Thu Dec 22 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ ส. 6/2565 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุนตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557


ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ ส. 6/2565 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุนตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ ส. 6/2565 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุน ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 อนุสนธิประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557 เรื่อง นโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจึงออกประกาศให้เพิ่มความต่ อไปนี้ในหมวด 1 - 7 ของบัญชีท้ายประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557 โดยกาหนดประเภท เงื่อนไข สิทธิและประโยชน์ ดังนี้ หมวด 1 เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1.27 กิจการปลูกพืชพลังงาน 1 . ต้องมีพื้นที่ติดกันไม่น้อยกว่า 50 ไร่ 2 . ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการการปลูก ที่ เ ห มาะส ม เช่ น Forest Stewardship Council ( FSC ) , Programme for the Endorsement of Forest Certification ( PEFC ) ห รือ มาต รฐำน อื่ น ที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ A 1 1.28 กิจการผลิตแป้งอินทรีย์ ( Organic Starch or Organic Flour ) ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น International Federation of Organic Agriculture Movements ( IFOAM ) , Canada Organic Regime ( COR ) , The National Organic Program ( NOP ) หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิด ดาเนินการ A 2 1.29 กิจการผลิตแป้งดิบ ( Native Starch or Native Flour ) 1. ต้องใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การนาน้ำ กลับมาใช้ใหม่ การควบคุมมลภาวะทางอากาศ เป็นต้น 2. ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ISO 14000 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวัน ครบเปิดดาเนินการ A4 ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1.30 กิจการผลิตอาหารแห่ง อนาคต ( Future Food ) 1.30.1 กิจการผลิต อาหาร ที่มี คากล่าวอ้าง ทางสุขภาพ ( Health Claim ) 1.30.2 กิจการผลิต อาหารใหม่ ( Novel Food ) 1.30.3 กิจการผลิต อาหารอินทรีย์ ( Organic Food ) 1. ไ ม่ให้ส่งเสริมการผลิตนาตาลทราย นาผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นาบริโภค นาโซดาทังที่มีการแต่งกลิ่น รส และไม่แต่งกลิ่นรส นาอัดลม นาดื่มผสมวิตามิน และนาดื่มที่มีส่วนผสมของ สิ่งปรุงแต่งอื่น ๆ 2. ต้องไ ด้รับการประเมินการกล่าวอ้างทางสุขภาพจาก สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยงานอื่น ที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ 1. ไ ม่ให้ส่งเสริมการผลิตนาตาลทราย นาผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ นาบริโภค นาโซดาทังที่มีการแต่งกลิ่น รส และไม่แต่งกลิ่นรส นาอัดลม นาดื่มผส มวิตามิน และ นาดื่มที่มีส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่น ๆ 2. ต้องไ ด้รับการขึนทะเบียนอาหารใหม่จากสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาหรือหน่วยงานอื่นที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ 1. ไ ม่ให้ส่งเสริมการผลิตนาตาลทราย นาผลไม้เจือจาง เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่อ งดื่มให้พลังงาน เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ นาบริโภค นาโซดาทังที่มีการแต่งกลิ่น รส และไม่แต่งกลิ่นรส นาอัดลม นาดื่มผสมวิตามิน และนาดื่ม ที่มีส่วนผสมของสิ่งปรุงแต่งอื่น ๆ 2. ต้องไ ด้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น International Federation of Organic Agriculture Movements ( IFOAM ) , Canada Organic Regime ( COR ) , The National Organic Program ( NOP ) หรือมาตรฐานอื่น ที่เทียบเท่า เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ A2 A2 A2 ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 1.31 กิจการผลิตอาหาร ประกอบการรักษา โรคสาหรับสัตว์เลียง 1. ต้องไ ด้รับการขึ นทะเบียนอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ ประเภทอาหารสัตว์เลียงชนิดอาหารประกอบการรักษา โ รคสำหรับสัตว์เลี ยง หรือมาตรฐำนอื่นที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ 2. ต้องได้รับรองมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ของอาหาร เช่น ISO 22000 หรือมาตรฐานที่ Global Food Safety Initiative ( GFSI ) ย อ ม รั บ เ ป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ A2 1.32 กิจการให้บริการระบบ เกษตรสมัยใหม่ ต้องเป็นการให้บริการระบบเกษตรสมัยใหม่ เช่น ระบบ ตรวจจับหรือติดตามสภาพต่าง ๆ ระบบควบคุมการใช้ ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ( น้า ปุ๋ย เวชภัณฑ์ และระบบ โรงเรือนอัจฉริยะ ) เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A4 1.33 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ เคมีชีวภาพ ( Biochemicals ) 1. ต้องใช้วัตถุดิบที่มาจากผลผ ลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ แปรรูป จากการเกษตร วัสดุชีวมวล เศษหรือผลพลอยได้ จากอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 โดยน้าหนัก 2. ไม่ให้การส่งเสริมโครงการที่มีเฉพาะการผสมหรือเจือจาง 3. ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานหรือการทดสอบคุณสมบัติ การย่อยสลายทางชี วภาพได้ ( Ready Biodegradability ) ตามมาตรฐานสากล เช่น OECD Guidelines for the Testing of Chemical, Test No . 301 : Ready Biodegradability เป็นต้น ก่อนวันครบเปิดดาเนินการ A2 หมวด 2 แร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.18 กิจการทาเหมืองแร่ แต่งแร่ ถลุงแร่ ประกอบโลหกรรม แร่ศักยภาพเป้าหมาย ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.18.1 กิจการทา เหมืองแร่ ศักยภาพ เป้าหมาย 1. ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทำเห มือง ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2. ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการนโยบาย บริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรม เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 3. ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่ สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิ ดชอบ ต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดาเนินการ 4 . ต้ อ ง ไ ด้ รับ ห นังสื อรับ รอง Mining 4.0 จาก ก รม อุ ต สำห ก รรมพื้ นฐำนแ ล ะกำ รเห มือ ง แ ร่ ห รือ มาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ หากไม่สามารถ ดาเนินการได้จะถูกเพิกถอนสิทธิและประโยชน์การยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 5. ต้องมีระบบตรวจสอบและรายงานผลกระท บ ด้ำ น สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบ เปิดดาเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ จะถู กเพิกถอน สิทธิและประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 6. กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทำเหมืองแร่ต่อจากการสารวจแร่ ศักยภาพเป้าหมายให้นาค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสารวจแ ร่ ของประทานบัตรที่รับรองโดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐำน และการเหมืองแร่ มาคานวณรวมเป็นวงเงินยกเว้นภำษี เงินได้นิติบุคคลได้ 7 . กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ก็ตาม หำก มาข อ รับ สิ ท ธิ แ ล ะป ระโ ย ช น์ตำมมาต รกำร ปรับปรุงประสิทธิภาพ ต้องปฏิบัติตามเงื่ อนไขข้อ 3 - 5 ภายในวันครบเปิดดาเนินการ A 2 ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.18.2 กิจการแต่งแร่ ต่อเนื่อง จาก การทา เหมือง แร่ ศักยภาพ เป้าหมาย ในโครงการ เดียวกัน 1. ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทาเหมือง ก่ อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2. กรณีแต่งแร่อยู่นอกพื้นที่ประทานบัตร ต้องมีใบอนุญาตแต่งแร่ ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 3. ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โลหะมีค่าสูง ( Precious Metal ) โลหะ แอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่น ๆ ตามที่ คณะกรรมการ นโยบาย บริหารจัดการแร่แห่งชาติกาหนด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรม เพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 4. ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ หรือมาตรฐาน สากลอื่นตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดาเนินการ 5. ต้ อ ง ไ ด้ รับ ห นังสื อรับ รอง Mining 4.0 จาก ก ร ม อุ ต สำ ห ก ร ร ม พื้ น ฐำ น แ ล ะกำ ร เ ห มื อ ง แ ร่ ห รือ มาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ หากไม่สามารถ ดำเนินกำรไ ด้ จะถู กเพิกถ อนสิทธิแล ะประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 6. ต้องมีระบบตรวจส อบและราย งานผล ก ระท บ ด้ำ น สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบ เปิดดาเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ จะถูกเพิกถอน สิทธิและประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 7. กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทาเหมืองแร่ต่อจากการสารวจ แร่ศักยภาพเป้าหมาย ให้นาค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสารวจแร่ ของประทานบัตรที่รับรอง โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ มาคำนวณรวมเป็นวงเงินยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 8. กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือ ไม่ ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อ 4 - 6 ภายในวันครบเปิ ด ดาเนินการ A2 ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.18.3 กิจการถลุงแร่ แ ละ/หรือ ประกอบ โลหกรรม ต่อเนื่องจาก การทาเหมืองแร่ และแต่ง แร่ศักยภาพ เป้าหมายใน โครงการ เดียวกัน 1. ต้องมีประทานบัตรหรือใบอนุญาตรับช่วงการทำเห มือง ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2. กรณีแต่งแร่ และ/หรือประกอบโลหกรรมอยู่นอกพื้ นที่ ป ระทำนบั ต รต้อง มีใบอนุญาต แต่ง แร่ แ ล ะ/หรือ ใบอนุญาตประกอบ โลหกรรม ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 3. ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าห มาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โ ล ห ะมีค่ำสู ง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่น ๆ ตาม ที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกำห นด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 4. ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่ สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิ ดชอบ ต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ กำรเห มือ ง แ ร่ ห รือ มาต รฐำนสำก ล อื่ น ตำ ม ที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใ น 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดาเนินการ 5 . ต้ อ ง ไ ด้ รับ ห นัง สื อรับ รอ ง Mining 4.0 จาก ก รม อุ ต สำห ก รรมพื้ นฐำนแ ล ะกำ รเห มือ ง แ ร่ ห รือ มาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดำเนินการ หากไม่สามารถ ดำเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิและประโยช น์การ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 6 . ต้องมีระบบตรวจส อบและราย งานผล ก ระท บ ด้ำ น สิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบ เปิดดาเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ จะถูกเพิกถอน สิทธิและประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 7 . กรณีนิติบุคคลเดียวกันมีการทาเหมืองแร่ต่อจากการสารวจแร่ ศักยภาพเป้าหมาย ให้นาค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสำรวจแร่ ของประทานบัตรที่รับรอง โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ มาคำนวณรวมเป็นวงเงินยกเว้น ภาษีเงินได้นิติ บุ คคลได้ A2 ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.18.4 กิจการแต่งแร่ ถลุงแร่ หรือ ประกอบ โลหกรรม แร่ ศั กยภาพ เ ป้าหมาย 8 . กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ก็ ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรการ ปรับปรุง ประสิทธิภาพ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อ 4 - 6 ภายใน วันครบเปิดดาเนินการ 1 . ต้องมีใบอนุญาตแต่งแร่ หรือใบอนุญาตประกอบโลหกรรม หรือใบอนุญาตอื่นจา กกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่ก่อนยื่นขอรับการส่งเสริม 2 . ต้องเป็นกิจการเกี่ยวกับแร่ศักยภาพเป้าหมาย เช่น แร่หายาก ( Rare Earth ) โ ล ห ะมีค่ำสู ง ( Precious Metal ) โลหะแอลคาไลน์ ( Alkali Metal ) แร่ควอตซ์ ( Quartz ) แร่โพแทช ( Potash ) เป็นต้น และแร่อื่นๆ ตามที่ คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติกำห นด (ยกเว้นหินอุตสาหกรรมเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง) 3 . ต้องได้รับหนังสือรับรองสถานประกอบการเหมืองแร่สีเขียว ( Green Mining ) หรือมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ( CSR - DPIM ) จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานแ ละการเหมืองแร่ หรือมาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดดาเนินการ 4 . ต้ อ ง ไ ด้ รับ ห นัง สื อรับ รอ ง Mining 4.0 จาก ก รม อุ ต สำห ก รรมพื้ นฐำนแ ล ะกำ รเห มือ ง แ ร่ ห รือ มาตรฐานสากลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิด ดำเนินการ หากไม่สามารถ ดำเนินกำรไ ด้ จะถู กเพิกถ อนสิทธิแล ะประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 5. กิจการที่ดาเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ ก็ตาม หากมาขอรับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ 3 - 4 ภายในวันครบเปิดดาเนินการ A3 ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 2.19 กิจการผลิตปูนซีเมนต์ 1 . ต้องมีกรรมวิธีการผลิตที่เป็นเทคโนโลยีสะอาดและเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ เช่น 1 . 1 มีการใช้เทคโนโลยีดักจับและกักเก็บคาร์บอน ( Carbon Capture and Storage : CCS ) และ/ หรือใช้เทคโนโลยีดักจับและใช้ประโยชน์คาร์บอน ( Carbon Capture and Ut ilization : CCU ) 1 . 2 มีการใช้พลังงานทดแทนใน กระบวน กำรผ ลิ ต (ยกเว้นพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์) 2 . กรณีโครงการที่ดำเนินการอยู่เดิมสามารถยื่นขอรับสิทธิ และประโยชน์ตามมาตรการ ปรับปรุงประสิท ธิ ภำพ ด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจ ก เท่านั้น B 1 หมวด 3 อุตสาหกรรมเบา ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3.10.3 กิจการผลิตเลนส์ ที่มีขั้นตอนการขึ้นรูป ต่อเนื่องจากการ หลอมแก้วใน โครงการ เ ดียวกัน ต้องเป็นเลนส์ที่ไม่เข้าข่ายเครื่องมือแพทย์ตามกฎหมาย ว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ A 3 3 . 11.4 กิจการผลิต ชิ้นส่วน เครื่องมือแพทย์ ต้องได้การรับรองมาตรฐาน ISO 13485 หรือมาตรฐาน เครื่องมือแพทย์อื่นที่เทียบเท่า ก่อนวันครบเปิดดาเนินกา ร A 4 ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

หมวด 4 ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4.11.7 กิจการผลิต อุปกรณ์ ซ่อม บารุงและงาน บริการภาคพื้น ( Ground Support Equipment ) 1. ไม่ให้การส่งเสริมการผลิตรถบัสบริการเคลื่อนย้ายผู้โดยสาร ( Bus or Passenger Transport Vehicles ) รถเข็ น สัมภาระในสนามบิน ( Airport Trolley ) สายรัด ( Aviation Belt ) และ กระบะรองสัมภาระ ( Air Transport Aviation Freight Pallet ) 2. กรณีมีขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นส่วน และ/หรือ การออกแบบ ทางวิศวกรรมเองในโครงการ 3. กรณีมีขั้นตอนการประกอบตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ A 3 A 4 4.11.8 กิจการผลิตชิ้นส่วน Mechanical Parts และ/หรือ Electronic Parts สาหรับดาวเทียม หรือวัตถุอวกาศ รูปแบบต่าง ๆ A 2 4.11.9 กิจการการออกแบบ และพัฒนาระบบ หรือซอฟต์แวร์ ที่เกี่ยวข้องกับ ดาวเทียมและ สถานีภาคพื้นดิน ต้องเป็นการออกแบบและพัฒนาระบบหรือซอฟต์แวร์ เช่น ระบบหรือซอฟต์แวร์สำหรับแพลตฟอร์มดาวเทียม ระบบ สัมภาระ ( Payload ) ระบบค้นหา ระบบป้องกันขยะ อวกาศ ( Space Debris ) และระบบนาทางในอวกำศ เป็นต้ น A 1 4.11.10 กิจการบริการ นาส่งวัตถุ สู่อวกาศ ( Launching Services ) หรือ กิจการผลิตระบบ ควบคุมภารกิจ นาส่ง A 1 4.11.11 กิจการสนับสนุน เกี่ยวกับอวกาศ ต้ องเป็ นกิ จการสนับสนุ นเกี่ ยวกั บอวกำศ เช่ น ห้องปฏิบัติการเพื่อการทดสอบดาวเทียมและวัตถุอวกาศ และ/หรือ กา ร รับรองมาตรฐานชิ้นส่วน เป็นต้น A 2 ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 4. 29 กิจการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า พลังงานเซลล์เชื้อเพลิง ( Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV ) และ อุปกรณ์สาหรับ ระบบเซลล์ เชื้อเพลิง ( Fuel Cell System ) 4.29.1 กิจการผลิตยานยนต์ ไ ฟฟ้าพลังงานเซลล์ เชื้อเพลิง ( Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV ) 4.29.2 กิจการผลิต อุปกรณ์สาหรับ ระบบเซลล์ เชื้อเพลิง ( Fuel Cell System ) กรณีการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง ( Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV ) ต้องเสนอเป็นแผนงาน รวม ( Package ) ที่ประกอบด้วย โครงการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้ำพลั งงานเซลล์ เชื้ อเพลิ ง ( Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV ) และโครงการผลิตเซล ล์ เชื้อเพลิง ( Fuel Cell ) ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือของผู้ผลิตรายอื่ น แผนการนาเข้าเครื่องจักรและติดตั้ง แผนการผลิต ในปีที่ 1 - 3 แผนการผลิตหรือจัดหาชิ้นส่วนอื่น ๆ แผนการ พัฒนาสถานีเติมก๊ำซไฮโดรเจน ( Hydrogen Fueling Station ) แผนการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว และแผนการ พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ ( Local Supplier ) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในการฝึ กอบรมด้ำนเท คโนโลยี และกำ รใ ห้ ความช่วยเหลือทางเทคนิค A 2 A2 หมวด 5 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 5.4.12.5 กิจการผลิต Printed Circuit Board ชนิด High Density Interconnect ต้องมีการลงทุนเครื่องจักรและกรรมวิธีการผลิตตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ A 2 ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

หมวด 6 เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 6.20 กิจการผลิตไฮโดรเจน 6.20.1 กิจการผลิต ไฮโดรเจน จากน้าโดยใช้ พลังงานหมุนเวียน รวมถึงการผลิต ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง เช่น Green Ammonia เป็นต้น 6.20.2 กิจการผลิต ไฮโดรเจน จาก ไฮโดรคาร์บอน หรือเชื้อเพลิง ฟ อสซิล 1 . ต้องมีกระบวนการแยกน้าด้วยไฟฟ้า ( Electrolysis ) 2 . ไฟฟ้าที่ใช้ต้องมาจากพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ และพลังงานลม เป็นต้น โดยไม่มีการปล่อยก๊าซ คำร์บอนไดออกไซด์ ตลอดห่วงโซ่การผลิต ต้องมีการใช้ เทคโนโลยีดักจับและกักเก็บคาร์บ อ น ( Carbon Capture and Storage : CCS ) และ/หรือใช้ เทคโนโลยีดักจับและใช้ประโยชน์คาร์บอน ( Carbon Capture and Utilization : CCU ) A 1 A 2 หมวด 7 กิจการบริการและสาธารณูปโภค ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 7.1.1.4 กิจการผลิต พลังงานไฟฟ้า หรือพลังงาน ไฟฟ้าและไอน้า จากไฮโดรเจน A 2 7.39 กิจการสถานีบริการ สั บเปลี่ยนแบตเตอรี่ ( Battery Swapping Station ) 1. ต้องเสนอแผนการจัดหาอุปกรณ์และชิ้นส่วน 2. ต้องเสนอแผนพัฒนาระบบอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ ( EV Smart Charging System ) หรือแผนการเชื่อมโยงระบบ อั ด ป ระจุไ ฟฟ้ำเข้ากับแพ ลตฟ อร์มบู รณำการหรือ แพลตฟอร์มส่วนกลางสาหรับบริหารจัดการเครือข่ายระบบ อัดประจุไฟฟ้า A 3 ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565

ประเภทกิจการ เงื่อนไข สิทธิและ ประโยชน์ 3. ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อกาหนดด้านมาตรฐานและ ความป ลอดภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวง พลังงาน การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น 4. ไม่ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ตามมาตรา 28 สาหรับ แบตเตอรี่ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 6 5 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมการลงทุน ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 301 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565