ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา 16 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีตามมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 256 5 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 มาตรา 20 (1) และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรา ชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2561 ได้ดาเนินการกู้เงิน เพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด้วยการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 ซึ่งมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้ 1 . กระทรวงการคลังได้ดาเนินการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 3 วงเงิน 30,774 ล้านบาท (สามหมื่นเจ็ดร้อยเจ็ดสิบสี่ล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ ( Reopened bond ) จาก พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 12 ( LB 286 A ) ส่งผลให้ยอดคงค้างของ พันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น 93,420 ล้านบาท (เก้าหมื่นสามพันสี่ร้อยยี่สิบ ล้านบาทถ้วน) โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 28 ตุลาคม 256 5 1 . 2 พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ 5 .6 4 ปี โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจานวน ใน วันที่ 17 มิถุนายน 2571 และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกาหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุด ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป 1.3 พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2. 6 50 ต่อปี ชาระปีละ 2 ครั้ง ในวันที่ 17 มิถุนายน และ 17 ธันวาคม ของทุกปี สาหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะจ่าย ณ วันไถ่ถอน พันธบัตรรัฐบาล หากวัน ครบกำหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อนไปจ่าย ในวันทำการถัดไป โดยไม่นับ วันหยุดตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าวเข้ารวม เพื่อคานวณดอกเบี้ยในงวดที่ถึงกาหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้นการจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้ายให้คานวณดอกเบี้ย จนถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลที่เลื่อนออกไป 2 . วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้ 2.1 วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ( Competitive Bidding : CB ) ซึ่งผู้ที่ได้รับ การจัดสรร พันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ สถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ค้าหลักสาหรับธุรกรรม ประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง ( MOF Outright PD ) ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 293 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565
2.2 วิธีการเสนอซื้อ ( Non Competitive Bidding : NCB ) ในวงเงินไม่เกินร้อยละ 20 ของวงเงินจำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ซึ่งไม่มีผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล 2 . 3 วิธีการเสนอซื้อเพิ่มเติม ( Greenshoe Option : GS ) ไม่เกินร้อยละ 20 ของวงเงิน ที่ได้รับการจัดสรรโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ MOF Outright PD 3 . การจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ 2 ดาเนินการเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 256 5 จานวน 30,774 ล้านบาท (สามหมื่นเจ็ดร้อยเจ็ดสิบสี่ล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดผลการจาหน่าย พันธบัตรรัฐบาล ดังนี้ วันที่จ ําหน่ําย วันที่ชําระเงิน วิธีกําร จ ําหน่ําย วงเงิน จ ําหน่ําย (ล้ํานบําท) จ ํานวนเงิน ที่ได้รับ (บําท) ส่วนเพิ่ม/ (ส่วนลด) (บําท) ดอกเบี้ยจ่ําย รับล่วงหน้ํา (บําท) อัตรํา ผลตอบแทน เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี) 26 ตุลาคม 2565 2 8 ตุลาคม 2565 CB 30,000 29 , 992 , 915 , 282.10 ( 251,030,017 . 90 ) 243,945,300 . 00 2 . 8113 NCB - - - - GS 774 773,817,514 . 02 ( 6,476,274 . 72 ) 6,293,788 . 74 รวม 30,774 30,766,732,796 . 12 ( 257,506,292 . 62 ) 250,239,088 . 74 4 . กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาล โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตรา ร้อยละ 0.03 (ศูนย์จุดศูนย์สาม) ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่จ่ายและเงินต้นพันธบัตรที่จ่ายคืน ประกาศ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 256 5 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 293 ง ราชกิจจานุเบกษา 16 ธันวาคม 2565