Thu Dec 08 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบการทดสอบปั้นจั่น


ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบการทดสอบปั้นจั่น

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบการทดสอบปั้นจั่น โดยที่กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อนา พ.ศ. 2564 กาหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นเมื่อมีการติดตังแล้วเสร็จ ปั้นจั่นหยุดการใช้งานปั้นจั่นตังแต่หกเดือนขึนไปก่อนนาปั้นจั่นมาใช้งานใหม่ และต้ องจัดให้มี การทดสอบ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นอย่างน้อยปีละหนึ่งครั ง ตามประเภทและลักษณะของงาน ตามที่กำหนด ไว้ ในรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนด อาศัยอำนาจตามความในข้อ 57 และข้อ 58 แห่งกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับ เครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อนา พ.ศ. 2564 อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ประกาศนีให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบการติดตั งปั้นจั่นเมื่อติดตั งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการ หยุดใช้งานตังแต่หกเดือนขึนไป และทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นอย่างน้อยปีละหนึ่งครัง ตามประเภท และลักษณะของงาน ตามที่กาหนดไว้ในรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ตามแบบการทดสอบการติดตังปั้นจั่นเมื่อติดตังเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน และส่วนประกอบและ อุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ (แบบ ปจ. 1) หรือปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ (แบบ ปจ. 2) ท้ายประกาศนี ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 256 5 นิยม สองแก้ว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ้ หนา 6 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 288 ง ราชกิจจานุเบกษา 9 ธันวาคม 2565

แบบการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน และส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ 1. การทดสอบกรณี (1) การทดสอบตามข้อ 57 ปั้นจั่นที่มีการติดตั งแล้วเสร็จ กรณีปั้นจั่นใหม่หลังการติดตั งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแต่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง หรือการเพิ่มหรือลดความสูง ปั้นจั่นหยุดการใช้งานตั งแต่ 6 เดือนขึ นไป ก่อนนำมาใช้งานใหม่ ปั้นจั่นที่ใช้สาหรับประเภทการทำงาน ประเภทอุตสาหกรรม ตั งแต่ 1 ตันขึ นไป ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน ประเภทก่อสร้าง ทุกขนาด ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน ประเภทอื่นๆ ระบุ ตั งแต่ 1 ตันขึ นไป ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน (2) การทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามข้อ 58 (2.1) ประเภท อุตสาหกรรม อื่นๆ ระบุ การทดสอบครั งนี เป็นรอบที่ 1 2 3 4 อื่นๆ การทดสอบครั งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดตั งแต่ 1 ตัน แต่ไม่เกิน 3 ตัน ทดสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดมากกว่า 3 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตัน ทดสอบอย่างน้อย 6 เดือน ต่อ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดมากกว่า 50 ตันขึ นไป ทดสอบอย่างน้อย 3 เดือน ต่อ 1 ครั ง (2.2) ประเภทก่อสร้าง การทดสอบครั งนี เป็นรอบที่ 1 2 3 4 อื่นๆ การทดสอบครั งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดไม่เกิน 3 ตัน ทดสอบ อย่างน้อย 6 เดือน ต่อ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดมากกว่า 3 ตันขึนไป ทดสอบอย่างน้อย 3 เดือน ต่อ 1 ครั ง แบบ ปจ. 1

  • 2 - 2. ผู้ทำการทดสอบ ได้ดาเนินการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น ชื่อสถานประกอบกิจการ เลขทะเบียนนิติบุคคล ประกอบกิจการ ชื่อนายจ้าง/ผู้กระทาการแทน สถานประกอบกิจการตังอยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตำบล เขต/อาเภอ จังหวัด โทรศัพท์ สถานประกอบกิจการมีปั้นจั่น จำนวน เครื่อง ปั้นจั่นเครื่องที่ทดสอบ เป็นเครื่องที่ ทำการทดสอบเมื่อวันที่ ขณะทดสอบปั้นจั่นใช้งานอยู่ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้บังคับปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ยึดเกาะวัสดุ ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม 3. ข้อมูลของผู้ผลิต ผู้สร้าง หรือผู้คำนวณออกแบบปั้นจั่น โดย : ชื่อผู้ผลิต/ผู้สร้าง ชื่อวิศวกรผู้คำนวณออกแบบ (กรณีไม่ได้มาจากผู้ผลิต) เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ยี่ห้อ ประเทศ ปีที่ผลิต หมายเลขเครื่อง รุ่น ขนาดเครื่องต้นกำลัง กิโลวัตต์/แรงม้า มาตรฐาน (ถ้ามี) ผู้นาเข้า/ผู้จำหน่าย (ถ้ามี)

  • 3 - ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร 4. ข้อมูลของผู้ดำเนินการทดสอบประกอบด้วย ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) หรือนิติบุคคล (ชื่อ) หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน/เลขทะเบียนนิติบุคคล เลขที่ ที่อยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตำบล เขต/อาเภอ จังหวัด โทรศัพท์/โทรสาร E-mail ผู้ทำการทดสอบมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี ( 1) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ และใบสำคัญ (ตามมาตรา 9) เลขที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต ( 2) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทนิติบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน หมดอายุวันที่ และใบอนุญาต (ตามมาตรา 11) เลขที่ หมดอายุวันที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยมีบุคลากรที่ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และไม่ได้อยู่ระหว่าง ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต เป็นผู้ทำการทดสอบชื่อ เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 5. กรณีทดสอบปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ ได้ดาเนินการทดสอบตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดและตามรายการ ดังนี้ 1) แบบปั้นจั่น ปั้นจั่นหอสูง ( Tower Crane) ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ( Overhead Crane) ปั้นจั่นขาสูง ( Gantry Crane) อื่นๆ (ระบุ) 2) ขนาดพิกัดการยก 2.1) ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย ( Safe Working Load) ผู้ผลิตกำหนด วิศวกรกำหนด 1 ปั้นจั่นขาสูง ตัน ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ตัน อื่นๆ (ระบุ) ตัน

  • 4 - 2.2) ตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ผู้ผลิตกำหนด วิศวกรกำหนด 1 สำหรับกรณีปั้นจั่นหอสูงให้แนบเอกสารตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ประกอบด้วย ที่แขนปั้นจั่นไกลสุด ตัน และที่แขนปั้นจั่นใกล้สุด ตัน ที่มุมองศามากสุด ตัน และที่มุมองศาน้อยสุด ตัน อื่นๆ ตัน 3) รายละเอียดคุณลักษณะ ( Specification) และคู่มือการใช้งานในการประกอบ การติดตัง การทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื อถอนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น มี โดยผู้ผลิตกำหนด มี โดยวิศวกรกำหนด ไม่มี เหตุผล 4) การดัดแปลงแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่น 2 มี (ระบุ) ไม่มี 5) โครงสร้างปั้นจั่น 5.1) สภาพโครงสร้างหลักของปั้นจั่น 3 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 5.2) สภาพรอยเชื่อมต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 5.3) สภาพของนอต สลักเกลียวยึด และหมุดยา เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 6) การติดตั งปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคง 4 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 7) การติดตั งนาหนักถ่วง ( Counterweight) ที่มั่นคง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8) ระบบต้นกำลัง 8.1) สภาพและความพร้อมของเครื่องยนต์ 8.1.1) ระบบหล่อลื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.2) ระบบเชื อเพลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.3) ระบบระบายความร้อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.4) การติดตั งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.5) ที่ครอบปิดหรือฉนวนหุ้มท่อไอเสีย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 5 - 8.2) มอเตอร์และระบบควบคุมไฟฟ้า 8.2.1) สภาพมอเตอร์ไฟฟ้า เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.2.2) การติดตั งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.2.3) สภาพแผงหรือสวิตซ์ไฟฟ้า รีเลย์ และอุปกรณ์อื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.3) ระบบส่งกำลัง ระบบตัดต่อกำลัง และระบบเบรก 8.3.1) สภาพของเพลา ข้อต่อเพลา เฟือง โซ่ และสายพาน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.3.2) ระบบคลัตช์ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.3.3) ระบบเบรก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 9) ครอบปิดหรือกั น ( Guard) ส่วนที่หมุน ส่วนที่เคลื่อนไหวได้ หรือส่วนที่อาจเป็นอันตราย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 10) ระบบควบคุมการทางานของปั้นจั่น 5 10.1) สภาพของแผงควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 10.2) สภาพกลไกที่ใช้ควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 11) ระบบไฮดรอลิก ( Hydraulic ) และระบบลม ( Pneumatic) 11.1) สภาพของท่อนามันและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 11.2) สภาพของท่อลมและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 12) สวิตซ์หยุดการทำงานของปั้นจั่นได้โดยอัตโนมัติ ( Limit Switches ) 6 12.1) การทำงานของตะขอชุดยก ( Upper Limit Switches ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 12.2) การทำงานของชุดรางเลื่อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 12.3) มุมแขนปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 6 - 13) การเคลื่อนที่บนรางหรือแขนของปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 14) การทำงานของชุดควบคุมพิกัดนาหนักยก (Overload Limit Switches ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15) ม้วนลวดสลิง ( Rope Drum) รอก และตะขอ 15.1) สภาพม้วนลวดสลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.2) มีลวดสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิงตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทำงานอย่างน้อย 2 รอบ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.3) อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกกับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง เว้นแต่อัตราส่วน ระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรือล้อใดๆ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิงที่พันตามที่ผู้ผลิตกำหนด 15.3.1) รอกปลายแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า 18 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.3.2) รอกของตะขอไม่น้อยกว่า 16 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.3.3) รอกหลังแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า 15 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4) สภาพตะขอ 15.4.1) การบิดตัวของตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.2) การถ่างออกของปากตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ 5 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.3) การสึกหรอที่ท้องตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ 10 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.4) ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอแตกหรือร้าว เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.5) ไม่มีการเสียรูปทรงหรือสึกหรอของห่วงตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.6) มีชุดล็อกป้องกันลวดสลิงหลุดจากตะขอ ( Safety Latch) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 16) ลวดสลิงเคลื่อนที่ ( Running Ropes) 16.1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า 5 ( Safety Factor ) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี

  • 7 - 16.2) ในหนึ่งช่วงเกลียว ( Rope Lay ) เส้นลวดขาดน้อยกว่า 3 เส้น ในเส้นเกลียวเดียวกัน (Strand ) หรือน้อยกว่า 6 เส้น ในหลายเส้นเกลียวรวมกัน หรือตามที่ผู้ผลิตกำหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 17) ลวดสลิงยึดโยง ( Standing Ropes) 17.1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า 3.5 ( Safety Factor ) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี 17.2) เส้นลวดขาดตรงข้อต่อน้อยกว่า 2 เส้น ในหนึ่งช่วงเกลียว หรือตามที่ผู้ผลิตกำหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18) สภาพลวดสลิง 18.1) ลวดเส้นนอกสึกไปน้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.2) ไม่มีการขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชำรุด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.3) เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงไม่เกินร้อยละ 5 ของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระบุ ( Nominal Diameter ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.4) ไม่ถูกความร้อนทำลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.5) ไม่ถูกกัดกร่อนชารุดมากจนเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 19) อุปกรณ์ป้องกันการชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั งสองข้างของราง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 20) กรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างขึนไปทำงานบนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่นที่มีความสูงเกิน 2 เมตร ต้องมีบันได พร้อมราวจับและโครงโลหะกันตก หรือจัดให้มีอุปกรณ์อื่นใดที่มีความเหมาะสม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 21) การจัดทำพืนชนิดกันลื่นราวกันตก และแผงกันตกระดับพืน (ชนิดที่ต้องจัดทำพืนและทางเดิน) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 22) สัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทำงานโดยติดตั งไว้ให้เห็นและได้ยินชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 23) มีป้ายบอกพิกัดนาหนักยกไว้ที่ปั้นจั่น และรอกของตะขอ ( Hook Block ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24) ตารางแสดงพิกัดนาหนักยกสิ่งของ ( Load Chart ) ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 8 - 25) รูปภาพหรือคู่มือการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ติดไว้ที่จุดหรือตาแหน่ง ที่ลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 26) เครื่องดับเพลิงพร้อมใช้งานได้ที่ห้องบังคับปั้นจั่น หรือตำแหน่งที่สามารถใช้งานได้สะดวก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 27) อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ 7 นาหนักที่ใช้ทดสอบการยก ระบุ นาหนัก ตัน เครื่องมือวัด ระบุ วิธีการตรวจสอบแนวเชื่อม ระบุ อื่นๆ ระบุ 28) การทดสอบการรับนาหนักของปั้นจั่นในครังนีเป็นการทดสอบในกรณี (นาหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้ การทดสอบด้วยนาหนักจริงหรือทดสอบด้วยนาหนักจำลอง ( Load simulation )) 28.1) ปั้นจั่นใหม่ (หลังการติดตั งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน) ผลการทดสอบการรับนาหนัก ของพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย ( Safe Working Load) ก) ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดไม่เกิน 20 ตัน ให้ทดสอบการรับนาหนักที่ 1 – 1.25 เท่า ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ข) ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนดมากกว่า 20 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตัน ให้ทดสอบการรับนาหนักเพิ่มอีก 5 ตัน จากพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ค) ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนดมากกว่า 50 ตัน ขึ นไป ให้ทดสอบการรับนาหนักที่ 1.1 เท่า ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ง) ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยสูงสุดตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดสาหรับปั้นจั่นหอสูง ให้ทดสอบการรับนาหนักที่ 1 เท่า ของพิกัดนาหนักยกสูงสุดและต่าสุดตามตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) แต่ต้องไม่เกินขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย ( Safety Working Load) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) 28.2) ปั้นจั่นที่ใช้งานแล้ว 28.2 . 1) ผลการทดสอบการรับนาหนักที่ 1.25 เท่าของนาหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด 8 โดยไม่เกิน ขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย ( Safe Working Load) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการติดตั งเสร็จ (กรณีย้ายที่ตั งใหม่) ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั งแต่ 6 เดือนขึ นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน

  • 9 - 28.2.2) กรณีปั้นจั่นหอสูง ผลการทดสอบการรับนาหนักที่ 1 - 1.25 เท่า ของนาหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด 8 แต่ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการติดตั งเสร็จ (กรณีย้ายที่ตั งใหม่) ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั งแต่ 6 เดือนขึ นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน หรือการเพิ่มหรือลดความสูง 29) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน 29.1) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน (ไม่เกินขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัย) 29.2) กรณีปั้นจั่นหอสูงพิกัดนาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน (ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart)) - นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ 30) กรณีมีรายการทดสอบเพิ่มเติมตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนด (สามารถแนบเอกสารเพิ่มเติม)

  • 10 - รายการเพิ่มเติมกรณีตรวจสอบ ทดสอบ หรือแก้ไข ปรับแต่ง สิ่งชารุดบกพร่อง หมายเหตุ 1. กรณีข้อใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่น ไม่ต้องดาเนินการทำเครื่องหมาย หรือลงรายละเอียดในหัวข้อดังกล่าว 2. การตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่นต้องมีภาพถ่ายของวิศวกรขณะทดสอบ สาเนาใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสำเนาผู้ขึนทะเบียนตามมาตรา 9 หรือผู้ได้รับอนุญาตตามมาตรา 11 แล้วแต่กรณี พร้อมทั งเก็บไว้เป็นหลักฐานให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้

  • 11 - คำชีแจงรายการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สาหรับปั้นจั่น 1 วิศวกรต้องคำนวณหาขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยของปั้นจั่นแต่ละชนิด 2 วิศวกรต้องคานวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบกรณีมีการดัดแปลงส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่มีผล ต่อการรับนาหนักหรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก 3 โครงสร้างหลักหมายถึง ชินส่วนที่รับนาหนัก หรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก เช่น คาน เสา เพลา ล้อ รางเลื่อน แขนต่อ ข้อต่อทุกจุด สลักเกลียวยึด และแนวเชื่อม เป็นต้น 4 ต้องมีเอกสารการรับรองการติดตังปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม สาขาโยธา ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 5 ให้มีการทดสอบความแม่นยาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี ทิศทาง ระยะ ความเร็ว รัศมี มุมยก 6 Limit switch ที่ใช้ทาการยกขึนสูงสุด-ลดลงต่าสุด , ชุดรางเลื่อนซ้ายสุด-ขวาสุด , ชุดรางเลื่อนหน้าสุด-หลังสุด กรณีปั้นจั่นหอสูงแขนเลื่อนไกลสุด-ใกล้สุด , มุมกวาดซ้ายสุด-ขวาสุด 7 นาหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยนาหนักจริง หรือทดสอบด้วยนาหนักจำลอง เช่น Load cell หรือ Dynamometer เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้วัดขนาดและเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง สลักเกลียว ตะขอและอื่นๆ เช่น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ หรือเครื่องมืออื่นที่มีความละเอียดในการวัดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิเมตร การตรวจสอบแนวเชื่อมโดยใช้ดุลยพินิจของวิศวกรผู้ทดสอบ เช่น การตรวจสอบด้วยสายตา การใช้สารแทรกซึม ผงแม่เหล็ก ( Magnetic Particle Inspection) คลื่นเสียง รังสี เป็นต้น ตามสภาพและความจาเป็นของชินงานอื่นๆ ให้วิศวกรผู้ทดสอบระบุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว 8 กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแล้วให้ทดสอบการรับนาหนักที่ 1.25 เท่า ของนาหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด โดยไม่เกินพิกัด นาหนักยกอย่างปลอดภัยที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ เช่น ตัวอย่างที่ 1 ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ 10 ตัน ใช้งานจริงสูงสุด 6 ตัน จะต้องทดสอบที่ 6 x 1.25 จะเท่ากับ 7.5 ตัน ต้องทดสอบการรับนาหนักที่ 7.5 ตัน ตัวอย่างที่ 2 ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ 10 ตัน ใช้งานจริงสูงสุด 9 ตัน จะต้องทดสอบที่ 9 x 1.25 จะเท่ากับ 11.25 ตัน แต่เนื่องจากเกินกว่านาหนักที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ดังนั น ต้องทดสอบการรับนาหนักที่ 10 ตัน เรียบร้อย หมายถึง มี ถูกต้อง ครบถ้วน ใช้การได้จริง ไม่เรียบร้อย หมายถึง ไม่มี ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ใช้การไม่ได้ หรือไม่พร้อมใช้งาน หมายเหตุ วิศวกรผู้ลงนามจะต้องกรอกข้อมูลรายละเอียดไว้ในแบบให้เรียบร้อยและครบถ้วนที่สุด ด้วยความถูกต้อง เที่ยงตรง โดยความรับผิดชอบในความปลอดภัยของส่วนรวมตามจรรยาบรรณและมารยาทอันดีในการประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม

  • 12 - ข้าพเจ้าขอรับรองว่าในการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยในการใช้ปั้นจั่นครังนี วิศวกรได้ดาเนินการ ตรวจสอบและทดสอบปั้นจั่น ตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนด และนายจ้างได้ดาเนินการซ่อมแซม แก้ไข และปรับปรุง กรณีพบข้อบกพร่องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ตามหลักวิชาการทางวิศวกรรม และตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือที่ผู้ผลิตกาหนดหรือวิศวกรกาหนด เป็นที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว จึงลงลายมือชื่อร่วมกันไว้เป็นหลักฐานสำคัญ ดังนี ตามข้อ 4 (1) ลงชื่อ วันที่ ( ) วิศวกรซึ่งได้รับใบสาคัญการขึนทะเบียนตามมาตรา 9 เป็นผู้ทดสอบ ตามข้อ 4 (2) ลงชื่อ วันที่ ( ) นิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 11 /หรือผู้กระทาการแทน และลงชื่อ วันที่ ( ) บุคลากรของนิติบุคคลตามข้อ 4 (2) ซึ่งเป็นวิศวกร และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นผู้ทดสอบ ลงชื่อ วันที่ ( ) นายจ้างของสถานประกอบกิจการ/ผู้กระทำการแทน หมายเหตุ การรับรองตามแบบการทดสอบปั้นจั่นนี เป็นการลงลายมือชื่อสาหรับการตรวจสอบและทดสอบ ของวิศวกรเท่านั น แต่ไม่ได้เป็นการตรวจรับรองงานตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร ประทับตรา นิติบุคคล (ถ้ามี) ประทับตรา นิติบุคคล (ถ้ำมี)

แบบการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน และส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ 1. การทดสอบกรณี (1) การทดสอบตามข้อ 57 ปั้นจั่นที่มีการติดตั งแล้วเสร็จ กรณีปั้นจั่นใหม่หลังการติดตั งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแต่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง หรือการเพิ่มหรือลดความสูง ปั้นจั่นหยุดการใช้งานตั งแต่ 6 เดือนขึ นไป ก่อนนำมาใช้งานใหม่ ปั้นจั่นที่ใช้สาหรับประเภทการทำงาน ประเภทอุตสาหกรรม ตั งแต่ 1 ตันขึ นไป ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน ประเภทก่อสร้าง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน ประเภทอื่นๆ ระบุ ตั งแต่ 1 ตันขึ นไป ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ขนาด ตัน (2) การทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามข้อ 58 (2.1) ประเภท อุตสาหกรรม อื่นๆ ระบุ การทดสอบครั งนี เป็นรอบที่ 1 2 3 4 อื่นๆ การทดสอบครั งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดตั งแต่ 1 ตัน แต่ไม่เกิน 3 ตัน ทดสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนดมากกว่า 3 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตัน ทดสอบอย่างน้อย 6 เดือน ต่อ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนดมากกว่า 50 ตันขึ นไป ทดสอบอย่างน้อย 3 เดือน ต่อ 1 ครั ง (2.2) ประเภทก่อสร้าง การทดสอบครั งนี เป็นรอบที่ 1 2 3 4 อื่นๆ การทดสอบครั งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดไม่เกิน 3 ตัน ทดสอบ อย่างน้อย 6 เดือน ต่อ 1 ครั ง ขนาดพิกัดนาหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดมากกว่า 3 ตันขึนไป ทดสอบอย่างน้อย 3 เดือน ต่อ 1 ครั ง แบบ ปจ. 2

  • 2 - 2. ผู้ทำการทดสอบ ได้ดาเนินการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น ชื่อสถานประกอบกิจการ เลขทะเบียนนิติบุคคล ประกอบกิจการ ชื่อนายจ้าง/ผู้กระทาการแทน สถานประกอบกิจการตังอยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตำบล เขต/อาเภอ จังหวัด โทรศัพท์ สถานประกอบกิจการมีปั้นจั่นจำนวน เครื่อง ปั้นจั่นเครื่องที่ทดสอบ เป็นเครื่องที่ ทำการทดสอบเมื่อวันที่ ขณะทดสอบปั้นจั่นใช้งานอยู่ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้บังคับปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ยึดเกาะวัสดุ ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ( 1) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 2) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ( 3) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม 3. ข้อมูลของผู้ผลิต ผู้สร้าง หรือผู้คำนวณออกแบบปั้นจั่น โดย : ชื่อผู้ผลิต/ผู้สร้าง ชื่อวิศวกรผู้คำนวณออกแบบ (กรณีไม่ได้มาจากผู้ผลิต) เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ยี่ห้อ เลขทะเบียนยานพาหนะ (จากหน่วยงานของรัฐ) ประเทศ ปีที่ผลิต หมายเลขเครื่อง รุ่น ขนาดเครื่องต้นกำลัง กิโลวัตต์/แรงม้า มาตรฐาน (ถ้ามี) ผู้นาเข้า/ผู้จำหน่าย (ถ้ามี)

  • 3 - ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร 4. ข้อมูลพื้นฐานของผู้ดำเนินการทดสอบประกอบด้วย ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) หรือนิติบุคคล (ชื่อ) หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน/เลขทะเบียนนิติบุคคล เลขที่ ที่อยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตำบล เขต/อาเภอ จังหวัด โทรศัพท์/โทรสาร E-mail ผู้ทำการทดสอบต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี ( 1) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ และใบสำคัญ (ตามมาตรา 9) เลขที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต ( 2) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทนิติบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน หมดอายุวันที่ และใบอนุญาต (ตามมาตรา 11) เลขที่ หมดอายุวันที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยมีบุคลากรที่ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และไม่ได้อยู่ระหว่าง ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต เป็นผู้ทำการทดสอบชื่อ เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 5. กรณีทดสอบปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ได้ดาเนินการทดสอบตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนดและตามรายการ ดังนี้ 1) แบบปั้นจั่น รถปั้นจั่นไฮดรอลิกล้อยาง รถปั้นจั่นล้อตีนตะขาบ เรือปั้นจั่น อื่นๆ (ระบุ) 2) ตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ผู้ผลิตกำหนด วิศวกรกาหนด 1 ให้แนบเอกสารตาราง แสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ประกอบด้วย ที่แขนปั้นจั่นไกลสุด ตัน และที่แขนปั้นจั่นใกล้สุด ตัน ที่มุมองศามากสุด ตัน และที่มุมองศาน้อยสุด ตัน อื่นๆ ตัน

  • 4 - 3) รายละเอียดคุณลักษณะ ( Specification) และคู่มือการใช้งานในการประกอบ การติดตัง การทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรือถอนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น มี โดยผู้ผลิตกำหนด มี โดยวิศวกรกำหนด ไม่มี เหตุผล 4) การดัดแปลงแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่น 2 มี (ระบุ) ไม่มี 5) โครงสร้างปั้นจั่น 5.1) สภาพโครงสร้างหลักของปั้นจั่น 3 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 5.2) สภาพรอยเชื่อมต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 5.3) สภาพของนอต สลักเกลียวยึด และหมุดยา เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 6) การยึดปั้นจั่นไว้กับรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือพาหนะลอยนาอื่นที่มั่นคง 4 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 7) การติดตั งนาหนักถ่วง ( Counterweight) ที่มั่นคง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8) ระบบต้นกำลัง 8.1) สภาพและความพร้อมของเครื่องยนต์ 8.1.1) ระบบหล่อลื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.2) ระบบเชื อเพลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.3) ระบบระบายความร้อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.1.4) การติดตั งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.2) ระบบส่งกำลัง ระบบตัดต่อกำลัง และระบบเบรก 8.2.1 ) สภาพของเพลา ข้อต่อเพลา เฟือง โซ่ และสายพาน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.2.2 ) ระบบคลัตช์ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 8.2.3) ระบบเบรก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 5 - 9) ครอบปิดหรือกั น ( Guard) ส่วนที่หมุน ส่วนที่เคลื่อนไหวได้ หรือส่วนที่อาจเป็นอันตราย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 10) ที่ครอบปิดหรือฉนวนหุ้มท่อไอเสีย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 11) ระบบควบคุมการทางานของปั้นจั่น 5 11.1) สภาพของแผงควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 11.2) สภาพกลไกที่ใช้ควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 12) ระบบไฮดรอลิก ( Hydraulic ) และระบบลม ( Pneumatic) 12.1) สภาพของท่อนามันและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 12.2 ) สภาพของท่อลมและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 13) สวิตซ์หยุดการทำงานของปั้นจั่นได้โดยอัตโนมัติ ( Limit Switches ) 6 13.1) การทำงานของตะขอชุดยก ( Upper Limit Switches) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 13.2) มุมแขนปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 14) การทำงานของชุดควบคุมพิกัดนาหนักยก (Overload Limit Switches ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15) ม้วนลวดสลิง ( Rope Drum) รอก และตะขอ 15.1) สภาพม้วนลวดสลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.2) มีลวดสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิงตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทำงานอย่างน้อย 2 รอบ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.3) อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกกับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง เว้นแต่อัตราส่วน ระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรือล้อใดๆ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิงที่พันตามที่ผู้ผลิตกำหนด 15.3.1) รอกปลายแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า 18 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.3.2) รอกของตะขอไม่น้อยกว่า 16 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 6 - 15.3.3) รอกหลังแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า 15 : 1 หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกำหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4) สภาพตะขอ 15.4.1) การบิดตัวของตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.2) การถ่างออกของปากตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ 5 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.3) การสึกหรอที่ท้องตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ 10 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.4) ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอแตกหรือร้าว เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.5) ไม่มีการเสียรูปทรงหรือสึกหรอของห่วงตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 15.4.6) มีชุดล็อกป้องกันลวดสลิงหลุดจากตะขอ ( Safety Latch) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 16) ลวดสลิงเคลื่อนที่ ( Running Ropes) 16.1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า 5 ( Safety Factor ) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี 16.2) ในหนึ่งช่วงเกลียว ( Rope Lay) เส้นลวดขาดน้อยกว่า 3 เส้น ในเส้นเกลียวเดียวกัน ( Strand) หรือน้อยกว่า 6 เส้น ในหลายเส้นเกลียวรวมกัน หรือตามที่ผู้ผลิตกำหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 17) ลวดสลิงยึดโยง ( Standing Ropes) 17.1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า 3.5 ( Safety Factor ) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี 17.2) เส้นลวดขาดตรงข้อต่อน้อยกว่า 2 เส้น ในหนึ่งช่วงเกลียว หรือตามที่ผู้ผลิตกำหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18) สภาพลวดสลิง 18.1) ลวดเส้นนอกสึกไปน้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.2) ไม่มีการขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชารุด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 7 - 18.3) เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงไม่เกินร้อยละ 5 ของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระบุ ( Nominal Diameter) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.4) ไม่ถูกความร้อนทำลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 18.5) ไม่ถูกกัดกร่อนชารุดมากจนเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 19) สัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทำงานโดยติดตั งไว้ให้เห็นและได้ยินชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 20) มีป้ายบอกพิกัดนาหนักยกไว้ที่ปั้นจั่น และรอกของตะขอ (Hook Block) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 21) ตารางแสดงพิกัดนาหนักยกสิ่งของ ( Load Chart) ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 22) รูปภาพหรือคู่มือการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ติดไว้ที่จุดหรือตาแหน่ง ที่ลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 23) เครื่องดับเพลิงพร้อมใช้งานได้ที่ห้องบังคับปั้นจั่น หรือตำแหน่งที่สามารถใช้งานได้สะดวก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24) ระบบความปลอดภัย 7 24.1) Anti-two block devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24.2) Boom backstop devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24.3) Swing radius warning devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24.4) Boom Angle indicator เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 24.5) อื่นๆ (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 25) ขายันพืน ( Outriggers) 8 เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) 26) ระบบวัดความเสถียร (ระดับนา หรือมาตรวัดระดับความเอียง) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ)

  • 8 - 27) อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ 9 นาหนักที่ใช้ทดสอบการยก ระบุ นาหนัก ตัน เครื่องมือวัด ระบุ วิธีการตรวจสอบแนวเชื่อม ระบุ อื่นๆ ระบุ 28) การทดสอบการรับนาหนักของปั้นจั่นในครังนีเป็นการทดสอบในกรณี (นาหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้ การทดสอบด้วยนาหนักจริงหรือทดสอบด้วยนาหนักจำลอง ( Load simulation )) 28.1) ปั้นจั่นใหม่ (หลังการติดตังแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน) ผลการทดสอบการรับนาหนัก 1 เท่า ของพิกัดนาหนักยกสูงสุดและต่าสุดตามรางตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) แต่ต้องไม่เกินตามขนาดพิกัด นาหนักยกอย่างปลอดภัย ( Safety Working Load) ที่ผู้ผลิตกำหนด ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) 28.2) ปั้นจั่นที่ใช้งานแล้ว ผลการทดสอบการรับนาหนักที่ 1 - 1.25 เท่า ของนาหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด 10 แต่ต้องไม่เกินตามตาราง แสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกำหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั งแต่ 6 เดือนขึ นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน 29) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน (ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดนาหนักยก ( Load chart)) 29.1) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ 29.2) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ 29.3) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ 29.4) นาหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ 30) กรณีมีรายการทดสอบเพิ่มเติมตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนด (สามารถแนบเอกสารเพิ่มเติม)

  • 9 - รายการเพิ่มเติมกรณีตรวจสอบ ทดสอบ หรือแก้ไข ปรับแต่ง สิ่งชารุดบกพร่อง หมายเหตุ 1. กรณีข้อใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่น ไม่ต้องดาเนินการทำเครื่องหมาย หรือลงรายละเอียดในหัวข้อดังกล่าว 2. การตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่นต้องมีภาพถ่ายของวิศวกรขณะทดสอบ สาเนาใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสำเนาผู้ขึนทะเบียนตามมาตรา 9 หรือผู้ได้รับอนุญาตตามมาตรา 11 แล้วแต่กรณี พร้อมทั งเก็บไว้เป็นหลักฐานให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้

  • 10 - คำชีแจงรายการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สาหรับปั้นจั่น 1 วิศวกรต้องคำนวณหาขนาดพิกัดนาหนักยกอย่างปลอดภัยของปั้นจั่นแต่ละชนิด 2 วิศวกรต้องคานวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบกรณีมีการดัดแปลงส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่มีผล ต่อการรับนาหนักหรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก 3 โครงสร้างหลักหมายถึง ชินส่วนที่รับนาหนัก หรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก เช่น คาน เสา เพลา ล้อ รางเลื่อน แขนต่อ ข้อต่อทุกจุด สลักเกลียวยึด และแนวเชื่อม เป็นต้น 4 ต้องมีเอกสารการรับรองการติดตังปั้นจั่นบนรถ เรือ แพ โป๊ะหรือพาหนะลอยนาอย่างอื่นโดยผู้ได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 5 ให้มีการทดสอบความแม่นยำที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี ทิศทาง ระยะ ความเร็ว รัศมี มุมยก 6 Limit switch ที่ใช้ทำการยกขึ นสูงสุด-ลดลงต่ำสุด , ชุดเลื่อนซ้ายสุด-ขวาสุด , ชุดเลื่อนหน้าสุด-หลังสุด , มุมกวาดซ้ายสุด-ขวาสุด 7 ระบบความปลอดภัย Anti-two block devices หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันการใช้ตัวยกพร้อมกัน Boom backstop devices หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันแขนยกทำมุมชันเกินพิกัด Swing radius warning devices หมายถึง อุปกรณ์เตือนการใช้มุมกวาดของแขนยกเกินพิกัด Boom Angle indicator หมายถึง อุปกรณ์แสดงมุมของแขนยก 8 Outriggers หมายความรวมถึง แขนหรือขายึดทั งชนิดรูปตัว H และตัว A ขายัน สลักยึด แผ่นรอง และระบบไฮดรอลิค 9 นาหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยนาหนักจริง หรือทดสอบด้วยนาหนักจาลอง เช่น Load cell หรือ Dynamometer เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้วัดขนาดและเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง สลักเกลียว ตะขอและอื่นๆ เช่น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ หรือเครื่องมืออื่นที่มีความละเอียดในการวัดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิเมตร การตรวจสอบแนวเชื่อมโดยใช้ดุลยพินิจของวิศวกรผู้ทดสอบ เช่น การตรวจสอบด้วยสายตา การใช้สารแทรกซึม ผงแม่เหล็ก ( Magnetic Particle Inspection) คลื่นเสียง รังสี เป็นต้น ตามสภาพและความจาเป็นของชินงานอื่นๆ ให้วิศวกรผู้ทดสอบระบุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว 10 กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแล้วให้ทดสอบการรับนาหนักที่ 1.25 เท่า ของนาหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด โดยไม่เกินพิกัด นาหนักยกอย่างปลอดภัยที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ เช่น ตัวอย่างที่ 1 ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ 10 ตัน ใช้งานจริงสูงสุด 6 ตัน จะต้องทดสอบที่ 6 x 1.25 จะเท่ากับ 7.5 ตัน ต้องทดสอบการรับนาหนักที่ 7.5 ตัน ตัวอย่างที่ 2 ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ 10 ตัน ใช้งานจริงสูงสุด 9 ตัน จะต้องทดสอบที่ 9 x 1.25 จะเท่ากับ 11.25 ตัน แต่เนื่องจากเกินกว่านาหนักที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ดังนั น ต้องทดสอบการรับนาหนักที่ 10 ตัน เรียบร้อย หมายถึง มี ถูกต้อง ครบถ้วน ใช้การได้จริง ไม่เรียบร้อย หมายถึง ไม่มี ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ใช้การไม่ได้ หรือไม่พร้อมใช้งาน หมายเหตุ วิศวกรผู้ลงนามจะต้องกรอกข้อมูลรายละเอียดไว้ในแบบให้เรียบร้อยและครบถ้วนที่สุด ด้วยความถูกต้อง เที่ยงตรง โดยความรับผิดชอบในความปลอดภัยของส่วนรวมตามจรรยาบรรณและมารยาทอันดีในการประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม

  • 11 - ข้าพเจ้าขอรับรองว่าในการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยในการใช้ปั้นจั่นครังนี วิศวกรได้ดาเนินการ ตรวจสอบและทดสอบปั้นจั่น ตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกาหนด และนายจ้างได้ดาเนินการซ่อมแซม แก้ไข และปรับปรุง กรณีพบข้อบกพร่องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ตามหลักวิชาการทางวิศวกรรม และตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือที่ผู้ผลิตกาหนดหรือวิศวกรกาหนด เป็นที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว จึงลงลายมือชื่อร่วมกันไว้เป็นหลักฐานสำคัญ ดังนี ตามข้อ 4 (1) ลงชื่อ วันที่ ( ) วิศวกรซึ่งได้รับใบสาคัญการขึนทะเบียนตามมาตรา 9 เป็นผู้ทดสอบ ตามข้อ 4 (2) ลงชื่อ วันที่ ( ) นิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 11 /หรือผู้กระทาการแทน และลงชื่อ วันที่ ( ) บุคลากรของนิติบุคคลตามข้อ 4 (2) ซึ่งเป็นวิศวกร และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นผู้ทดสอบ ลงชื่อ วันที่ ( ) นายจ้างของสถานประกอบกิจการ/ผู้กระทำการแทน หมายเหตุ การรับรองตามแบบการทดสอบปั้นจั่นนี เป็นการลงลายมือชื่อสาหรับการตรวจสอบและทดสอบ ของวิศวกรเท่านั น แต่ไม่ได้เป็นการตรวจรับรองงานตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร ประทับตรา นิติบุคคล (ถ้ามี) ประทับตรา นิติบุคคล (ถ้ามี)