ประกาศเทศบาลตำบลกำแพงดิน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ และวิธีการดำเนินงาน สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตำบลกำแพงดิน
ประกาศเทศบาลตำบลกำแพงดิน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ และวิธีการดำเนินงาน สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตำบลกำแพงดิน
ประกาศเทศบาลตําบลกําแพงดิน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดําเนินงาน สรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญ และวิธีการดําเนินงาน สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตําบลกําแพงดิน ตามที่พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ . ศ . 2540 มาตรา 7 ( 1 ) ( 2 ) และ ( 3 ) กําหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยเกี่ยวกับโครงสร้างและการจัดองค์กร ในการดําเนินงาน สรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินการและสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร หรือคําแนะนําในการติดต่อกับหน่วยงาน เพื่อลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา นั้น ดังนั้น เพื่อการปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ . ศ . 2540 ที่จะให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงสร้างและการจัดองค์กรในการดําเนินงาน สรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินการและสถานที่ติดต่อ เพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร หรือคําแนะนําในการติดต่อกับเทศบาลตําบลกําแพงดิน จึงประกาศให้ทราบ ดังนี้ ก . โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดําเนินงาน และสรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญตามโครงสร้าง ขององค์กรเทศบาลตําบลกําแพงดิน ประกอบด้วย 1 ) สภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน ประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาล ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชน จํานวน 12 คน มีหน้าที่เป็นผู้แทนของปวงชนในเขตเทศบาลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ ตามระเบียบหรือกฎหมายกําหนด โดยมีประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน และรองประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งจาก สมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน ( 1 ) ประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ดําเนินกิจการของสภาเทศบาล ตําบลกําแพงดิน ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาลและมีหน้าที่อื่น ตามที่กฎหมายกําหนด ( 2 ) รองประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่กระทําการแทนประธานสภาเทศบาล ในกรณีที่ประธานสภาเทศบาลไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ้ หนา 97 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
2 ) นายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ ( 1 ) กําหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและรับผิดชอบในการบริหารราชการ ของเทศบาลให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติและนโยบาย ( 2 ) สั่ง อนุญาตและอนุมัติเกี่ยวกับราชการของเทศบาล ( 3 ) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการ นายกเทศมนตรี ( 4 ) วางระเบียบเพื่อให้งานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ( 5 ) รักษาการให้เป็นไปตามเทศบัญญัติ ( 6 ) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายเทศบาลและกฎหมายอื่นบัญญัติไว้ ( 7 ) ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของเทศบาลและเป็นผู้บังคับบัญชา พนักงานเทศบาลและลูกจ้างเทศบาล 3 ) รองนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 2 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้ง โดยนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน ซึ่งมิใช่สมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือ ในการบริหารราชการของเทศบาลตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมาย 4 ) เลขานุการนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้ง โดยนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน และมิใช่สมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ ตามที่นายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดินมอบหมาย 5 ) ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้ง โดยนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน และมิใช่สมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ให้คําปรึกษา แก่นายกเทศมนตรีตามที่นายกเทศมนตรีหารือ 6 ) สํานักงานเทศบาลตําบลกําแพงดิน แบ่งส่วนราชการ ดังนี้ ( 1 ) สํานักปลัดเทศบาล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการกลาง งานสารบรรณ การจัดทํา แผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทําร่างเทศบัญญัติ งานประชุมสภาเทศบาล การจัดทําทะเบียนสมาชิกสภาเทศบาล ้ หนา 98 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
คณะผู้บริหาร งานเลือกตั้ง งานทะเบียนราษฎร การดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม การให้คําปรึกษาหน้าที่และความรับผิดชอบ การปกครองบังคับบัญชาพนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง การบริหารงานบุคคลของเทศบาลทั้งหมด และราชการทั่วไปของเทศบาล และราชการ ที่มิได้กําหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใดในเทศบาลโดยเฉพาะ รวมทั้งกํากับและเร่งรัด การปฏิบัติราชการของส่วนราชการในเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการ ของเทศบาล แบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 1 . 1 ) งานธุรการ ( 1 . 2 ) งานการเจ้าหน้าที่ ( 1 . 3 ) งานทะเบียนราษฎรและบัตรฯ ( 1 . 4 ) งานวิเคราะห์นโยบายและแผน ( 1 . 5 ) งานประชาสัมพันธ์ ( 1 . 6 ) งานนิติการ ( 1 . 7 ) งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ( 1 . 8 ) งานงบประมาณ ( 1 . 9 ) งานเลขานุการและบริหารงานทั่วไป ( 2 ) กองคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานการจ่าย การรับ การนําส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสําคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบําเหน็จ บํานาญ เงินอื่น ๆ งานเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่าง ๆ การจัดทําบัญชีทุกประเภท ทะเบียนคุมเงินรายได้และรายจ่ายต่าง ๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งานทํางบทดลอง ประจําเดือน ประจําปี งานเกี่ยวกับพัสดุของเทศบาล และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 2 . 1 ) งานธุรการ ( 2 . 2 ) งานการเงินและบัญชี ( 2 . 3 ) งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ ้ หนา 99 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
( 2 . 4 ) งานพัสดุและทรัพย์สิน ( 2 . 5 ) งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน ( 3 ) กองช่าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสํารวจ ออกแบบ การจัดทําข้อมูล ทางด้านวิศวกรรมการจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้าง งานควบคุมอาคารตามระเบียบกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการก่อสร้างและซ่อมบํารุง งานด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตามควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกลการควบคุม การบํารุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะงานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุมเก็บรักษา การเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ํามันเชื้อเพลิง และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและที่รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 3 . 1 ) งานธุรการ ( 3 . 2 ) งานวิศวกรรม ( 3 . 3 ) งานสถาปัตยกรรม ( 3 . 4 ) งานสาธารณูปโภค ( 3 . 5 ) งานสถานที่และไฟฟ้าสาธารณะ ( 4 ) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสุขชุมชน ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย งานป้องกันโรคติดต่อ งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และงานอื่น ๆ เกี่ยวกับการให้บริการด้านสาธารณสุข งานสัตวแพทย์ ศูนย์บริหารสาธารณสุข และงานทันตสาธารณสุข และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง แบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 4 . 1 ) งานธุรการ ( 4 . 2 ) งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม ( 4 . 3 ) งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ( 4 . 4 ) งานรักษาความสะอาด ( 5 ) กองการศึกษา มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารศึกษา และพัฒนาการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษา การศึกษานอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาลศึกษา งานห้องสมุด พิพิธภัณฑ์และเครือข่ายทางการศึกษา ้ หนา 100 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
งานกิจการศาสนา ส่งเสริมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม งานกีฬา และนันทนาการ งานกิจกรรมเด็กและเยาวชน และการศึกษานอกโรงเรียน การจัดให้มีและสนับสนุนกิจกรรมศูนย์เยาวชน และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง แบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 5 . 1 ) งานธุรการ ( 5 . 2 ) งานห้องสมุดและสารสนเทศ ( 5 . 3 ) งานส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ( 5 . 4 ) งานพัฒนาการศึกษา ( 5 . 5 ) งานกีฬาและนันทนาการ ( 6 ) กองประปา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมการผลิตและการจําหน่ายน้ําประปา การติดตั้งประปา การจดมาตรวัดน้ํา การควบคุมการดําเนินการเกี่ยวกับการงบประมาณรายได้ รายจ่าย การบัญชี พัสดุ การวางแผนปรับปรุงในข้อบกพร่องต่าง ๆ ของการประปา รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องแบ่งส่วนราชการภายใน ดังนี้ ( 6 . 1 ) งานธุรการ ( 6 . 2 ) งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ ( 6 . 3 ) งานผลิตและบริการน้ําประปา ( 6 . 4 ) งานการเงินและบัญชี ( 7 ) กองสวัสดิการสังคม มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับสงเคราะห์ การดูแลคุณภาพชีวิตประชาชน เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการหรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมสวัสดิการเด็กและเยาวชน การพัฒนาชุมชน การจัดระเบียบชุมชน การจัดให้มี และสนับสนุนกิจกรรม ศูนย์เยาวชน การส่งเสริมงานประเพณี ท้องถิ่นและงานสาธารณ ะ การให้คําปรึกษาแนะนําหรือตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคม การส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ การเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการวิจัย การวางโครงการสํารวจจัดเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติ เพื่อนําไปใช้ประกอบการพิจารณา กําหนดนโยบาย แผนงานและแนวทางการปฏิบัติในการจัดสวัสดิการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ ้ หนา 101 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
( 7 . 1 ) งานสังคมสงเคราะห์ - งานสงเคราะห์ประชาชนผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส - งานสงเคราะห์คนชรา คนพิการหรือทุพพลภาพ และผู้ป่วยเอดส์ - งานสงเคราะห์ครอบครัว - งานประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการสงเคราะห์ - งานสงเคราะห์ผู้ประสบภัยพิบัติ - งานให้คําปรึกษา แนะนําในด้านสังคมสงเคราะห์แก่ผู้มาขอรับบริการ ( 7 . 2 ) งานพัฒนาชุมชน - งานสํารวจและจัดตั้งคณะกรรมการชุมชนเพื่อรับผิดชอบในการปรับปรุง ชุมชนของตนเอง - งานฝึกอบรมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน - งานประสานและร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อนําบริการขั้นพื้นฐาน ไปบริการแก่ชุมชน - งานจัดระเบียบชุมชน - งานจัดเก็บข้อมูล เช่น ข้อมูล จปฐ . - งานจัดทําแผนชุมชน - งานกองทุนสวัสดิการชุมชน - งานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน - งานจัดทําโครงการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน ( 7 . 3 ) งานส่งเสริมอาชีพและพัฒนาสตรี - งานฝึกอบรมกลุ่มอาชีพ - งานสํารวจข้อมูลกลุ่มอาชีพ - งานส่งเสริมการรวมกลุ่มของประชาชน - งานสงเคราะห์ครอบครัวและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการดําเนินชีวิต ในครอบครัว ้ หนา 102 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
- งานส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรสังคมสงเคราะห์ภาคเอกชน - งานส่งเสริมสวัสดิภาพสตรีและสงเคราะห์หญิงบางประเภท - งานวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนงานในการพัฒนากลุ่มอาชีพ - งานให้คําปรึกษา แนะนํา ติดตามและประเมินผลของกลุ่มอาชีพ ( 7 . 4 ) งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน - งานสงเคราะห์เด็กและเยาวชนที่ครอบครัวประสบปัญหาความเดือดร้อน - งานสงเคราะห์เด็กและเยาวชนที่พิการทางร่างกาย สมอง และสติปัญญา - งานส่งเสริมสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน - งานสภาเด็กและเยาวชน - งานประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมสวัสดิภาพ เด็กและเยาวชน - งานให้คําปรึกษา แนะนําแก่เด็กและเยาวชนซึ่งมีปัญหาในด้านต่าง ๆ ( 8 ) หน่วยตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานตรวจสอบบัญชี เอกสารการเบิกจ่าย เอกสารการรับเงินทุกประเภท ตรวจสอบการเก็บรักษาหลักฐานการบัญชี งานตรวจสอบพัสดุ และการเก็บรักษา งานตรวจสอบทรัพย์สินและการทําประโยชน์จากทรัพย์สินเทศบาล และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และที่ได้รับมอบหมาย ข . อํานาจหน้าที่ที่สําคัญของเทศบาลตําบลกําแพงดิน ตามมาตรา 50 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ . ศ . 2496 สรุปได้ ดังนี้ 1 ) รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 2 ) ให้มีและบํารุงรักษาทางบกและทางน้ํา 3 ) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล 4 ) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ 5 ) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง 6 ) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม ้ หนา 103 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
7 ) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 8 ) บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 9 ) หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล อีกทั้ง เทศบาลตําบลกําแพงดิน อาจจัดทํากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ตามมาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ . ศ . 2496 ดังต่อไปนี้ 1 ) ให้มีน้ําสะอาดหรือการประปา 2 ) ให้มีโรงฆ่าสัตว์ 3 ) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 4 ) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน 5 ) บํารุงและส่งเสริมการทํามาหากินของราษฎร 6 ) ให้มีและบํารุงสถานที่ทําการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ 7 ) ให้มีและบํารุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 8 ) ให้มีและบํารุงทางระบายน้ํา 9 ) เทศพาณิชย์ การปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ของเทศบาลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คํานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทํา แผนพัฒนาเทศบาล การจัดทํางบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด นอกจากอํานาจและหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นแล้ว เทศบาลตําบลกําแพงดิน มีอํานาจและหน้าที่ ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ . ศ . 2542 ดังนี้ 1 ) การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 2 ) การจัดให้มีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้ํา และทางระบายน้ํา 3 ) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ ้ หนา 104 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
4 ) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ 5 ) การสาธารณูปการ 6 ) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ 7 ) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน 8 ) การส่งเสริมการท่องเที่ยว 9 ) การจัดการศึกษา 10 ) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 11 ) การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 12 ) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 13 ) การจัดให้มีและบํารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 14 ) การส่งเสริมกีฬา 15 ) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน 16 ) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น 17 ) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 18 ) การกําจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ําเสีย 19 ) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล 20 ) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 21 ) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ 22 ) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ 23 ) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ 24 ) การจัดการ การบํารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 25 ) การผังเมือง 26 ) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร ้ หนา 105 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
27 ) การดูแลรักษาที่สาธารณะ 28 ) การควบคุมอาคาร 29 ) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 30 ) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน 31 ) กิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ค . วิธีการดําเนินงานของเทศบาลตําบลกําแพงดิน การบริหารราชการของเทศบาลตําบลกําแพงดิน จะต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชนในท้องถิ่นเกิดผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามภารกิจอํานาจหน้าที่ของเทศบาลตําบลกําแพงดิน ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบของงานในการปฏิบัติหน้าที่ส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คํานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ ง . สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตําบลกําแพงดิน สามารถติดต่อได้ ณ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลตําบลกําแพงดิน ที่ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 3 ตําบลกําแพงดิน อําเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร รหัสไปรษณีย์ 66220 หมายเลขโทรศัพท์ 0 - 5667 - 3172 โทรสาร 0 - 5667 - 3222 จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ . ศ . 2563 จิรสุดา รัตนพิบูลย์ ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน ้ หนา 106 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 300 ง ราชกิจจานุเบกษา 23 ธันวาคม 2565
โครงสรางและการจัดการองคกรในการดําเนินงานของเทศบาลตําบลกําแพงดิน 1. สภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน ประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาล ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ของประชาชน จํานวน 12 คน มีหน้าที่เป็นผู้แทนของปวงชนในเขตเทศบาลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบ หรือกฎหมายกําหนด โดยมีประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน และรองประธาน สภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งผู้วาราชการจังหวัดแต่งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาล ตามมติของสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน (1) ประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ดําเนินกิจการของสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน ให้เป็นไปตามระเบียบ ขอบังคับการประชุมสภาเทศบาลและมีหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด (2) รองประธานสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่กระทําการแทนประธานสภาเทศบาล ในกรณีที่ประธานสภาเทศบาลไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ 2. นายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ (1) กําหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและรับผิดชอบในการบริหารราชการของเทศบาลให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ เทศบัญญัติและนโยบาย (2) สั่ง อนุญาตและอนุมัติเกี่ยวกับราชการของเทศบาล (3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรี (4) วางระเบียบเพื่อให้งานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบรอย (5) รักษาการให้เป็นไปตามเทศบัญญัติ (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายเทศบาลและกฎหมายอื่นบัญญัติไว (7) ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของเทศบาลและเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเทศบาล และลูกจางเทศบาล 3. รองนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 2 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้งโดยนายกเทศมนตรี ตําบลกําแพงดิน ซึ่งมิใชสมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่เป็นผู้ชวยเหลือในการบริหารราชการ ของเทศบาลตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมาย 4. เลขานุการนายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้งโดยนายกเทศมนตรี ตําบลกําแพงดิน และมิใชสมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ตามที่นายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน มอบหมาย 5. ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตําบลกําแพงดิน จํานวน 1 คน ซึ่งมาจากการแต่งตั้งโดยนายกเทศมนตรี ตําบลกําแพงดิน และมิใชสมาชิกสภาเทศบาลตําบลกําแพงดิน มีหน้าที่ให้คําปรึกษาแกนายกเทศมนตรี ตามที่นายกเทศมนตรีหารือ 6. สํานักงานเทศบาลตําบลกําแพงดิน แบงสวนราชการ ดังนี้ (1) สํานักปลัดเทศบาล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการกลาง งานสารบรรณ การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การจัดทํารางเทศบัญญัติ งานประชุมสภาเทศบาล การจัดทําทะเบียนสมาชิกสภาเทศบาล คณะผู้บริหาร งานเลือกตั้ง งานทะเบียนราษฎร การดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การให้คําปรึกษา หน้าที่และความรับผิดชอบ การปกครองบังคับบัญชาพนักงานเทศบาล และพนักงานจาง การบริหารงานบุคคล ของเทศบาลทั้งหมด และราชการทั่วไปของเทศบาล และราชการที่มิได้กําหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือสวนราชการใด ในเทศบาลโดยเฉพาะ รวมทั้งกํากับและเรงรัดการปฏิบัติราชการของสวนราชการในเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของเทศบาล แบงสวนราชการภายใน ดังนี้
(1.1) งานธุรการ (1.2) งานการเจ้าหน้าที่ (1.3) งานทะเบียนราษฎรและบัตรฯ (1.4) งานวิเคราะหนโยบายและแผน (1.5) งานประชาสัมพันธ (1.6) งานนิติการ (1.7) งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (1.8) งานงบประมาณ (1.9) งานเลขานุการและบริหารงานทั่วไป (2) กองคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานการจาย การรับ การนําสงเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสําคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน คาจาง คาตอบแทน เงินบําเหน็จ บํานาญ เงินอื่น ๆ งานเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินตาง ๆ การจัดทําบัญชีทุกประเภท ทะเบียนคุมเงินรายได้และรายจายตาง ๆ การควบคุมการเบิกจาย งานทํางบทดลอง ประจําเดือน ประจําป งานเกี่ยวกับพัสดุของเทศบาล และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของและที่ได้รับมอบหมาย แบงสวนราชการภายใน ดังนี้ (2.1) งานธุรการ (2.2) งานการเงินและบัญชี (2.3) งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ (2.4) งานพัสดุและทรัพย์สิน (2.5) งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน (3) กองชาง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสํารวจ ออกแบบ การจัดทําขอมูลทางดานวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบ การกอสราง งานควบคุมอาคาร ตามระเบียบกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการกอสรางและซอมบํารุง งานดานวิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตามควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกลการควบคุม การบํารุงรักษาเค รื่องจักรกล และยานพาหนะงานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุมเก็บรักษา การเบิกจายวัสดุ อุปกรณ อะไหล น้ํามันเชื้อเพลิง และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของและที่รับมอบหมาย แบงสวนราชการภายใน ดังนี้ (3.1) งานธุรการ (3.2) งานวิศวกรรม (3.3) งานสถาปตยกรรม (3.4) งานสาธารณูปโภค (3.5) งานสถานที่และไฟฟาสาธารณะ (4) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม มีหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสุขชุมชน สงเสริมสุขภาพและอนามัย งานปองกันโรคติดต่อ งานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม และงานอื่น ๆ เกี่ยวกับการให้บริการดานสาธารณสุข งานสัตวแพทย ศูนยบริหารสาธารณสุข และงานทันตสาธารณสุข และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวของ แบงสวนราชการภายใน ดังนี้ (4.1) งานธุรการ (4.2) งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดลอม (4.3) งานปองกันและควบคุมโรคติดต่อ (4.4) งานรักษาความสะอาด
(5) กองการศึกษา มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารศึกษา และพัฒนาการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษา การศึกษานอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาลศึกษา งานหองสมุด พิพิธภัณฑและเครือขายทางการศึกษา งานกิจการศาสนา สงเสริมประเพ ณี ศิลปวัฒนธรรม งานกีฬา และนันทนาการ งานกิจกรรมเด็กและเยาวชน และการศึกษานอกโรงเรียน การจัดให้มีและสนับสนุนกิจกรรมศูนยเยาวชน และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของตามที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวของ แบงสวนราชการภายใน ดังนี้ ( 5.1) งานธุรการ (5.2) งานหองสมุดและสารสนเทศ (5.3) งานสงเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (5.4) งานพัฒนาการศึกษา (5.5) งานกีฬาและนันทนาการ (6) กองประปา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมการผลิตและการจําหนายน้ําประปา การติดตั้งประปา การจดมาตรวัดน้ํา การควบคุมการดําเนินการเกี่ยวกับการงบประมาณรายได้ รายจาย การบัญชี พัสดุ การวางแผนปรับปรุง ในขอบกพรองตาง ๆ ของการประปา รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวของแบงสวนราชการภายใน ดังนี้ (6.1) งานธุรการ (6.2) งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ (6.3) งานผลิตและบริการน้ําประปา (6.4) งานการเงินและบัญชี (7) กองสวัสดิการสังคม มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานดานสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับสงเคราะห การดูแลคุณภาพชีวิต ประชาชน เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการหรือทุพพลภาพ และผู้ดอยโอกาส การสงเสริมสวั สดิการเด็กและเยาวชน การพัฒนาชุมชน การจัดระเบียบชุมชน การจัดให้มีและสนับสนุนกิจกรรม ศูนยเยาวชน การสงเสริมงานประเพณีทองถิ่น และงานสาธารณะ การให้คําปรึกษาแนะนําหรือตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคม การสงเสริมอาชีพ สรางรายได้ การเสนอแนะเกี่ยวกับการสงเสริมการวิจัยการวางโครงการสํารวจจัดเก็บรวบรวมขอมูล สถิติ เพื่อนําไปใชประกอบการพิจารณา กําหนดนโยบาย แผนงานและแนวทางการปฏิบัติในการจัดสวัสดิการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวของ แบงสวนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ ( 7.1) งานสังคมสงเคราะห ( 7.2) งานพัฒนาชุมชน ( 7.3) งานสงเสริมอาชีพและพัฒนาสตรี ( 7.4) งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน (8) หนวยตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานตรวจสอบบัญชี เอกสารการเบิกจาย เอกสารการรับเงินทุกประเภท ตรวจสอบการเก็บรักษาหลักฐานการบัญชี งานตรวจส อบพัสดุ และการเก็บรักษา งานตรวจสอบทรัพย์สิน และการทําประโยชนจากทรัพย์สินเทศบาล และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และที่ได้รับมอบหมาย
โครงสรางสวนราชการเทศบาลตําบลกําแพงดิน ปลัดเทศบาล (นักบริหารงาน ทองถิ่น ระดับตน) หนวยตรวจสอบภายใน สํานักปลัดเทศบาล (นักบริหารงานทั่วไป ) (ระดับตน) - งานธุรการ - งานการเจ้าหน้าที่ - งานทะเบียนราษฎร และบัตรฯ - งานวิเคราะหนโยบาย และแผน - งานประชาสัมพันธ - งานนิติการ - งานปองกันและ บรรเทาสาธารณภัย - งานงบประมาณ - งานเลขานุการและ บริหารงานทั่วไป 1. ฝ่ายบริหารงานคลัง ระดับตน - งานธุรการ - งานการเงินและบัญชี - งานจัดเก็บและพัฒนา รายได้ - งานพัสดุและทรัพย์สิน - งานแผนที่ภาษีและ ทะเบียนทรัพย์สิน - งานธุรการ - งานวิศวกรรม - งานสถาปตยกรรม - งานสาธารณูปโภค - งานสถานที่และไฟฟา สาธารณะ กองคลัง (นักบริหารงานการคลัง ) (ระดับตน) กองชาง (นักบริหารงานชาง ) (ระดับตน) กองการศึกษาฯ (นักบริหารงานการศึกษา ) (ระดับตน) กองสาธารณสุข (นักบริหารงานสาธารณสุข ) (ระดับตน) กองประปา (นักบริหารงานประปา ) (ระดับตน) - งานธุรการ - งานหองสมุดและสารสนเทศ - งานสงเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - งานพัฒนาการศึกษา - งานกีฬาและนันทนาการ - งานธุรการ - งานสุขาภิบาลและอนามัย สิ่งแวดลอม - งานปองกันและควบคุม โรคติดต่อ - งานรักษาความสะอาด - งานธุรการ - งานจัดเก็บและพัฒนา รายได้ - งานผลิตและบริการ น้ําประปา - งานการเงินและบัญชี กองสวัสดิการสังคม (นักนักบริหารงานสวัสดิการสังคม) (ระดับตน) - งานสังคมสงเคราะห - งานพัฒนาชุมชน - งานสงเสริมอาชีพ และพัฒนาสตรี - งานสวัสดิภาพเด็ก และเยาวชน