Thu Dec 15 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติองค์การบริการส่วนตำบลห้วยทราย เรื่อง ควบคุมกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ พ.ศ. 2563


ข้อบัญญัติองค์การบริการส่วนตำบลห้วยทราย เรื่อง ควบคุมกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ พ.ศ. 2563

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทราย เรื่อง ควบคุมกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ พ.ศ. 2563 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริการสวนตําบลหวยทราย วาด้วยการควบคุมกิจการ ให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติมองคการบริหาร สวนตําบลหวยทรายโดยความเห็นชอบของสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยทรายและนายอําเภอเมือง ประจวบคีรีขันธ จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลหวยทราย เรื่อง ควบคุมกิจการ ให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ พ.ศ. 2563 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยทราย ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ขอ 3 ในขอบัญญัตินี้ “ ผู้ประกอบกิจการ ” หมายความวา เจ้าของกิจการหรือผู้ดําเนินการให้บริการดูแล ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการซึ่งมีหน้าที่ต้องขอรับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นกอนประกอบกิจการ “ ผู้ดําเนินการ ” หมายความวา ผู้จัดการหรือผู้ทําหน้าที่ดูแลการประกอบกิจการและจัดสง พนักงานไปดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ “ พนักงาน ” หมายความวา ผู้ทําหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ “ ผู้รับบริการ ” หมายความวา ผู้วาจางที่รับบริการจากการประกอบกิจการให้บริการ ดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ ” “ ผู้สูงอายุ ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปบริบูรณขึ้นไป และผู้ที่สูญเสีย ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันอันเนื่องมาจากความชราภาพที่ได้รับการดูแลที่บ้าน ้ หนา 435 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

“ ราชการสวนทองถิ่น ” หมายความวา องคการบริหารสวนตําบลหวยทราย “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทราย “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 4 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทรายเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 5 ให้กิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการเป็นกิจการที่ต้องควบคุมในทองถิ่น ขอ 6 ผู้ดําเนินกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการต้องดําเนินการให้เป็นไป ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดตามขอบัญญัตินี้ รวมทั้งกฎกระทรวงและประกาศกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 สถานประกอบกิจการที่ตั้งอยู่ในทองที่ที่กฎหมายวาด้วยการผังเมืองหรือกฎหมายวาด้วยการควบคุมอาคาร มีผลใชบังคับ สถานประกอบกิจการที่เป็นโรงงานตามกฎหมายวาด้วยโรงงาน หรือสถานประกอบกิจการ ที่มีการประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ต้องปฏิบัติตามกฎหมายวาด้วยการนั้นและกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวของด้วยแล้วแต่กรณี หมวด 2 หลักเกณฑและเงื่อนไขทั่วไปสําหรับให้ผู้ดําเนินกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ ปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใชดําเนินกิจการ และมาตรการปองกันอันตรายต่อสุขภาพ ขอ 7 คุณสมบัติและหลักเกณฑการปฏิบัติสําหรับผู้ประกอบกิจการ (1) จางหรือจัดให้มีผู้ดําเนินการและพนักงานที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดในขอบัญญัตินี้ ้ หนา 436 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

(2) ควบคุมกํากับดูแลให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในขอบัญญัตินี้ (3) จัดให้มีสถานที่อํานวยความสะดวกสําหรับดําเนินกิจการและการติดต่อของผู้รับบริการ (4) การจางงานต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายวาด้วยการคุมครองแรงงาน (5) จัดให้มีระบบการจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติและการปฏิบัติงานของผู้ดําเนินการ และพนักงาน (6) จัดให้มีระบบสงต่อและวิธีการให้คําปรึกษาแนะนําในกรณีฉุกเฉินแกผู้ดําเนินการ หรือพนักงานได้ตลอดระยะเวลาที่ให้บริการ (7) ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดีและไม่มีประวัติ การกระทําผิดต่อผู้สูงอายุหรือละเมิดสิทธิผู้สูงอายุ และไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (8) มีใบรับรองแพทยระบุวาไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไม่สมประกอบ และไม่เป็นผู้ติดสารเสพติด ขอ 8 คุณสมบัติและหลักเกณฑการปฏิบัติสําหรับผู้ดําเนินการดูแลผู้สูงอายุ (1) ดานคุณสมบัติ 1.1) ต้องมีอายุไม่ต่ํากวา 25 ปบริบูรณ 1.2) มีความรูหรือประสบการณเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ (ก) มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีดานการแพทย หรือการพยาบา ล และการผดุงครรภ หรือประกาศนียบัตรการพยาบาล (ข) มีประสบการณในการดูแลผู้สูงอายุไม่นอยกวา 3 ป โดยมีหนังสือรับรอง จากบุคคลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ และมีวุฒิการศึกษาระดับประกาศนียบัตรผู้ชวยพยาบาลที่ได้รับการรับรอง จากสภาการพยาบาล (ค) มีประสบการณในการดูแลผู้สูงอายุไม่นอยกวา 3 ป โดยมีหนังสือรับรอง จากบุคคลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ และผานการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุอยางนอย 420 ชั่วโมง ที่จัดโดยกรมอนามัยหรือสวนราชการที่เกี่ยวของ หรือโรงเรียนเอกชนที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ 1.3) ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไม่มีประวัติ การกระทําผิดต่อผู้สูงอายุหรือผู้ปวย 1.4) มีใบรับรองแพทยระบุวามีสุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นผู้วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไม่สมประกอบและไม่เป็นผู้ติดสารเสพติด ้ หนา 437 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

(2) ดานการปฏิบัติ 2.1) ประเมินความต้องการดูแลของผู้สูงอายุรวมทั้งปฐมนิเทศและจัดสงพนักงาน ที่มีคุณสมบัตินี้ไปดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน 2.2) จัดทํารายงานการดําเนินกิจการไวที่สถานประกอบกิจการให้สามารถตรวจสอบ ได้ตลอดเวลา 2.3) จัดให้พนักงานได้รับการอบรมพื้นฐานดานการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านระหวาง ปฏิบัติงานอยางนอยทุก 2 ป อาจเป็นรูปแบบการประชุมวิชาการอยางนอย 1 วัน หรือศึกษาดูงาน การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน 2.4) ควบคุมกํากับ รวมทั้งจัดให้มีระบบติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของพนักงาน อยางนอยทุก 3 เดือน 2.5) จัดทําทะเบียนรับ – สงพนักงานไปดูแลผู้สูงอายุที่บ้านและทะเบียนรายละเอียด ของผู้ดําเนินการและพนักงาน เชน รายชื่อ ประวัติการฝกอบรม ประวัติการทํางาน เป็นตน 2.6) จัดทําสัญญาการจางระหวางผู้ประกอบกิจการและผู้รับบริการ โดยมีขอความ ถูกต้องตรงกัน 2.7) กรณีพนักงานหยุดปฏิบัติงานหรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้ให้ผู้ดําเนินการ จัดหาพนักงานทําหน้าที่แทน เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุเป็นไปอยางต่อเนื่อง 2.8) จัดระบบการสงต่อผู้สูงอายุกรณีที่พบวามีเหตุฉุกเฉินหรือการเจ็บปวย หรือบาดเจ็บเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ให้ติดต่อขอคําปรึกษาตามระบบหรือวิธีการตามที่ระบุไวในขอบัญญัตินี้ 2.9) ในกรณีที่ประกอบกิจการเป็นผู้ดําเนินการเอง ต้องคุณสมบัติและหลักเกณฑ การปฏิบัติตามที่กําหนดในขอบัญญัตินี้ทุกประการ ขอ 9 คุณสมบัติและหลักเกณฑการปฏิบัติสําหรับพนักงานดูแลผู้สูงอายุ (1) ดานคุณสมบัติ 1.1) มีอายุไม่ต่ํากวา 18 ปบริบูรณ 1.2) จบการศึกษาไม่ต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา ้ หนา 438 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

1.3) มีความรูและประสบการณในการดูแลผู้สูงอายุอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ (ก) มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีดานการพยาบาล หรือการพยาบาล และผดุงครรภ หรือประกาศนียบัตรการพยาบาล (ข) มีวุฒิการศึกษาระดับประกาศนียบัตรผู้ชวยพยาบาลตามหลักสูตรที่ สภาการพยาบาลรับรอง (ค) ผานการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุอยางนอย 420 ชั่วโมง ที่จัดโดยกรมอนามัย หรือสวนราชการที่เกี่ยวของ หรือโรงเรียนเอกชนที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ (ง) ผู้มีประสบการณในการดูแลผู้สูงอายุไม่นอยกวา 1 ป โดยมีหนังสือรับรอง จากโรงเรียน สถาบันหรือสถานประกอบการที่เกี่ยวของ และผานการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ ไม่นอยกวา 70 ชั่วโมงที่จัดโดยกรมอนามัย หรือสวนราชการที่เกี่ยวของ หรือโรงเรียนเอกชนที่ได้รับอนุญาต จากกระทรวงศึกษาธิการภายใน 3 ปนับแต่วันที่ขอบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ 1.4) เขารับการอบรมฟนฟูดานการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านระหวางปฏิบัติงาน อยางนอยทุก 2 ป ตามที่ผู้ดําเนินการจัดให้ 1.5) ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไม่มี ประวัติการกระทําผิดต่อผู้สูงอายุหรือละเมิดสิทธิของผู้สูงอายุ 1.6) มีใบรับรองแพทยระบุวามีสุขภาพแข็งแรงไม่เป็นผู้วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไม่สมประกอบและไม่เป็นผู้ติดสารเสพติด โดยมีผลการตรวจสุขภาพปละ 1 ครั้ง 1.7) ผานการประเมินดานสุขภาพจิตโดยจิตแพทยหรือนักจิตวิทยาคลินิก หรือพยาบาลจิตเวช หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ผานการอบรมสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 1.8) มีวุฒิภาวะและบุคลิกลักษณะเหมาะสมทั้งดานจิตใจ อารมณ สังคม มีความขยันอดทนและมีความตั้งใจที่จะปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความออนโยน มีเมตตา ซึ่งเอื้ออํานวย ต่อการทําหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุได้อยางเหมาะสม 1.9) กรณีเกิดการเจ็บปวยระหวางปฏิบัติงานด้วยโรคติดต่อ ซึ่งอาจแพรกระจาย ไปสูผู้สูงอายุได้ จะต้องหยุดปฏิบัติงานและพักรักษาให้หายเป็นปกติกอนมาปฏิบัติงาน ้ หนา 439 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

(2) ดานการปฏิบัติ 2.1) ดูแลผู้สูงอายุตามกิจวัตรประจําผู้สูงอายุ เชน การรับประทานอาหาร การนอนหลับพักผอน การเคลื่อนยาย การขับถายให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยเหมาะสมกับวัยของผู้สูงอายุ 2.2) สังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ของผู้สูงอายุ รวมทั้งเรื่องสุขภาพ ของผู้สูงอายุ และต้องรายงานให้ญาติของผู้สูงอายุทราบทุกวัน 2.3) สงเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุทุกดาน ตลอดจนดูแลสภาพแวดลอมให้ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะเอื้อต่อการสงเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.4) เขียนรายงานการปฏิบัติงานเสนอต่อผู้ดําเนินการทุกเดือน 2.5) กรณีที่มีการประกอบอาหารให้ผู้สูงอายุ ต้องดําเนินการ เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร พรอมทั้งดูแลเครื่องมือเครื่องใชเครื่องปรุง ประกอบอาหารให้สะอาดและถูกสุขลักษณะ ในทุกขั้นตอนและลางมือให้สะอาดอยู่เสมอ 2.6) จัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยที่เกิดจากการดูแลผู้สูงอายุอยางถูกต้อง โดยทิ้งลงในภาชนะรองรับที่ถูกหลักสุขาภิบาล และระวังปองกันไม่ให้เกิดการปนเปอนกับอาหาร และเกิดการแพรกระจายของเชื้อโรค หรือกอให้เกิดเหตุรําคาญต่อบ้านเรือนใกลเคียง 2.7) สงต่อผู้สูงอายุทุกกรณีที่พบวามีเหตุฉุกเฉิน หรือการเจ็บปวยหรือบาดเจ็บ เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ตามระบบการสงต่อและวิธีที่ระบุไวในขอบัญญัตินี้ หมวด 3 ใบอนุญาต ขอ 10 เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแต่วันที่ขอบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ หามมิให้ผู้ใดดําเนินกิจการ ที่ต้องมีการควบคุมภายในทองถิ่นในลักษณะที่เป็นการคา เวนแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ในการออกใบอนุญาต เจ้าพนักงานทองถิ่นอาจกําหนดเงื่อนไขโดยเฉพาะให้ผู้รับใบอนุญาตปฏิบัติ เพื่อปองกันอันตรายต่อสุขภาพของสาธารณชนเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวโดยทั่วไปในขอบัญญัตินี้ก็ได้ ้ หนา 440 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

ขอ 11 ผู้ใดประสงคจะเป็นผู้ดําเนินกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการในลักษณะ ที่เป็นการคาจะต้องยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามแบบที่กําหนดไวพรอมกับเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน (ประชาชน / ขาราชการ / พนักงานรัฐวสาหกิจ / อื่น ๆ ระบุ…) (2) สําเนาใบอนุญาตตามกฎหมายที่เกี่ยวของ (3) อื่น ๆ ตามที่ราชการสวนทองถิ่นประกาศกําหนดและเผยแพรให้ประชาชนทราบ ขอ 12 เมื่อได้รับคําขอรับใบอนุญาตหรือคําขอต่ออายุใบอนุญาต ให้เจ้าพนักงานทองถิ่น ตรวจสอบความถูกต้องของคําขอและความครบถวนของเอกสารหลักฐานทันที กรณีไม่ถูกต้อง ครบถวน ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นแจงต่อผู้ยื่นคําขอให้แกไขเพิ่มเติมเพื่อดําเนินการ หากไม่สามารถดําเนินการได้ขณะนั้น ให้จัดทําบันทึกความบกพรองและรายการเอกสารหรือหลักฐานยื่นเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด โดยให้เจ้าหน้าที่และผู้ยื่นคําขอลงนามไวในบันทึกนั้นด้วย เจ้าพนักงานทองถิ่นต้องออกใบอนุญาตหรือมีหนังสือแจงคําสั่งไม่อนุญาตพรอมด้วยเหตุผล ให้ผู้ขออนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับคําขอซึ่งมีรายละเอียดถูกต้องหรือครบถวน ตามที่กําหนดในขอบัญญัตินี้ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นที่เจ้าพนักงานทองถิ่นไม่อาจออกใบอนุญาตหรือยังไม่อาจมีคําสั่งไม่อนุญาตได้ ภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสิบหาวัน แต่ต้องมีหนังสือแจงการขอขยายเวลาและเหตุจําเป็นแต่ละครั้งให้ผู้ขออนุญาตทราบกอนสิ้นกําหนดเวลา ตามวรรคสองหรือตามที่ได้ขยายเวลาไวแล้วนั้น แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ หากเจ้าพนักงานทองถิ่นพิจารณา ยังไม่แล้วเสร็จ ให้แจงเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคําขอทราบถึงเหตุแห่งความลาชาทุกเจ็ดวันจนกวาจะพิจารณาแล้วเสร็จ พรอมสํานาแจงสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการทราบทุกครั้ง ขอ 13 ผู้ได้รับอนุญาตต้องมารับใบอนุญาตภายในสิบหาวัน (หรือตามที่เห็นสมควร) นับแต่วันที่ ได้รับหนังสือแจงการอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น เวนแต่จะมีเหตุอันสมควรและได้แจงต่อเจ้าพนักงานทราบแล้ว ขอ 14 บรรดาใบอนุญาตที่ออกให้ตามขอบัญญัตินี้ให้มีอายุหนึ่งปนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต และให้ใชได้เพียงในเขตอํานาจของสวนราชการทองถิ่นเทานั้น การขอต่ออายุใบอนุญาตจะต้องยื่นคําขอกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคําขอพรอมกับ เสียคาธรรมเนียมแล้วให้ประกอบกิจการต่อไปได้จนกวาพนักงานทองถิ่นจะสั่งไม่ต่อใบอนุญาต ้ หนา 441 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

ขอ 15 ผู้ได้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ ต้องแสดงใบอนุญาตไวโดยเปดเผยและเห็นได้งาย ณ สถานที่ประกอบกิจการตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ ขอ 16 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระที่สําคัญ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาต ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ตามแบบที่กําหนดไว การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีใบอนุญาตสูญหาย ให้ผู้ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตนําสําเนาบันทึก การแจงความต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งทองที่ที่ใบอนุญาตสูญหายมาแสดงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นประกอบด้วย (2) ในกรณีใบอนุญาตถูกทําลายหรือชํารุดในสาระที่สําคัญให้ผู้ยื่นคําขอรับ ใบแทนใบอนุญาตนําใบอนุญาตเดิมเทาที่เหลืออยู่มาแสดงต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นประกอบด้วย ขอ 17 ในกรณีที่ปรากฏวาผู้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงออกตามความ ในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือขอบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่ระบุไวในใบอนุญาต ในเรื่องที่กําหนดไวเกี่ยวกับการประกอบกิจการตามที่ได้รับใบอนุญาตตามขอบัญญัตินี้ เจ้าพนักงานทองถิ่น มีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตได้ภายในเวลาที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่เกินสิบหาวัน ขอ 18 เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจมีอํานาจออกคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต (1) ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตตั้งแต่สองครั้งขึ้นไปและมีเหตุผลที่จะต้องถูกสั่งพักใชใบอนุญาตอีก (2) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดวาได้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (3) ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือขอบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่ระบุไวในใบอนุญาตในเรื่องที่กําหนดไวเกี่ยวกับการประกอบกิจการตามที่ได้รับใบอนุญาต ตามขอบัญญัตินี้ และการไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องนั้นกอให้เกิดอันตรายอยางรายแรงต่อสุขภาพ ของประชาชน หรือผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของประชาชน ้ หนา 442 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

ขอ 19 คําสั่งพักใชใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ให้ทําเป็นหนังสือแจงให้ผู้รับ ใบอนุญาตทราบ ในกรณีที่ไม่พบผู้รับใบอนุญาต หรือผู้รับใบอนุญาตไม่ยอมรับคําสั่งดังกลาว ให้สงคําสั่ง โดยทางไปรษณียตอบรับ หรือให้ปดคําสั่งนั้นไวในที่เปดเผยเห็นได้งาย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงาน ของผู้รับใบอนุญาต และให้ถือวาผู้รับใบอนุญาตนั้นได้รับทราบคําสั่งแล้วตั้งแต่เวลาที่คําสั่งไปถึง หรือวันปดคําสั่ง แล้วแต่กรณี ขอ 20 ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตสําหรับการประกอบกิจการที่ถูกเพิกถอน ใบอนุญาตอีกไม่ได้จนกวาจะพนกําหนดหนึ่งปนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต หมวด 4 คาธรรมเนียมและคาปรับ ขอ 21 อัตราคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตดําเนินกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ของผู้รับบริการ จํานวนหนึ่งพันหารอยบาท ขอ 22 ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องชําระคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตในวันที่มารับใบอนุญาต สําหรับกรณีที่เป็นการขอรับใบอนุญาตครั้งแรก หรือกอนใบอนุญาตสิ้นอายุสําหรับกรณีที่เป็นการขอต่อใบอนุญาต ตลอดเวลาที่ยังดําเนินกิจการนั้น ถามิได้เสียคาธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนด ให้ชําระคาปรับเพิ่มขึ้นอีก รอยละยี่สิบของจํานวนคาธรรมเนียมที่คางชําระ เวนแต่ผู้ได้รับใบอนุญาตจะได้บอกเลิกการดําเนินกิจการนั้น กอนถึงกําหนดการเสียคาธรรมเนียมครั้งต่อไป ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ต้องเสียคาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งคางชําระคาธรรมเนียมติดต่อกันเกินกวา สองครั้งให้เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งให้ผู้นั้นหยุดการดําเนินกิจการไวจนกวาจะได้เสียคาธรรมเนียม และคาปรับจนครบจํานวน ขอ 23 บรรดาคาธรรมเนียมและคาปรับตามขอบัญญัตินี้ให้เป็นรายได้ของราชการสวนทองถิ่น ้ หนา 443 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565

หมวด 5 บทกําหนดโทษ ขอ 24 ผู้ใดฝาฝนคําสั่งของเจ้าพนักงานหรือไม่ปฏิบัติตามขอบัญญัตินี้ต้องระวางโทษตามที่กําหนดไวใน บทกําหนดโทษแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563 ชออม ทองเงิน นายกองคการบริหารสวนตําบลหวยทราย ้ หนา 444 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 294 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565