Tue Dec 20 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยท่าช้าง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562


ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยท่าช้าง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง วาด้วยการควบคุม การเลี้ยงสุกรในเขตพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ประกอบมาตรา 32 มาตรา 54 และมาตรา 63 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม องคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง โดยความเห็นชอบของ สภาองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชางและนายอําเภอเขายอย จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง เรื่อง การควบคุม การเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ขอ 3 บรรดาขอบัญญัติ ขอบังคับ ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งอื่นใดที่ได้ตราไวแล้ว ซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ ผู้ดําเนินกิจการ ” หมายความวา ผู้เป็นเจ้าของหรือบุคคลที่เรียกชื่ออยางอื่น ซึ่งรับผิดชอบดําเนินการสถานประกอบกิจการนั้น “ คนงาน ” หมายความวา ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการ “ มลพิษทางเสียง ” หมายความวา สภาวะของเสียงอันเกิดจากการประกอบกิจการ ของสถานประกอบกิจการที่ทําให้มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของสาธารณชน “ มลพิษทางอากาศ ” หมายความวา สภาวะของอากาศอันเกิดจากการประกอบกิจการ ของสถานประกอบกิจการที่ทําให้มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของสาธารณชน ้ หนา 199 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

“ มลพิษทางน้ํา ” หมายความวา สภาวะของน้ําอันเกิดจากการประกอบกิจการ ของสถานประกอบกิจการที่ทําให้มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของสาธารณชน “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 “ การเลี้ยงสุกร ” หมายความวา การมีสุกรไวในครอบครองและดูแลเอาใจใสบํารุง รักษาตลอดจนให้อาหารเป็นประจําสม่ําเสมอ เพื่อให้สุกรเจริญเติบโตและมีชีวิตอยู่ได้ “ อาคาร ” หมายความวา บ้าน เรือน โรง ราน ที่ใชเป็นสถานที่ประกอบกิจการเลี้ยงสุกร ตามขอบัญญัตินี้ “ เหตุรําคาญ ” หมายความวา ในกรณีที่มีเหตุอันอาจกอให้เกิดความเดือดรอน แกผู้อยู่อาศัยในบริเวณใกลเคียงหรือผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนั้นดังต่อไปนี้ ให้ถือวาเป็นเหตุรําคาญ (1) แหลงน้ํา ทางระบายน้ํา ที่อาบน้ํา สวมหรือที่ใสมูลหรือเถา หรือสถานที่อื่น ที่อยู่ในทําเลไม่เหมาะสม สกปรก มีการสะสมหรือหมักหมมสิ่งของ มีการเทสิ่งใด ๆ เป็นเหตุให้เกิด ความเสื่อมหรือละอองสารเป็นพิษ หรือเป็นหรือนาจะเป็นที่เพาะพันธุพาหะนําโรค หรือกอให้เกิด ความเสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) การเลี้ยงสัตวในที่หรือโดยวิธีใด หรือมีจํานวนเกินสมควรจนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (3) อาคารอันเป็นที่อยู่อาศัยของคนหรือสัตวโรงงานหรือสถานที่ประกอบการใด ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ํา การกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือการควบคุมสารเป็นพิษหรือมีแต่ไม่มีการควบคุม ให้ปราศจากกลิ่นเหม็นหรือละอองเป็นพิษอยางเพียงพอจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (4) การกระทําใด ๆ อันเป็นเหตุให้เกิดกลิ่น เสียง สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุนละออง เขมา เถา หรือกรณีอื่นใดจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ขอ 5 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชางมีหน้าที่รักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หรือประกาศ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ้ หนา 200 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

หมวด 1 บททั่วไป ขอ 6 ให้กิจการการเลี้ยงสุกรเป็นกิจการที่ต้องมีการควบคุมภายในเขตองคการบริหาร สวนตําบลหวยทาชาง ขอ 7 ผู้ดําเนินกิจการการเลี้ยงสุกรต้องดําเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดตามขอบัญญัตินี้ รวมทั้งกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงออกตามความ ในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 สถานประกอบกิจการที่ตั้งอยู่ในทองที่ที่กฎหมายวาด้วยการผังเมือง หรือกฎหมายวาด้วย การควบคุมอาคารมีผลใชบังคับ สถานประกอบกิจการที่เป็นโ รงงานตามกฎหมายวาด้วยโรงงาน หรือสถานประกอบกิจการที่มีการประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติตามกฎหมายวาด้วยการนั้น และกฎหมายที่เกี่ยวของด้วย แล้วแต่กรณี หมวด 2 การควบคุมการเลี้ยงสุกร ขอ 8 ผู้ใดประสงคจะเลี้ยงสุกรจะต้องปฏิบัติตามมาตรการ ดังต่อไปนี้ (1) สถานที่ตั้งต้องตั้งอยู่หางจากชุมชน ศาสนสถาน โบราณสถาน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาลหรือสถานที่ราชการอื่น ๆ ในระยะที่ไม่สงผลกระทบต่อสุขภาพและไม่กอเหตุเดือดรอน รําคาญต่อชุมชน โดยต้องมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาวขางตน และแหลงน้ําสาธาร ณะในระยะ ดังต่อไปนี้ (1.1) สถานประกอบกิจการเลี้ยงสุกร ไม่เกิน 50 ตัว ควรมีระยะหาง ไม่นอยกวา 500 เมตร (1.2) สถานประกอบกิจการเลี้ยงสุกรตั้งแต่ 51 - 500 ตัว ควรมีระยะหาง ไม่นอยกวา 1 , 000 เมตร (1.3) สถานประกอบกิจการเลี้ยงสุกร เกินกวา 500 ตัว ควรมีระยะหาง ไม่นอยกวา 1 , 500 เมตร ้ หนา 201 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

(2) โรงเรือนเลี้ยงสุกรและสวนประกอบ (2.1) โรงเรือนเลี้ยงสุกรควรตั้งอยู่ในบริเวณที่ไม่มีน้ําทวมขัง (2.2) โรงเรือนเลี้ยงสุกรต้องเป็นอาคารเอกเทศ มั่นคงแข็งแรง มีลักษณะ เหมาะแกการเลี้ยงสุกร ไม่มีการพักอาศัย หรือประกอบกิจการอื่นใด (2.3) พื้นโรงเรือนเลี้ยงสุกรทําด้วยวัสดุแข็งแรง พื้นผิวเรียบ ทําความสะอาดงาย มีความลาดเอียงที่เหมาะสมให้น้ําหรือสิ่งปฏิกูลไหลลงรางระบายน้ําได้สะดวก (2.4) โรงเรือนเลี้ยงสุกรต้องมีที่ขังและที่ปลอยสุกรกวางขวางเพียงพอ คอกสุกร ต้องมีการกั้นเป็นสัดสวน เหมาะสมกับจํานวนสุกรไม่ให้สุกรอยู่อยางแออัด (2.5) หลังคาทําด้วยวัสดุแข็งแรง มีความสูงจากพื้นที่เหมาะสมและมีชองทาง ให้แสงสวางหรือแสงแดดสองเขาภายในอาคารได้อยางทั่วถึง (2.6) ต้องมีหองเก็บรักษาเครื่องมือ เครื่องใ ช หรืออุปกรณในการทํางาน ในที่มิดชิดเป็นระเบียบเรียบรอย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ ไม่เป็นที่เพาะพันธุของสัตวนําโรคตาง ๆ (3) การจัดการของเสีย สารพิษ และมลพิษของสถานประกอบการเลี้ยงสุกร (3.1) ต้องมีระบบบําบัดน้ําเสียที่ได้มาตรฐาน โดยใชวิธีการบําบัด น้ําเสีย ที่เหมาะสม รางระบายน้ํา ไม่อุดตัน (3.2) น้ําเสียที่ผานการบําบัดแล้วต้องมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําทิ้งให้ได้เกณฑ มาตรฐานน้ําทิ้งตามกฎหมายวาด้วยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมกอนปลอยออกสูภายนอก สถานประกอบกิจการ และต้องไม่กอให้เกิดมลพิษทางน้ํา (3.3) ต้องเก็บ กวาด มูลหรือสิ่งปฏิกูลเป็นประจํา และหามทิ้งมูลสุกร หรือมูลฝอย ในที่สาธารณะหรือแหลงน้ําสาธารณะ (3.4) ต้องทําความสะอาดโรงเรือนเลี้ยงสุกร และบริเวณโดยรอบโรงเรือน ให้สะอาดให้มีลักษณะที่ดีอยู่เสมอ (3.5) ต้องจัดให้มีที่เก็บกักมูลหรือสิ่งปฏิกูลโดยเฉพาะไม่ให้สงกลิ่นเหม็น เป็นเหตุเดือดรอนรําคาญ และต้องไม่เป็นแหลงเพาะพันธุแมลงหรือสัตวนําโรค (3.6) หามทิ้งมูลหรือสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในที่ดินสาธารณะหรือทางน้ําสาธารณะ หรือในที่อื่นใดนอกจากที่รองรับมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะที่ได้จัดไว (3.7) การเลี้ยงต้องไม่กอให้เกิดมลพิษและเหตุรําคาญ ้ หนา 202 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

(4) การจัดการแหลงแพรเชื้อโรคหรือสัตวพาหะนําโรค (4.1) น้ําเสียต้องได้รับการบําบัดกอนระบายลงสูทางระบายน้ํา แหลงน้ําสาธารณะ หรือในที่เอกชน น้ําเสียที่ผานการบําบัดแล้วต้องมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําให้ได้เกณฑมาตรฐานควบคุม การระบายน้ํา (4.2) ต้องมีการฉีดวัคซีนเพื่อปองกันโรคติดต่อ (4.3) การกําจัดซากโดยการเผาต้องมีสถานที่เผาหรือเตาเผาอยู่ในบริเวณ ที่เหมาะสม (5) การจัดการปญหาเหตุเดือดรอนรําคาญ (5.1) ถามีการสุมไฟไลแมลงให้สัตวต้องไม่กอให้เกิดมลพิษทางอากาศ (5.2) ต้องปองกันเสียงรองของสัตว ไม่กอให้เกิดมลพิษทางเสียง ผู้ประสงคจะเลี้ยงสุกรจะต้องยื่นคําขออนุญาตเลี้ยงสุกรตามแบบและเงื่อนไขที่องคการบริหาร สวนตําบลหวยทาชางกําหนด พรอมด้วยหลักฐานต่อไปนี้อยางละ 1 ชุด (1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ (2) สําเนาทะเบียนบ้าน (3) หนังสือแสดงความเป็นเจ้าของที่ดิน (4) แบบโครงสรางฐานราก ผนัง รางน้ํา และลานตาก หรือเอกสารหลักฐานอื่น ที่เจ้าพนักงานทองถิ่นเห็นสมควรเรียกเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณา ขอ 9 สถานประกอบกิจการเลี้ยงสุกรควรตั้งอยู่หางจากโรงฆาสัตว ตลาดนัดคาสัตว ตั้งแต่ 2 กิโลเมตรขึ้นไป หมวด 3 การรักษาความเป็นระเบียบเรียบรอย ขอ 10 ต้องจัดให้มีบริเวณเลี้ยงสุกรเป็นสัดสวน และอยู่หางเขตที่ดินสาธารณะหรือที่ดินตางเจ้าของ และต้องมีที่วางอันปราศจากหลังคาหรือสิ่งใดปกคลุมโดยรอบบริเวณเลี้ยงสุกรนั้นไม่นอยกวา 20 เมตรทุกดาน เวนแต่ดานที่มีแนวเขตที่ดินติดต่อกับที่ดินของผู้ประกอบกิจการประเภทเดียวกันตามขอบัญญัตินี้ ขอ 11 ต้องจัดให้มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศดี ้ หนา 203 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ขอ 12 ถนนภายในสถานประกอบกิจการต้องใชวัสดุคงทน มีความกวางเหมาะสม สะดวก ในการขนสง ลําเลียงอุปกรณ อาหารสุกร รวมทั้งผลผลิตเขาและออกภายในสถานประกอบกิจการ ขอ 13 สถานที่เก็บอาหารและโรงผสมอาหารควรจัดเป็นสัดสวนและถูกหลักสุขาภิบาล ขอ 14 อาหารที่ใชเลี้ยงสุกรต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายวาด้วยการควบคุม คุณภาพอาหารสัตว ขอ 15 มีสถานที่เก็บอาหารแยกเป็นสัดสวน จัดให้เป็นระเบียบและมีการดูแลรักษา ความสะอาดอยางสม่ําเสมอ ขอ 16 ต้องมีที่เก็บรักษาเครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณในการทํางานเป็นสัดสวนเหมาะสม และเป็นระเบียบเรียบรอย รวมถึงสวิตซและสายไฟต้องได้รับการบํารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี ขอ 17 ต้องจัดให้มีน้ําใชที่สะอาดได้มาตรฐานและมีปริมาณเพียงพอกับปริมาณน้ําใช ในแต่ละวัน ขอ 18 สถานประกอบกิจการที่ผลิตน้ําใชเองควรตรวจสอบดูแลคุณภาพน้ําดิบให้สะอาด ตรวจสอบระบบทอน้ําและทําความสะอาดภาชนะเก็บกักน้ําอยู่เสมอ และปรับปรุงคุณภาพน้ํา ให้มีคุณภาพดีอยู่เสมอ ขอ 19 คนงานในฟารมต้องมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นโรคติดต่อหรือโรคที่สังคมรังเกียจ โรคที่เกี่ยวของกับทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ หูน้ําหนวก และบาดแผลติดเชื้อ หรือไม่เป็น พาหะนําโรคติดต่อ ได้แก อหิวาตกโรค ไขรากสาดนอย บิด อีสุกอีใส คางทูม ไวรัสตับอักเสบเอ เป็นตน ขอ 20 คนงานต้องได้รับการตรวจสุขภาพเป็นประจําทุกป ขอ 21 คนงานควรได้รับการอบรมในเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ขอ 22 คนงานในฟารมจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (1) ลางทําความสะอาดมือทุกครั้งกอนเขาหรือออกจากฟารมและภายหลังออกจากหองสวม และจับต้องสิ่งปนเปอนตาง ๆ (2) สวมใสชุดปฏิบัติงานที่สะอาดเหมาะสม (3) ในกรณีที่มีบาดแผลต้องปดแผลด้วยที่ปดแผล ถามีบาดแผลที่มือต้องสวมใสถุงมือ หรือปลอกนิ้วขณะปฏิบัติงาน ้ หนา 204 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ขอ 23 ต้องจัดให้มีภาชนะรองรับมูลฝอยที่ถูกหลักสุขาภิบาลเหมาะสมและเพียงพอ ขอ 24 ต้องมีการรวบรวมมูลฝอยและนําไปกําจัดด้วยวิธีการฝง เผา อยางถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ขอ 25 ต้องจัดให้มีหองน้ําและหองสวมตามลักษณะและจํานวนที่กําหนดในกฎหมาย วาด้วยการควบคุมอาคารและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ และการบําบัดหรือการกําจัดสิ่งปฏิกูลถูกต้อง ตามหลักสุขาภิบาล ขอ 26 ต้องมีการปองกันโรคติดต่อที่เกิดจากสุกรด้วยวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้อง ขอ 27 การกําจัดซากสุกรให้ใชวิธีเผาหรือฝง เพื่อปองกันการเป็นแหลงเพาะพันธุของสัตว และแมลงนําโรค ดังนี้ (1) การกําจัดซากสุกรโดยการฝงต้องมีเนื้อที่เพียงพอ และอยู่ในบริเวณน้ําทวมไม่ถึง โดยฝงซากลึกจากผิวดินไม่นอยกวา 50 เซนติเมตร ใชน้ํายาฆาเชื้อโรคที่เหมาะสมทําการราดหรือโรย (2) การกําจัดซากสุกรโดยการเผาต้องมีสถานที่เผา หรือเตาเผา อยู่ในบริเวณ ที่เหมาะสมในการใชเผาซากจนหมด การเผาต้องไม่กอให้เกิดมลพิษทางอากาศหรือเหตุรําคาญ (3) สถานที่กําจัดซากสุกรต้องหางจากบริเวณอาคารหรือโรงเรือนเลี้ยงสุกร อาคารสํานักงาน อาคารที่พักอาศัย ขอ 28 ต้องมีการควบคุมปองกันสัตวและแมลงนําโรคในสถานประกอบกิจการไม่ให้มีจํานวนมาก จนกอให้เกิดการปนเปอนของเชื้อโรคในสถานที่เลี้ยงสุกร ทั้งในตัวสุกร อาหาร น้ําใช คนงาน และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ขอ 29 กรณีที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เกี่ยวกับสัตวในเขตพื้นที่ต้องจัดให้มีวิธีการ ควบคุมปองกันมิให้เกิดการปนเปอนของเชื้อโรคในสถานที่เลี้ยงสุกร ทั้งในตัวสุกร อาหาร น้ําใช คนงาน และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ขอ 30 ควรจัดให้มีหองเก็บสารเคมี น้ํายาฆาเชื้อหรือสิ่งของที่อาจกอให้เกิดอันตราย หรืออัคคีภัยได้งายโดยเฉพาะตามกฎหมายวาด้วยวัตถุอันตรายและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ขอ 31 ควรจัดให้มีหองพยาบาลหรือชุดปฐมพยาบาลที่ครบรายการไวในสถานประกอบกิจการ และพรอมใชงานได้ตลอดเวลา ขอ 32 ระดับเสียงในสถานประกอบการเลี้ยงสุกรในเวลากลางวันต้องมีระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 90 เดซิเบล (เอ) ตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ้ หนา 205 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ขอ 33 ระดับความเขมขนของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดและกาซแอมโมเนีย บริเวณคอกเลี้ยงสุกร ต้องไม่เกินคามาตรฐานตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ขอ 34 วิธีการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการให้ใชวิธีการตรวจวัด ของหนวยราชการไทย ในกรณีที่ไม่มีวิธีการตรวจวัดที่เป็นมาตรฐานกําหนดไวให้ใชวิธีการตรวจวัดที่ทองถิ่นยอมรับ ขอ 35 ควรควบคุมปองกันกิจกรรมตาง ๆ ของสถานประกอบกิจการมิให้มีกลิ่น น้ําเสีย เขมา ควัน เสียง ฝุน และความรอน เป็นตน ที่จะทําให้เกิดผลกระทบจนเป็นเหตุรําคาญหรือเป็นอันตราย หมวด 4 อํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานทองถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข ขอ 36 เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตามขอบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข มีอํานาจตามมาตรา 44 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 37 ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจแต่งตั้งขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นเพื่อให้ปฏิบัติ ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตอํานาจของ องคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง ในเรื่องใดหรือทุกเรื่องก็ได้ หมวด 5 บทกําหนดโทษ ขอ 38 ผู้ใดฝาฝนขอบัญญัตินี้ขอใดขอหนึ่งต้องระวางโทษตามมาตรา 73 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ประกาศ ณ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 ชูชัย อนุกูล นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง ้ หนา 206 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 298 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

บัญชีอัตราคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต ทายขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562 ประเภทกิจการ อัตราคาธรรมเนียม (บาท) หมายเหตุ การเลี้ยงสุกร ก. ไม่เกิน 50 ตัว ข. ตั้งแต่ 51 - 200 ตัว ค. ตั้งแต่ 201 - 500 ตัว ง. ตั้งแต่ 501 ตัวขึ้นไป 5 00 1,0 00 2 , 000 5, 000

แบบคําขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต ประกอบกิจการเลี้ยงสุกร เขียนที่… วันที่…เดือน…พ.ศ. … 1. ขาพเจ้า…อายุ…ป สัญชาติ… ที่อยู่เลขที่…หมู่ที่…ตรอก/ซอย…ถนน…แขวง/ตําบล… เขต/อําเภอ…จังหวัด…หมายเลขโทรศัพท… ผู้ขออนุญาต 2. พรอมคําขอนี้ ขาพเจ้าได้แนบเอกสารหลักฐานตาง ๆ มาด้วยแล้ว ดังนี้  สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/อื่น ๆ ระบุ…  สําเนาใบอนุญาตตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ได้แก…  หนังสือให้ความเห็นชอบการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม  หนังสือมอบอํานาจ (ในกรณีที่มีการมอบอํานาจ)  สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล  หลักฐานที่แสดงการเป็นผู้มีอํานาจลงนามแทนนิติบุคคล  เอกสารและหลักฐานอื่น ๆ ตามที่ราชการสวนทองถิ่นประกาศกําหนด คือ 1) … 2) … ขอรับรองวา ขอความในแบบคําขอนี้เป็นความจริงทุกประการ (ลงชื่อ)…ผู้ขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต (…) (สวนของเจ้าหน้าที่) ใบรับคําขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต ได้รับเรื่องเมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. … ตรวจสอบแล้ว เอกสารหลักฐาน  ครบ  ไม่ครบ คือ 1) … 2) … (ลงชื่อ)… (…) ตําแหนง… คําขอเลขที่… … ../… (เจ้าหน้าที่กรอก)

ใบอนุญาต ประกอบกิจการเลี้ยงสุกร เลมที่…เลขที่…/… (1) เจ้าพนักงานทองถิ่นอนุญาตให้…สัญชาติ… อยู่บ้านเลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ…จังหวัด… หมายเลขโทรศัพท…ชื่อสถานประกอบกิจการ…ประเภท… ตั้งอยู่เลขที่…หมู่ที่…ตําบล…อําเภอ…จังหวัด… หมายเลขโทรศัพท…อัตราคาธรรมเนียมปละ…บาท (…) ตามใบเสร็จรับเงินเลมที่…เลขที่…ลงวันที่… (2) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง ครบถวน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนด ในขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทาชาง เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2562 (3) หากปรากฏในภายหลังวาการประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตนี้เป็นการขัดต่อกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ โดยมิอาจแกไขได้ เจ้าพนักงานทองถิ่นอาจพิจารณาให้เพิกถอนการอนุญาตนี้ได้ (4) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ (4.1) … (4.2) … (5) ใบอนุญาตฉบับนี้ออกให้เมื่อวันที่…เดือน…พ.ศ. … (6) ใบอนุญาตฉบับนี้สิ้นอายุในวันที่…เดือน…พ.ศ. … (ลงชื่อ)… (…) ตําแหนง… เจ้าพนักงานทองถิ่น คําเตือน (1) ผู้รับใบอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตนี้ไวโดยเปดเผยและเห็นได้งาย ณ สถานที่ประกอบกิจการ ตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ หากฝาฝนมีโทษปรับไม่เกินหารอยบาท (2) หากประสงคจะประกอบกิจการในปต่อไปต้องยื่นคําขอต่ออายุใบอนุญาตกอนวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ

(ดานหลัง) รายการต่ออายุใบอนุญาตและเสียคาธรรมเนียม วัน/เดือน/ป ที่ออกใบอนุญาต วัน/เดือน/ป ที่ สิ้นอายุใบอนุญาต ใบเสร็จรับเงิน (ลงชื่อ) เจ้าพนักงานทองถิ่น เลมที่ เลขที่ วัน/เดือน/ป