ประกาศคณะกรรมการแร่ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการแร่ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการแร่ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง พ.ศ. 2565 โดยที่มาตรา 54 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 ประกอบข้อ 10 ของกฎกระทรวง การขอและการออกอาชญาบัตรและประทานบัตร พ.ศ. 2564 กำหนดให้ผู้ประสงค์ จะขอรับประทานบัตรเพื่อทาเหมืองยื่นคาขอต่อเจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจาท้องที่ในท้องที่ ที่จะขอทาเหมืองพร้อมด้วยข้อมูล เอกสารหรือหลักฐาน ตามที่ระบุไว้ในแบบคาขอ ซึ่งอย่างน้อย ต้องประกอบด้วย แผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่ อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง อาศัยอานาจตามความในมาตรา 24 (7) และมาตรา 68 (8) แห่งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 คณะกรรมการแร่จึงให้ความเห็นชอบแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระ วังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมือง และหลังจากปิดเหมือง ที่มีการจัดทำตามหลักเกณฑ์อย่างน้อย ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการแร่ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง พ.ศ. 2565” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ในการจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทาเหมืองและหลังจากปิดเหมือง ให้มีรายละเอียด ดังนี้ ( 1 ) ให้นำเสนอเป้าหมายของการพัฒนาพื้นที่ภายหลังการทาเหมืองให้ชัดเจน พร้อมทั้ง เสนอแผนการฟื้นฟูให้สอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าว ( 2 ) มีการกำหนดระยะเวลาการฟื้นฟูให้สอดคล้องกับแผนผังโครงการทำเหมืองและอายุประทานบัตร ( 3 ) รายละเอียดของแผนการฟื้นฟูพื้นที่จากการทาเหมืองต้องระบุพื้นที่ดาเนินการ กิจกรรม และวิธีการ ในการฟื้นฟูแต่ละช่วงเวลา พร้อมงบประมาณที่ชัดเจน ( 4 ) ให้นาเสนอภาพหน้าเหมืองสุดท้ายของการทาเหมืองของโครงการ และนาเสนอแผนการฟื้นฟู ให้สอดคล้องกับหน้าเหมืองสุดท้ายของการทำเหมือง ( 5 ) กรณีโครงการมีการทำเหมืองร่วมแผนผังโครงการทำเหมือง หรือทำเหมืองร่วมกันบริเวณ รอยต่อของคาขอประทานบัตรหรือคาขอต่ออายุประทานบัตร ต้อ งเสนอแผนการฟื้นฟูในภาพรวมและ บริเวณรอยต่อของคำขอประทานบัตรหรือคาขอต่ออายุประทานบัตรด้วย ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 287 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 ธันวาคม 2565
( 6 ) ชนิดของพันธุ์ไม้ที่จะใช้ในการฟื้นฟูพื้นที่จากการทาเหมือง ควรเลือกพันธุ์ไม้พื้นเมืองหรือ ต้นไม้ประจาถิ่นซึ่งจะเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่และมีอัตราการอยู่รอดสูงเป็นกลุ่ มไม้เบิกนา หลังจากนั้น ควรเลือกปลูกพืชแบบผสมผสาน รวมทั้งพืชที่มีคุณสมบัติในการบารุงดิน เพื่อสร้างความหลากหลาย ทางชีวภาพให้กับพื้นที่ สร้างความชุ่มชื้นให้กับดิน และรักษาระบบนิเวศน์ให้ใกล้เคียงของเดิม ( 7 ) ให้มีแผนด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยภายหลังสิ้นสุ ดการทาเหมือง เช่น จัดทา แนวคันดินล้อมรอบพร้อมปลูกต้นไม้ตามแนวคันดินเพื่อป้องกันการพลัดตกลงไปในพื้นที่ขุมเหมืองหรือ บ่อดักตะกอน ติดตั้งป้ายเตือนกรณีคุณภาพน้ำในขุมเหมืองไม่มีความปลอดภัยในการนำมาใช้อุปโภคบริโภค เป็นต้น โดยในการนำเสนอแผนการฟื้นฟูพื้นที่จากการทาเหมือง ต้องแสดงตารางสรุปแผนการดาเนินการ ฟื้นฟูพื้นที่จากการทาเหมือง ประกอบด้วยข้อมูล กิจกรรมดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการในแต่ละปี ตลอดอายุประทานบัตร และตารางสรุปแผนงานการดาเนินการฟื้นฟูพื้นที่จากการทำเหมือง ปร ะกอบด้วย ข้อมูล ช่วงระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรมดาเนินการ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ ทั้งนี้ กรณีที่มี การทาเหมืองร่วมแผนผังโครงการทาเหมืองระหว่างคาขอประทานบัตรกับประทานบัตรที่อยู่ในช่วง ของการต่ออายุประทานบัตร ต้องเสนอแผนการฟื้นฟูในภาพรวมของทั้งโครงการแล ะแผนการฟื้นฟู แบบแยกรายโครงการ การจัดทำแผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ แนวทาง หรือข้อกาหนดในการจัดทารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเบื้องต้น รายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการ กิจการหรือการดาเนินการ ที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เป็นผู้พิจารณา หรือหลักเกณฑ์ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กาหนดสาหรับโครงการที่ไม่ต้องจัดทา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แล้ วแต่กรณี ข้อ 4 ในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ให้มีการ กำหนดมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่ ในระยะดาเนินการ ดังนี้ ( 1 ) กำหนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ( 2 ) กำหนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพเสียง ( 3 ) กำหนดจุดติดตามตรวจสอบความสั่นสะเทือน ในกรณีโครงการทำเหมืองมีกิจกรรมที่อาจ ส่งผลกระทบด้านความสั่นสะเทือน เช่น มีการใช้วัตถุระเบิดในการทำเหมือง เป็นต้น ( 4 ) กำหนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำผิวดิน ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 287 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 ธันวาคม 2565
( 5 ) กำหนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าใต้ดิน ในกรณีโครงการทาเหมือ งมีกิจกรรม ที่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำใต้ดินหรือการใช้ประโยชน์น้าใต้ดิน ( 6 ) กาหนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพดิน ในกรณีโครงการทาเหมืองมีข้อมูลธรณีวิทยา แหล่งแร่หรือองค์ประกอบทางเคมีของแร่ที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพดินอย่างมีนัยสำคัญ (7) กาหนดมาตรการเฝ้าระวังสุขภำพประชาชน ในกรณีโครงการทาเหมืองมีกิจกรรมที่อาจ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน (8) กำหนดมาตรการอื่น ๆ เพิ่มเติม ตามที่คณะกรรมการแร่พิจารณาให้ความเห็นชอบ การกาหนดจุดติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ แนวทาง หรือข้อกาหนดในการจัดทารายงานผ ลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น รายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการ กิจการหรือการดาเนินการ ที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เป็นผู้พิจารณา หรือหลักเกณฑ์ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กาหนดสาหรับโครงการที่ไม่ต้องจัดทา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แล้ วแต่กรณี ข้อ 5 แผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทำเหมืองและหลังจากปิดเหมือง ที่ใช้ประกอบการพิจารณาอนุญาตคาขอประทานบัตรและคาขอต่ออายุประทานบัตร ให้เป็นไปตาม เงื่อนไข ดั งนี้ ( 1 ) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว สาหรับโครงการที่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ ( 2 ) ได้รับความเห็นชอบจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐา นและการเหมืองแร่แล้ว สาหรับโครงการ ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เป็นผู้พิจารณารายงานการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม หรือ ( 3 ) ได้มีการจัดทาเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กำหนด สาหรับโครงการที่ไม่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประกาศกาหนด ข้อ 6 แผนการฟื้นฟู การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระหว่างที่มีการทาเหมืองและหลังจากปิดเหมือง ที่จัดทา ตามหลักเกณฑ์ตามประกาศฉบับนี้ และสำนักงานอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต ได้ตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับแผนผังโครงการทำเหมืองแล้ว ให้ถือว่าเป็นแผนการฟื้นฟู ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 287 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 ธันวาคม 2565
การพัฒนา การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ในระหว่ำงที่มีการทาเหมืองและหลังจากปิดเหมืองที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการแร่ และให้ เจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจาท้องที่นาแผนดังกล่าวประกอบการเสนอเรื่องพร้อมความเห็นไปยัง ผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อให้เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาออกประทานบัตรต่อไป ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 256 5 ภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านกากับตรวจสอบกระบวนการผลิต ประธานคณะกรรมการแร่ ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 287 ง ราชกิจจานุเบกษา 8 ธันวาคม 2565