Sun Dec 25 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม


ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคมให้สอดคล้องกับ เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในสภาวการณ์ปัจจุบันและเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับบริการ โทรคมนาคมที่มีคุณภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 27 (6) (10) และ (24) แห่งพระราชบัญญัติ องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม ลงวันที่ 12 กันยายน 2562 ข้อ 3 บรรดาประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งอื่นใด ในส่วนที่ได้กาหนดไว้แล้ว ในประกาศนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศนี้แทน ข้อ 4 ในประกาศนี้ “ คุณภาพการให้บริการ ” หมายความว่า สมรรถนะโดยรวมของการให้บริการ ซึ่งเป็น ตัวกำหนดระดับของความพึงพอใจของผู้ใช้บริการตามข้อเสนอแนะของสหภาพโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ ITU - T E . 800 ( Totality of characteristics of a telecommunications service that bear on its ability to satisfy stated and implied needs of the user of the service as defined in Recommendation ITU - T E . 800 ) “ โครงข่ายโทรคมนาคมประจำที่ ” หมายความว่า โครงข่ายการให้บริการโทรคมนาคม ที่มีลักษณะการให้บริการแบบประจำที่ ผ่านโครงข่ายสายทองแดง ( Copper Wire Network ) หรือโครงข่ายใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic Network ) หรือโครงข่ายร่วมทั้งสองประเภท “ โครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ ” หมายความว่า โครงข่ายการให้บริการโทรคมนาคม ที่ให้บริการผ่านคลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคม ในกิจการเคลื่อนที่ทางบก ( Land Mobile Service ) “ บริการโทรคมนาคมประเภทเสียง ” หมายความว่า การให้บริการเสียงในกิจการโทรศัพท์ ประจาที่ โทรศัพท์สาธารณะผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมประจาที่ หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านโครงข่าย โทรคมนาคมเคลื่อนที่ ้ หนา 38 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 302 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 ธันวาคม 2565

“ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ” หมายความว่า การให้บริการการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง ( Broadband Internet ) ผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมประจาที่หรือโครงข่ายโทรคมนาคม เคลื่อนที่บริการ Short Message Service ( SMS ) และ Multimedia Messaging Service ( MMS ) ผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ โดยไม่รวมถึงบริการวงจรเช่า ( Leased Line ) และบริการ โครงข่ายเสมือน ( Virtual Private Network : VPN ) “ บริการโทรคมนาคม ” หมายความว่า การให้บริการโทรคมนาคมประเภทเสียง หรือ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล หรือบริการโทรคมนาคมทั้งสองประเภท โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป “ ผู้รับใบอนุญาต ” หมายความว่า ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่งให้บริการโทรคมนาคม โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้บริการ แก่บุคคลทั่วไป “ ผู้ใช้บริการ ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการโทรคมนาคมปลายทางของผู้รับใบอนุญาต แต่ไม่รวมถึงผู้ใช้บริการที่เป็ นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่งนาบริการโทรคมนาคม ที่ได้รับในฐานะผู้ใช้บริการไปประกอบกิจการอีกทอดหนึ่ง ข้อ 5 การให้บริการโทรคมนาคมจะต้องมีค่าชี้วัดคุณภาพบริการผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ในภาคผนวกท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการและค่าเป้าหมำยที่กำหนดนี้ ให้มีการพิจารณา ทบทวนให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตไม่สามารถให้บริการได้เพราะเหตุสุดวิสัย หรือเพราะมีเหตุ จาเป็นอย่างยิ่งอันมิอาจหลี กเลี่ยงได้ ผู้รับใบอนุญาตมีหน้าที่รายงานให้สานักงาน กสทช. ทราบ โดยให้รายงานเป็นหนังสือพร้อมข้อมูลหรือรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงพยานหลักฐานเพื่อยืนยัน ถึงเหตุแห่งการนั้น ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว และต้องรายงานแนวทาง ในการปรับปรุงแก้ไข ผลการดาเนินการ รวมถึงแผนแนวทางการป้องกันปัญหาดังกล่าวในอนาคต ภายใน 14 วัน นับแต่เหตุการณ์ดังกล่าวกลับเข้าสู่สภาวะปกติ ข้อ 7 ผู้รับใบอนุญาตมีหน้าที่ต้องให้บริการโทรคมนาคมตามมาตรฐานของคุณภาพ การให้บริการโทรคมนาคมที่กำหนดไว้ในภาคผนวกท้ำยประกาศนี้ โดยต้องดาเนินการวัดค่าชี้วัดคุณภาพ บริการตามแนวทางการวัดและการรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการที่สานักงาน กสทช. กาหนด และ ส่งรายงานค่าชี้วัดคุณภาพบริการเป็นรายไตรมาสให้สานักงาน กสทช. ทราบภายใน 30 วัน นับถัดจาก วันสิ้นไตรมาสรวมถึงต้องจัดเก็บ หลักฐานที่มาของข้อมูลดังกล่าวอย่างน้อย 90 วัน นับถัดจากวัน สิ้นไตรมาส โดยให้สานักงาน กสทช. สามารถตรวจสอบได้เมื่อได้รับการร้องขอ และให้ความร่วมมือ กับสานักงาน กสทช. หากได้รับการร้องขอ เพื่อที่จะตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ กระบวนการ ้ หนา 39 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 302 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 ธันวาคม 2565

แนวทาง หรือวิธีการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการเพื่อให้คุณภาพของการบริการเป็นไปตามมาตรฐาน ที่กำหนด ในกรณีที่การให้บริการโทรคมนาคมไม่เป็นไปตามมาตรฐานของคุณภาพการให้บริการ โทรคมนาคมตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวกท้ายประกาศนี้ในระหว่างไตรมาสใดก็ตาม ผู้รับใบอนุญาต มีหน้าที่ส่งราย งานชี้แจงข้อมูลและแสดงสาเหตุต่อกรณีดังกล่าว รวมทั้งแผนแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ในภาคผนวก ท้ายประกาศนี้ ให้สานักงาน กสทช. ทราบภายใน 30 วัน นับถัดจากวันสิ้นไตรมาสนั้น ทั้งนี้ สานักงาน กสทช. อาจกาหนดพื้นที่เฝ้าระวังเพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตดาเนินการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการบางค่าชี้วัด สำหรับบริการโทรคมนาคมเป็นการเฉพาะด้วย ข้อ 8 ผู้รับใบอนุญาตมีหน้าที่ต้องจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับมาตรฐานและคุณภาพ การให้บริการโทรคมนาคมเพื่อให้ผู้ใช้บริ การทราบ โดยเผยแพร่ผลการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการผ่านทาง เว็บไซต์ของผู้รับใบอนุญาตเป็นรายไตรมาสตามรูปแบบที่สานักงาน กสทช. กาหนด ทั้งนี้ สานักงาน กสทช. อาจให้ผู้รับใบอนุญาตเผยแพร่ผลการวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการผ่านช่องทางอื่นทดแทนได้ ข้อ 9 หากผู้รับใบอนุญำตไม่ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับ ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการโทรคมนาคม มาใช้บังคับ ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 25 6 5 ศาสตราจารย์คลินิกสรณ บุญใบชัยพฤกษ์ ประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ้ หนา 40 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 302 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 ธันวาคม 2565

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 1 จาก 1 8 ภาคผนวก 1 . บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมประจำที่ (บริการโทรศัพท์ประจำที่ บริการ โทรศัพท์สาธารณะ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล) 1 . 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงาน เป้าหมาย หมายเหตุ 1 . 1.1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้ บริการ ( Supply time for initial connection ) ระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการต้องรอเป็นจำนวนวันทา การ นับจากเวลาที่สัญญาในการขอเปิดใช้ บริการมีผลบังคับใช้ (นับจากวันที่ผู้รับ ใบอนุญาตแจ้งความพร้อมให้บริการต่อผู้ขอใช้ บริการและนัดหมายติดตั้ง) จนกระทั่งเวลาที่ สามารถเริ่มใช้บริการได้ ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ภายใน 10 วันทำการ (ก) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่ และบริการ โทรคมนาคม ประเภทข้อมูล (ข) ไม่นับรวมช่วงระยะเวลาที่ ผู้ใช้บริการไม่สะดวกให้เข้าไป ติดตั้ง 1.1.2 ร้อยละของการติดตั้งบริการสาเร็จ ภายในวันที่กำหนด ( Percentage of service installation completed on or before the date confirmed ) ( จำนวนของการขอเริ่มเปิดใช้บริการที่ได้รับการ ติดตั้งแล้วเสร็จตามวันที่กำหนด / จำนวนของ การขอเริ่มเปิดใช้บริการทั้งหมด ) x 100 ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ประจำ ที่ และ บริการโทรคมนาคม ประเภทข้อมูล 1.1.3 จำนวนของความผิดปกติที่ถูก รายงาน ต่อจำนวนผู้ใช้บริการ 100 ราย ( Number of fault reports per 100 subscribers ) ( จำนวนของความผิดปกติที่ถูกรายงานทั้งหมด / จำนวนผู้ใช้บริการทั้งหมด ) x 100 ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน 5 ครั้ง ต่อผู้ใช้บริการ 100 ราย (ก) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่ และ บริการโทรคมนาคม ประเภทข้อมูล (ข) ความผิดปกติที่ถูกรายงานโดย ผู้ใช้บริการต้องเป็น Valid fault report เกี่ยวข้องกับการให้บริการ ของโครงข่ายที่อยู่ในความควบคุม และในความรับผิดชอบของผู้รับ ใบอนุญาต (กรณีใช้บริการไม่ได้ เนื่องจากควา มผิดปกติของ อุปกรณ์ปลายทางเองไม่นับเป็น Valid fault reports )

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 2 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงาน เป้าหมาย หมายเหตุ 1.1.4 ระยะเวลาในการซ่อมแซม ( Fault repair time ) ระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการต้องรอเป็นจำนวน ชั่วโมง นับจากเวลาที่แจ้งให้มีการซ่อมแซม จนกระทั่งเวลาที่สามารถเริ่มใช้บริการได้เป็น ปกติอีกครั้ง ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน 24 ชั่วโมง (ก) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่ บริการโทรคมนาคม ประเภทข้อมูล และบริการ โทรศัพท์สาธารณะ (ข) ให้เริ่มนับจากเวลาที่ผู้รับ ใ บ อ นุ ญำ ต ไ ด้ รั บ แ จ้ ง จำ ก ผู้ใช้บริการให้มีการซ่อมแซม จนกระทั่งเวลาที่สามารถเริ่มใช้ บริการได้เป็นปกติอีกครั้ง ทั้งนี้ ไ ม่ นับ ร วม ช่วงร ะ ย ะ เ วลำ ที่ ผู้ใช้บริการไม่สะดวกให้เข้าแก้ไข (ค) ครอบคลุมกรณีการซ่อมแซม แก้ไขอุปกรณ์ปลายทางที่เป็น ทรัพย์สิ นของผู้รับใบอนุญาต แต่ ไม่รวมกรณีที่ผู้ใช้บริการจัดหา อุปกรณ์ปลายทางเอง 1.1.5 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดในการเรียกเก็บ ค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) ( จำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดใน การเรียกเก็บค่าบริการ / จานวนผู้ใช้บริการ ทั้งหมด) x 100 ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน ร้อยละ 0.3 (ก) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่ และ บริการ โทรคมนาคมประเภทข้อมูล (ข) ข้อร้องเรียนต้องเป็น Valid complaint ( นับรวมถึงเรื่อง ร้องเรียนผ่าน call center ด้วย ) (ค) ให้นับรวมข้อร้องเรียนที่ เกิดขึ้นและยังคงเป็นข้อพิพาท ระหว่างผู้รับใบอนุญาตและ ผู้ใช้บริการด้วย

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 3 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงาน เป้าหมาย หมายเหตุ 1.1.6 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้ บริการดูแลลูกค้าจากศูนย์ตอบรับ โทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) ระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการต้องรอ นับจาก เวลา ที่ ผู้ใช้บริการตัดสินใจคุยกับพนักงานรับโทรศัพท์ ( นับจากตอนกดหมายเลขเพื่อเลือกคุยกับ พนักงานรับโทรศัพท์ ) จนกระทั่งสามารถเริ่มต้น การสื่อสารกับพนักงานรับโทรศัพท์ได้ ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน 60 วินาที (ก) ให้สามารถเรียกไปยัง พนักงานรับโทรศัพท์ ( กด หมายเลขเพื่อเลือกคุยกับ พนักงานรับโทรศัพท์ ) ได้ภายใน ชั้นเมนูที่สอง ต่อจากขั้นตอนการ เลือกภาษาซึ่งเป็นชั้นเมนูแรก (ข) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่ บริการโทรคมนาคม ประเภทข้อมูล และบริการ โทรศัพท์สาธารณะ 1.1.7 ความพร้อมในการใช้งานของ เครื่องโทรศัพท์สาธารณะ ( Payphone Service Availability ) เวลาที่เครื่องสามารถให้บริการได้ x 100 / ( เวลาที่เครื่องสามารถให้บริการได้ + เวลาที่เครื่องไม่สามารถให้บริการ ) ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 90 ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล - ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 85 ในเขตต่างจังหวัด -

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 4 จาก 1 8 1.2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ โทรคมนาคม ประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 1.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็น การโทรศัพท์ภายในโครงข่ายของ ผู้ประกอบการเดียวกัน อัตราส่วนจานวนการเรียกที่สาเร็จต่อจำนวน การเรียกทั้งหมด ให้ วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ก) ครอบคลุมบริการโทรศัพท์ ประจำที่และบริการโทรศัพท์ สาธารณะ (ข) จำนวนที่เรียกสำเร็จ ได้แก่ กรณีการเรียกที่ปลายทางรับสาย ไม่รับสาย หรือปลายทางไม่ว่าง 1.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็น การโทร ศัพท์ ข้ามโครงข่ายต่าง ผู้ประกอบการ อัตราส่วนจานวนการเรียกที่สาเร็จต่อจำนวน การเรียกทั้งหมด ให้ วัดเฉลี่ยตลอด 24 ชั่วโมง (ทุกช่วงเวลา) เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 5 จาก 1 8 1.3 ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 1.3.1 ร้อยละของเวลารวมที่ อุปกรณ์ กระจายสัญญาณปลายทาง ไม่ สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือน ( network unavailability : cumulative Last Mile Node outage time in a month ratio ) อัตราส่วนระหว่างผลรวมของระยะเวลาที่ไม่ สามารถให้บริการได้ของทุก อุปกรณ์กระจาย สัญญาณปลายทาง กับผลรวมของ ระยะเวลาที่ ต้องให้บริการทั้งหมดของทุกอุปกรณ์กระจาย สัญญาณปลายทางใน 1 เดือน (ผลรวมของระยะเวลาที่ไม่ สามารถให้บริการได้ ภายใน 1 เดือนของทุก ๆ อุปกรณ์กระจาย สัญญาณปลายทาง (หน่วยเป็น ชม.)) x 100/ (24 x จำนวนวันของเดือน x จำนวน อุปกรณ์ กระจายสัญญาณปลายทาง ของผู้ได้รับ ใบอนุญาตทั้งหมดในโครงข่าย) ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ ละเดือน - ไม่ เกิน ร้อยละ 1 (ก) อุปกรณ์กระจายสัญญาณ ปลายทาง ( Last Mile Node ) สาหรับให้บริการอินเ ท อร์เน็ต ความเร็วสูง ยกตัวอย่าง เช่น อุปกณ์ Optical line terminal ( OLT ) Digital Subscriber Line Access Multiplexer ( DSLAM ) หรือ Cable Modem Termination System ( CMTS ) เป็นต้น (ข) คิดรวมช่วงเวลาที่ไม่สามารถ ให้บริการได้เนื่องจากการซ่อม บำรุงที่อยู่ในแผนของผู้รับ ใบอนุญาต ( Preventive Maintenance ) ด้วย 1.3.2 ค่า Round Trip Time ( RTT ) ค่าประวิงเวลาของแพ็คเก็ตจากฝั่งส่งไปยังฝั่งรับ จนกระทั่งกลับมายังฝั่งส่งอีกครั้งหนึ่ง (เวลาที่แพ็คเก็ตกลับมายังฝั่งส่ง – เวลาที่แพ็ค เก็ต ถูกส่งออกไปจากฝั่งส่ง ) ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ นี้ - ไม่เกิน 50 มิ ลลิวินาที (ให้พิจารณาช่วงเวลา จากเกณฑ์ร้อยละ 95 ของช่วงเวลาที่มีการใช้ งานหนาแน่น) (ก) ใช้เป็นค่าชี้วัดอ้างอิงในการ ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ เป็นรายกรณี หรือกรณีแก้ไข ปัญหาเรื่องร้องเรียน (ข) ไม่ต้องจัดส่งรายงานผลการ วัด (รายไตรมาส) ให้สำนักงาน กสทช.

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 6 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 1.3.3 ความเร็วเฉลี่ยในการส่งข้อมูลแบบ FTP ( Average speed of FTP transfers ) สาหรับการใช้งาน FTP แต่ละครั้ง ความเร็ว เฉลี่ยในการส่งข้อมูลคือ จำนวนบิตข้อมูลที่ถูก ส่ง / (เวลาสิ้นสุดการใช้ FTP – เวลาเริ่มต้น การใช้ FTP ) ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ นี้ - ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 70 ของความเร็วการ ให้บริการที่ผู้รับ ใบอนุญาตได้โฆษณาหรือ แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบ ( ให้พิจารณาช่วงเว ลา จากเกณฑ์ร้อยละ 95 ของช่วงเวลาที่มีการใช้ งานหนาแน่น)

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 7 จาก 1 8 2 . บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคม เคลื่อนที่ 2 . 1 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการทั่วไป ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.1.1 ระยะเวลาสาหรับการขอเริ่มเปิดใช้ บริการ ( Service activation time ) ระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการต้องรอเป็นจำนวน ชั่วโมง นับจากเวลาที่ระบบของผู้รับใบอนุญาต ได้รับข้อมูลคำขอเปิดใช้บริการ จนกระทั่งเวลา ที่ผู้ใช้บริการสามารถเริ่มใช้บริการได้เป็นครั้ง แรก ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - สาหรับระบบ Pre - paid ไม่เกิน 3 ชั่วโมง สาหรับ ร้อยละ 90 ของการขอ เริ่มเปิดใช้บริการ - สาหรับระบบ Post - paid ไม่เกิน 5 ชั่วโมง ทํากําร สําหรับร้อยละ 90 ของกํารขอเริ่มเปิด ใช้บริกําร หากผู้ รับใบอนุญาต แจ้งล่วงหน้า ก่อนทาสัญญาว่าจะเปิดให้บริการ ในจำนวนชั่วโมงที่เกินกว่าประกาศ กำหนด สามารถทำได้โดยให้แจ้ง เป็นลาย ลักษณ์อักษร และแจ้งโดย ทางวาจา แต่หากไม่มีการแจ้งทั้ง 2 ทาง ให้ถือเอาตามค่าเป้าหมาย ในประกาศนี้ ทั้งนี้ การคำนวณค่าชี้วัดคุณภาพ บริการนี้ไม่นับรวมกรณีดังกล่าว ข้างต้น และกรณีที่ผู้ใช้บริการมี ปัญหาติดค้างชาระค่าใช้บริการ และกรณีของผู้ใช้บริการที่ กาลัง ขอรับบริการคงสิทธิเลขหมา ย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.1.2 อัตราข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดในการเรียกเก็บค่าบริการ ( Billing inaccuracy ) ( จำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับข้อผิดพลาดใน การเรียกเก็บค่าบริการ / จานวนผู้ใช้บริการ ทั้งหมด) x 100 ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน ร้อยละ 0.3 (ก) ให้รวมข้อร้องเรียนทั้งระบบ Pre - paid และ Post - paid และ ให้รวมถึงกรณีที่เติมเงินโทรศัพท์ แล้วยอดเงินไม่เข้าด้วย (ข) ข้อร้องเรียนต้องเป็น Valid complaint ( นับรวมถึงเรื่อง ร้องเรียนผ่าน call center ด้วย ) (ค) ให้นับรวมข้อร้องเรียนที่ เกิดขึ้นและยังคงเป็นข้อพิพาท ระหว่างผู้รับใบอนุญาตและ ผู้ใช้บริการด้วย

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 8 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.1.3 ระยะเวลาที่ต้องรอในการขอใช้ บริการดูแลลูกค้าจากศูนย์ตอบรับ โทรศัพท์ ( Response time for accessing customer - service call center ) ระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการต้องรอ นับจาก เวลา ที่ ผู้ใช้บริการตัดสินใจคุยกับพนักงานรับโทรศัพท์ ( นับจากตอนกดหมายเลขเพื่อเลือกคุยกับ พนักงานรับโทรศัพท์ ) จนกระทั่งสามารถเริ่มต้น การสื่อสารกับพนัก งานรับโทรศัพท์ได้ ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน 60 วินาที ให้สามารถเรียกไปยัง พนักงานรับ โทรศัพท์ ( กดหมายเลขเพื่อเลือก คุยกับพนักงานรับโทรศัพท์ ) ได้ ภายในชั้นเมนูที่สอง ต่อจาก ขั้นตอนการเลือกภาษาซึ่งเป็นชั้น เมนูแรก 2.1.4 จำนวนครั้งที่หน่วยรับ - ส่งสัญญาณ วิทยุย่อย ( Cell ) ภายในสถานีฐาน ไม่สามารถให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 4 ชั่วโมง ใน 1 เดือนต่อจำนวน Cell ทั้งหมดในทุกสถานีฐาน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 4 hours in a month ) (จำนวนครั้งที่ Cell ไม่สามารถให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 4 ชั่วโมงใน 1 เดือน) x 100/ จำนวน Cell ของผู้ได้รับใบอนุญาตทั้งหมดใน ทุกสถานีฐาน ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน 10 ครั้ง ต่อ 100 Cell ต่อเดือน สาหรับข้อ 2.1.4 ถึง ข้อ 2.1.6 (ก) วัดรวมทุกเทคโนโลยี และคิด รวมช่วงเวลาที่ Cell ไม่สามารถ ให้บริการได้เนื่องจากการซ่อม บำรุงที่อยู่ในแผนของผู้รับ ใบอนุญาต ( Preventive Maintenance ) เป็น Cell ที่ไม่ สามารถให้บริการได้ด้วย (ข) การแสดงผลการวัดบน เว็บไซต์ของผู้รับใบอนุญาตให้ แสดงผลการวัดโดยระบุเป็น ตัวเลข (อาจมีการระบุเป็นระดับ ด้วยได้) และจะมีการพิจารณา ปรับปรุงค่าเป้าหมายให้ เหมาะสมยิ่งขึ้นในอนาคต (ค) วิธีการนับหน่วยรับ - ส่ง สัญญา ณวิทยุย่อย ( Cell ) ใน สถานีฐานให้เป็นไปตามที่ สานักงาน กสทช. กาหนด 2.1.5 ร้อยละของจำนวนหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายใน สถานีฐานที่ ไม่สามารถให้บริการได้ สะสมเกินกว่า 24 ชั่วโมงภายใน 1 เดือน ( network unavailability : number of cell outages continuously over 24 hours in a month ) Cell ที่ไม่สามารถให้บริการได้สะสมเกิน 24 ชั่วโมงภายใน 1 เดือน โดยจะเริ่มนับชั่วโมง สะสม ในกรณีที่ Cell ไม่สามารถให้บริการได้ ติดต่อกันเกิน 1 ชั่วโมงขึ้นไป (จำนวนของ Cell ที่ไม่สามารถให้บริการได้ สะสมเกินกว่า 24 ชั่วโมงภายใน 1 เดือน) x 100/ จำนวน Cell ของผู้ได้รับใบอนุญาต ทั้งหมดในทุกสถานีฐาน ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน ร้อยละ 3 2.1.6 ร้อยละของเวลารวมที่ทุกหน่วยรับ - ส่ง สัญญาณวิทยุย่อย ( Cell ) ภายใน สถานีฐานไม่สามารถให้บริการได้ใน 1 เดือนของเวลาที่ต้องให้บริการ ทั้งหมด ( network unavailability : cumulative cell outage time in a month ) ผ ลรวมของระยะเวลาที่ไม่สามารถให้บริการได้ ใน 1 เดือนข องทุก Cell (เวลารวมของทุก Cell ที่ไม่สามารถให้บริการ ได้ภายใน 1 เดือน (หน่วยเป็นชม.)) x 100/ (24 x จำนวนวันของเดือน x จำนวน Cell ของผู้ได้รับใบอนุญาตทั้งหมดในทุกสถานีฐาน) ให้วัด เป็นรายเดือน รายงานส่ง สานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส โดยแยกข้อมูลในแต่ละเดือน - ไม่ เกิน ร้อยละ 1

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 9 จาก 1 8 2.2 ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ โทรคมนาคม ประเภทเสียง ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.2.1 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็น การโทรศัพท์ภายในโครงข่ายของ ผู้ประกอบการเดียวกัน อัตราส่วนจานวนการเรียกที่สาเร็จ ต่อจำนวนการเรียกทั้งหมด ให้วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1. ช่วงเวลา 10.00 - 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2. ช่วงเวลา 16.00 - 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 90 ข้อ 2.2.1 และ ข้อ 2.2. 2 จำนวนการ เรียก ที่ สาเร็จ ได้แก่ กรณีการเรียกที่ปลายทางรับสาย ไม่รับสาย หรือปลายทางไม่ว่าง ทั้งนี้ค่าเป้าหมายที่ระบุให้นับ เฉพาะบริการแบบราคาปกติ นั่นคือ ไม่นับรวมบริการเสียง แบบประหยัด เช่น 1234 เป็น ต้น 2.2.2 อัตราส่วนการเรียกสำเร็จ ( Successful call ratio ) กรณีที่เป็น การโทร ศัพท์ ข้ามโครงข่ายต่าง ผู้ประกอบการ อัตราส่วนจานวนการเรียกที่สาเร็จต่อจำนวน การเรียกทั้งหมด ให้วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1 ) ช่วงเวลา 10.00 - 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2 ) ช่วงเวลา 16.00 - 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2.3 อัตราส่วนของกรณีที่สายหลุด ( Drop Call Rate ) อัตราส่วนของจำนวนสายหลุดต่อจำนวนการ เรียกใช้ทั้งหมดภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้ วัดใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 1 ) ช่วงเวลา 10.00 - 13.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน 2 ) ช่วงเวลา 16.00 - 19.00 น. เฉลี่ยทุก 3 เดือน โดยแยกข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่ เกิน ร้อยละ 2 -

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 10 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.2.4 คุณภาพของเสียง ( Mean Opinion Score ( MOS ) ) การวัดคุณภาพของเสียงจากโครงข่ายโทรศัพท์ ให้วัด เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่ น้อย กว่า 2.5 (ร้อยละ 90 ของข้อมูลที่ วัดได้ต้องไม่ต่ากว่าค่านี้) - การวัดให้แบ่งออกตามภูมิภาค ( 4 ภูมิภาค ) และผู้รับใบอนุญาต เลือกจังหวัดในภูมิภาคนั้น ๆ เอง ในการวัด - ให้มีเครื่องที่ส่วนกลาง (ใน กรุงเทพฯ) และทำการวัดโดยการ เรียกเข้าจากภูมิภาคต่าง ๆ เข้าสู่ ส่วนกลาง ไม่น้อยกว่า 50 ครั้ง ต่อเดือนต่อภูมิภาค (ภูมิภาค เรียกเข้าส่วนกลาง) โดยการวัด ทั้งหมดวัดภายในโครงข่าย เดียวกัน ( on - net ) 2.2.5 อัตราส่วนของกรณีที่สายหลุด ( Drop Call Rate ) ในพื้นที่เฝ้าระวัง อัตราส่วนของจำนวนสายหลุดต่อจำนวนการ เรียกใช้ทั้งหมดภายใน 24 ชั่วโมง ในพื้นที่เฝ้า ระวัง ให้วัด เฉลี่ยทุก 3 เดือน รายงานส่งสานักงาน กสทช. ทุกไตรมาส - ไม่ เกิน ร้อยละ 2 ให้วัด คุณภาพการบริการใน พื้นที่ เฝ้าระวังตามที่สานักงาน กสทช. กำหนด

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 11 จาก 1 8 2.3. ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการโทรคมนาคมประเภทข้อมูล ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.1 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ค่า Round Trip Time ( RTT ) ต่ำกว่าค่าที่ กำหนด อัตราส่วน เป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่ทา การวัดค่า RTT ได้ต่ากว่าค่าที่กาหนดและ จำนวนครั้งที่ทำการทดสอบวัดค่า RTT ทั้งหมด โดยกำหนดให้ RTT เป็นระยะเวลาที่ใช้ส่งแพ็ค เก็ตจากฝั่งส่งไปยังฝั่งรับจนกระทั่งกลับมายังฝั่ง ส่งอีกครั้งหนึ่ง และให้คำนวณจากผลต่าง ระหว่างเวลาที่แพ็คเก็ตกลับมายังฝั่งส่ง และ เวลาที่แพ็คเก็ตถูกส่งอ อกไปจากฝั่งส่ง ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการวัด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 80 โดย ก ําหนดให้ RTT ของ แต่ละเทคโนโลยีมีค่ํา ดังนี้ 1 ) 1 , 000 มิ ลลิวินาที สา หรับเทคโนโลยี 2 G 2 ) 5 00 มิลลิวินําที สําหรับเทคโนโลยี 3 G 3) 150 มิลลิวินําที สาหรับ เทคโนโลยี 4 G, 5 G ( Non - standalone Mode ) และ 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ไม่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ 4) 110 มิลลิวินาที สาหรับเทคโนโลยี 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ใช้คลื่น ควํามถี่ย่ําน 2600 เมกะเฮิรตซ์ (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และ ผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ก็ได้

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 12 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.2 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP ได้สาเร็จ ( FTP success ratio ) อัตราส่วนเป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่ รับส่งข้อมูลแบบ FTP ได้สาเร็จและจำนวนครั้ง ที่ทดสอบการรับส่ง FTP ทั้งหมด ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการ วั ด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 80 สาหรับกรณี Download และ ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 70 สาหรับกรณี Upload โดยกำหนดให้ ใช้สาหรับทุกเทคโนโลยี (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด ทั้งนี้ กสทช. อาจ กำหนดความเร็วเฉลี่ยในการส่ง ข้อมูลขั้นต่ำสาหรับใช้ทำสัญญา ร่วมกันระหว่างผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการ ( Fair Usage Policy ) ตามความจำเป็นและ เหมำะสมก็ได้ (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ก็ได้

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 13 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.3 อัตราส่วนจานวนครั้งที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP ได้ไม่ต่ำกว่าอัตราบิตที่ กำหนด ( FTP ratio subjected to specified bitrate ) อัตราส่วนเป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่ รับส่งข้อมูลแบบ FTP ได้ไม่ต่ำกว่ากว่าอัตราบิต ที่กาหนดและจำนวนครั้งที่ทดสอบการรับส่ง FTP สาเร็จทั้งหมด โดยกำหนดให้อัตราบิตเป็น จำนวนบิตที่รับส่งข้อมูลแบบ FTP หารด้วย ผลต่างระหว่างเวลาสิ้นสุดและเริ่มต้นการรับส่ง ข้อมูลแบบ FTP ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการวัด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่ําร้อยละ 75 สําหรับกรณี Download โดยก ําหนดให้อั ตรําบิต ( Bitrate ) ของแต่ละ เทคโนโลยีมีค่ํา ดังนี้ 1) 48 กิโลบิตต่อวินําที สําหรับเ ทคโนโลยี 2 G 2 ) 750 กิโลบิต ต่อ วินาที สาหรับเทคโนโลยี 3 G 3 ) 2 . 5 เมกะ บิตต่อ วินาที สาหรับเทคโนโลยี 4 G และ 5 G ที่ไม่ได้ใช้ คลื่นความถี่ ย่ําน 2600 เมกะเฮิรตซ์ 4) 5 เมกะบิตต่อวินําที สําหรับเท คโนโลยี 5 G ที่ ใช้คลื่น ควํามถี่ย่ําน 2600 เมกะเฮิรตซ์ - ไม่ น้อย กว่ําร้อยละ 75 สําหรับกรณี Upload โดยก ําหนดให้อัตรําบิต ( Bitrate ) ของแต่ละ เทคโนโลยีมีค่ํา ดังนี้ 1) 20 กิโลบิตต่อวินําที สําหรับเทคโนโลยี 2 G (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด ทั้งนี้ กสทช. อาจ กำหนดความเร็วเฉลี่ยในการส่ง ข้อมูลขั้นต่ำสาหรับใช้ทำสัญญา ร่วมกันระหว่างผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการ ( Fair Usage Policy ) ตามความจำเป็นและ เหมำะสมก็ได้ (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 14 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.3 (ต่อ) 2 ) 300 กิโลบิตต่อ วินาที สาหรับเทคโนโลยี 3 G 3 ) 500 กิโลบิตต่อ วินําที สําหรับ เทคโนโลยี 4 G และ 5 G ที่ไม่ได้ใช้คลื่น ความถี่ ย่ําน 2600 เมกะเฮิรตซ์ 4 ) 1 . 25 เมกะบิตต่อ วินําทีสําหรับเทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 15 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.4 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ HTTP โหลด ได้ภายใน เวลาที่กาหนด ( HTTP ratio subjected to specified time duration ) อัตราส่วนเป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่ HTTP โหลดได้ภายใน เวลาที่กาหนดและ จำนวนครั้งที่ทดสอบ HTTP ทั้งหมด ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการ วั ด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่ําร้อยละ 80 โดยมีเวลําที่กําหนด เท่ํากับ 10 นําที สําหรับ เทคโนโลยี 2 G - ไม่ น้อย กว่า ร้อยละ 90 โดยมีเ วลําที่ก ําหนด เท่ํากับ 3 นาที สาหรับ เทคโนโลยี 3G - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 90 โดยมีเวลําที่กําหนด เท่ํากับ 1 นำที สาหรับ เทคโนโลยี 4 G , 5 G ( Non - standalone Mode ) และ 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ไม่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 90 โดยมี เวลําที่กําหนด เท่ํากับ 25 วินำที สาหรับเทคโนโลยี 5 G ( Stand a lone Mode ) ที่ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ สําหรับเทคโนโลยี (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 16 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่สามารถเข้าถึง บริการสตรีมมิ่ง ( Streaming service accessibility ) อัตราส่วนเป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่ เข้าถึงบริการสตรีมมิ่งได้สาเร็จและจำนวนครั้ง ที่ทดสอบบริการสตรีมมิ่งทั้งหมด ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการ วั ด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่า ร้อยละ 8 0 สาหรับเทคโนโลยี 3G - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 85 สาหรับเทคโนโลยี 4 G 5 G ( Non - standalone Mode ) และ 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ไม่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 90 สาหรับเทคโนโลยี 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้ 2.3.6 อัตราส่วนจำนวนครั้งการแสดงวีดิทัศน์ แบบสตรีมมิ่งได้อย่างสมบูรณ์ ( Streaming reproduction success ratio ) อัตราส่วนเป็นร้อยละระหว่างจำนวนครั้งที่การ แสดงวีดิทัศน์แบบสตรีมมิ่งได้อย่างสมบูรณ์และ จำนวนครั้งที่ทดสอบการแสดงวีดิทัศน์แบบ สตรีมมิ่งทั้งหมด ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการ วั ด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่า ร้อยละ 8 0 สาหรับเทคโนโลยี 3G - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 85 สาหรับเทคโนโลยี 4 G 5 G ( Non - standalone Mode ) และ 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ไม่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ - ไม่ น้อย กว่าร้อย ละ 90 สาหรับเทคโนโลยี 5 G ( Standalone Mode ) ที่ ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2600 เมกะเฮิรตซ์ (ก) ค่าเป้าหมายที่กำหนดเป็น การกำหนดสมรรถภาพ/ ความสามารถในการให้บริการ โดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้ เป็นการกำหนดระดับคุณภาพ การให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาต และผู้ใช้บริการทำสัญญาร่วมกัน แต่อย่างใด (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 17 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการส่ง SMS จากฝั่ง ส่งไปยังฝั่งรับ ( SMS end - to - end delivery time ) เวลาที่ใช้ในการส่ง Short Message จากอุปกรณ์ ต้นทางส่งไปยังอุปกรณ์ปลายทางสาเร็จ = จุดของ เวลาที่อุปกรณ์ปลายทางได้รับ Short Message จากอุปกรณ์ต้นทาง – จุดของเวลาที่อุปกรณ์ต้น ทางส่ง Short Message ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ นี้ - ไม่เกิน 90 วินาที สาห รับร้อยละ 80 ของ SMS ที่ฝั่งรับได้รับสาเร็จ ภายใน Timeout ที่ 175 วินาที สาหรับข้อ 2.3.7 ถึงข้อ 2.3.10 (ก) ค่าเป้าหมายที่กาหนดเป็นการ กำหนดสมรรถภาพ/ความสามารถ ในการให้บริการโดยทั่วไปของ โครงข่าย โดยมิได้เป็นการกาหนด ระดับคุณภาพการให้บริการที่ผู้ รับ ใบอนุญาตและผู้ใช้บริการทำ สัญญาร่วมกันแต่อย่างใด (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ ก็ได้ 2.3.8 อัตราส่วนจานวน SMS ที่ไปถึงฝั่งรับ ได้สาเร็จ ( SMS completion success ratio ) จำนวน Short Message ที่อุปกรณ์ปลายทาง ได้รับภายใต้เวลาที่กาหนด / จำนวน Short Message ที่ส่งในการทดสอบทั้งหมด × 100 (%) หมายเหตุ : ในกรณีที่ทาการวัดตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v 2.7.1 สามารถคานวณ ได้จาก ( 1 - SMS completion failure ratio ) × 100 (%) ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการนี้ - ไม่ น้อย กว่าร้ อยละ 90 ของการทดสอบทั้งหมด จะต้องได้รับสาเร็จที่ฝั่งรับ ภายใน Timeout ที่ 175 วินาที 2.3.9 ระยะเวลาที่ใช้ในการส่ง MMS จาก ฝั่งส่งไปยังฝั่งรับ ( MMS end - to - end delivery time ) เวลาที่ใช้ในการส่ง Multimedia Message จาก อุปกรณ์ต้นทางส่งไปยังอุปกรณ์ปลายทางสาเร็จ = จุดของเวลาที่อุปกรณ์ปลายทางได้รับ Multimedia Message จากอุปกรณ์ต้นทาง – จุด ของเวลาที่อุปกรณ์ต้นทางส่ง Multimedia Message หมายเหตุ : อุปกรณ์ปลายทางตั้งโหมดของการ Download Multimedia M essage แ บ บ อัตโนมัติ ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการนี้ - ภาย ใน 5 นาที สำหรับ ร้อยละ 70 ของ MMS ที่ฝั่งรับได้รับสาเร็จ ภายใน Timeout ที่ 13 นาที 2.3.10 อัตราส่วนจานวน MMS ที่ไปถึงฝั่งรับ ได้สาเร็จ ( MMS completion success ratio ) จำนวน Multimedia Message ที่อุปกรณ์ ปลายทางได้รับภายใต้เวลาที่กาหนด / จำนวน Multimedia Message ที่ส่งในการทดสอบ ทั้งหมด × 100 (%) หมายเหตุ : ในกรณีที่ทาการวัดตามมาตรฐาน ETSI TS 102 250 - 2 v2 .7.1 สามารถคำนวณได้จาก ( 1 - MMS end - to - end failure ratio ) x 100 (%) ไม่ต้องวัดค่าชี้วัดคุณภาพบริการ นี้ ไม่ น้อย กว่าร้อยละ 80 ของการทดสอบทั้งหมด จะต้องได้รับ สาเร็จที่ฝั่ง รับ ภายใน Timeout ที่ 13 นาที

ภาคผนวก ท้ายประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพ การให้ บริการโทรคมนาคม หน้า 18 จาก 1 8 ข้อ ค่าชี้วัดคุณภาพบริการ คำจากัดความ แนวทางการวัด และการรายงานผล เป้าหมาย หมายเหตุ 2.3.1 1 ค่าอัตราบิตเฉลี่ยของการรับส่งข้อมูล แบบ FTP ( Average FTP Bitrate ) ผลรวมของค่าอัตราบิตของการรับส่งข้อมูลแบบ FTP ที่แต่ละตาแหน่งที่ทาการวัด หารด้วย จำนวนตำแหน่งที่ทำการวัดทั้งหมด โดย กำหนดให้อัตราบิตเป็นจานวนบิตที่รับส่งข้อมูล แบบ FTP หารด้วยผลต่างระหว่างเวลาสิ้นสุด และเริ่มต้นการรับส่งข้อมูลแบบ FTP ให้วัด และรายงานผลการวัด ตาม แนวทางการ วั ด ค่าชี้วัดคุณภาพ บริการ ที่สานักงาน กสทช. กำหนด - ไม่ น้อย กว่ํา 20 เมกะบิต ต่อวินําทีส ําหรับกรณี Download และ ไม่ น้อย กว่ ํา 5 เมกะบิตต่อวินําที สําหรับกรณี Upload โดยก ําหนดให้ ใช้เฉพาะ เทคโนโลยี 5 G ที่ใช้คลื่น ความถี่ ย่ําน 2600 เมกะเฮิรตซ์ (ก) ค่าเป้าหมายที่กาหนดเป็นการ กำหนดสมรรถภาพ/ความสามารถใน การให้บริการโดยทั่วไปของโครงข่าย โดยมิได้เป็นการกำหนดระดับ คุณภาพการให้บริการที่ผู้รับ ใบอนุญาตและผู้ใช้บริการทำสัญญา ร่วมกันแต่อย่างใด ทั้งนี้ กสทช. อาจ กำหนดความเร็วเฉลี่ยในการส่ง ข้อมูลขั้นต่ำสาหรับใช้ทำสัญ ญา ร่วมกันระหว่างผู้รับใบอนุญาตและ ผู้ใช้บริการ ( Fair Usage Policy ) ตาม ความจำเป็นและเหมาะสมก็ได้ (ข) อุปกรณ์ปลายทางที่ทาการ ทดสอบจะอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ก็ได้ หมายเหตุ 1 . ค่าชี้วัดคุณภาพบริการข้างต้นไม่รวมในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุจำเป็นอย่างยิ่งอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ 2. ค่าชี้วัดคุณภาพบริการข้างต้นไม่ใช้บังคับกับโครงข่ายการให้บริการตามโครงการหรือแผนงานจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงแล ะบริการเพื่อสังคมของสำนักงาน กสทช. 3. ค่าชี้วัดคุณภาพบริการในข้อ 1 บริการโทรคมนาคม ผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมประจาที่ มีผลใช้บังคับกับผู้ รับใบอนุญาตซึ่ง ให้บริการประเภทขายต่อบริการโทรศัพท์ประจาที่ ผู้รับ ใบอนุญาตประเภทขายต่อบริการโทรศัพท์สาธารณะ และผู้รับใบอนุญาตการให้บริการอินเ ท อร์เน็ตแบบที่ 1 ประเภทไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นของตนเอง ( เช่าใช้ผ่านโครงข่าย โทรคมนาคมของผู้ให้บริการอื่น) ด้วย หากค่าชี้วัดคุณภาพบริการใดไม่สามารถวัดได้ ให้ระบุว่าข้อมูลผลการวัดจะสามารถอ้างอิงได้จากโคร งข่ายของผู้รับใบอนุญาตรายใด 4. ค่าชี้วัดคุณภาพบริการในข้อ 2 บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ มีผลใช้บังคับกับผู้รับใบอนุญาตซึ่งให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบโครงข่ายเสมือน ( MVNO ) ด้วย หากค่าชี้วัดคุณภาพบริการใดไม่สามารถวัดได้ ให้ระบุว่าข้อมูลผลการวัดจะสามารถอ้างอิงได้จากโครงข่ายของผู้รับใบอนุญาตรายใด 5. ค่าชี้วัดคุณภาพบริการในข้อ 2 บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ มีผล ใช้บังคับเฉพาะบริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ โดยไม่ใช้บังคับ กับบริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมไร้สายประเภทอื่นแต่อย่างใด อาทิ เช่น โครงข่าย Trunked Radio หรือ โครงข่าย Broadband Wirel ess Access ในลักษณะ Radio Local Area Network ( RLAN หรือ WiFi ) เป็นต้น 6. ค่าชี้วัดคุณภาพบริการในข้อ 2 บริการโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมเคลื่อนที่ ไม่ใช้บังคับกับพื้นที่ภายในอาคารส่วนบุคคลในลักษณะที่พักอาศัย