุของโรคและหาวิธีแก้ไข หากจาเป็นต้องใช้ ยาสัตว์ในการรักษา ให้ ใช้ยาสัตว์ ตามที่สัตวแพทย์หรือ เจ้าหน้าที่กรมประมง ที่มีความรู้และความชานาญ ด้านโรคสัตว์น้าแนะนา การใช้ยาสัตว์ ต้องเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และต้อง อยู่ ภายใต้การ ดูแล ของ สัตวแพทย์ อีกทั้ง ยาสัตว์ ที่ใช้ต้อง มีการขึ้นทะเบียนกับ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เ พื่อให้มั่นใจว่า เป็นยาสัตว์ที่ถูกต้องไม่ปลอมปน การใช้ยาสัตว์ ต้อง ศึกษารายละเอียดจาก ฉลากและเอกสารกำกับการใช้ผลิตภัณฑ์ เช่น คุณสมบัติทางยา ชนิด และ ปริมาณของวัตถุออกฤทธิ์ วิธีการใช้ ข้อควรระวังในการใช้ วัน ที่ ผลิต หรือ วันหมดอายุ และบริษัทผู้ผลิต หรือ จาหน่าย ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ รวมทั้ง ต้องปฏิบัติตามคาแนะนา วิธีการใช้และมีระยะหยุดยา ที่ระบุ ในฉลากและเอกสารกำกับยา มีการ บันทึกการใช้ยาสัตว์ไว้ทุกครั้ง เพื่ อ เป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณา การใช้ ยาสัตว์ ใน การเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า รุ่น ต่อ ไ ป 3. 4.3 การใช้สารเคมี ที่อนุญาตให้ใช้ได้ตามกฎหมาย เช่น วัตถุอันตรายทางการประมง สารฆ่าเชื้อ สารที่ใช้กาจัด ปรสิตภายนอก ต้องปฏิบัติตามวิธีการใช้ที่ระบุในฉลาก หรือตามคาแนะนำของเ จ้าหน้าที่กรมประมง หรือตามคาแนะนาการใช้ที่ระบุในคู่มือการเลี้ยงสัตว์น้าของกรมประมง กรณีชนิด ที่ ต้อง มีการขึ้นทะเบียน

มกษ. 7438 (G) - 256 5 20 ต้อง เลือกใช้ชนิดที่มีการขึ้นทะเบียน มีการบันทึกการใช้ สารเคมี ไว้ทุกครั้ง เพื่อ ใช้ประกอบการพิจารณา การใช้ในครั้งต่อไป ทั้งนี้ รายการ ยา และ เคมีภั ณฑ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า รายละเอียดตามภาคผนวก ฉ 3.4.4 การ ใช้ผลิตภัณฑ์จุลชีพ ควรเลือกใช้ชนิด ที่มีการขึ้นทะเบียน กับ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตามกฎหมาย หรือผลิตโดยหน่วยงานราชการ ซึ่ง มีข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาณจุลินทรีย์ ผู้ผลิต วันที่ ผลิตและวันที่หมด อายุบนฉลากที่ชัดเจน และไม่หมดอายุ เพื่อมั่นใจว่า ไม่เกิดการปลอมปน หรือปนเปื้อน ของจุลินทรีย์ไม่พึงประสงค์ และจุลินทรีย์ที่ไม่มีคุณภาพ ควร มีการบันทึกการใช้ผลิตภัณฑ์จุลชีพไว้ทุกครั้ง เพื่อ ใช้ประกอบการพิจารณาการใช้ในครั้งต่อไป การนาหัวเชื้อไปเพาะขยายต่อควรปฏิบั ติตามคาแนะนาบนฉลาก หรือคาแนะนาทางวิชาการ อย่าง ถูกสุขลักษณะ เพื่อไม่ให้เกิดการปนเปื้อนจากเชื้อที่ทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์น้า ทั้งนี้ การนำหัวเชื้อผลิตภัณฑ์จุลชีพ มาขยายต่อ ควรทาเพียง 1 ครั้ง ถึง 2 ครั้งเท่านั้น หากทาเกินกว่านี้มีโอกาสที่จะเกิดการปนเปื้อนของ เชื้ อจุลินทรีย์ไม่พึงประสงค์ชนิดอื่นที่อาจทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์น้าได้ 3.4.5 ควร แยกสถานที่ เก็บรักษา ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ ให้เป็นสัดส่วน เป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ ไม่ได้รับผลกระทบจาก แสงแดด ฝน และควร ให้อยู่ในบริเวณที่มี อุณหภูมิและความชื้น เหมาะสม อากาศ ถ่ายเทได้สะดวก มีการ ชี้ บ่งชนิด และประเภทของ ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ อย่างชัดเจน เพื่อป้องกัน ความ ผิดพลาด ในการนำไปใช้ รวมทั้งมีการป้องกันการเข้าถึงของ ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติงานและ ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต ทั้งนี้ ก่อนการนาไปใช้ ควร ว่า ต รวจสอบสภาพ ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ ที่เหลือใช้ ยัง ไม่ หมดอายุ และ ไม่ มีการเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิม เช่น ไม่เปลี่ยนสี ไม่จับ ตัว เป็นก้อน ไม่ตกตะกอน 3. 5 สุขลักษณะภายในฟาร์ม มีการ จัดการฟาร์มอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของ ของเสีย ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล เชื้อก่อโรค ยาสัตว์ สารเคมี รวมทั้งป้องกัน สัตว์พาหะนาเชื้อ เข้าสู่ระบบการเพาะพันธุ์ และอนุบาล ที่จะส่ง ผลกระทบต่อสัตว์น้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค 3. 5 . 1 ห้องสุขาต้องถูกสุขลักษณะ และมีการป้องกันการปนเปื้อน ล งสู่ระบบการเพาะพันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า 3. 5.2 ควรมีการจัดการ ของเสีย ขยะมูลฝอย และ บรรจุ ภัณฑ์ ยาสัตว์ หรือ สารเคมีอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสู่ ระบบการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ผลิต ผล และสภาพแวดล้อม 3. 5.3 เพื่อ ไม่ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ พาหะนาเชื้อ ควรเก็บรักษาปั จจัยการผลิต ที่ไม่ใช่อาหารสัตว์น้า เช่น วัสดุปูน ปุ๋ย วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเสื่อมสภาพ รวมทั้งจัดเก็บให้เป็นระเบียบและสะอาด

21 มกษ. 7438 (G) - 256 5 คาอธิบาย การจัดการด้าน สุข ลักษณะ ภายในฟาร์มอย่างเหมาะสม เช่น แยกห้องน้าและห้องสุขา ให้ เป็นสัดส่วน ออกจากบริเวณ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า มีวิธีการ จัดเก็บของเสีย ภาชนะบรรจุยา สัตว์ และ สารเคมี ที่ใช้แล้ว รวมทั้งมีการ กาจัดขยะ ที่ เหมาะสม ช่วย ป้องกันการปนเปื้อน ของสิ่งปฏิกูล พาหะนำโรค ยาสัตว์ และ สารเคมี เข้าสู่ระบบการ เพาะพันธุ์และอนุบาล ซึ่ง ส่ง ผ ลกระทบต่อสุขภาพของ พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ สัตว์น้า ภายใน ฟาร์ม รวมถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค 3. 5 . 1 มี ห้อง สุขา ที่ถูก สุขลักษณะ มีการ ป้องกันการปนเปื้อนเข้าสู่ระบบการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า เช่น แยก ห้อง น้าและห้อง สุขา เป็นสัดส่วน จาก ระบบการ เพาะพันธุ์และอนุบาล มีระบบการกาจัด สิ่งปฏิกูล หรือของเสียอย่าง ถูกสุขลักษณะ เช่น ใช้บ่อเกรอะ บ่อซึม หรือ ถัง บาบัดน้าเสีย ( ถัง แซทส์ ) ท่อระบายน้าเสีย จาก ห้อง น้าและ ห้องสุขาต้องแยกจากระบบน้า ใช้ ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า มีการ ตรวจสอบ ท่อ น้าทิ้ง รางรวบรวมน้าเสีย และระบบบาบัด ของ เสี ยไม่ให้แตก รั่ว ซึม และหมั่นทาความสะอาด ห้องน้าและ ห้องสุขา อย่างสม่าเสมอ 3. 5 .2 ควรมีการจัดการ ของเสีย ขยะมูลฝอย วัสดุเหลือใช้ และภาชนะบรรจุ ภัณฑ์ ยาสัตว์หรือสารเคมี อย่างเหมาะสม ดังนี้ 1 ) ควรจัดที่ทิ้ง ของเสีย และ ขยะ เป็นสัดส่วน ห่างจากบ่อ เพาะพันธุ์และบ่ออนุบาลสัต ว์น้า เช่น วางถังขยะ ในบริเวณต่างๆ ตามจุดที่กาหนด ทิ้งขยะเฉพาะในที่ที่จัดไว้ ถังขยะมีฝาปิดมิดชิด เพื่อป้องกัน การคุ้ยเขี่ย ของสัตว์ พาหะ นาเชื้อ เช่น แมลงวัน หนู แมลงสาบ และป้องกันน้าเข้าถังขยะทาให้เกิดการหมักหมม หรือเกิดการเน่าเสีย 2 ) มีการ กาจัดขยะอย่างถูกวิ ธีและเหมาะสม เช่น ใช้บริการเก็บขยะจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ หรือนาไปทิ้ง ในที่ที่ชุมชนกาหนดไว้ให้เป็นที่กาจัดขยะ หรือ นาขยะไปฝังกลบ อย่างถูกสุขลักษณะ ในที่ที่กาหนดไว้ 3 ) ควรคัดแยกภาชนะบรรจุยาสัตว์และสารเคมีที่เป็นอันตรายออกจากขยะ ปกติ และรวบรวมให้หน่วยงาน ที่ รับผิดชอบ นำไปกำจัด ทั้งนี้ การกาจัด ยาสัตว์หรือสารเคมีที่เสื่อมสภาพ หมดอายุ ให้ ปฏิบัติตาม ข้อบ่งชี้บนฉลาก (ถ้ามี) หรือคาแนะนาจากผู้มีความรู้ ด้าน นั้นๆ 3.5.3 การ เก็บรักษาปัจจัยการผลิต ที่ไม่ใช่อาหารสัตว์น้า วัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ ควรดาเนินการ ดังนี้ 1 ) ควรแย ก บริเวณจัดเก็บปัจจัยการผลิต เช่น วัสดุปูน ปุ๋ย ให้อยู่ในบริเวณที่ มี อุณหภูมิและความชื้น ที่เหมาะสม อากาศถ่ายเทสะดวก ควรจัดวาง ให้สูงจากพื้นโดยวาง บน แผ่นรอง และวางห่างผนัง เพื่อ ป้องกัน การ เสื่อมสภาพ จากความชื้น 2 ) อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในฟาร์ม เช่น อวน สวิง ภาชนะ ต่างๆ ควร ทาความสะอาด และ จัด เก็บ ใน ที่ ที่ เหมาะสม ให้เป็นระเบียบ แยก เป็นหมวดหมู่ โดย แสดง ป้ายชี้บ่งหรือเครื่องหมาย แยกตามลักษณะ การใช้งาน เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปใช้ งาน และจัดเก็บ ป้องกัน การปนเปื้อน และไม่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ของสัตว์พาหะนำเชื้อ

มกษ. 7438 (G) - 256 5 22 3. 6 น้าทิ้ ง การจัดการน้าทิ้ง ให้ ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และคานึงถึงความรับผิดชอบต่อ สังคม 3. 6 . 1 กรณีมีการ ระบาย น้าทิ้ง ออก จากบ่อเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า สู่ แหล่งน้าสาธารณะหรือพื้นที่ สาธารณะโดยตรง น้าทิ้ง ต้องมีคุณ ภาพ ตำมเกณฑ์ที่กำหนด ตาม ประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ว่าด้วยเรื่องการ กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจาก บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า คาอธิบาย การ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ต้องให้ความสาคัญกับ ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และคานึงถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคม น้า ทิ้งที่เกิดขึ้นจากการ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า อาจส่ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือกิจกรรมอื่นๆ ในบริเวณข้างเคียง การบาบัดหรือควบคุมคุณภาพน้าทิ้งก่อนระบายออกนอกฟาร์มตามที่กฎหมายกาหนด เพื่อ ช่วยรักษา สิ่ งแวดล้อม และคุณภาพ ทรัพยากรน้า สาธารณะ อย่างยั่งยืน รวมทั้งเพื่ อให้ฟาร์มสัตว์น้า สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้ กรณีมี การระบายน้าทิ้ง จากบ่อ เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ออกสู่ภายนอกฟาร์ม ต้อง มีค่า คุณภาพน้า เป็นไป ตาม เกณฑ์ที่กาหนดในประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยขึ้นอยู่กับประเภท ของบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ดังนี้ 1 ) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้าทิ้ง จากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จืด 2) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุม การระบาย น้าทิ้ง จากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า กร่อย 3) ประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้าทิ้ ง จากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง รายละเอียด “ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ” ตามที่ระบุในภาคผนวก ก ทั้งนี้ ต้อง ตรวจวัดคุณภาพน้าก่อนปล่อยน้าทิ้งออกนอกฟาร์ม หาก น้าทิ้งมีคุณภาพไม่เป็นไ ปตามเกณฑ์ ที่ กฎหมาย กาหนด ต้องพักหรือ บาบัด น้า ก่อน เพื่อ ให้ มั่นใจว่าน้า ทิ้งที่ระบาย ออก จากฟาร์ม เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ก ฎ หมายกำหนด และ ไม่ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เกษตรกร สามารถ ลดปริมาณน้าทิ้งที่ปล่อยออกนอกฟาร์ม โดยการ บาบัดน้าให้มีคุณภาพเหมาะสมสาหรับ การเพาะและอนุบาล สัตว์น้าแต่ละ ชนิด และนา น้ากลับมาใช้ในการเพาะ พันธุ์ และอนุบาลสัตว์น้าอีก ครั้ง

23 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3. 7 การ รวบรวม และการ ปฏิบัติหลังการ รวบรวม ลูกพันธุ์สัตว์น้า ก่อนการขนส่ง ออกจากฟาร์ม การรวบรวมและ การปฏิบัติ หลังการรวบรวมก่อนการขนส่ง ลูกพันธุ์สัตว์น้า ออกจากฟาร์มอย่าง ปลอ ดภัย และ ถูกสุขลักษณะ เพื่อ รักษาคุณภาพของสัตว์น้าและป้องกันการ ปนเปื้อนจะส่งผลต่อ คุณภาพ ของสัตว์น้าและ ความปลอดภัยของผู้บริโภค รวมถึงให้สามารถตามสอบที่มาของสัตว์น้าได้ 3. 7 . 1 ฟาร์มต้องออก เอกสารหลักฐาน การซื้อขายลูกพันธุ์สัตว์น้า ให้กับผู้ซื้อ เพื่อให้สามารถตามสอบไ ด้ กรณีกุ้งทะเลต้องออกเป็นหนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้า คาอธิบาย หนังสือกากับการ จาหน่าย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า หรือเอกสารหลักฐานแสดงการซื้อขาย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า เป็นเอกสาร ที่ หน่วยงานหรือ เกษตรกรออกให้กับผู้ซื้อ เพื่อเป็นหลักฐาน ให้สามารถตามสอบที่มา ของ ลูกพันธุ์ สัตว์ น้า เช่น ชื่อและที่อยู่ของ ผู้ซื้อ และผู้ขาย ปริมาณและขนาดของสัตว์น้า วันที่จาหน่าย หมายเลขทะเบียนฟาร์ม การ รวบรวม ลูกพันธุ์ สัตว์น้าเพื่อจาหน่าย เกษตรกร ผู้ผลิต ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ต้องออกหนังสือกากับการ จาหน่าย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า (FMD) ให้กับผู้ซื้อ กรณีไม่ สามารถอ อก หนังสือ ดังกล่าวได้ ต้อง ออกเป็น เอกสารหลักฐาน อื่น เช่น ใบเสร็จรับเงิน หรือบันทึกที่แสดงชนิด จานวน แหล่งที่มาของ พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ สัตว์น้า โดยมีชื่อ ที่อยู่ของผู้ซื้อ และ ผู้ขายครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ยกเว้น กุ้งทะเลต้องออกเป็น หนังสือกากับการซื้อขาย ลูกพั นธุ์สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( AFPD) และ ต้องชี้แจงให้ ผู้ซื้อ เก็บรักษาเอกสารหลักฐานดังกล่าวไว้ เพื่อใช้เป็นเอกสารหลักฐานแสดงแหล่งที่มาของพ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์สัตว์น้าให้สามารถตามสอบได้ 3.7 การ รวบรวม และการปฏิบัติหลังการ รวบรวม ก่อนการขนส่งออกจากฟาร์ม 3.7.2 ภาชนะ วัสดุ และ อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการ รวบรวม ลูกพันธุ์สัตว์น้า ควร สะอาด ถูกสุขลักษณะ และไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณภาพ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า 3. 7.3 ควรใช้วิธีการรวบรวม ลูกพันธุ์สัตว์น้าแต่ละชนิดให้ เหมาะสม เพื่อลดความบอบช้าและความเสียหาย ที่อาจเกิดขึ้น 3.7.4 ควรใช้ ภาชนะ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ และความหนาแน่นในการบรรจุให้เหมาะสมกับชนิด ขนาด และระยะเวลาในการขนส่งลูกพันธุ์สัตว์น้า และ มี การปฏิบัติหลังการ บรรจุก่อนการขนส่งที่เหมาะสม คาอธิบาย ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการ รวบรวม ที่สะอาด รวมถึงวิธีการ รวบรวม และการจัดการหลัง การ รวบรวม ที่เหมาะสม มีผลต่อคุณภาพของลูกพันธุ์สัตว์น้า และ ช่วยลด การปนเปื้อนเชื้อก่อโรคที่อาจส่งผลต่อ สัตว์น้า และ ความปลอดภัยของ ผู้บริโภค

มกษ. 7438 (G) - 256 5 24 3. 7.2 ควรมีการจัดการ ภาชนะ วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมหรือขนถ่ายลาเลียง ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ดังนี้ 1) บารุ งรักษาอุปกรณ์และเครื่องมือ ให้ อยู่ในสภาพดี สะอาด พร้อมใช้งาน 2) ทาด้วยวัสดุที่ปลอดภัยและเหมาะสมต่อการสัมผัสกับสัตว์น้า มีความคงทน ไม่ผุกร่อนง่าย 3 ) ล้างทำความสะอาดเมื่อเสร็จสิ้นการใช้งานทุกครั้ง และจัดเก็บในบริเวณที่เหมาะสม เป็นระเบียบ แยกเป็นหมวดหมู่หรื อแยกตามลักษณะการใช้งาน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือที่หลบซ่อน ของสัตว์ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นและไม่เป็นพาหะนาโรค และสะดวกต่อการใช้งาน 3. 7.3 การ รวบรวม ลูกพันธุ์ สัตว์น้าและการปฏิบัติหลังการ รวบรวม ที่เหมาะสม มี ดังนี้ 1) งดให้อาหาร ก่อนการ รวบรวม ลูกพันธุ์ สัตว์ น้า (ตามความจาเป็นของสัตว์น้าแต่ละชนิด) เพื่อให้สัตว์น้า มีการปรับตัวและขับของเสีย ที่สะสม ออกจากร่างกาย ก่อนการขนส่ง 2) บุคลากรที่ปฏิบัติงาน รวบรวม และ มีโอกาสสัมผัสกับ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า โดยตรง ควรมีสุขภาพดี ไม่ เป็น โรคติดต่อ ในกรณีที่คนงานมี อาการ ป่วย เช่น มี แผล ติดเชื้อที่ผิวหนัง ท้องร่วง อาเจียน เป็นไข้ ควร ให้ พักการปฏิบัติงานชั่วคราว และเข้ารับการรักษาจนอาการป่วยหายเป็นปกติ จึงกลับมาปฏิบัติงานใหม่ได้ 3) ใช้วิธีการ รวบรวม สัตว์น้า เครื่องมือ และ อุปกรณ์ให้ เหมาะสมกับสัตว์น้าแต่ละชนิด 4 ) น้า ที่ใช้ในการขนส่ง ลูกพันธุ์ สัตว์ น้า ควรเป็น น้า สะอาด หรือ มีคุณ ภาพเหมาะสม กับ ลูกพันธุ์ สัตว์น้า แต่ละชนิด 5 ) มีการ จัดการสัตว์น้าหลังการ รวบรวมสัตว์น้า อย่างเหมาะสม ก่อนการขนส่ง เช่น รักษา อุณหภูมิ ให้เหมาะสม กับการขนส่ง เก็บรักษาในที่ร่ม รักษาระดับออกซิเจนให้เพียงพอ และขนส่งโดยเร็ว 3.7.4 ควรมี วิธี การจัดการ ในการ ใช้ภาชนะ วัสดุ และอุปกรณ์ ให้เหมาะสมกับชนิด ขนาด ความหนาแน่น ในการบรรจุ และระยะเวลาในการขนส่งลูกพันธุ์สัตว์น้า มีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1) ภาชนะบรรจุสัตว์น้า ควร รับน้าหนักของน้าและสัตว์น้าได้ มีความคงทน ตลอด ระยะเวลา การเคลื่อนย้าย และ ทาด้วยวัสดุ ที่ ปลอดภัย และเหมาะสมต่อการสัมผัสกับ สัตว์น้าที่เคลื่อนย้าย ไม่มีการรั่วไหลของน้า และสามารถตรวจสอบสภาพของสัตว์น้าระหว่างการเคลื่อนย้ายได้สะดวก 2 ) ล้างทำความสะอาด ภาชนะ วัสดุ และอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้าย เมื่อเสร็จสิ้นการใช้งานทุกครั้ง และจัดเก็บในบริเว ณที่เหมาะสม เป็นระเบียบ แยกเป็นหมวดหมู่หรือแยกตามลักษณะการใช้งาน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือที่หลบซ่อนของสัตว์ต่างๆ ทั้งที่เป็นและไม่เป็นพาหะนาโรค และสะดวก ต่อการใช้งาน 3 ) บารุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องมือให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ได้ตามวัตถุประสงค์

25 มกษ. 7438 (G) - 256 5 3. 8 ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ทาให้การเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ามีประสิทธิภาพ ได้ลูกพันธุ์สัตว์น้าที่มีคุณภาพ แข็งแรง เหมาะสมสาหรับการนาไปเลี้ยงต่อ 3. 8 . 1 ผู้ปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องกับการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าควรมีความรู้หรือ ประสบการณ์ ด้าน การเพาะพันธุ์และ การ อนุบาลสัตว์น้า หรือ ได้รับการอบรมด้านวิชาการ รวมทั้ง กฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง คาอธิบาย ความรู้และประสบการณ์ ในการ เพาะและอนุบาล สัตว์น้า ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานในฟาร์มสามา รถ เพาะและ อนุบาล สัตว์น้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึกอบรม ด้านวิชาการ กฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การ เพาะ พันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร เทคนิคการ เพาะ พันธุ์ และอนุบาล ที่ทันสมัย เป็นการสร้างโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับความรู้ ควำมเข้าใจ และประสบการณ์เพิ่มเติม ผู้ปฏิบัติงาน ในฟาร์ม ควร ได้รับการ อบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติงานภายในฟาร์ม เช่น การจัดการการ เพาะพันธุ์ การอนุบาล การ รวบรวมสัตว์น้า การจัดการสุขภาพ พ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ สัตว์น้า การใช้ยาสัตว์ สารเคมี ผลิตภัณฑ์จุลชีพ สุขลักษณะภา ยในฟาร์ม การ จับและการปฏิบัติหลังการจับ รวมถึงกฎระเบียบและกฎหมาย ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานฟาร์มได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยอาจเข้ารับการอบรม จากหน่วยงานราชการ หรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง หรือจัดอบรมเอง ทั้งนี้ ควรเก็บหลักฐานการอบรม เช่น ภาพถ่า ย ใบรับรอง เอกสาร ประกอบ การ อบรม ไว้ใช้ประโยชน์ ในการบริหารจัดการฟาร์ม และแสดงต่อผู้ตรวจประเมิน กรณีมีการร้องขอ

มกษ. 7438 (G) - 256 5 26 3. 9 บันทึกข้อมูล และเอกสารหลักฐาน เพื่อ การตามสอบ การบันทึกและเก็บรักษาข้อมูลและหลักฐานที่สำคัญต่างๆ ในทุกขั้นตอนของกำรผลิต เพื่อเป็นเครื่ องมือในการหาสาเหตุหรืออุปสรรค ในการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ความปลอดภัยของผู้บริโภค การตามสอบสินค้า และเป็นหลักฐานในการตรวจประเมิน 3. 9 .1 บันทึก ข้อมูลและ เอกสาร หลักฐานที่ ต้องมี ได้แก่ 1) เอกสารหลักฐาน แสดงแหล่งที่มา และ การจาหน่าย ของ พ่ อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์สัตว์น้า (ข้อ 3 . 2 . 2 . 2 และข้อ 3. 7.1 ) 2 ) บันทึกข้อมูลความผิดปกติ การป่วย การตายของพ่อแม่พันธุ์และลูกพันธุ์ และวิธีการแก้ไข (ข้อ 3.3.2 และข้อ 3. 3.3) 3 ) บันทึกข้อมูล ชนิด อาหารสัตว์ผสมสาเร็จรูป อาหารเสริม สารผสมล่วงหน้า ( พรีมิกซ์ ) และหั วอาหาร เครื่องหมายการค้า ของอาหาร และวันที่ผลิต (ข้อ 3 . 2.4.1 และข้อ 3 . 2.4.2 ) 4 ) บันทึกข้อมูลการใช้ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ เช่น ชนิด ปริมาณการใช้ วันที่ใช้ วันหยุดการใช้ และเหตุผลการใช้ (ข้อ 3.4.2 ข้อ 3.4.3 และข้อ 3.4.4 ) 3. 9 . 2 บันทึก ข้อมูลที่ ควร มี เช่น 1) คุณภาพน้า ก่อน นามาใช้ใน การ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า คุณภาพน้าในบ่อ เพาะพันธุ์และ อนุบาลสัตว์น้า คุณภาพน้าก่อนปล่อยออกภายนอกฟาร์ม หรือ คุณภาพน้าใน แหล่ง น้า สาธารณะที่ใช้ในการ เพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า (ข้อ 3 . 2.1.1.2 และข้อ 3 . 2.1.2.2 ) 2 ) ชนิด ขอ งอาหารสัตว์ น้า ใช้ในฟาร์ม แหล่งที่มา วันที่ให้อาหาร ปริมาณที่ให้ ( ข้อ 3.2.4. 3 และ ข้อ 3 .2.4. 4 ) 3 ) ประวัติการฝึกอบรม (ข้อ 3 . 8 ) 3. 9 . 3 ควรเก็บรักษา หลักฐาน และ บันทึกข้อมูล เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี คาอธิบาย การบันทึกข้อมูลเป็นเรื่อง สาคัญ ที่เกษตรกรควรปฏิบัติอย่ำงสม่าเสมอ ช่วยให้ทราบถึงการเปลี่ยน แปลง ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าในแต่ละรุ่น ข้อมูลต่างๆ ที่บันทึก ไว้สามารถใช้ เป็น แนวทางใน การ วิเคราะห์ หา สาเหตุ ของความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทาให้ แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ก่อนที่จะเกิดความเ สียหาย เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้าเดิมอีกในอนาคต นอกจากนั้น สามารถนาข้อมูลมา ใช้ เป็นแนวทางในการ ปรับปรุง ประสิทธิภาพ การ เพาะ พันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า ใน รุ่น ต่อไป 3.9.1 เกษตรกร ต้องจัดเก็บ บันทึกข้อมูลและเอกสารหลักฐาน ที่ สาคัญ ดังนี้ 1) หลักฐานแสดงแหล่งที่มาข องสัตว์น้า และ การ จาหน่ายและซื้อขาย สัตว์น้า เช่น หนังสือกากับการ จาหน่าย สัตว์น้า (MD) หนังสือกากับการจาหน่าย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ( FMD) หนังสือกากับการซื้อขายลูกพันธุ์ สัตว์น้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( AFPD) หนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้าที่ได้จำก

27 มกษ. 7438 (G) - 256 5 การเพาะเลี้ยง ( APPD) หรือใบเสร็จรับเงิน หรือบันทึกที่แสดงชนิด จานวน และแหล่งที่มาของพ่อแม่พันธุ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง (ข้อ 3.2.2.1 ข้อ 3. 2.3. 3 และ ข้อ 3. 7.1 ) 2 ) บันทึกข้อมูล อาหาร ที่ใช้ในการเพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์ น้า (ข้อ 3 . 2.4.1 ข้อ 3 . 2.4.2 ) 3 ) บันทึกการเ กิดโรค การป้องกันโรค (ข้อ 3.3.2 และข้อ 3. 3.3) 4 ) บันทึกข้อมูลการใช้ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์ จุลชีพ ได้แก่ ชนิด ปริมาณการใช้ วันที่ใช้ วันหยุดการใช้ เหตุผลในการใช้ และ ผล ที่ได้รับ จากการใช้ ยาสัตว์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์จุลชีพ ( ข้อ 3.4.2 และข้อ 3.4.3 ) 3.9. 2 เกษตร ควร บันทึกข้อมูลการ เพาะ พันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า และข้อมูลที่จาเป็นอื่นๆ เช่น คุณภาพน้า ก่อนนำมาใช้ และ ก่อนปล่อยออกภายนอกฟาร์ม จำนวนพ่อแม่พันธุ์ที่ใช้ อัตราการฟัก อัตราการรอด ความหนาแน่นในการอนุบาล ชนิดและปริมาณอาหารที่ใช้ แหล่งที่มาของอาหารที่ใช้ ปัญหาแ ละอุปสรรค ที่พบระหว่างการเพาะพันธุ์และอนุบาล การพักหรือการปรับปรุงบ่อ การซ่อมแซมกระชัง หรือ คอก ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูล มี รายละเอียด ที่ปรากฏ ตามภาคผนวก ช 3.9.3 เกษตรกร ควร บันทึกข้อมูลต่างๆ ให้ เป็นระบบและครบถ้วน เพื่อให้ ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในระหว่าง การเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าในแต่ละรุ่น และ นาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ การ เพาะ พันธุ์ และอนุบาล สัตว์น้า ในรอบต่อไป และควรเก็บรักษาข้อมูลที่บันทึกไว้เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี

มกษ. 7438 (G) - 256 5 28 ภาคผนวก ก (ให้ไว้เป็นข้อมูล) รายชื่อกฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานที่เกี่ย วข้อง ตารางที่ ก. 1 รายชื่อกฎหมาย กฎระเบียบ และ มาตรฐาน ที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนด กฎหมาย กฎระเบียบ และแนวทางที่เกี่ยวข้อง 3.1.1.1 ระเบียบกรมประมงว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและผู้ประกอบการ ด้านการประมง 3. 1.2.1 1. พระราชกาหนดการประมง พ.ศ. 2 558 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2. กฎกระทรวงว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้ทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในที่จับสัตว์น้า ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2559 3. ประกาศกรม ประมง เรื่อง แบบคาขอรับใบอนุญาต ใบรับคำขอ ใบอนุญาต คำขอโอน ใบอนุญาต และคาขอรับใบแทน ใบอนุญาตให้ ทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในที่จับสัตว์น้า ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2560 4. ระเบียบกรมประมงว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและผู้ประกอบการ ด้านการประมง 3.4.1 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 ( พ.ศ. 2529) เรื่อง มาตรฐานอาหารที่มี สารปนเปื้อน 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 99 ( พ.ศ. 254 9 ) เรื่อง มาตรฐานอาหารที่มี การ ปนเปื้อน สารเคมีบางชนิด (ฉบับที่ 2 ) 3. ประกาศกรมประมง เรื่อง ข้อกาหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลซึ่งเป็นกิจการ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ควบคุม ภายในเขตเพาะเลี้ ยงสัตว์น้า ตามมาตรา 77 แห่งพระราชกำ หนด การประมง พ.ศ. 2558 ต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2562 3.6.1 1. ประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้าทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง 2 . ประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่ อง กำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้าทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ากร่อย 3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้าทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จืด 4. ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 44/2554 เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้ งจากบ่อเพาะเลี้ยง สัตว์น้าจืด 5. ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 48/2554 เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากบ่อ เ พาะเลี้ยง สัตว์น้ากร่อย

29 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ภาคผนวก ข (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ข้อมูล คุณภาพน้าที่เหมาะสมต่อการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า ตารางที่ ข. 1 เกณฑ์คุณภาพน้าที่เหมาะ สมสำหรับการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้าจืด ลำดับ ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย ค่าที่เหมาะสม 1. ออกซิเจนละลาย ในน้า mg/l ไม่น้อยกว่า 4 2 . ความเป็นกรด - เบส - 6.5 ถึง 8.0 3 . อุณหภูมิ 0 C 2 5 ถึง 3 2 4 . ความโปร่งใส cm 30 ถึง 60 5 . สารแขวนลอย mg/l ไม่มากกว่า 25 6 . ควา มเป็นด่าง mg/l ของ CaCO 3 50 ถึง 200 7 . ความกระด้าง mg/l ของ CaCO 3 80 ถึง 200 8 . บีโอดี mg/l ไม่ มาก กว่า 20 9 . 10. แอมโมเนียรวม ไนไทรต์ mg/l mg - N/L ไม่มากกว่า 0.5 ไม่มากกว่า 0.1 ที่มา : มกษ. 7417(G) - 2559 แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทำงการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้า จืด ตารางที่ ข. 2 เกณฑ์คุณภาพน้าที่เหมาะสมสำหรับการเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ากร่อย ลำดับ ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย ค่าที่เหมาะสม 1. ออกซิเจนละลาย ในน้า mg/l ไม่น้อยกว่า 4 2 . ความเป็นกรด - เบส - 6.5 - 8.0 3 . ควำมเค็ม ส่วนในพันส่วน 20 - 30 4 . ความโปร่งใส cm 30 - 60 5 . สารแขวนลอย mg/l ไม่มากกว่า 25 6 . ความเป็นด่าง mg/l ของ CaCO 3 50 - 200 7 . ความกระด้าง mg/l ของ CaCO 3 80 - 200 8 . บีโอดี mg/l ไม่ มาก กว่า 20 9 . 10. แอมโมเนียรวม ไนไทรต์ mg/l mg - N/L น้อยกว่า 1 ไม่มากกว่า 0.1 ที่มา : มกษ. 7429 ( G) - 2559 แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเลี้ยง ปลาทะเล

มกษ. 7438 (G) - 256 5 30 ภาคผนวก ค (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ข้อแนะนาวิธีการเก็บ ตัวอย่างน้าและ สัตว์น้า ค. 1 วิธีการเก็บตัวอย่างน้าและสัตว์น้า สาหรับ ตรวจวิ เคราะห์ในห้องปฏิบัติการให้ดำเนินการ ดังนี้ ค. 1.1 ตัวอย่างน้า เก็บตัวอย่างน้าประมาณ 1 ลิตร ณ ตาแหน่งที่เป็นจุดตัวแทนของน้าบริเวณกลางบ่อที่ระดับ ความลึก ที่สัตว์น้าอาศัยอยู่ หรือต่ากว่าผิวน้าอย่างน้อย 30 cm บรรจุในภาชนะที่สะอาด ระหว่างนาส่ง ไปยัง ห้องปฏิบัติการ ควรรักษาอุณหภูมิน้าตัวอย่าง ไม่ให้ สูงขึ้น โดย นา ขวด ที่บรรจุ ตั วอย่าง น้าเรียบร้อย แล้ว แช่ในกล่องโฟม ที่บรรจุน้าแข็ง การเก็บตัวอย่างน้าขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ต้องการวิเคราะห์ เช่น - เพื่อการวิเคราะห์ด้านแบคทีเรีย เช่น โคลิฟอร์มแบคทีเรีย หรือการเก็บตัวอย่างน้า เพื่ อการวิเคราะห์หาสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช จะเก็บลึกจากผิวน้า 10 cm ถึง 30 cm - เพื่อศึกษาถึงผลผลิตของแหล่งน้าจะเก็บตัวอย่าง ณ ระดับความลึกที่แสงส่งถึง - การเก็บตัวอย่างน้าทะเลชายฝั่ง น้าที่อยู่บริเวณปากแม่น้า หรือปากทะเลสาบที่เป็น แหล่งน้าไหล ให้เก็บที่ระดับ กึ่งกลางความลึกของแหล่งน้า - การเก็บตัวอย่างน้าในบ่อหรือกระชัง เพาะพันธ์และอนุบาล สัตว์น้า สัตว์น้า หรือการเก็บ ตัวอย่างน้าเพื่อหาสาเหตุการตายของสัตว์น้า ควรเก็บน้าบริเวณก้นบ่อหรือพื้นท้องน้า ให้ใกล้กับดินตะกอนมากที่สุด เพราะบริเวณดังกล่าวคุณภาพน้ามักวิกฤตกว่าน้า ที่ระดับ ความลึกอื่นๆ โดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า ค. 1.2 ตัวอย่าง สัตว์น้า มีชีวิต ควรเลือก เก็บตัวอย่าง สัตว์น้า ป่วย จานวน 5 ตัว ถึง 6 ตัว ที่มีความรุนแรงของอาการ ป่ ว ย แตกต่างกัน เพื่อหาสาเหตุ ของ อาการป่วยที่แท้จริงและทดสอบวิธีรักษา ได้อย่าง ถูกต้อง ควร มีวั สดุ ป้องกันไม่ ให้ สัตว์น้า โดน ความร้อน ระหว่างการเดินทาง เช่น ผ้าชุบน้าคลุมถุง และ ควรรักษาอุณหภูมิ ขณะ ขนส่งให้อยู่ระหว่าง 25 0 C ถึง 26 0 C เพื่อป้องกันสัตว์น้าตาย เนื่องจาก อากาศร้อน ซึ่งอาจ มีผล ต่อ การวินิจฉัยและชันสูตรอาการป่วยของ สัตว์น้า ค. 1. 3 กรณีสัตว์น้าไม่ มีชี วิต ควร เก็บตัวอย่างสัตว์น้า ที่ตายแล้ว เพื่อส่ง ชันสูตร โรค ภายใน 8 ชั่วโมง หาก ไม่สามารถ ทาได้ ควรแช่เย็นที่อุณหภูมิ ไม่เกิน 4 0 C (ไม่ควรแช่ในช่องแช่แข็ง) หรือแช่ใน กล่องโฟมหรือกระติก ที่บรรจุน้าแข็ง เพื่อรักษาอุณหภูมิและส่งในสภาพที่เย็นตลอดเวลา โดย ไม่ควร ใช้ระยะ เว ลานาน เกิน 1 วัน ถึง 2 วัน

31 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ค. 2 ควร ให้ ข้อมูล แก่นักวิชาการประมงที่มีความรู้ด้านโรคสัตว์น้า หรือสัตวแพทย์ที่ทาการตรวจวินิจฉัย เพื่อใช้ในการประกอบการตรวจวินิจฉัยโรค เช่น คุณภาพน้า อุณหภูมิ อัตราการกินอาหาร จานวนสัตว์น้าป่วยหรือตาย อาการที่พบ ประวัติการรักษาด้ว ยวิธีต่างๆ ค. 3 ข้อ ควรปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างน้า การเก็บตัวอย่างน้าเพื่อการวิเคราะห์คุณภาพน้าทั่วไป มีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้ 1) วิธีการเก็บตัวอย่าง การเก็บรักษาตัวอย่าง และการ ขนส่ง ตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการ ควรเหมาะสมกับรูปแบบหรือวิธีการวิเคราะห์ที่ต้องการ 2) ขว ดที่ใช้บรรจุตัวอย่างควรล้างด้วยน้าตัวอย่างที่ต้องการเก็บอย่างน้อย 2 ครั้ง ถึง 3 ครั้ง ก่อน นาไปใช้ในการเก็บตัวอย่างน้า 3) ระดับความลึกที่เก็บตัวอย่าง ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ต้องการวิเคราะห์ 4) การเก็บ ตัวอย่าง น้า ให้ ค่อยๆ หย่อนอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง ลงไปในน้า เมื่อ ถึงระดับความลึก ที่ต้องการ ให้ ทิ้งไว้ประมาณ 15 วินาที แล้วจึงปล่อยลูกตุ้ม (หรืออุปกรณ์อื่นๆ เพื่อให้ อุปกรณ์เก็บตัวอย่างน้าปิด) 5) หากต้องการวัด pH ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้า ค่าความนำไฟฟ้า หรือตัวแปรอื่นๆ ในระหว่าง การเก็บตัวอย่าง ให้แยกตัวอย่างน้าใส่ภาชนะอื่น และควรวัด pH ก่อน แล้วจึงวัด ตัวแปรอื่น ภาย หลัง 6) ใส่ตัวอย่างน้าในขวด เก็บตัวอย่างประมาณ 85 % ถึง 90 % ของ ขวด เนื่องจาก หากใส่เต็มขวด เมื่อนาไปแช่แข็งน้าจะขยายตัว อาจทาให้ขวดตัวอย่างเสียหายได้ 7) ควรบันทึกรายละเอียด ต่างๆ ในสมุดบันทึก และ ติดฉลาก บนภาชนะที่เก็บตัวอย่าง ดังนี้ ก ) ชื่อสถานที่เก็บตัวอย่าง ข ) วัน เดือน ปี และเวลาเก็บตัวอย่าง ค ) ชื่อผู้เก็บตัวอย่าง ง ) ประเภทของตัวอย่าง เช่น น้าในบ่อเพาะและอนุบาลกุ้ง น้าในแหล่งน้าสาธารณะหรือ บริเวณกระชัง จ ) วิธี รักษาสภาพตัวอย่าง เช่น แช่เย็น ฉ ) ค่าที่ต้องการวิเคราะห์ ที่มา : 1 ) มกษ. 74 17( G) - 25 59 แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางกา ร เพาะเลี้ยง สัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้าจืด 2 ) คู่มือการวิเคราะห์น้าเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม กรมประมง

มกษ. 7438 (G) - 256 5 32 ภาคผนวก ง (ให้ไว้เป็นข้อมูล) เลขทะเบียน อำหารสัตว์ เลขทะเบียนอาหารสัตว์ ตามที่กาหนดใน พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 กรมประมง ที่ มี อักษร “ ป. ” คือ เลขทะเบียนอาหารสัตว์ที่ ออกโดยกรมประมง และ เลขทะเบียนอาหารสัตว์ ที่ ไม่มี อักษร “ ป. ” คือ เลขทะเบียนอาหารสัตว์ที่ออกโดยกรม ปศุสัตว์ แล้วต่อด้วยเล ข 10 หลัก ซึ่งมีความหมาย ดังนี้ ป. XX - XX - XX - XXXX เลขลา ดับที่ 1 - 2 หมายถึง ประเภทใบอนุญาตของผู้ที่ขอขึ้นทะเบียน มี 2 ประเภท คือ 01 หมายถึง ทะเบียนที่ออกตามใบอนุญาตผลิตอาหารสัตว์ (ผลิตในประเทศไทย) 02 หมายถึง ทะเบียนที่ออกตามใบอนุญาตนา เข้าซึ่งอาหารสัตว์ (นำ เ ข้าจากต่างประเทศ) เลขลา ดับที่ 3 - 4 หมายถึง ประเภทชนิดของอาหารสัตว์ คือ 01 หมายถึง ประเภทวัตถุที่ผสมแล้ว ชนิดอาหารสัตว์ผสมสา เร็จรูป เช่น อาหารกุ้งสาเร็จรูป ป . 01 01 61 1234 02 หมายถึง ประเภทวัตถุที่ผสมแล้ว ชนิดหัวอาหารสัตว์ เช่น หัวอาหาร ป. 01 02 61 1234 03 หมายถึง ประเภทวัตถุที่ผสมแล้ว ชนิดสารผสมล่วงหน้า เช่น สารผสมล่วงหน้า (พรีมิกซ์) ป. 01 0 3 61 1234 04 หมายถึง ประเภทอาหารเสริมสา หรับสัตว์ เช่น อาหารเสริมโปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ วิตามิน ป. 01 0 4 61 1234 เลขลา ดับที่ 5 - 6 หมายถึง ปี พ.ศ. ที่ออกใบสา คัญการขึ้นท ะเบียนอาหารสัตว์ โดยนา มาเฉพาะเลขท้าย 2 ลา ดับของปี พ.ศ. นั้นๆ เลขลา ดับที่ 7 - 10 หมายถึง ลา ดับที่ของเลขทะเบียนที่ออกในปี พ.ศ. นั้น ที่มา : คู่มือสา หรับเจ้าหน้าที่กรมประมงในการตรวจสอบสถานที่จา หน่ายอาหารสัตว์น้า ตามพระราชบัญญัติ ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 255 8 กรมประมง https://www 4 .fisheries.go.th/local/file_document/20170104135142_file.pdf

33 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ภาคผนวก จ (ให้ไว้เป็นข้อมูล) เลขทะเบียนตารับยา เลขทะเบียนตารับยา เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่ายานั้นได้ผ่านการตรวจสอบจากสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) แล้ว ว่ามีผลในการรัก ษาจริง เลข 1 หรือ 2 ที่นาหน้าตัวอักษรจะมีเฉพาะยาแผนปัจจุบันเท่านั้น มีความหมาย ดังนี้ - เลข 1 หมายถึง ยาที่มีตัวยาสาคัญที่ออกฤทธิ์เพียงตัวเดียว - เลข 2 หมายถึง ยาที่มีตัวยาสาคัญที่ออกฤทธิ์ ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป - ตัวอักษร A – N มีควำมหมายตามตารางข้างล่าง - ตัวเลขต่อมาเป็นตัวเลขลาดับการขึ้นทะเบียนตารับยา - ตัวเลขสองหลักท้าย หมายถึง ปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน ตัวอย่าง เลขทะเบียนตารับยา เช่น 1A 12/35 หมายถึง ยาแผนปัจจุบันสาหรับมนุษย์ผลิตภายในประเทศไทย มีตัวยาออกฤทธิ์เพียงตัวเดียว ลาดับเลขทะเบียนที่ 12 ได้รับการขึ้นทะเบียนในปี พ.ศ. 2535 ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ A คือ ยามนุษย์ผลิตภายในประเทศ B คือ ยามนุษย์แบ่งบรรจุ C คือ ยามนุษย์นาหรือสั่งเข้าฯ D คือ ยาสัตว์ผลิตภายในประเทศ E คือ ยาสัตว์แบ่งบรรจุ F คือ ยาสัตว์นาหรือสั่งเข้าฯ G คื อ ยามนุษย์ผลิตภายในประเทศ H คือ ยามนุษย์แบ่งบรรจุ K คือ ยามนุษย์นาหรือสั่งเข้าฯ L คือ ยาสัตว์ผลิตภายในประเทศ M คือ ยาสัตว์แบ่งบรรจุ N คือ ยาสัตว์นาหรือสั่งเข้าฯ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/detail/media_printing/1690 เลขทะเบียนตำรับยา Reg. no 1 A 12/35 Registered Number มีตัวยาออกฤทธิ์เพียงตัวเดียว ยาแผนปัจจุบันสาหรับมนุษย์ ผลิตในประเทศไทย ลาดับเลขทะเบียนที่ 12 ได้รับการขึ้นทะเบียน ในปี พ.ศ. 2 535

มกษ. 7438 (G) - 256 5 34 ภาคผนวก ฉ (ให้ไว้เป็นข้อมูล) รายการ ยา และ เคมีภัณฑ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ตารางที่ ฉ . 1 รายการยาและเคมีภัณฑ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า 1. รายการยาที่ห้ามใช้ในการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้า 1 ) ฟิ วราโซลิโดน ( Furazolidone) 2) ฟิวแรลทาโดน ( Furaltadone) 3) ไนโทรฟิวแรนโทอิน ( Nitrofurantoin) 4) ไนโทรฟิวราโซน ( Nitrofurazone) 5) คลอแรมฟินิคอล ( Chloramphenicol) 6) กลุ่มเซฟาโลสปอริน (Cephalosporins) 7) กลุ่มไนโตรอิมิดาโซล (Nitroimidazol es) 2. รายการเคมีภัณฑ์ที่ห้ามใช้ในการเพาะเลี้ยงสตว์น้า 1) มาลาไคท์กรีน ( Malachite green ) 3. รายการยาต้านจุลชีพที่อนุญำ ตให้ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (ตารับยาเดี่ยว) 1) อะมอกซีซิลิน ( Amoxicillin) 2) เอนโรฟลอคซาซิน (Enrofloxacin) 3 ) อ๊อกซีเตตราซัยคลิน ( Oxytetracycline) 4) ซาราฟลอคซาซิน (Sarafloxacin) 5) อ๊อกโซลินิค แอซิด (Oxolinic acid) 6) ทอลทราซูลิน (Toltrazuril) 7) ซัลฟาโมโนเมทรอซีน โซเดียม (Sulfamonomethoxine Sodium) 4. รายการยาต้านจุลชีพที่อนุญาตให้ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (ตารับยาผสม) 1) ซัลฟาไ ดอะซีน + ไตรเมทรอพริม (Sulfadiazine + Trimethoprim) 2) ซัลฟาไดเมทรอซีน โซเดียม + ไตรเมทรอพริม ( Sulfadimethoxine Sodium + Trimethoprim) 3) ซัลฟาไดเมทรอซีน โซเดียม + ออ เมทรอพริม ( Sulfadimethoxine Sodium + Ormetroprim) 4) ซัลฟาโมโนเมทรอซีน โซเดียม + ไตรเมทรอพ ริม ( Sulfamonomethoxine Sodium + Trimethoprim) 5) ซัลฟาไดมิดีน + ไตรเมทรอพริม ( Sulfadimidine sodium + Trimethoprim) หมายเหตุ การใช้ยาต้านจุลชีพที่อนุญาตให้ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ต้องใช้ยาที่มีการขึ้นทะเบียนกับสานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาอย่างถูกต้อง และปฏิบัติตามฉลาก รวมทั้งมีการเว้นระยะหยุดยาก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิตสัตว์น้า อย่างเคร่งครัด ที่มา: ระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการออกใบรับรองการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับการผลิตสัตว์น้า ( จี เอ พี) (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2563

35 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ภาคผนวก ช (ให้ไว้เป็นข้อมูล ) ข้อมูลที่ควรบันทึกสาหรับฟาร์ม เพาะพันธุ์และอนุบาล สัตว์น้า ช .1 การเตรียมบ่อ - ลักษณะดินพื้นบ่อ - การจัดการเลน - การตากบ่อ - ระยะเวลาในการเตรียมบ่อ - การใช้วัสดุปูน ปุ๋ย สารเคมี และเวชภัณฑ์ในการปรับปรุงดินในการเตรียมบ่อ - แหล่งน้าที่ใช้ ช . 2 ลูกพันธุ์ - วัน เดือน ปี - อายุ ขนาด จำนวน (ตัว) ลักษณะลูกพันธุ์ - เอกสารหลักฐานหรือรายละเอียดแหล่งที่มา เช่น หนังสือกำกับการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้า ( FMD) หนังสือกากับการซื้อขาย ลูกพันธุ์ สัตว์น้า ที่ได้จากการเพาะเลี้ยง ( AFPD ) ใบเสร็จรับเงิน ช . 3 อาหาร และ การให้อาหาร - วัน เดือน ปีที่ผลิต หรือวันที่ หมดอายุ - แหล่งที่มา เลข ทะเบียน - ปริมาณการให้อาหาร ในแต่ วัน ต่อ บ่อ ต่อ มื้อ ช . 4 คุณภาพน้า - ความถี่ใน การเปลี่ยนถ่ายน้า - ข้อมูลการวิเคราะห์คุณภาพน้า เช่น ความโปร่งแสง สี ของ น้า - ผลการตรวจวิเคราะห์น้าจากหน่วยงานภายนอก ช . 5 การป่วย การใช้ยาและสารเคมีในการรักษาสัตว์น้าป่วย - อาการป่วย - จำนวน สัตว์น้า ป่วย หรือ ตาย - บันทึกการแจ้งหน่วยงานและจัดการซากสัตว์น้า กรณีสัตว์น้าตายผิดปกติ - ชนิดยา สัตว์หรือ สารเคมีที่ใช้ ปริมาณการใช้ ระยะเวลาที่ใช้ (กรณีมีการใช้) - แหล่งที่มาของ ยาสัตว์ หรือ สารเคมี ที่ใช้ (กรณีมีการใช้)

มกษ. 7438 (G) - 256 5 36 ช . 6 การ เคลื่อนย้ายสัตว์น้า (รวบรวม / ขายหรือย้ายบ่อ ) - จำนวน หรือปริมาณสัตว์น้าที่รวบรวม - วัน เดือน ปี ที่ รวบรวม - หนังสือกากับการจำหน่ายสัตว์น้า

37 มกษ. 7438 (G) - 256 5 ตัวอย่างที่ ช . 1 บันทึกข้อมูลการเตรียมบ่อ - ลักษณะดินพื้นบ่อ ดินเ หนียว ดินปนทราย ดินป่าชายเลน ดินลูกรัง ปู PE ทั้งบ่อ ปู PE เฉพาะขอบบ่อ อื่นๆ (โปรดระบุ)… … … … … - การจัดการเลน ฉีดเลน ดูดเลน แทรกเตอร์ตัก อื่นๆ (โปรดระบุ)… … … - การตากบ่อ ตา กบ่อให้แห้ง…วัน ไม่ตากบ่อ ใช้การจัดการโดย… … อื่นๆ (โปรดระบุ)… … - ระยะเวลาในการเตรียมบ่อ … วัน - การใช้วัสดุปูน ปุ๋ย สารเคมี และเวชภัณฑ์ในการปรับปรุงดินในการเตรียมบ่อ วัสดุจากธรรมชาติ โปรดระบุ… … … … กากน้าตาล… … …กิโลกรัม/ไร่ ปูนขาว … … …กิโลกรัม / ไร่ ปูนมาร์ล/ปูนแคลเซียม … …กิโลกรัม / ไร่ ปูน โดโลไมท์ … … …กิโลกรัม/ไร่ คลอรีน … … …กิโลกรัม/ไร่ อื่นๆ (โปรดระบุ) …กิโลกรัม/ไร่ - การใช้น้า จากแหล่งน้า ธรรมชาติ จาก บ่อพัก อื่นๆ (โปรดระบุ)… … … - การใช้เครื่อง เติม อากาศ มี ไม่มี

มกษ. 7438 (G) - 256 5 38 ตัวอย่าง ที่ ช. 2 บันทึกข้อมูลลูกพันธุ์ เลขที่เอกสาร ชนิดลูกพันธุ์สัตว์น้า วัน เดือน ปี ที่ปล่อย เวลาที่ปล่อย จานวนที่ปล่อย (ตัว ต่อบ่ อ) อายุสัตว์น้า (วัน เดือน ปี) ระยะเวลาปรับสภาพ ก่อนปล่อย (นาที) ชื่อแหล่ง ที่มาของ ลูกพันธุ์จากฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า… … … … เลขทะเบียนฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า… … .. … … ชื่อเจ้าของ ฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า… … .. … … ที่ตั้งฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า… … … … .. … มาตรฐานฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้า  เกษตรอินทรีย์ GAP กรมประมง GAP มกษ. … … … … CoC กรมประมง อื่นๆ (โปรดระบุ)… … … การบรรจุลูกพันธุ์เพื่อการขนส่ง ใส่ถุงพลำสติก ใส่ในถังให้อากาศ จำนวนหรือความหนาแน่นในการบรรจุ อื่นๆ (โปรดระบุ)…

39 มกษ. 7 438 (G) - 256 5 ตารางที่ ช . 3 บันทึกข้อมูล ชนิด อาหารและการให้อาหาร วัน เดือน ปี รับอาหารเข้า ฟาร์ม ชื่อ บริษัท ผู้ผลิตอา หาร ชื่อทางการค้า ของ อาหาร (ยี่ห้อ) เลขล็อตอาหาร เบอร์หรือขนาด อาหาร อื่นๆ

มกษ. 7438 (G) - 256 5 40 ตารางที่ ช . 4 การบันทึกข้อมูลการ ตรวจสอบคุณภาพน้า วัน เดือน ปี ที่ตรวจ เวลาที่ ตรวจ pH ความเค็ม (ppm) อุณหภูมิ ( 0 C) DO (mg/l) BOD (mg/l) ความเป็นด่าง (mg/l - CaCO 3 ) แ อมโมเนียรวม (mg/l) ความโปรงใส (cm) ความกระด้าง (mg/l - CaCO 3 ) สารแขวนลอย (mg/l) อื่นๆ (โปรดระบุ) ผู้ตรวจ

41 มกษ. 7 438 (G) - 256 5 ตารางที่ ช . 5 บันทึกข้อมูล การ ป่วย การใช้ยาและสารเคมี ในการรักษา สัตว์น้าป่วย วัน เดือน ปี โซน หรือ เลขที่ บ่อ ชนิดสัตว์น้า แหล่งที่มา จานวน สัตว์น้า ทั้งหมด ข้อมูลสัตว์น้าป่วย/ตาย สาเหตุ การป่วย การจัดการเบื้องต้น ผู้บันทึก อาการป่วย/ ตาย จา นวนที่ป่วย/ ตาย การรักษา (การใช้ยาและสารเคมี) ผลการรักษา

มกษ. 7438 (G) - 256 5 42 ตารางที่ ช . 6 การ บันทึก ข้อมูล การเคลื่อนย้ายสัตว์น้า จานวนสัตว์น้าที่นาเข้าฟาร์ม จานวนสัตว์น้าที่ย้าย/ขายออก จานวนสัตว์น้าที่เหลือ วัน เดือน ปี ชนิดสัตว์น้า จานวน (ตัว) แหล่งที่ มา บริเวณที่ กัก วัน เดือน ปี จานวน (ตัว) ระบุสถานที่ หรือผู้ซื้อ จานวนที่เหลือ (ตัว) จานวนที่ตาย (ตัว) ที่มา : 1 ) มกษ . 7417(G) – 2559 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง แนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ที่ดีสา หรั บฟาร์มเลี้ยง สัตว์น้า จืด 2) สมุดบันทึกการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า กองพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานสินค้าประมงและหลักฐานเพื่อการสืบค้น (กมป.) กรมประมง