Mon Dec 26 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551


ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบมติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการประชุม ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2565 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึง ออกประกาศกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษต ร : ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม มาตรฐานเลขที่ มกษ. 5706 - 2565 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 256 5 ประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ้ หนา 8 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 303 ง ราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2565

มกษ. 5706 - 2565 มาตรฐานสินค้าเกษตร ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม 1 . ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ครอบคลุม ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมี ยม ( Ribbed Smoked Sheets - Premium grade; RSS - P ) สาหรับ ใช้ เป็นวัตถุดิบในการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ยางที่มีคุณภาพ 2. คาอธิบาย สินค้า 2.1 นิยาม ผลิตภัณฑ์ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม หมายถึง ยางแผ่น รมควัน ที่ผ่านกรรมวิธีการผลิต ตั้งแต่ การรับ น้ายางสด ที่ได้จากต้นยางพารา ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hevea brasiliensis การทายางแผ่นดิบ การรมควัน การคัดคุณภาพ โดยต้อง ผ่านเกณฑ์คุณภาพและ หลักปฏิบัติที่ดีสาหรับการผลิต ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามที่กาหนดในมาตรฐานนี้ 2 . 2 แบบ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบ่งตามลักษณะการจัดเตรียมเป็น 3 แบบ ดังนี้ 2.2.1 ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบ ห่อ ( Wrap ped RSS - P ) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าแบบ มัด เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมที่นามาจัดเรียงซ้อนกันแล้ว ห่อ ด้วยแผ่นยางจำนวน 4 แผ่น 2.2.2 ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดแท่ง ( Blocked RSS - P ) เป็นยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมที่ นามาอัดเป็นแท่ง 2.2.3 ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดก้อน ( Bale d RSS - P ) เป็นยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมที่ นำมาอัดเป็นก้อน แล้วทาด้วยแป้งกาวยาง ( coating solution) โดย มีขนาด ประมาณ 50 cm x 55 cm x 50 cm

มกษ. 5706 - 2565 2 3. นิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ 3.1 ความหนืดมูนี ( Mooney Viscosity; MV ) หมายถึง ความหนืดของยางที่วัดโดยเครื่อง Mooney Viscometer มีหน่วยเป็น Mooney Unit (MU) เป็นค่าบ่งชี้ความนิ่ม - แข็งของยาง ค่า ความหนืดมูนีต่า ห มาย ความว่า ยางนิ่ม ค่า ความหนืดมูนี สูง หมาย ความว่า ยางแข็ง 3.2 ยางพอง (blister rubber) หมายถึง ยางแผ่นรมควันที่มีลักษณะ เป็นตุ่ม พอง ขนาดต่าง ๆ ในแผ่นยาง เกิดจากการใช้ อุ ณหภูมิในการ รมควันสูง 3.3 ยาง มี ฟองอากาศ ( bubble rubber) หมายถึง ยางแผ่นรมควันที่มีฟองอากาศ ขนาดเท่าปลาย เข็มหมุด กระจายในแผ่นยาง และมีปริมาณ มากกว่า 5% ของพื้นที่แผ่นทั้งหมด 3.4 ยาง มี รอยด่างดา ( blemish rubber ) หมำยถึง ยางแผ่นรมควันที่มีรอยด่าง ดา เกิดจาก สิ่งสกปรก หรือสิ่งปนเปื้อนหรือ เม็ดสี ที่ อยู่ในยาง บางพันธุ์ และให้รวมถึงคราบรอยเปื้อนจากหยดน้า ที่รวมกับเขม่าตกลงมาสัมผัสกับแผ่นยางขณะรมควัน 3.5 ยางเยิ้ม ( greasy rubber) หมายถึง ยางแผ่นรมควันที่มีลักษณะเหนียวเยิ้ม เกิดจากการใช้ อุณหภูมิสูงและระยะเวลาในการรมควัน นาน 3.6 ยางที่รมควันมาก (over - smoked rubber) หรือที่เรียกว่า ยางแก่ไฟ หมายถึง ยางแผ่นรมควัน ที่มีลักษณะคล้าทั้งแผ่นหรือเกือบทั้งแผ่น เกิดจากควัน และอุณหภูมิ ในการ รมควัน มากเกิน หรืออยู่ใกล้กับท่อปล่อยควันมากเกินไป 3.7 ยางไหม้ ( burnt rubber) หมายถึง ยางแผ่นรมควันที่มีรอยไหม้ เกรียมเป็นสีดา เกิดจากการ ใช้ อุณหภูมิสูง และระยะเวลาในการรมควัน นาน เกินไป 3.8 ยางที่รมควันน้อย ( weak - smoked rubber) หรือที่เรียกว่า ยางอ่อนรม หมายถึง ยางแผ่นรมควัน ที่ มีลักษณะของแผ่นไม่โปร่งแสงหรือไม่สามารถมองลอดแผ่นยางได้ เกิดจากการ ใช้อุณหภูมิ ใน การรมควันต่า 3 . 9 ยางดิบ ( opaque sheet ) หมายถึง ยาง แผ่นรมควันที่มีลักษณะเป็นสีขาวทึบ เกิด จากแผ่นยาง เกาะติดกันในขณะตากยาง และในขณะรมควัน ทาให้ความชื้นตกค้างในแผ่น หรือใช้อุณหภูมิ ในการรมควันต่า ทา ให้ แผ่นยางกระด้าง ไม่ยืดหยุ่น 3 .10 ตะกง ( c oagulating tank) หมายถึง ภาชนะที่ใ ห้ น้ายาง จับตัว ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ภายในบุด้วยอะลูมิเนียมเซาะเป็นร่องมี จานวน 24 หรือ 49 ร่อง แต่ละร่องมี ระยะห่างประมาณ 2.5 cm ทาไว้เพื่อใช้เสียบแผ่นอะลูมิเนียม เพื่อ สะดวกในการยก ยางที่จับตัวแล้ว ออกจากตะกง

3 มกษ. 5706 - 2565 4 . เกณฑ์คุณภาพ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป ยางแผ่นรมควัน ต้ องไม่มีข้อบกพร่อง เช่น ยาง พอง ยางมี ฟองอากาศ ยาง มี รอยด่างดำ ยางเยิ้ม ยางแก่ไฟ ยางไหม้ ยางอ่อนรม และ ยางดิบ 4.2 ข้อกำหนด ทาง เคมี และ ทางฟิสิกส์ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมต้องมี ข้อกาหนดทางเคมีและทางฟิสิกส์ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ข้อกำหนด ทางเคมี และทาง ฟิสิกส์ ของยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม (ข้อ 4.2 ) รายการข้อกำหนด เกณฑ์ที่กำหนด ปริมาณสิ่งสกปรก ( Dirt Content ) ไม่เกิน 0 . 02 % โดยมวล ปริมาณสิ่งระเหย ( Volatile Matter Content ) ไม่เกิน 0 . 60 % โดยมวล ปริมาณเถ้า ( Ash Content ) ไม่เกิน 0 . 35 % โดยมวล ปริมาณไนโตรเจน ( Nitrogen Content ) ไม่เกิน 0 . 40 % โดยมวล ความอ่อนตัว เริ่มแรก ( Initial Plasticity; P 0 ) ช่วง 42 ถึง 52 ดัชนีความอ่อนตัว (Plasticity Retention Index; PRI) ช่วง 80 % ถึง 100 % ความหนืดมูนี ( Mooney Viscosity; MV ) ช่วง 70 MU ถึง 80 MU 5 . ข้อกำหนดด้านการผลิต ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมต้องได้มาจากการผลิตตามการปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิต ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ตามภาคผนวก ก 6 . การบรรจุหีบห่อ 6.1 ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบห่อและแบบอัดแท่งให้ห่อหุ้มด้วยถุงพลาสติกที่สะอาด มีคุณสมบัติที่ทนทานต่อการขนส่ง สามารถป้องกันการปนเปื้อนและความเสียหาย 6.2 ถุงพลาสติกที่ใช้ต้องเป็น โ พลิเอทิ ลีนหรือโพลิ ที น ( Polyethylene or Polythene) ชนิดใส ความหนาแน่นต่า ( low density) อุณหภูมิหลอม เหลว ไม่เกิน 109 ° C ผสมเข้ากับยางได้ที่อุณหภูมิไม่เกิน 110 ° C และ ความหนา อยู่ใน ช่วง 0.03 mm ถึง 0.04 mm

มกษ. 5706 - 2565 4 6.3 กรณี ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบอัดก้อน ให้ใช้การทาแป้งกาวยาง (ดูข้อ ก. 3.5.3 ) แทนการบรรจุด้วยถุงพลาสติก 6.4 ยาง แผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมต้องบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทสามารถป้องกันการปนเปื้อน และความชื้น 6. 5 ปริมาณสุทธิหรือจานวนห่อหรือแท่งที่บรรจุในแต่ละหีบห่อ ต้องเป็นไปตามที่ระบุไว้ในฉลาก 7 . การแสดงฉลาก 7 . 1 ข้อกาหนดทั่วไป 7 . 1 . 1 ต้องไม่มีการแสดงฉลากของสินค้าที่เป็นเท็จ ทาให้เข้าใจผิด หลอกลวง หรือมีโอกาสทาให้เกิด ความเข้าใจผิดพลาดเกี่ยวกับลักษณะของสินค้าไม่ว่าในแง่ใดๆ 7 . 1 . 2 ก รณี ภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค การแสดงฉลากข้อมูลสินค้าบางรายการ อาจแสดงในเอกสารกำกับหรือวิธี อื่นได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าแสดงด้วยวิธีใดข้อมูลนั้นต้องสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับถึงสินค้าได้ และมีข้อมูลที่จาเป็นเพื่อให้ธุรกิจที่นาสินค้าไปดาเนินกิจกรรม ทางธุรกิจต่อได้ 7 .1. 3 ฉลากสินค้าต้องไม่หลุดหรือแยกออกจากภาชนะบรรจุ 7 . 1 . 4 ข้อความที่ต้องแสดงบนฉลากตามข้อกาหนดของ มาตรฐานต้องชัดเจน เด่นชัด ไม่ลบเลือน และอ่านออกได้ในสภาวะปกติของการซื้อและการใช้ของผู้บริโภค 7 . 1 . 5 ต้องทาเครื่องหมายถาวรในลักษณะรหัสหรือที่ไม่ใช่รหัสบนภาชนะบรรจุ เพื่อบ่งชี้รุ่นการผลิต และเพื่อให้ตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งผลิตได้ ซึ่งอาจเป็นการบ่งชี้โรงงานหรือสายการผลิต ตามความจาเป็น ทั้งนี้อาจใช้การแสดงวันที่ วันที่ผลิต หรือวันที่บรรจุ แทนการระบุรุ่นได้ 7.1.6 การแสดงวันที่ ต้องแสดงวันและปีด้วยตัวเลขที่ไม่ใช่เลขรหัส โดยที่อาจแสดงปี ด้วยตัวเลข 2 ตาแหน่ง หรือ 4 ตาแหน่ง ส่วนเดือนต้องแสดงด้วยตัวอักษรหรือตัวเลข กรณีที่แสดงวันเดือนและปี ด้วยตัวเลขทั้งหมด หรือกรณีที่ปี แสดงด้วยตัวเลข 2 ตาแหน่ง อาจ ระบุข้อความเพื่อแสดงลาดับของ วัน เดือน ปี ในลักษณะตัวย่อกากับกับการแสดงวันที่ ( เช่น ว / ด / ป หรือ DD/MM/ YY) ควบคู่กันได้ 7.1.7 กรณี นาเข้าและผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษา ต่างประเทศ ด้ วยก็ได้ กรณีผลิตเพื่อการส่งออก ให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้

5 มกษ. 5706 - 2565 7.1.8 การแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าให้เป็นไปตามกฎกระทรวงกาหนดลักษณะการใช้ และการแสดงเครื่องหมายรับ รองมาตรฐานสาหรับสินค้าเกษตร พ . ศ . 2563 และประกาศ สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง 7.1.9 ชื่อและปริมาณสุทธิของสินค้าเกษตรต้องแสดงในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน และแสดงไว้ บนด้านเดียวกันของภาชนะบรรจุ ( same field of vision ) 7 . 2 ข้อกาหนดรายการที่ต้องแสดงบนฉลาก ต้องแสดงรายการดังต่อไปนี้บนฉลากของภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ยกเว้นรายการที่มี เครื่องหมาย * กำกับ สามารถแสดงในเอกสารกำกับหรือวิธีอื่นได้ 1 ) ชื่อสินค้า เช่น ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบห่อ หรือยางแผ่นรมควั นเกรดพรีเมียม แบบอัดแท่ง หรือ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบแท่ง 2) แบบ 3 ) ปริมาณ สุทธิให้ใช้ระบบเมตริกหรือจานวนนับ (ห่อ/แท่ง / ก้อน ) 4 ) ชื่อและที่อยู่ ของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้กระจายสินค้า หรือผู้นาเข้า หรือผู้ส่งออก หรือผู้จำหน่ายสินค้าเกษตร อาจแสดงรหัสที่มีการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่แทนการแสดงชื่อและที่อยู่ได้ 5 ) ประเทศถิ่นกาเนิด ยกเว้นกรณีผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศ * 6 ) การแสดงวันที่ผลิต หรือวันที่บรรจุ * 8 . วิธีวิเคราะห์และ ชักตัวอย่าง 8 .1 วิธีวิเคราะห์ ให้เป็นไปตาม วิธีที่กาหนดในตารางที่ 2

มกษ. 5706 - 2565 6 ตารางที่ 2 วิธีวิเคราะห์ ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียม (ข้อ 8 .1 ) รายการข้อกำหนด วิธีวิเคราะห์ เทคนิคการวิเคราะห์ หลักการ 1 . ข้อกาหนดทั่วไป (ข้อ 4.1 ) ตรวจพินิจจากขั้นตอนการผลิต Visual examination 2 . ปริมาณสิ่งสกปรก (ข้อ 4 .2 ) ISO 249 Filtration ใ ช้ ความร้อนละลายชิ้น ตัวอย่างยาง ในตัวทาละลายและ ใช้สาร เคมีช่วยเร่ง การละลายจนยางละลายหมด กรองผ่านแร่ง ( sieve) ตามเงื่อนไข ที่วิธีวิเคราะห์ กาหนด (น้าหนัก ชนิดสาร อุณหภูมิ เวลา ขนาดรูแร่ง ฯลฯ) อบสิ่งตกค้าง บนแร่ง ชั่งจนได้น้าหนักคงที่ คานวณเป็น เปอร์เซ็น ต์ “ปริมาณสิ่งสกปรก” 3 . ปริมาณสิ่งระเหย (ข้อ 4 .2 ) ISO 24 8 - 1 , Part 1 Loss on drying บดชิ้นตัวอย่างให้เป็นเนื้อเดียวกัน โดยใช้ลูกกลิ้ง นำชิ้นทดสอบที่เป็น เนื้อเดียวกันแล้วเข้าอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 70 ◦ C ± 5 ◦ C จนได้น้าหนักคงที่ 4 . ปริมาณเถ้า (ข้อ 4 .2 ) ISO 247 - 1 Heating ห่อชิ้นตัวอย่างที่ชั่งน้าหนักแล้วด้วยกระดาษกรองที่ไม่มีเถ้าเผาที่ อุณหภูมิ 300◦ C ± 25 ◦ C เป็นเวลา 1 hr ก่อนที่จะนาไปเผาต่อที่อุณหภูมิ 550 ◦ C ± 25 ◦ C นาน 2 hr ถึง 4 hr ในเตา muffle furnace จนสารคาร์บอนถูกเผาและเถ้ามีน้าหนักคงที่ 5 . ปริมาณไนโตรเจน (ข้อ 4 .2 ) ISO 1656 Kjeldahl process ย่อยชิ้นตัวอย่างที่ชั่งน้าหนักแล้วด้วยสารผสมของกรดซัลฟิวริกกับสารตัวเร่ง ปฏิกิริยา เพื่อเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเป็นแอมโมเนียมไฮโดรเจน ซัลเฟต จากนั้นกลั่นแอมโมเนียออกภายหลังการทำให้สารผสมเป็นด่าง เก็บแอมโมเนียที่ได้จากการกลั่นเติมสารละลายมาตรฐานซัลฟิวริกปริ มาณ มากเกินพอ ไทเทรตกับสารละลายเบสมาตรฐาน หรือเก็บในสารละลาย กรดบอริก ตามด้วยไทเทรตกับกรดมาตรฐาน (เนื่องจากกรดบอริคเป็น กรดอ่อน จึงมีผลต่อการหาจุดยุติในการไทเทรต)

7 มกษ. 5706 - 2565 ตารางที่ 2 วิธีวิเคราะห์ยางเครปบางสีน้าตาลเกรดพรีเมียม (ต่อ) (ข้อ 7.1 ) รายการข้อกำหนด วิธีวิเคราะห์ เทคนิคการวิเคราะห์ หลักการ 6 . ความอ่อนตัวเริ่มแรก (ข้อ 4 .2 ) ISO 2007 Rapid - plastimeter method อัดชิ้นตัวอย่างแบบจาน (เม็ด) กลมระหว่างแท่นอัดให้ได้ความหนา 1 mm เป็นเวลา 15 s เพื่อให้ชิ้นตัวอย่างร้อนเท่ากับความร้อนแท่นอัด จากนั้นอัดชิ้นตัวอย่างด้วยแรง 100 N ± 1 N เป็นเวลา 15 s ความหนา หลังการอัดคือค่าความอ่อนตัวเริ่มแรก 7 . ดัชนีความอ่อนตัว (ข้อ 4 .2 ) ISO 2930 Heating หาความความอ่อนตัวเริ่มแรกจากชิ้นตัวอย่างที่ไม่ได้อบบ่มเร่ง และชิ้นตัวอย่าง ที่อบบ่มเร่งในตู้อบ อุณหภูมิ 140 ◦ C เป็นเวลานาน 30 min โดยวิธีที่ระบุ ใน ISO 2007 ดังนั้นความอ่อนตัว คือ สัดส่วนของความอ่อนของชิ้นตัวอย่าง ก่อนและหลังอบบ่มเร่งคูณด้วย 100 8 . ภาชนะบรรจุ (ข้อ 5.1 ) ตรวจพินิจ Visual examination 9 . ยาง แผ่นรมควัน เกรด พรีเมียมที่บรรจุหีบห่อแล้ว (ข้อ 5. 4 ) ตรวจพินิจ Visual examination 10 . ปริมาณสุทธิ (ข้อ 5. 5 ) ชั่งน้าหนัก Weighing

มกษ. 5706 - 2565 8 8 .2 แผนการชักตัวอย่าง 8 .2.1 รุ่น ( lot ) หมายถึง ปริมาณที่แน่นอนของสินค้าที่ผลิตภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่สันนิฐานว่า กระบวนการผลิต มีความสม่าเสมอ ( uniform of process ) 8.2.2 แผนการชักตัวอย่าง ให้เป็นไปตามแผนการชักตัวอย่างในตารางที่ 3 หรืออาจใช้แผนการชักตัวอย่างอื่น ที่เทียบเท่ากันทางวิชาการกับแผนที่กาหนดไว้ ตารางที่ 3 แผนการชักตัวอย่าง (ข้อ 8 .2.2 ) ขนาดรุ่น (N) ขนาดตัวอย่าง (n) ( จานวน ห่อ หรือแท่ง หรือก้อน ) เลขจานวนการยอมรับ (c) ขนาดรุ่น ( จานวน ห่อ หรือแท่ง หรือก้อน ) มวลของยาง ต่อห่อหรือแท่ง หรือก้อน (kg) 100 20 6 0 80 25 6 0 66 30 6 0 60 33.33 6 0 57 35 6 0 40 50 6 0 18 110. 5 6 0 หมายเหตุ 1 . มวลของยาง 20 kg 25 kg 30 kg และ 33.33 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบห่อ 2. มวลของยาง 33.33 kg 35 kg และ 50 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดแท่ง 3. มวลของยาง 110.5 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดก้อน 8 .2.3 วิธีชักตัวอย่างให้เป็นไปตามภาคผนวก ค 9. การยอมรับรุ่น รุ่น ( lots ) ของยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม จะยอมรับได้ เมื่อ มาจากการผลิต ผ่านเกณฑ์ ประเมิน ตามข้อ 5 และการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตามข้อ 8 ผ่านเกณฑ์ ที่กาหนดตามข้อ 4 ข้อ 6 และข้อ 7

9 มกษ. 5706 - 2565 ภาคผนวก ก ( เป็นส่วนหนึ่งของ ข้อกำหนด ) การ ปฏิบัติ ที่ดีสาหรับการผลิตยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียม ( Good Manufacturing Practices for Ribbed Smoked Sheets Premium Grade ) ก. 1 สถานที่ประกอบการ ก . 1.1 สถานที่ตั้ง ก. 1.1 .1 อยู่ในบริเวณที่น้าไม่ท่วมขัง สภาพพื้นที่ควรมีความคงตัว ไม่แยกตัว หรือหดตัวที่จะทาให้เกิด การ แตกร้าวหรือทรุดตัวของอาคารได้ง่าย ไม่ทาให้ยาง แผ่นรมควัน เกิดการปนเปื้อน และไม่ส่ง ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม โดย ต้อง มีมาตรการป้องกัน เช่น มีระบบบาบัดน้าเสีย ก. 1.1.2 มีระบบไฟฟ้า ที่ เพียงพอต่อกาลังการผลิต ก. 1.1.3 การคมนาคมสะดวกต่อการ ขนส่ง สามารถรับน้าหนักของรถบรรทุก ขนาดใหญ่ได้ ก. 1.2 การออกแบบ ก. 1.2.1 มีขนาดเหมาะสมกับกาลังการผลิตโดยจัดลาดับขั้นตอนการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกต่อ การปฏิบัติงาน ก. 1.2.2 พื้น อาคาร ต้องมีความคงทน แข็งแรง เรียบ ทาความสะอาดง่า ย สร้างด้วยวัสดุคงทน สภาพพื้นที่ ภายในและภายนอก อาคารเป็นที่แห้ง ไม่มีน้าท่วมขัง ก .1.2.3 ฝาผนังและเพดาน ควรสร้างด้วยวัสดุคงทน เรียบ ทาความสะอาดง่าย สามารถป้องกันฝน ละอองน้า และฝุ่นได้เป็นอย่างดี ก. 1.2.4 ประตูและหน้าต่างของอาคาร ควรปิด เปิดสะดวก ปิดได้สนิทและป้องกันละอองฝนได้ดี ก. 1.2.5 บริเวณที่ผลิตควรมีแสงสว่างเพียงพอกับการปฏิบัติงาน โ ดยเฉพาะที่ จุด ตรวจสอบด้วยสายตา ก .1.2.6 บริเวณพื้นของห้องคัดคุณภาพยางควรมีวัสดุรองรับ เช่น แผ่นเหล็ก ผ้าใบ

มกษ. 5706 - 2565 10 ก. 1.2.7 ห้อง จัดเก็บต้องเ ป็น สถานที่ ที่ปิดมิดชิด สามารถป้องกันความชื้น ในระหว่างการเก็บรักษา การขนถ่าย สินค้า เช่น ไม่มีช่องหน้าต่าง ฝาผนังกับหลังคาไม่มีช่องว่างที่ จะทาให้น้าหรือความชื้นภายนอก เข้ามาในห้องจัดเก็บ ไม่มีรางรับน้าหรือคูระบายน้าภายใน มีหลังคาและกันสาด บริเวณทางเข้า ด้านห น้าเพื่อป้องกันละอองฝน ในขณะขนถ่ายยางขึ้น – ล งพาหนะ และ บริเวณรอบๆ ของสถานที่ จัดเก็บมีคูระบายน้าเพื่อ ป้องกัน น้าท่วมขังเป็นเวลานาน ก. 2 เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การผลิต ก. 2 .1 จานวนเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ การผลิต มีเพียงพอต่อการปฏิบัติ งานและอยู่ในสภาพที่ พร้อมใช้งาน ไม่ชารุดหรือ แตกหัก ก. 2 .2 เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ การผลิต ต้องวางอยู่ในตาแหน่ งตามสายการปฏิบัติงาน และ ง่ายต่ อ การบารุงรักษา ก . 2 . 3 เ ครื่องชั่ง : 1 ) มี เครื่องชั่งที่ชั่งได้สูงสุด 220 g ความละเอียด 0.01 g สำหรับหาปริมาณเนื้อยางแห้ง ในห้องปฏิบัติการ และต้องมีตุ้ม น้าหนัก มาตรฐานที่ผ่านการสอบเทียบเพื่อใช้ในการ สอบเทียบ เครื่องชั่ง 2) มี เครื่องชั่งที่ชั่งได้สูงสุด 150 kg หรือมากกว่า ความละเอียด 0 . 0 1 kg สาหรับใช้ใน สายการผลิต และต้อง มี ตุ้ม น้าหนัก มาตรฐาน ที่ผ่านการสอบเทียบ เพื่อใช้ในการสอบเทียบ เครื่องชั่ง หรือ ได้รับ การตรวจสอบและรับรองจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานัก งานกลาง ชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน ก. 2.4 จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย เช่น อุปกรณ์ดับเพลิง และอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ก. 3 การควบคุมกระบวนการผลิต ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมี ยม ก. 3.1 การรับน้ายางสด ก. 3.1.1 ตรวจรับน้ายางสด โดย น้ายางสดต้องมาจาก สวน ยางพารา ที่ ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับยางพารา เล่ม 1 : การผลิตน้ายางสด (มกษ. 5908 ) หรือ หาก สวนยางพารา ที่ ยัง ไม่ได้รับการรับรอง ต้องมีการควบคุมคุณภาพของน้ายางสด ตามข้อกาหนดใน มกษ 5908 ( ข้อ 3.5 ) นอกจากนี้ ผู้ผลิตจะต้องมีการตรวจ รับ คุณภาพเบื้องต้น น้ายางสดต้องมีความสด สะอาด และ ไม่มี กลิ่นผิดปกติ หรือการจับตัวเป็นก้อน

11 มกษ. 5706 - 2565 ก. 3.1. 2 หากน้ายางสดเป็นไปตามข้อ ก. 3.1.1 ให้ กรองน้ายางสดของ ผู้ส่งมอบ แต่ละรายตรงจุดรับน้ายาง โดยใช้ตะแกรงกรองขนาดไม่น้อยกว่า 60 mesh เพื่อขจัดสิ่งสกปรก และ ตรวจ หาปริมาณเนื้อยางแห้ง ( Dry Rubber Content ; DRC ) ของ ผู้ส่งมอบ แต่ละราย โดยชักตัวอย่างน้ายางสดที่กรอง แล้ว ประมาณ 30 ml เพื่อหาปริมาณเนื้อยางแห้ง หากได้ ค่ำ DRC ต่ากว่า 28 % จะไม่รับน้ายาง สด เข้าสู่กระบวนการผลิต ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม พร้อมบันทึกมวลของน้ายางสดและ DRC ของผู้ส่งมอบ แต่ละราย แหล่งที่มา วันที่รับเข้า และ ชื่อผู้ส่งมอบ ตามตารางที่ ก. 1 ตารางที่ ก. 1 ตัวอย่างการบันทึก การรับน้ายางสด ของผู้ส่งมอบ แต่ละราย ลาดับที่ วัน เดือน ปีที่ รับน้ายางสด ชื่อ - นามสกุล แหล่งที่มา น้ายางสด ( kg ) DRC ( %) ก. 3.1.3 รวบรวมน้ายางสด ของ ผู้ส่งมอบ แต่ละราย ที่ผ่านเกณฑ์ค่า DRC ตามข้อ ก. 3.1.2 เข้าสู่ บ่อ รวบ รวม น้ายา ง สด โดยเทผ่านตะแกรงกรองขนาด ไม่น้อยกว่า 80 mesh และสุ่มตัวอย่างน้ายางสดเพื่อ หา DRC รวม เพื่อใช้ในการคานวณหาปริมาณน้าและ กรดฟอร์มิก และบันทึกข้อมูลมวลรวมของ น้า ยำงสดจากข้อ ก. 3.1.2 และ DRC รวม ตามตารางที่ ก. 3 ก. 3.2 การ ผลิตยางแผ่นดิบ ก. 3. 2. 1 ทาให้น้ายา งสดเจือจาง เพื่อปรับค่า DRC ให้เท่ากันทุกรุ่นของการผลิต โดยการ เติมน้าลงตะกง ตามตารางที่ ก. 2 จากนั้นปล่อยน้ายางสดลงตะกงผ่ำนตะแกรงกรองขนาดไม่น้อยกว่ำ 100 mesh ที่ระดับความสูงรวม 34 cm กวนน้ากับน้ายางสดให้เข้ากัน กวาดฟอง และเติม สารละลาย กรดฟอร์มิก ความเข้มข้น 4 % โดยปริมาตร จานวน 7 L สาหรับตะกงขนาด 50 แ ผ่น หรือ 3.5 L สาหรับตะกงขนาด 25 แผ่น

มกษ. 5706 - 2565 12 ตารางที่ ก. 2 ตัวอย่างระดับความสูงของน้าแปรตาม DRC (%) ของน้ายา งสดที่เติมลงในตะกง ขนาดกว้าง 55 cm ยาว 120 cm (สาหรับตะกง 50 แผ่น) หรือยาว 60 cm (สาหรับตะกง 25 แผ่น) สูง 39 cm แผ่นเสียบหนา 1.5 mm และ ที่ เติมน้ายางสดจนถึงระดับ 34 cm (ข้อ ก. 3.2.1 ) รายการ DRC (%) ของน้ายางสด 40 39 38 37 36 35 34 33 32 31 30 29 28 ระดับความ สูงของน้าที่ เติม ลงในตะกง ( cm ) 1 7 . 0 16 . 5 1 6 . 0 15 . 5 1 5 . 0 14 . 5 1 4 . 0 13 . 5 1 3 . 0 12 . 5 1 2 . 0 11 . 5 11 . 0 ระดับ ความสูงของ น้า ยางสด รวมน้าที่เติมใน ตะกง ( cm ) 34 . 0 ก. 3. 2. 2 การทาให้น้ายางจับตัวเพื่อเตรียมเข้าเครื่องจักรรีดยาง ทาได้โดย กวนน้ายางและน้ากรดให้เข้ากัน ด้วยไม้พาย กวาดฟอง เสียบแผ่นอะลูมิเนียมตามร่องของตะกงทิ้งไว้นาน 45 min หล่อน้าสะอาด บนผิวยาง ปล่อยให้ยางจับตัวอย่า งสมบูรณ์ ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 h 30 min โดยสังเกตจาก น้า เซรั่มมีลักษณะใส ที่แยกตัวจำ กเนื้อยาง จากนั้นจึงดึงแผ่นอะลูมิเนียมออกนายางที่จับตัวแล้ว ไปแช่ในบ่อล้างยาง โดยเรียงตามกันเป็นแถว เพื่อเตรียมเข้าเครื่องจักรรีดยาง ก. 3.2. 3 รีดยางผ่านเครื่องจักรรีดยางที่มีน้าไหลผ่านเหนือบริเวณลูกกลิ้งทุกชุด ให้ แผ่นยางหลังรีด มีความหนา ประมาณ 4 mm ก. 3 . 2. 4 นายางแผ่นที่รีดแล้วล้างด้วยน้าสะอาดในบ่อล้างยาง ก. 3. 2. 5 แขวนยางแ ผ่น บนราว ที่มีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง ประมาณ 2.5 cm ถึง 4 cm นำขึ้นตาก บนรถตากยาง (เก๊ะตำกยาง) ผึ่งให้สะเด็ด น้า ไม่น้อยกว่า 4 h ก่อนนำเข้าห้องรมควัน และบันทึกข้อมูลมวลรวมของน้ายางดิบและปริมาณเนื้อยางแห้ง โดย วัสดุที่ใช้ทาราวตาก ควรเป็นไม้ไผ่ เนื่องจากเป็นวัสดุที่ไม่ดูดความร้อนและทาให้ยางแผ่นขณะรมควันแห้งได้เร็ว ก. 3. 3 การรมควัน ก. 3 . 3.1 ตรวจสอบ ความพร้อม ของ ห้องรม ควันและเครื่องวัดอุณหภูมิให้อยู่ในสภาพ ที่ใช้งานได้ และ บันทึกผลการตรวจสอบตามตารางที่ ก. 3 ก. 3.3.2 ค วบคุมอุณหภูมิในห้องรมควัน ให้มี อุณหภูมิ 40 ° C ถึง 45 ° C แล้วจึงเข็น รถตากยางเข้า ห้องรมควัน และ บันทึกวันที่ นายางแผ่นดิบ เข้า ห้องรมควัน ตามตารางที่ ก. 3

13 มกษ. 5706 - 2565 ก. 3.3.3 ควบคุมอุณหภูมิในห้องรมควัน ให้อยู่ที่ อุณหภูมิ 50 ° C ถึง 65 ° C เพื่อทาให้ยางแห้งและ ผิวของ แผ่นยาง เคลือบผิวด้วยควัน เพื่อป้องกันรา และให้บันทึก อุณหภูมิของห้องรมควันที่ใช้งาน ทุก 5 h ถึง 6 h ของ ทุกห้อง ตลอดระยะเวลาการรมควัน ตามตารางที่ ก. 3 ก. 3.3.4 ตรวจสอบแผ่นยางแห้งซึ่งสังเกตได้จากแผ่นยางเป็นสีน้าตาลอ่อน เนื้อยางโปร่งแสง เมื่อแผ่นแห้ง ให้นาออกจาก ห้องรมควัน และ บันทึกวันที่ นายางแผ่นรมควันออกจากห้องรมควัน และ มวลของ ยางแผ่นรมควัน ตามตารางที่ ก. 3 ก. 3.4 การคัดคุณภาพและ ตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมีและทางฟิสิกส์ ก. 3 . 4. 1 นายางแผ่นออกจากราว ตาก ทีละแผ่น ตรวจ พินิจข้อบกพร่อง ด้วยตา แล้ว แบ่งยาง แผ่นรมควัน ตามระดับข้อบกพร่อง กลุ่มที่ 1 แผ่น ยางที่ไม่มี ข้อบกพร่อง ให้ นำไปไว้บริเวณที่รอตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมี และทางฟิสิกส์ กลุ่มที่ 2 แผ่น ยางที่มี ข้อบกพร่อง ให้ นามาตรวจสอบแผ่นยางบนโต๊ะ ที่สะอาดและปราศจาก สิ่งปนเปื้อน โดยใช้ไฟส่องสว่างในบริเวณตรวจสอบคุณภาพ ; 1) หากพบจุดด่างดา ไม่เกิน 3 จุด ให้ใช้กรรไกรตัด ส่วนที่มี จุดด่างดาใส่ใน ภาชนะ เพื่อคัดออก โดยส่วน ชิ้นที่ถูกตัดออก ต้องมี ขนาดความกว้างไม่เกิน 1.5 cm และ ความยาว ไม่เกิน 3 cm ชิ้นยางที่ถูก ส่วนที่ ตัดออกนี้ให้นำไปใส่ในตะกร้าเพื่อคัดออก ส่วนแผ่นยางที่ เป็นไป ตามเกณฑ์ การคัดชั้นแล้ว ให้ นาไปไว้บริเวณที่รอตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมีและทางฟิสิกส์ เช่นเดียวกับแผ่นยางกลุ่มที่ 1 2) หากพบจุดด่างดามากกว่า 3 จุด ให้คัดออก เพื่อนาไปจาหน่ายเป็นยางแผ่นรมควัน ชั้นคุณภาพอื่น 3 ) หากพบข้อบกพร่องอื่นที่ไม่ใช่จุดด่างดา ได้แก่ ยางพอง ยางมีฟองอากาศ ยางเยิ้ม ยางแก่ไฟ ยางไหม้ ยางอ่อนรม และยางดิบ ให้คัดออก เพื่อนาไปแปรรูปเป็นยางแท่ง STR20

มกษ. 5706 - 2565 14 ตารางที่ ก. 3 ตัวอย่าง แบบ การบันทึกอุณหภูมิในการรมควันยาง หมายเลขห้องรม 1 ยางเข้าห้องรม วันที่ เวลา น . ยางออกจากห้องรม วันที่ เวลา น . คุณภาพยางหลังรมควัน ตรวจเช็คความพร้อมก่อนนายางเข้าห้องรมควัน  ไม่มีเศษยาง/ไม้ ตกค้างในห้องรมยาง  รูไฟไม่อุดตัน  ปล่องระบายความชื้นต้องปิดอยู่  ปิดฝารูไฟ  เกจวัดอุณหภูมิใช้งานได้ปกติ  การจัดเรียงยางบนเก๊ะ/ราวไม้/ขอบยางไม่ซ้อนทับกัน น้ายางสด วันที่ น้าหนักยางแห้งรวม kg. บ่อ 1 kg %DRC = 1 บ่อ 2 kg %DRC = 1 ยางดี 1 ยางคัตติ้ง 1 ยางฟอง 1 อื่นๆ รวม kg พนักงานผลิต ( / / ) พนักงานผลิต ( / / ) พนักงานผลิต ( / / ) 6 6 º C 64 º C 62 º C 60 º C 58 º C 56 º C 54 º C 52 º C 50 º C 48 º C เวลา ใส่ไม้ฟืน เปิดปล่องความชื้น ปิดปล่องควำ มชื้น ผู้ตรวจเช็ค หมายเหตุ 1 ผู้ทวนสอบ ( / / )

15 มกษ. 5706 - 2565 ก. 3.5 การ บรรจุ หีบห่อยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ก. 3.5.1 การบรรจุหีบห่อต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการปนเปื้อนและความเสียหายในระหว่างกระบวนการผลิต ก. 3.5.2 ยางแผ่นรมควันแบบมัดและแบบ อัด แท่ง ให้ใช้วัสดุในการหีบห่อ ตามข้อ 5 ปิดปากถุง ให้สนิท โดยใช้ความร้อนด้วยวิธีที่เหมาะสม เพื่อ ป้องกันการปนเปื้อนและความชื้น การบรรจุ แต่ล ะ หีบ ห่อต้องมี มวล ที่ ไม่ ส่งผลกระทบ ต่อ สวัสดิภาพของแรงงาน 1/ ก. 3.5.3 ยางแผ่นรมควันแบบอัดก้อน ให้ใช้การทาแป้งกาวยาง แทนการบรรจุด้วยถุงพลาสติก เพื่อป้องกัน การติดกันของก้อนยาง รวมทั้งป้องกันการปนเปื้อนและความชื้น ในระหว่างการจัดเก็บและขนย้าย ก. 3.5.4 คาแนะนา ในการบรรจุหีบห่อ ตาม ภาคผนวก ข ก. 4 การจัดเก็บ ก. 4.1 มีสถานที่จัดเก็บแยกเป็นสัดส่วน ก. 4.2 มีวัสดุแผ่นเรียบรองรับก่อนวางยางแผ่นรมควันเกรดพรีเ มียม เช่น แผงเหล็ก ผ้าใบ และวาง ห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 1 . 2 m ระหว่าง รอการส่งมอบ ก. 4.3 การจัดวางซ้อนทับกันของ จานวนชั้นที่วางจะต้องไม่ทาให้ยางที่อยู่ด้านล่างเสียรูปทรง และ ไม่ทาให้ ล้มง่าย เช่น 1/ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2 5 41

มกษ. 5706 - 2565 16 1 ) ยาง แผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบ มัด โดยทั่วไปไม่เกิน 6 ชั้น ตาม ภาพที่ ก. 15 ภาพ ที่ ก. 15 การจัดวางยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบ มัด 2 ) ยาง แผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบ อัด แท่ง โดยทั่วไปไม่เกิน 4 ชั้น ตาม ภาพที่ ก. 16 ภาพ ที่ ก. 16 การจัดวางยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบอัดแท่ง ซ้อนกันไม่เกิน 4 ชั้น 3 ) ยาง แผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบ อัดก้อน จัดวางเป็น รูปทรงสี่เหลี่ยมซ้อน กัน ไม่เกิน 4 ชั้น ตาม ภาพที่ ก. 17 หรือจัดวาง เป็น รูปทรงพีระมิด ซ้อน ไม่เกิน 5 ชั้น ตาม ภาพที่ ก. 18 หรือวาง บนชั้นแผงเหล็ก ตาม ภาพที่ ก. 19

17 มกษ. 5706 - 2565 ภาพ ที่ ก. 1 7 การจัดวาง ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบ อัดก้อนรูปทรงสี่เหลี่ยม ภาพ ที่ ก. 1 8 การจัดวาง ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบ อัดก้อนรูปทรง พี ระมิด

มกษ. 5706 - 2565 18 ภาพ ที่ ก. 1 9 การจัดวาง ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม แบบอัดก้อน บนชั้นแผงเหล็ก ก. 5 การบารุงรักษา การ ทาความสะอาด และ การควบคุมสัตว์ในสถานประกอบการ ก . 5 . 1 มีเอกสารแผนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้งาน การตรวจ สอบ และการซ่อมบารุงเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิต ก. 5 . 2 ดูแลรักษาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การผลิต ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ ก . 5 . 3 ทาความสะอาดสถานประกอบการ รวมถึงเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การผลิต โดยทา ความสะอาดก่อนและหลังการปฏิบัติงาน ก. 5.4 มี วิธีการป้องกันและ ควบคุมสัตว์เลี้ยงและสัตว์อื่นไม่ให้เข้ามาในบริเวณผลิต บริเวณการจัดเก็บ ก. 5.5 เฝ้าระวัง ตรวจหาร่องรอยการปนเปื้อนจากสัตว์อย่างสม่าเสมอ ก. 5 . 6 การจัดการเศษยาง ที่เหลือจากการคัดชั้นคุณภาพจะต้องจัดเก็บในบริเวณที่กาหนด ก. 5.7 จัดให้มีภาชนะรองรับขยะที่มีฝาปิดในจานวนที่เพียงพอ และมีวิธีการกาจัดขยะที่เหมาะสม

19 มกษ. 5706 - 2565 ก. 6 บุคลากร ก. 6 . 1 พนักงานที่อยู่ในสายการผลิตต้องได้รับการฝึกอบรม หรือสอนงาน เพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้องตามลาดับขั้นตอน รวมถึงเรื่องสุขลักษณะทั่วไปตามความเหมาะสมพร้อมทั้ ง อบรม เพื่อฟื ้ นฟูความรู้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ก. 6.2 ขณะปฏิบัติงานพนักงานที่อยู่ในสายการผลิต ต้องสวมเสื้อผ้าที่ไม่มีกระเป๋า ไม่สวมนาฬิกา เครื่องประดับ และไม่มีอุปกรณ์ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงา น ก. 6.3 ขณะปฏิบัติงาน พนักงาน ที่อยู่ในสายการผลิต ห้ามดื่มสุราหรือของมึนเมา ห้าม สูบบุหรี่ และ รั บประทานอาหาร ก. 6.4 พนักงานต้องรับประทานอาหารในบริ เวณที่จัดให้ โดยต้องแยกออกจากส่วนของการผลิต ก. 7 การบันทึก ข้อมูล ก . 7.1 มีบันทึกข้อมูล เพื่อให้สามารถตรวจประเมินและตามสอบสินค้า ดังนี้ 1 ) ผล การ สอบเทียบหรือทวนสอบ เครื่องชั่ง เครื่องมือและ อุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการ 2 ) ปริมาณน้ายางสด หรือปริมาณ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมี ยม แหล่งที่มา วันที่รับเข้า ชื่อผู้ส่งมอบ และเลขทะเบียนรถขน ส่ง 3 ) ผลการทดสอบ ปริมาณเนื้อยางแห้ง 4 ) การผลิตยางแผ่นดิบ การรมควัน การคัดคุณภาพและ ตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมีและ ทางฟิสิกส์ การ บรรจุ หีบห่อยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม และการจัดการ เก็บ 5 ) การปฏิบัติตาม แผนการปฏิบัติงาน ทาความสะอาด การใช้งาน การตรวจเช็คและการซ่อม บารุง เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การผลิต 6 ) มี วิธีการป้องกันและควบคุมสัตว์เลี้ยงและสัตว์อื่นไม่ให้เข้ามาในบริเวณผลิตบริเวณการจัดเก็บ 7 ) ประวัติการฝึกอบรมหรือ อบรมเพื่อฟื ้ นฟูความรู้ ของบุคลากร ก. 7.2 เก็บข้อมูลไว้อย่างน้อย 2 ปี เพื่อใช้ในการ ตาม สอบ สินค้า

มกษ. 5706 - 2565 20 ภาคผนวก ข ( ให้ไว้ เป็นข้อมูล) คำแนะนาในการบรรจุหีบห่อ ข. 1 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบ ห่อ ให้ปฏิบัติดังนี้ 1 ) ชั่งยาง แผ่นรมควัน โดยชั่งน้าหนักตามข้อตกลงกับ คู่ ค้ำ เช่น 20 kg 25 kg 30 kg 33.33 kg 2 ) วางยางแผ่น รมควัน สองแผ่นตามความยาวให้ปลายทั้งสองข้างซ้อนทับกันประมาณ 30 cm ถึง 40 c m และวางยางแผ่น รมควัน อีกสองแผ่นในแนวขวาง ให้ปลายทั้งสองข้างซ้อนทับกัน ประมาณ 30 cm ถึง 40 cm เช่นกัน ตาม ภาพ ที่ ข. 1 และ ภาพที่ ข. 2 ภาพ ที่ ข.1 วางยางแผ่น รมควัน สองแผ่นตามยาว ภาพ ที่ ข.2 วางยางแผ่น รมควัน อีกสองแผ่น ตาม ขวาง 3 ) พับครึ่งยางแผ่น รมควัน แต่ละแผ่น เรียงซ้อนทับกัน วางตรงกลาง สลับไปมาจนน้าหนัก ครบตามกาหนด เพื่อให้เกิดความสมดุลของรูปทรงในระหว่างการเก็บรักษาและการขนย้าย ตาม ภาพ ที่ ข . 3

21 มกษ. 5706 - 2565 ภาพ ที่ ข. 3 พับครึ่งยางแผ่นรมควันแต่ละแผ่น เรียงซ้อนทับกัน วางตรงกลาง สลับไปมา 4 ) พับ ปลายยางแผ่น รมควัน ที่รอง ทั้งสี่ด้าน เข้าหา กัน แล้ว ใช้เหล็กสัก สักให้แน่นหรือใช้มือกด ให้ยางแผ่นติดกัน โดยไม่ทาให้แผ่นยางรมควันขาด เพื่อให้มัดยางแน่นและป้องกันความชื้น ตาม ภาพ ที่ ข. 4 ภาพ ที่ ข.4 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบ มัด 5 ) นา ไปบรรจุ ถุงพลาสติก ตาม ข้อ 6 การบรรจุหีบห่อ ที่มีเครื่องหมายยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ปิดปากถุง ให้สนิท โดยใช้ความร้อนด้วยวิธีที่เหมาะสม เพื่อ ป้องกันสิ่งปนเปื้อนและความชื้น ตาม ภาพ ที่ ข. 5 ภาพ ที่ ข.5 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบมัด บรรจุในถุงพลาสติก

มกษ. 5706 - 2565 22 ข. 2 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบอัดแท่ง ให้ปฏิบัติดังนี้ 1) เตรียม ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียม ก่อนลงเบ้าอัด โดยชั่งน้าหนักตามข้อตกลงกับ คู่ ค้ำ เช่น 33 .33 kg 35 kg 50 kg 2 ) ทาความสะอาดเบ้าอัดไม่ให้มีสิ่งสกปรกหรือวัสดุอื่นใดตกค้างอยู่ในเบ้าอัด เพื่อให้ อยู่ ในสภาพพร้อมใช้งาน 3 ) พับ ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียม ครั้งละ 2 แผ่น ถึง 3 แผ่น ให้เท่ากับความยาวของ เบ้าอัด และวางในเบ้าอัด สลับหัวท้าย จนยางที่ชั่งน้าหนักไว้แล้วหมด 4) กรณีที่อัดแท่งในเบ้าอัดมากกว่า 1 แท่ง ต้องมี แผ่นเหล็ก ขนาด ความกว้างและ ความ ยาว น้อยกว่าเบ้าอัด ข้างละ 0.25 cm ควา มหนาประมาณ 6 mm รองระหว่างชั้นก่อนที่จะ วาง แผ่นยางชั้นต่อไป 5 ) เข็นหรือเลื่อนเบ้าอัดที่ จั ด วางแผ่น ยางไว้แล้ว วางตรงตาแหน่งเครื่องอัด ล็อคให้แน่น 6 ) อัดแท่งยาง โดยเครื่องอัดแท่งที่มี แท่นอัดไฮดรอลิก ใช้แรงอัดขนาด 2 000 N/m 2 ถึง 3 000 N/m 2 นาน 3 min ถึง 5 min ตาม ภาพที่ ข. 6 ภาพ ที่ ข.6 การอัดแท่ง

23 มกษ. 5706 - 2565 8 ) นำยางออกจากเบ้าอัด และ บรรจุใน ถุงพลาสติก ตามข้อ 6 การบรรจุหีบห่อ ที่มีเครื่องหมาย ยางแผ่น ร มควันเกรดพรีเมียมปิดปากถุง ให้สนิท โดยใช้ ความร้อนด้วยวิธีที่เหมาะสม เพื่อป้องกันความชื้น ตาม ภาพที่ ข. 7 ภาพที่ ข. 7 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบอัดแท่ง บรรจุในถุงพลาสติก ข. 3 ยางแผ่นรมควัน เกรดพรีเมียมแบบอัดก้อน ให้ปฏิบัติดังนี้ 1 ) ทาความสะอาดเบ้าอัดไม่ให้มีสิ่งสกปรกหรือวัสดุอื่นใดตกค้างอยู่ในเบ้าอัด เพื่อให้ อยู่ในสภาพ พร้อมใช้งาน 2 ) ชั่งยาง แผ่นรมควันเกรดพรีเมียม มวล 110.5 kg หลังจากชั่งน้าหนักแล้ว ให้เลือกยางแผ่นรมควัน ที่ ไม่มีรอยตัด 8 แผ่น วางบนวัสดุรองรับที่สะอาด เพื่อใช้ สาหรับ เป็นแผ่น ห่อก้อนยาง 3 ) นา ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ส่วนที่เหลือทั้งหมด ครั้งละ 2 แผ่น ถึง 3 แผ่น พับให้เท่ากับ ความยาวของเบ้า อัดวางสลับหัวท้าย จนหมด ตาม ภาพที่ ข. 8 ภาพที่ ข.8 นา ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม พับลงเบ้าอัด

มกษ. 5706 - 2565 24 4 ) เข็นหรือเลื่อนเบ้าอัดที่จัดยางไว้แล้ว วางตรงตาแหน่งเครื่องอัด ล็อคให้แน่น 5 ) อัดก้อนยาง โดยเครื่องอัดก้อนที่มี แท่นอัดไฮดรอลิก ใช้แรงอัดขนาด 2 000 N/m 2 ถึง 3 000 N/m 2 นาน 3 min ถึง 5 min ตาม ภาพที่ ข. 9 ภาพที่ ข.9 การอัดก้อนยาง 6 ) นายางออกจากเบ้าอัด วาง บนบริเวณที่จัดไว้สาหรับ ห่อก้อนยาง 7 ) นำยางแผ่นทั้ง 8 แผ่น แบ่งสาหรับห่อ ปิด มุม ของก้อนยาง 4 แผ่น และห่อด้าน ข้างของ ก้อนยาง อีก 4 แผ่น ตาม ภาพที่ ข. 10 ภาพที่ ข. 10 การห่อก้อนยาง 8) ให้ตรวจสอบมวลทุกก้อนให้มีมวล 110.5 kg ตาม ภาพที่ ข. 11 หากมีมวลไม่เป็นไปตาม ที่กาหนดให้ดาเนินการดังนี้ ก) มวล ยางอัดก้อนเกินกว่า 110.5 kg ให้แกะแผ่นห่อด้านใดด้านหนึ่งออกแล้วดึงยางแผ่น ที่ อ ยู่ด้านในตัดออกให้เท่ากับ มวล ส่วนที่เกิน แล้วปิดแผ่นห่อกลับที่เดิม สักให้แน่น ทวนสอ บ มวล อีกครั้ง ข) มวล ยางอัดก้อนน้อยกว่า 110.5 kg ให้แกะยางแผ่นห่อด้านใดด้านหนึ่งออก เติมยางแผ่น ที่มี มวล เท่ากับส่วนที่ขาดไป แล้วปิดแผ่นห่อกลับที่เดิม สักให้แน่น ทวนสอบ มวล อีกครั้ง

25 มกษ. 5706 - 2565 ภาพที่ ข. 11 การตรวจสอบน้าหนักยางทุกก้อนให้มีน้าหนัก 110. 5 kg 9 ) การเตรียมแป้งกาวยาง สามารถปรับสัดส่วนที่เหมาะสมตามปริมาณของยางแผ่นรมควันอัดก้อน ดังนี้ ก) ชั่งเศษยางที่สะอาด มวล ประมาณ 8 kg ถึง 10 kg ข) นาเศษยางมาตัดเป็นชิ้นเล็กๆ แช่ในตัวทาละลาย เช่น น้ามันดีเซล น้ามันสน 100 kg นานอย่าง น้อ ย 48 h ระหว่างการแช่เศษยางให้คนตัวทาละลายเป็นระยะๆ เพื่อให้ ยางละลายเป็นเนื้อเดียวกันได้เร็วขึ้น ค ) แบ่ง สารละลายกาวยาง 8 kg ถึง 10 kg เติมตัวทำละลาย 35 kg และแป้ง 50 kg เช่น แค ลเซียมคาร์บอเนต ( Calcium carbonate ) หรือ แมกนีเซียมซีลิเกต ( Magnesium Silicate ) หรือ อะลูมิเนียมซีลิเกต ( Aluminosilicate ) ใส่ ในเครื่องกวนแป้ง กวน นาน 1 h 10) ใช้ภาชนะตัก แป้งกาวยาง 500 ml เทลงด้านบนของก้อนยาง ตาม ภาพที่ ข. 12 ภาพที่ ข. 12 ตัก แป ้ งกาวยาง 500 ml เทลงด้านบนของก้อนยาง

มกษ. 5706 - 2565 26 11 ) ใช้แปรงปาดแป้งกาวยาง เกลี่ยให้เสมอทั้ง 5 ด้าน รอจนแห้งแล้วพลิกด้านล่างขึ้นด้านบน ตาม ภาพที่ ข. 13 ภาพที่ ข.13 การทาแป ้ งกาวยาง 1 2 ) ใช้ภาชนะตัก แป้งกาวยาง 100 ml เทลงด้านที่เหลือ ปาดแป้งกาวยางเกลี่ยให้เสมอ รอจนแห้ง 1 3 ) สุ่มชั่งมวลก้อนยาง 10 % ของ จานวนก้อนยาง ทั้งหมด ที่ผลิตพร้อมกัน เพื่อเป็นการทวนสอบ มวล ให้เป็นไปตามที่กาหนด 111.11 ± 0.05 kg 1 4 ) ทาเครื่องหมาย ยางแผ่นรมควันเกรดพรี เ มียมและเครื่องหมาย ตามข้อตกลงของคู่ค้า

27 มกษ. 5706 - 2565 ภาคผนวก ค ( เป็นส่วนหนึ่งของ ข้อกำหนด ) วิธี ชักตัวอย่าง ค . 1 วิธี ชักตัวอย่าง แบบสุ่ม ให้ชักตัวอย่างยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบสุ่ม จำนวน 6 แผ่น ต่อการผลิตทุก 2 t ก่อนการ ห่อ อัดแท่ง หรืออัดก้อน โดยสุ่มจากลาดับของหีบห่อดัง ตารางที่ ข. 1 ตารางที่ ข.1 วิธีการสุ่ม ตัวอย่างยางแผ่น รมควันเกรดพรีเมียม (ข้อ ค . 1 ) มวลของยางต่อห่อ/แท่ง/ก้อน ( kg ) ตัวอย่างแผ่นยาง แผ่นที่ 1 แผ่นที่ 2 แผ่นที่ 3 แผ่นที่ 4 แผ่นที่ 5 แผ่นที่ 6 ลำดับ ที่ ให้ เก็บจาก ห่อ / แท่ง/ก้อน 20 15 30 45 60 75 90 25 12 24 36 48 60 72 30 5 15 25 35 45 55 33.33 5 15 25 35 45 55 35 5 15 25 35 45 55 50 5 10 15 20 25 30 110.5 3 6 9 12 15 18 หมายเหตุ 1. มวลของยาง 20 kg 25 kg 30 kg และ 33.33 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบห่อ 2. มวลของยาง 33.33 kg 35 kg และ 50 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดแท่ง 3. มวลของยาง 110.5 kg เป็นยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียมแบบอัดก้อน

มกษ. 5706 - 2565 28 ค . 2 การเตรียมตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ ค . 2.1 นายางแผ่นรมควันที่ ได้จากการ ชักตัวอย่างมาตัด บริเวณขอบด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อเป็นชิ้น ตัวอย่าง ทดสอบ โดยต้องมี มวล ไม่น้อย กว่า 600 g ค . 2.2 นำชิ้นตัวอย่าง ทดสอบ บรรจุใส่ถุงพลาสติก 1 ตัวอย่างต่อ 1 ถุง และปิดปากถุงให้สนิท แล้ว ส่งห้องปฏิบัติการที่ได้การรับรอง ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 โดยต้องระบุ รายละเอียด ของตัวอย่าง ดังนี้ 1 ) ระบุข้อความ “ ยางแผ่นรมควันเกรดพรีเมียม ” 2) หมายเลขตัวอย่าง 3) หมายเลขมัด / แท่ง / ก้อนที่ตัดเก็บตัวอย่าง 4) หมายเลข รุ่น ที่ผลิตยาง 5) วันที่เก็บตัวอย่าง 6) วันที่ผลิต 7) ชื่อผู้ผลิต

29 มกษ. 5706 - 2565 ภาคผนวก ง ( ให้ไว้ เป็นข้อมูล) หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI (International System of Units หรือ Le Syst è me International d’ Unit é s ) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย มวล ( mass) กรัม ( gram ) g กิโลกรัม (kilogram) kg ตัน ( ton ) t ความยาว ( length ) มิลลิเมตร ( millimetre ) mm เซนติเมตร ( centimetre ) cm เมตร ( metre ) m ความ ดัน ( pressure ) นิวตัน ต่อ ตาราง เมตร ( n ewton per square meter ) N/m 2 เวลา (time) ชั่วโมง ( hour ) h นาที (minute) min อุณหภูมิ (temperature) องศาเซลเซียส (degree Celsius) ◦ C ความหนืดมูนี (Mo o ne y viscosity) มูนี ( mooney unit ) MU