Tue Nov 29 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย


ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย

ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย อาศัยอำนาจตามมาตรา 7 (3) และมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ที่กำหนดให้สภาวิชาชีพบัญชีมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการจัดทาบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชีและกฎหมายอื่น ทั้งนี้ มาตรฐาน การบัญชีนั้นต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมกา รกากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว จึงจะใช้บังคับได้ สภาวิชาชีพบัญชี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี ในการประชุมครั้งที่ 70 (4/2565) เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 จึงออกประกาศไว้ ดังต่ อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 20/2564 เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย ข้อ 3 ให้ใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล สำหรับธุรกิจประกันภัย ตามที่กาหนดท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 6 5 วรวิทย์ เจนธนากุล นายกสภาวิชาชีพบัญชี ้ หนา 3 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 279 ง ราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2565

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 ก แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย คา นา แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้จัดทาขึ้น โดยใช้ หลักการ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผย ข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน เว้นแต่ เรื่องการจัดประเภทและการวัดมูลค่า และการด้อยค่าของตราสารทุน และสัญญาแบบผสม ( ดู ตารางสรุปความแตกต่างสำหรับแนวปฏิบัติทางการบัญชีแ ละมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และเหตุผลของความแตกต่าง ) โดยเป็นการอ้างอิงหลักการเทียบเคียงหลักการ เดียวกันกับ มาตรฐานการ บัญชี ระหว่างประเทศ ฉบับ ที่ 39 เรื่อง การรับรู้และการวัดมูลค่าเครื่องมือ ทางการเงิน ประวัติการ แก้ไขเพิ่มเติม แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ใช้อ้างอิงเฉพาะสำหรับประเทศไทยเท่านั้น) ฉบับ แก้ไข เพิ่มเติม ปี การ แก้ไขเพิ่มเติม จากฉบับปีก่อนหน้า การ แก้ไขเพิ่มเติม เนื่องมาจาก 2565 โดยเพิ่มย่อหน้าที่ 7 . 1 . 7 7 . 2 . 26 และ ข 3 . 3 . 6 ก และแก้ไขเพิ่มเติมย่อหน้าที่ ข 3 . 3 . 6 และแก้ไข เพิ่มเติมย่อหน้าที่ 7 . 2 . 1 7 . 2 . 3 7 . 2 . 4 ถึง 7 . 2 . 6 7 . 2 . 12 ถึง 7 . 2 . 13 7 . 2 . 19 และ 8 . 35 ฏ  การปรับปรุงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ระหว่างประเทศ ประจาปี 2561 - 2563 และ  การตัดการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่านที่เป็นทางเลือกสำหรับ ประเทศไทยออก 2564 โดยเพิ่มย่อหน้าที่ 5 . 4 . 5 ถึง 5 . 4 . 9 6 . 8 . 13 ส่วนที่ 6 . 9 ย่อหน้าที่ 7 . 1 . 6 7 . 2 . 22 ถึง 7 . 2 . 25 8 . 19 ซ ถึง 8 . 19 ญ และ 8 . 36 ก ถึง 8 . 36 ง การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ระยะที่ 2 2563 โดย แก้ไขเพิ่มเติม ย่อหน้าที่ 7 . 2 . 2 1 และเพิ่ม ย่อหน้าที่ 6 . 8 . 1 ถึง 6 . 8 . 12 หัวข้อและหัวข้ อ ย่อย และ 7 . 1 . 5 การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง 256 2 โดย แก้ไขเพิ่มเติม ย่อหน้าที่ 2 . 1 5 . 5 . 16 ข 4 . 3 . 8 ข 5 . 5 . 34 ข 5 . 5 . 46 และ 8 . 23 และเพิ่ม  การชำระเงินก่อนครบกำหนด ที่ก่อให้เกิดการชดเชยติดลบ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 ข ย่อหน้าที่ 7 . 1 . 4 และปรับปรุงการอ้างอิง มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น  มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ** คํานํานี้ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของแนวปฏิบัติทํางกํารบัญชีฉบับนี้ **

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 1 แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 2 สารบัญ จากย่อหน้าที่ บทที่ 1 วัตถุประสงค์ 1 . 1 2 ขอบเขต 2 . 1 3 การรับรู้รายการและการ เลิกรับรู้ รายการ 3 . 1 . 1 3 . 1 การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก 3 . 1 . 1 3 . 2 การ เลิกรับรู้ รายการของสินทรัพย์ทางการเงิน 3 . 2 . 1 3 . 3 การ เลิกรับรู้ รายการของหนี้สินทางการเงิน 3 . 3 . 1 4 การจัดประเภทรายการ 4 . 1 . 1 4 . 1 การจัดประเภทรายการของสินทรัพย์ทางการเงิน 4 . 1 . 1 4 . 2 การจัดประเภทรายการของหนี้สินทางการเงิน 4 . 2 . 1 4 . 3 อนุพันธ์แฝง 4 . 3 . 1 4 . 4 การจัดประเภทรายการใหม่ 4 . 4 . 1 5 การวัดมูลค่า 5 . 1 . 1 5 . 1 การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรก 5 . 1 . 1 5 . 2 การวัดมูลค่าภายหลังของสินทรัพย์ทางการเงิน 5 . 2 . 1 5 . 3 การวัดมูลค่าภายหลังของหนี้สินทางการเงิน 5 . 3 . 1 5 . 4 การวัดมูลค่าราคาทุนตัดจาหน่าย 5 . 4 . 1 5 . 5 การด้อยค่า 5 . 5 . 1 5 . 6 ผลกาไรและขาดทุน 5 . 6 . 1 6 การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 1 . 1 6 . 1 วัตถุประสงค์และขอบเขตของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 1 . 1 6 . 2 เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 2 . 1 6 . 3 รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 3 . 1 6 . 4 การเข้าเงื่อนไขการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 4 . 1 6 . 5 การบัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข 6 . 5 . 1 6 . 6 การป ้ องกันความเสี่ยงของกลุ่มของรายการ 6 . 6 . 1 6 . 7 ทางเลือกในการเลือกกาหนดฐานะเปิดด้านเครดิตวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน 6 . 7 . 1 6 . 8 การยกเว้นสาหรับการถือปฏิบัติตามข้อกำหนดของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง โดยเฉพาะ เป็นการชั่วคราว 6 . 8 . 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 3 7 วันถือปฏิบัติ และการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน 7 . 1 . 1 7 . 1 วันถือปฏิบัติ 7 . 1 . 1 7 . 2 การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน 7 . 2 . 1 8 การเปิดเผยข้อมูล 8 . 1 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ศัพท์บัญญัติ ภาคผนวก ข แนวปฏิบัติ ภาคผนวก ค แนวปฏิบัติ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูล ตารางสรุปความแตกต่างสำหรับแนวปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและเหตุผลของความแตกต่าง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 4 บทนา เหตุผลในการออกแนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผย ข้อมูลสำหรับธุรกิจประกันภัย เนื่องจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย อนุญาตให้ผู้รับประกันภัย ที่ ใช้ การยกเว้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่าง ประเทศ ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน สามารถ ถือปฏิบัติตาม มาตรฐานกำ ร บัญชี ระหว่างป ระเทศ ฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรู้และการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน และให้ใช้ข้อกาหนดของมาตรฐาน การรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 9 ที่จำเป็นในการเปิดเผยข้อมูล และถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศฉบับอื่นๆ ที่เหมาะสมกั บเครื่องมือทางการเงินของ กิจการ สาหรับรอบ ระยะเวลารายงาน ก่อนวันที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มกราคม 2566 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย ย่อหน้าที่ 20 ก อนุญาตแต่ ไม่ได้กาหนดให้กิจการผู้รับประกันภัย ซึ่ง เข้าเงื่อนไขตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 20 ข มีทางเลือกใ นการ ยกเว้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเครื่ องมือทางการเงิน ซึ่ง มีผลบังคับใช้ ในปี 2563 เป็นการชั่วคราว และ หากผู้รับประกันภัยใช้ทางเลือก ดังกล่าว จะ สามารถถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศ ฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรู้ และการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน และ ต้อง ใช้ข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 ที่จาเป็นในการเปิดเผยข้อมูล และ ถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ที่เหมาะสมกับเครื่องมือทางการเงินของกิจการสาหรับ รอบ ระยะเวลารายงาน ก่อน วันที่ มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย (เมื่อมี การประกาศใช้) มีผลบังคับใช้ วันที่ 1 มกราคม 2568 อย่างไรก็ตา ม เนื่องจาก ประเทศไทยไม่เคยประกาศใช้มาตรฐานการ บัญชี ระหว่างประเทศ ฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรู้และ การวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน คณะทางานติดตามและศึกษาผลกระทบมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน เรื่อง สัญญาประกันภัย (คณะทางานฯ) จึงจัดทาแนว ปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ขึ้น เพื่อ ถือปฏิบัติ เป็นการชั่วคราว แทน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการ รายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 7 เ นื่องจาก การใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าว ก่อนมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย (เมื่อมีการประกาศใช้) จะ ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ประกันภัย ในประเทศไทย อย่างเป็นสาระสาคัญในประเด็นต่างๆ เช่นเดียวกับธุรกิจประกันภัยในต่างประเทศ ดังนี้ ( ก) ผู้ใช้งบการเงินอาจจะมีความยุ่งยากในการทำความเข้าใจ การจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชี ( Accounting Mismatch ) ที่เพิ่มขึ้นและความผันผวนชั่วคราวซึ่งสามารถเกิดในกาไรหรือ ขาดทุน ถ้ามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน มีผลบังคับใช้ก่อน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย (เมื่อมีการประกาศใช้) (อ้างอิง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 5 Exposure draft ( 2013 ) ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญา ประกันภัย ย่อหน้าที่ BC10 - BC16 ) (ข) บางกิจการที่มีการออกสัญญาภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย อาจจัดประเภทและวัดมูลค่า ไปก่อนแล้ว ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผย ข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน ก่อน ที่จะ ประเมินผลกระทบจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย (เมื่อมีการประกาศใช้) ให้ ครบถ้วน ซึ่งอาจทาให้เกิดการจับคู่ อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชี ( อ้างอิง Exposure draft ( 2013 ) ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย ย่อหน้าที่ BC17 - BC18 ) (ค) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สาคัญดังกล่าวข้างต้นมีการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาที่ ใกล้เคียงกัน ส่งผลให้เพิ่มต้นทุนและความพยายามทั้งในส่วนของผู้จัดทาและผู้ใช้งบการเงิน ( อ้างอิง Exposure draft ( 2013 ) ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญา ประกันภัย ย่อหน้าที่ BC19 - BC21 ) จาก ข้อจำกัด และ ผลกระทบต่อธุรกิจ ประกัน ภัย ในประเทศไทยในประเด็นต่างๆ ตามที่กล่าวข้างต้น แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้จึงถูกกาหนดขึ้นโดย มี ข้อกาหนด บาง เรื่อง กล่าวคือ การจัดประเภทรายการ และการวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน การด้อยค่าของตราสารทุน และสัญญาแบบผสม อาจมีความ แตกต่างจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน โดย เป็นการ อ้างอิง หลักการเทียบเคียงหลักการเดียวกันกับ มาตรฐานการ บัญชี ระหว่างประเทศ ฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรู้และ การวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งเป็น มาตฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศที่ธุรกิจ ประกันภัยในต่างประเทศใช้ข้อยกเว้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการชั่วคราว (ดู ตารางสรุปความแตกต่างสาหรับแนวปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และเหตุผลของความแตก ต่าง )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 6 แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทํางกํารเงิน และกํารเปิดเผยข้อมูลสําหรับธุรกิจประกันภัย บทที่ 1 วัตถุประสงค์ 1 . 1 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดหลักการสำหรับการรายงาน ทางการเงินสาหรับ สินทรัพย์ทางการเงิน และ หนี้สินทางการเงิน เพื่อเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจและเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินในการประเมินถึงจานวนเงิน จังหวะเวลา และ ความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดในอนาคตของกิจการ บทที่ 2 ขอบเขต 2 . 1 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ต้องถือปฏิบัติกับ ผู้รับประกันภัย ที่เข้าเงื่อนไข ตาม ย่อหน้าที่ 2 0 ก และ 2 0 ข ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย สาหรับเครื่องมือทางการเงินทุกประเภท ยกเว้นรายการต่อไปนี้ 2 . 1 . 1 ส่วนได้เสียในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า ตามที่กาหนดในมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบกํารเงินรวม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 เรื่อง งบกํารเงินเฉพําะกิจกําร หรือมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกํารร่วมค้ํา 2 . 1 . 2 สิทธิและภาระผูกพันภายใต้สัญญาเช่าที่ถือปฏิบัติ ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญําเช่ํา อย่างไรก็ตาม 2 . 1 . 2 . 1 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าเงินทุน (เช่น เงินลงทุนสุทธิในสัญญาเช่า เงินทุน) และลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดำเนินงานที่รับรู้โดยผู้ให้เช่า ให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ในเรื่อง การ เลิกรับรู้ รายการและการด้อยค่า 2 . 1 . 2 . 2 เจ้าหนี้ สัญญาเช่า ที่รับรู้โดยผู้เช่า ให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ในเรื่องการ เลิกรับรู้ รายการ ตามที่ระบุ ไว้ในย่อหน้าที่ 3 . 3 . 1 ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ และ 2 . 1 . 2 . 3 อนุพันธ์ที่แฝงในสัญญาเช่า ให้ปฏิบัติตามข้อกาหนด ของ แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับนี้ในเรื่องอนุพันธ์แฝง 2 . 1 . 3 สิทธิและภาระผูกพันของนายจ้างที่เกิดจากแผนสิทธิประโยชน์ของพนักงาน ที่ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงําน 2 . 1 . 4 เครื่องมือทางการเงินที่ออกโดยกิจการที่เป็นไปตามตามคานิยามของตราสารทุน ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ซึ่งรวมถึง สิทธิเลือกและใบสำคัญแสดง สิทธิ) หรือรายการที่จัดเป็นตราสารทุนตามข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 16 ก และ 16 ข

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 7 หรือย่อหน้าที่ 16 ค และ 16 ง ของมาตรฐานการบัญชี ฉบั บที่ 32 อย่างไรก็ตาม ผู้ถือตราสารทุนดังกล่าว ต้องถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้สาหรับ เครื่องมือทางการเงินเหล่านั้น เว้นแต่จะเป็นไปตามข้อยกเว้นในย่อหน้าที่ 2 . 1 . 1 ดังกล่าวข้างต้น 2 . 1 . 5 สิทธิและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นภายใต้ ( 1 ) สัญญาประกันภัยตามที่ระบุในมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญําประกันภัย ที่ไม่ใช่สิทธิและภาระ ผูกพันของผู้ออกที่เกิดภายใต้สัญญาประกันภัยที่เป็นไปตามคานิยามของสัญญา ค้าประกันทางการเงิน หรือ ( 2 ) สัญญาที่อยู่ในขอบเขตของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 4 เนื่องจากสัญญาดังกล่าวมีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ ตามดุลยพินิจ อย่างไรก็ตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ถือปฏิบัติกับอนุพันธ์ที่ แฝงอยู่ในสัญญาซึ่งอยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 หากอนุพันธ์แฝงดังกล่าว ด้วยตัวของอนุพันธ์เอง ไม่เป็นสัญญาภายใต้ ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 นอกจากนั้น ถ้าผู้ออก สัญญาค้าประกันทางการเงินยืนยันอย่างเปิดเผยก่อนหน้านี้ว่าพิจารณาสัญญา ดังกล่าวเป็นสัญญาประกันภัย และได้ใช้วิธีการบัญชีสำหรับสัญญาประกันภัย ผู้ออกสัญญาอาจเลือกถือปฏิบัติตาม แน วปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้หรือมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 กับสัญญาค้าประกันทางการเงินดังกล่าว (ดูย่อหน้าที่ ข 2 . 5 ถึง ข 2 . 6 ) ผู้ออกสัญญาอาจเลือกถือปฏิบัติได้สาหรับแต่ละ สัญญา แต่เมื่อเลือกแล้วไม่สามารถยกเลิกได้ 2 . 1 . 6 สัญญาฟอร์เวิร์ดใด ๆ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะขายหุ้น เพื่อซื้อหรือ ขายกิจการที่ถูกซื้อซึ่งนาไปสู่การรวมธุรกิจ ณ วันที่ซื้อในอนาคต ภายใต้ขอบเขต ของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง กํารรวมธุรกิจ โดยระยะเวลา ของสัญญา ฟอร์เวิร์ด ต้องไม่เกินระยะเวลาตามปกติที่สมเหตุสมผลที่จาเป็นต้อง ได้รับการอนุมัติและการทำรายการให้แล้วเสร็จ 2 . 1 . 7 ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่ไม่ใช่ภาระผูกพันที่อธิบายในย่อหน้าที่ 2 . 3 อย่างไรก็ตาม ผู้ออกภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อต้องถือปฏิบัติตามข้อกำหนด เรื่องการด้อยค่าตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้กับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ ซึ่งไม่ได้ถูกกาหนดเป็นอย่างอื่นภายใต้ขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ นอกจากนี้ ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อทั้งหมดให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ในเรื่ องการ เลิกรับรู้ รายการ 2 . 1 . 8 เครื่องมือทางการเงิน สัญญา และภาระผูกพันภายใต้รายการการจ่ายโดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์ที่ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 เรื่อง กํารจ่ําย โดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ยกเว้นสัญญาภายใต้ขอบเขตของย่อหน้าที่ 2 . 4 ถึง 2 . 7 ที่ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 8 2 . 1 . 9 สิทธิที่จะได้รับชาระเพื่อชดเชยรายจ่ายจากกิจการซึ่งกิจการต้องจ่ายเพื่อชำระ หนี้สินซึ่งรับรู้เป็นประมาณการหนี้สินตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่อง ประมําณกํารหนี้สิน หนี้สินที่อําจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อําจ เกิดขึ้น หรือ ประมาณการหนี้สินที่กิจการเคยรับรู้ในรอบระยะเวลารายงานก่อนหน้า ให้รับรู้ ประมาณการหนี้สินตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 2 . 1 . 1 0 สิทธิและภาระผูกพันภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รํายได้จํากสัญญําที่ท ํากับลูกค้ํา ที่เป็นเครื่องมือทางการเงิน เว้นแต่มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 กำหนดให้ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 2 . 2 ข้อกาหนดเกี่ยวกับการด้อยค่าของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ต้องถือปฏิบัติกับสิทธิ ซึ่ง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ระบุให้ถือ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการ บัญชีฉบับนี้ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการรับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า 2 . 3 ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อต่อไปนี้อยู่ภายใต้ขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 2 . 3 . 1 ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่กิจการเลือกกำหนดให้เป็นหนี้สินทางการเงินซึ่ง วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ( ดูย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 ) กิจการที่มี วิธีปฏิบัติในอดีตที่ขายสินทรัพย์ที่เกิดจากภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อภายใน ระยะเวลาอันสั้นหลังจากที่เกิดภาระผู กพันแล้ว ต้องถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้สาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อทั้งหมดของกิจการที่จัดอยู่ใน ประเภทเดียวกัน 2 . 3 . 2 ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่สามารถชาระสุทธิเป็นเงินสดหรือโดยการส่งมอบ หรือ ออกเครื่องมือทางการเงินอื่น ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อดังกล่าวเป็นอนุพันธ์ ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อไม่ถือว่าเป็นการชำระสุทธิเพียงแค่เพราะสินเชื่อนั้น มีการจ่ายชาระเป็นงวด (เช่น สินเชื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัยที่มีการจ่ายชาระเป็นงวด ตามความก้าวหน้าของการก่อสร้าง) 2 . 3 . 3 ภาระผูกพันที่จะให้กู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต ่ากว่าอัตราดอกเบี้ยตลาด (ดูย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 4 ) 2 . 4 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ต้องถือปฏิบัติกับสัญญาที่จะซื้อหรือจะขายราย การที่ไม่ใช่ รายการทางการเงินซึ่งสามารถชำระสุทธิเป็นเงินสดหรือเครื่องมือทางการเงินอื่น หรือ โดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน เสมือนว่าสัญญาดังกล่าวเป็นเครื่องมือ ทางการเงิน ยกเว้นสัญญาซึ่งทาขึ้นและถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับหรือส่งมอบรา ยการ ที่ไม่ใช่รายการทางการเงินตามข้อกาหนดการใช้ การขาย หรือการซื้อที่คาดการณ์ของ กิจการ อย่างไรก็ตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ต้องถือปฏิบัติกับสัญญาซึ่งกิจการเลือก กำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนตามที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 2 . 5 2 . 5 สัญญาจะซื้อหรือสัญญาจะขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงิน ซึ่งสามารถชาระสุทธิ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 9 เป็นเงินสดหรือเครื่องมือทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน เสมือนหนึ่งว่าสัญญาดังกล่าวเป็นเครื่องมือทางการเงิน กิจการอาจเลือกกาหนดให้สัญญา ดังกล่าววัดมูลค่าด้ วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ทั้งนี้ เมื่อกำหนดแล้วจะ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ แม้ว่าสัญญานั้นจะทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับหรือส่งมอบรายการ ที่ไม่ใช่รายการทางการเงินเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดการใช้ การขาย หรือการซื้อ ที่คาดการณ์ของกิจการ การเลื อกกาหนดวิธีการวัดมูลค่านี้ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อเริ่มต้น สัญญาและเพื่อเป็นการขจัดหรือลดความไม่สอดคล้องของการรับรู้รายการอย่างมีนัยสาคัญ (บางครั้งเรียกว่า การจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี ( accounting mismatch ) ) ซึ่งการ จับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชีจะเกิ ดขึ้นจากการไม่รับรู้สัญญานั้นเนื่องจากสัญญา ดังกล่าวไม่อยู่ในขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ดูย่อหน้าที่ 2 . 4 ) 2 . 6 สัญญาจะซื้อหรือสัญญาจะขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินสามารถชาระสุทธิเป็นเงินสด หรือเครื่องมือทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงินได้หลายวิธี ซึ่งรวมถึงกรณีต่อไปนี้ 2 . 6 . 1 เมื่อเงื่อนไขในสัญญายอมให้คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งชำระสุ ทธิเป็นเงินสดหรือ เครื่องมือทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน 2 . 6 . 2 เมื่อไม่ได้มีการระบุวิธีชาระไว้ชัดเจนในสัญญา ว่าจะชำระสุทธิด้วยเงินสดหรือเครื่องมือ ทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน แต่กิจการมีวิธีปฏิบัติ สำหรั บสัญญาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันโดยชำระสุทธิเป็นเงินสดหรือเครื่องมือ ทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน (ไม่ว่าจะด้วยการเข้าทา รายการกับคู่สัญญาโดยการทำสัญญาหักกลบหรือโดยการขายสัญญาก่อนที่จะมี การใช้สิทธิตามสัญญานั้นหรือก่อนสัญญาหมด อายุ) 2 . 6 . 3 เมื่อกิจการมีวิธีปฏิบัติสาหรับสัญญาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการรับมอบรายการ อ้างอิงและขายรายการดังกล่าวภายในระยะเวลาอันสั้นหลังการรับมอบเพื่อ วัตถุประสงค์ในการทากาไรจากความผันผวนในระยะสั้นของราคาหรือส่วนต่างของ ผู้ค้า และ 2 . 6 . 4 เมื่อรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินเป็นสาระของสัญญาซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็น เงินสดได้ทันที สัญญาซึ่งเป็นไปตามย่อหน้าที่ 2 . 6 . 2 หรือ 2 . 6 . 3 ที่ไม่ได้จัดทาขึ้นเพื่อรับหรือส่งมอบรายการ ที่ไม่ใช่รายการทางการเงินตามข้อกาหนดการใช้ การขาย หรือการซื้อที่คาดการณ์ ของกิจการ อยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ให้กิจการประเมินสัญญาอื่นๆ ตามย่อหน้าที่ 2 . 4 เพื่อพิจารณาว่าสัญญาดังกล่าวจัดทาขึ้นและถือไว้เพื่อรับหรือส่งมอบรายการ ที่ไม่ใช่รายการทางการเงินตามข้อกาหนดการใช้ การขาย หรือการซื้อที่คาดการณ์ ของกิจการ หรือไม่ และเพื่อพิจารณาว่าสัญญาดังกล่าวอยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ หรือไม่ 2 . 7 การออกสิทธิเลือกที่จะซื้อหรือจะขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงิน ซึ่งสามารถชาระสุทธิเป็น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 10 เงินสดหรือเครื่องมือทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน ตามย่อหน้าที่ 2 . 6 . 1 หรือ 2 . 6 . 4 อยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ สัญญาดังกล่าว ต้องไม่เป็นสัญญาที่จัดทำขึ้นเพื่อรับหรือส่งมอบรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินตาม ข้ อกาหนดการใช้ การขาย หรือการซื้อที่คาดการณ์ของกิจการ บทที่ 3 การรับรู้รายการและการ เลิกรับรู้ รายการ 3 . 1 การรับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรก 3 . 1 . 1 กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะ เมื่อกิจการเป็นคู่สัญญาตามข้อกาหนดของสัญญาของเครื่องมือทางการเงินนั้น (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 1 . 1 และ ข 3 . 1 . 2 ) เมื่อกิจการรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินใดๆ เป็นครั้งแรก กิจการต้อง จัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ถึง 4 . 1 . 8 และวัดมูลค่า ตามย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 ถึง 5 . 1 . 3 เมื่อกิจการรับรู้หนี้สินทางการเงินใดๆ เป็นครั้งแรก กิจการ ต้องจัดประเภทหนี้สินทางการเงินดังกล่าวตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 และ 4 . 2 . 2 และวัดมูลค่าตาม ย่อห น้าที่ 5 . 1 . 1 การซื้อหรือการขายสินทรัพย์ทางการเงินตามวิธีปกติ 3 . 1 . 2 กํารซื้อหรือกํารขําย สินทรัพย์ทางการเงิน ตํามวิธีปกติ ต้องรับรู้รายการหรือ เลิกรับรู้ รายการ โดยใช้การบัญชีวันซื้อขายหรือการบัญชีวันชาระตามความเหมาะสม (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 1 . 3 ถึง ข 3 . 1 . 6 ) 3 . 2 การ เลิกรับรู้ รายการของสินทรัพย์ทางการเงิน 3 . 2 . 1 สาหรับงบการเงินรวม ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 2 ถึง 3 . 2 . 9 และย่อหน้าที่ ข 3 . 1 . 1 ข 3 . 1 . 2 และ ข 3 . 2 . 1 ถึง ข 3 . 2 . 17 ให้ถือปฏิบัติในระดับงบการเงินรวม ดังนั้นให้กิจการ รวมบริษัทย่อยทั้งหมดให้เป็นกลุ่ม กิจการก่อนตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 แล้วจึงถือปฏิบัติตามย่อหน้า ดังกล่าวกับกลุ่มกิจการนั้น 3 . 2 . 2 กิจการต้องพิจารณาว่าย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 ต้องถือปฏิบัติกับบางส่วนของสินทรัพย์ ทางการเงิน (หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) หรือสินทรัพย์ทางการเงินทั้งจำนวน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกันทั้งจานวน) หรือไม่ แล้วจึงประเมินว่า กําร เลิกรับรู้ รํา ยกําร มีความเหมาะสม ตามข้อกาหนดที่ระบุในย่อหน้าดังกล่าวหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด โดยมีข้อพิจารณา ดังต่อไปนี้ 3 . 2 . 2 . 1 ให้ถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 กับบางส่วนของสินทรัพย์ทางการเงิน ( หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 11 ก็ต่อเมื่อส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการกาลังพิจารณา เลิกรับรู้ รายการเป็นไปตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 3 . 2 . 2 . 1 . 1 ส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวประกอบด้วยเพียงแค่ กระแสเงินสดที่ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงจากสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ) เช่น เมื่อกิจการ ขายแยกส่วนอัตราดอกเบี้ย ( interest rate strip ) ของสินทรัพย์ ทางการเงิน ซึ่งทาให้อีกฝ่ายได้รับสิทธิในกระแสเงินสด ส่วนที่เป็น ดอกเบี้ย แต่ไม่มีสิทธิในกระแสเงินสดส่วนที่เป็นเงินต้นของ ตราสารหนี้นั้ น ให้กิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 สาหรับกระแสเงินสดส่วนที่เป็นดอกเบี้ย 3 . 2 . 2 . 1 . 2 ส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวประกอบด้วยเพียงแค่ ส่วนแบ่งตามสัดส่วนอย่างเต็มที่ ( fully proportionate ( pro rata ) share ) ของกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของ สินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) เช่น เมื่อกิจการ ทำ ข้อตกลงที่ให้อีกฝ่ายได้สิทธิในส่วนแบ่งร้อยละ 90 ของ กระแสเงินสด ทั้งหมดจากตราสารหนี้ ให้กิจการถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 กับร้อยละ 90 ของกระแสเงินสดนั้น หากมีคู่สัญญาหลายฝ่าย คู่สัญญาแต่ละฝ่ายไม่จำเป็นต้องมี ส่วนแบ่งตามสัดส่วนของกระแสเงินสด ถ้ากิจการผู้โอนมีสิทธิใน ส่วนแบ่งตามสัดส่วนอย่างเต็มที่ 3 . 2 . 2 . 1 . 3 ส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวประกอบด้วยเพียงแค่ ส่วนแบ่งตามสัดส่วนอย่างเต็มที่ ของกระแสเงินสดที่ระบุไว้อย่าง เฉพาะเจาะจงจากสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) ตัวอย่างเช่น เมื่อกิจการ ทำข้อตกลงที่ให้อีกฝ่ำยได้สิทธิในส่วนแบ่งร้อยละ 90 ของ กระแสเงินสดส่วนที่เป็นดอกเบี้ยจากสินทรัพย์ทางการเงิน ให้กิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 กับร้อยละ 90 ของกระแสเงินสดส่วนที่เป็นดอกเบี้ยดังกล่าว หากมีคู่สัญญา หลายฝ่าย คู่สัญญาแต่ละฝ่ายไม่จาเป็นต้องมี ส่วนแบ่งตามสัดส่วน ของกระแสเงินสดที่ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจง ถ้ากิจการผู้โอน มีสิทธิในส่วนแบ่งตามสัดส่วนอย่างเต็มที่ 3 . 2 . 2 . 2 ในกรณีอื่นทั้งหมดให้กิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 กับสินทรัพย์ ทางการเงิน ทั้งจานวน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึง กันทั้งจานวน) เช่น เมื่อกิจการโอน ( 1 ) สิทธิในร้อยละ 90 แรกสุดหรือหลังสุด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 12 ของเงินสดที่ได้รับจากสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงิน) หรือ ( 2 ) สิทธิในร้อยละ 90 ของกระแสเงินสดจากกลุ่มลูกหนี้ แต่กิจการให้ การค้าประกันเพื่อชดเชยผลขาดทุนด้านเครดิตให้แก่ผู้ซื้อไม่เกินร้อยละ 8 ของ จานวนเงินต้นของลูกหนี้ ให้กิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 9 กับ สินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มี ลักษณะ คล้ายคลึงกันทั้งจานวน) ในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 ถึง 3 . 2 . 12 คำว่า “ สินทรัพย์ทางการเงิน ” หมายถึง บางส่วนของ สินทรัพย์ ทางการเงิน (หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) ตามที่ ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 2 . 1 หรือหมายถึงสินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน (หรือกลุ่มของ สินทรัพย์ ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันทั้งจานวน) 3 . 2 . 3 กิจการต้อง เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงิน เฉพาะเมื่อ 3 . 2 . 3 . 1 สิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ทางการเงินหมดอายุ หรือ 3 . 2 . 3 . 2 กิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงินตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 และ 3 . 2 . 5 และ การโอนนั้นเข้าเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 (ดูย่อหน้าที่ 3 . 1 . 2 สาหรับการขายสินทรัพย์ทางการเงินตามวิธีปกติ) 3 . 2 . 4 กิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงิน ก็ต่อเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 3 . 2 . 4 . 1 กิจการโอนสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ทางการเงินนั้น หรือ 3 . 2 . 4 . 2 กิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ ทาง การเงิน แต่รับภาระผูกพันตามสัญญาที่จะจ่ายกระแสเงินสดนั้นให้กับผู้รับ รายใดรายหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งรายตามข้อตกลงที่เป็นไปตามเงื่อนไขใน ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 3 . 2 . 5 เมื่อกิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ทางการเงิน ( “ สินทรัพย์เดิม ”) แต่รับภาระผูกพันตามสัญญาที่จะจ่ายกระแสเงินสดนั้นให้กับกิจการใด กิจการหนึ่งหรือหลายกิจการ (“ ผู้รับคนสุดท้าย ”) ให้กิจการถือว่ารายการดังกล่าวเป็น การโอนสินทรัพย์ทางการเงิน ก็ต่อเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขทั้งสามข้อดังต่อไปนี้ 3 . 2 . 5 . 1 กิจการไม่มีภาระผูกพันที่จะจ่ำยเงินจำนวนหนึ่งให้กับผู้รับคนสุดท้าย หากกิจการไม่ได้รับชาระเงินจานวนเดียวกันจากสินทรัพย์เดิม เงินล่วงหน้า ระยะสั้นที่กิจการให้ไปโดยที่กิจการมีสิทธิที่จะได้รับเงินต้นคืนเต็มจำนวน รวมทั้งดอกเบี้ยค้างรับตามอัตราดอกเบี้ยตลาด ไม่ถือเป็นการผิดเงื่อนไขนี้ 3 . 2 . 5 . 2 กิจการมีเงื่อนไขตามสัญญาที่ห้ามมิให้กิจการขายสินทรัพย์เดิมหรือ วางสินทรัพย์เดิมเป็นหลักประกัน นอกจากใช้เป็นหลักประกันสำหรับภาระ ผูกพันที่จะจ่ายกระแสเงินสดให้แก่ผู้รับคนสุดท้าย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 13 3 . 2 . 5 . 3 กิจการมีภาระผูกพันที่จะส่งมอบกระแสเงินสดใดๆ ที่กิจการรับชาระแทนผู้รับ คน สุดท้ายโดยไม่ล่าช้าอย่างมีสาระสำคัญ นอกจากนั้นกิจการไม่มีสิทธิที่จะ นากระแสเงินสดดังกล่าวไปลงทุนใหม่ เว้นแต่เป็นเงินลงทุนในเงินสดหรือ รายการเทียบเท่าเงินสด (ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 เรื่อง งบกระแสเงินสด ) ในช่วงระยะเวลาชาระสั้นๆ จากวันที่รับชา ระถึงวันที่ กาหนดให้ส่งมอบกระแสเงินสดให้ผู้รับคนสุดท้าย และดอกเบี้ยที่เกิดจาก การลงทุนนั้นให้ส่งผ่านไปยังผู้รับคนสุดท้ายด้วย 3 . 2 . 6 เมื่อกิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงิน (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 ) กิจการต้องประเมินว่ากิจการ ยังคงไว้ ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของของสินทรัพย์ทางการเงินไว้ มากน้อ ย เพียงใด 3 . 2 . 6 . 1 หากกิจการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมด ของสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการต้อง เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินนั้น และรับรู้สิทธิและภาระผูกพันใดๆ ที่เกิดขึ้นหรือที่ยังคงไว้จากการโอนเป็น สินทรัพย์หรือหนี้สินแยกจากกัน 3 . 2 . 6 . 2 หากกิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินนั้น ต่อไป 3 . 2 . 6 . 3 หากกิจการไม่ได้โอนหรือไม่ได้คงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความ เป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการต้องพิจารณาว่า กิจการยังคงมีการควบคุมสินทรัพย์ทางการเงินนั้นอยู่หรือไม่ 3 . 2 . 6 . 3 . 1 หากกิจการไม่คงไว้ซึ่งการควบคุม กิจการต้อง เลิกรับรู้ ราย การ สินทรัพย์ทางการเงินนั้น และรับรู้สิทธิและภาระผูกพันใดๆ ที่ เกิดขึ้นหรือที่ยังคงไว้จากการโอนเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินแยกจาก กัน 3 . 2 . 6 . 3 . 2 หากกิจการยังคงไว้ซึ่งการควบคุม กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ ทางการเงินนั้นต่อไปตราบเท่าที่กิจการยังคงมีความเกี่ยวข้อง ที่คง อยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินนั้น (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 16 ) 3 . 2 . 7 การประเมินการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทน (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 ) ให้เปรียบเทียบฐานะเปิด ของกิจการทั้งก่อนและหลังการโอนกับความผันผวนของจำนวนเงินและจังหวะเวลาของ กระแสเงินสดสุทธิของสินทรัพย์ที่โอน กิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็น เจ้าของเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน หากฐานะเปิดต่อความผันผวนในมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดสุทธิในอนาคตจากสินทรัพย์ทางการเงินนั้นไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญ อันเป็นผลมาจากการโอน (เช่น เนื่องจากกิจการ ขายสินทรัพย์ทางการเงินโดยมีข้อตกลง ที่จะซื้อคืนในราคาที่คงที่ หรือราคาขายบวกผลตอบแทนของผู้ให้กู้ยืม) กิจการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงินแล้ว หากฐานะเปิดต่อ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 14 ความผันผวนดังกล่าวไม่มีนัยสาคัญอีกต่อไปเมื่อเปรียบเทีย บกับความผันผวนทั้งหมดในมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิในอนาคตที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ทางการเงิน (เช่น เนื่องจากกิจการ ขายสินทรัพย์ทางการเงินโดยมีสิทธิเลือกที่จะซื้อคืนด้วย มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อคืน หรือกิจการ โอนส่วนแบ่งตามสัดส่วนอย่างเต็มที่ ของกระแสเงิน สดจากสินทรัพย์ทางการเงินที่ใหญ่กว่า ในข้อตกลงแล้ว เช่น การโอนขายต่อเงินให้กู้ยืม ( loan sub - participation ) ซึ่งเข้าเงื่อนไขตามที่ระบุ ในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 ) 3 . 2 . 8 บ่อยครั้งที่เป็นที่ชัดเจนว่ากิจการโอนหรือยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็น เจ้าของเกือบทั้งหมดจึงไม่มีความจาเป็นต้องทาการคานวณใดๆ ในกรณีอื่น กิจการจาเป็นต้อง คานวณและเปรียบเทียบฐานะเปิดต่อความผันผวนในมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิ ในอนาคตของกิจ การทั้งก่อนและหลังการโอน ให้กิจการใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดปัจจุบัน ที่เหมาะสมเป็นอัตราคิดลดในการคานวณและการเปรียบเทียบดังกล่าว ให้กิจการพิจารณาความ ผันผวนในกระแสเงินสดสุทธิที่เป็นไปได้อย่างมีเหตุผลทั้งหมดโดยให้น้าหนักมากกับผลลัพธ์ที่มี โอกาสเกิดขึ้นสูง 3 . 2 . 9 การพิจารณาว่ากิจการยังคงไว้ซึ่งการควบคุม (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 3 ) สินทรัพย์ที่โอนหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับโอนในการขายสินทรัพย์นั้น หากผู้รับโอนมีความสามารถ ในทางปฏิบัติ ที่จะขายสินทรัพย์นั้นทั้งจานวนให้กับบุคคลที่สามซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกัน และ สามารถทาได้เพียงฝ่ายเดียวโดยไม่จาเป็นต้องกาหนดข้อจากัดเพิ่มเติมในการโอน ให้ถือว่า กิจการไม่คงไว้ซึ่งการควบคุม ในกรณีอื่นทั้งหมดให้ถือว่ากิจการยังคงไว้ซึ่งการควบคุม การโอนที่เป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ 3 . 2 . 1 0 หากกิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งการโอนนั้นเป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน และกิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิในการให้บริการสินทรัพย์ทางการเงิน โดยได้รับค่าธรรมเนียม กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกิดจากการให้บริการสาหรับ สั ญญาบริการนั้น หากกิจการคาดว่าค่าธรรมเนียมที่จะได้รับชดเชยไม่เพียงพอสำหรับ การให้บริการของกิจการ กิจการต้องรับรู้หนี้สินที่เกิดจากการให้บริการสาหรับภาระผูกพัน การให้บริการด้วยมูลค่ายุติธรรม หากกิจการคาดว่าค่าธรรมเนียมที่จะได้รับมากกว่าที่จะ ชดเชยการให้บริ การ กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ที่เกิดจากการให้บริการสาหรับสิทธิในการ ให้บริการด้วยจานวนเงินที่กาหนดจากการปันส่วนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงิน ที่ใหญ่กว่า ตามข้อกำหนดที่ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 13 3 . 2 . 11 ในกรณีที่การโอนทาให้กิจการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน แต่กิจการ ได้รับสินทรัพย์ทางการเงินใหม่ หรือรับหนี้สินทางการเงินใหม่หรือหนี้สินที่เกิดจากการ ให้บริการ กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินใหม่ หนี้สินทางการเงินใหม่ หรือหนี้สินที่เกิด จากการให้บริการดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรร ม 3 . 2 . 12 ในการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่า

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 15 ต่อไปนี้ในกำไรหรือขาดทุน 3 . 2 . 12 . 1 มูลค่าตามบัญชี ( วัดมูลค่า ณ วันที่ เลิกรับรู้ รายการ) และ 3 . 2 . 12 . 2 สิ่งตอบแทนที่ได้รับ (รวมถึงสินทรัพย์ใหม่ใดๆ ที่ได้มาหักด้วยหนี้สินใหม่ใดๆ ที่ รั บมา) 3 . 2 . 13 หากสินทรัพย์ที่โอนเป็นส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทางการเงินที่ใหญ่กว่า (เช่น เมื่อกิจการโอน กระแสเงินสดส่วนที่เป็นดอกเบี้ย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตราสารหนี้ ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 2 . 1 ) และ ส่วนที่โอนนั้นเป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการทั้งจานวน มูลค่าตามบัญชีเดิมของ สินทรัพย์ทางการเงินที่ใหญ่กว่าต้องปันส่วนระหว่างส่วนที่ยังคงรับรู้ต่อไป และส่วนที่ เลิกรับรู้ รายการ โดยใช้เกณฑ์มูลค่ายุติธรรมเปรียบเทียบของส่วนต่างๆ ดังกล่าว ณ วันที่โอน เพื่อ วัตถุประสงค์นี้ กิจการต้องถือว่าสินทรัพย์ที่เกิดจากการให้บริการที่ยังคงอยู่ เป็นส่วนที่รับรู้ ต่อไป กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าต่อไปนี้ในกำไรหรือขาดทุน 3 . 2 . 13 . 1 มูลค่าตามบัญชี ( วัดมูลค่า ณ วันที่ เลิกรับรู้ รายการ) ที่ปันส่วนให้กับส่วนที่ เลิก รับรู้ รำยการ และ 3 . 2 . 13 . 2 สิ่งตอบแทนที่ได้รับสาหรับส่วนที่ เลิกรับรู้ รายการ (รวมถึงสินทรัพย์ใหม่ใดๆ ที่ ได้มาหักด้วยหนี้สินใหม่ใดๆ ที่รับมา) 3 . 2 . 14 เมื่อกิจการปันส่วนมูลค่าตามบัญชีก่อนหน้าของสินทรัพย์ทางการเงินที่ใหญ่กว่า ให้กับส่วนที่รับรู้ ต่อไป และส่วนที่ เลิกรับรู้ รายการให้กิจการ วัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนที่รับรู้ต่อไป ในกรณีที่ กิจการ เคยขายรายการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับส่วนที่รับรู้ต่อไปหรือในกรณีที่มีรายการซื้อขาย อื่นสาหรับรายการดังกล่าว ให้กิจการใช้ราคาล่าสุดของธุรกรรมที่เกิดขึ้นจริงเป็นประมาณการ ที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม ในกรณีที่ไม่มีราคาซื้อขายหรือไม่มีรายการซื้อขายล่าสุดที่จะ สนับสนุนมูลค่ายุติธรรมของส่วนที่รับรู้ต่อไป ให้กิจการใช้ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ทางการเงินที่ใหญ่กว่าโดยรวม และสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากผู้รับโอนสาหรับส่วนที่ เลิกรับรู้ รายการเป็นประมาณการที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม การโอนที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ 3 . 2 . 15 หากการโอนไม่ทาให้เกิดการ เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากกิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและ ผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ที่โอน กิจการต้องรับรู้รายการ สินทรัพย์ที่โอนทั้งจานวนต่อไป และต้องรับรู้หนี้สินทางการเงินสาหรับสิ่งตอบแทนที่ได้รับ และในรอบระยะเวลารายงานหลังจากนั้น กิจการต้องรับรู้รำยได้ใดๆ จากสินทรัพย์ที่โอน และค่าใช้จ่ายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากหนี้สินทางการเงินดังกล่าว ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ที่โอน 3 . 2 . 16 หากกิจการไม่ได้โอนหรือไม่ได้คงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ที่โอน และยังคงไว้ซึ่ งการควบคุมสินทรัพย์ที่โอน กิจการยังคง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 16 รับรู้สินทรัพย์ที่โอนต่อไปตามขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ ขอบเขตของ ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการในสินทรัพย์ที่โอน คือ ขอบเขตของที่กิจการมีฐานะเปิดต่อ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสินทรัพย์ที่โอน เช่น 3 . 2 . 16 . 1 เมื่อความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการอยู่ในรูปของการค้าประกันของสินทรัพย์ ที่โอน ขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ คือ จานวนเงินที่ต ่ากว่า ระหว่าง ( 1 ) จานวนเงินของสินทรัพย์ และ ( 2 ) จานวนเงินสูงสุดของสิ่งตอบ แทนที่ได้รับซึ่งกิจการอาจถูกเรียกให้ชำระคื น (จานวนเงินที่ค้าประกัน) 3 . 2 . 16 . 2 เมื่อความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการอยู่ในรูปของสิทธิเลือกที่กิจการ อ อก หรือสิทธิ เลือกที่กิจการซื้อ (หรือทั้งสองอย่าง) บนสินทรัพย์ที่โอน ขอบเขตของความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ คือ จานวนเงินของสินทรัพย์ที่โอน ซึ่งกิจการอาจซื้อ คืน อย่างไรก็ตาม ในกรณีของสิทธิเลือกขายสินทรัพย์ที่กิจการออก ซึ่งวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ขอบเขตขอ งความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการจะจากัดเพียง จานวนเงินที่ต ่ากว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอน และราคาใช้สิทธิ เลือก (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 2 . 13 ) 3 . 2 . 16 . 3 เมื่อความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการอยู่ในรูปของสิทธิเลือกที่ชำระด้วยเงินสด หรือข้อกาหนดที่คล้ายคลึงกันของสินทรัพย์ที่โอน ขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ จะวัดมูลค่าด้วยวิธีเดียวกันอันเป็นผลมาจากสิทธิเลือกที่ ไม่ได้ชำระด้วยเงินสด ตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 16 . 2 ข้างต้น 3 . 2 . 17 เมื่อกิจการยังคงรับรู้สินทรัพย์ต่อไปตามขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ให้กิจการรับรู้ หนี้สินที่เกี่ยวข้องด้วย แม้ว่าจะมีข้อกำหนดในการวัดมูลค่าอื่นๆ ในแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ สินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้องจะวัดมูลค่าตามเกณฑ์ที่สะท้อนถึงสิท ธิและ ภาระผูกพันที่กิจการยังคงไว้ หนี้สินที่เกี่ยวข้องจะวัดมูลค่าด้วยวิธีที่ทาให้มูลค่าตามบัญชี สุทธิของสินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้อง คือ 3 . 2 . 17 . 1 ราคาทุนตัดจาหน่ายของสิทธิและภาระผูกพันที่กิจการยังคงไว้ หากสินทรัพย์ ที่โอนนั้นวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย หรือ 3 . 2 . 17 . 2 มูลค่าที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสิทธิและภาระผูกพันที่กิจการยังคงไว้ เมื่อมีการวัดมูลค่าแบบแยกเป็นเอกเทศ หากสินทรัพย์ที่โอนนั้นวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรม 3 . 2 . 18 กิจการต้องรับรู้รายได้ใดๆ ที่เกิดขึ้น จากสินทรัพย์ที่โอนตามขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่ คงอยู่ ของกิจการ และต้องรับรู้ค่าใช้จ่ายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากหนี้สินที่เกี่ยวข้อง 3 . 2 . 19 เพื่อวัตถุประสงค์ในการวัดมูลค่าภายหลัง การรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้อง ให้ถือปฏิบัติตามข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 1 อย่างสม ่าเสมอในแต่ละข้อกำหนด โดยต้องไม่หักกลบ 3 . 2 . 2 0 หากขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ทาง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 17 การเงิน (เช่น เมื่อกิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิเลือกที่จะซื้อคืนสินทรัพย์ที่โอนบางส่วน หรือยัง คงไว้ซึ่งส่วนได้เสียคงเหลือที่ไม่ส่งผลให้กิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของ ความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดและกิจการยังคงไว้ซึ่งการควบคุม) ให้กิจการปันส่วนมูลค่า ตามบัญชีก่อนหน้านี้ของสินทรัพย์ทางการเงินระหว่างส่วนที่กิจการยังคงรับรู้ต่อไปภายใต้ ค วามเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ และส่วนที่กิจการไม่รับรู้อีกต่อไปโดยใช้เกณฑ์ของมูลค่ายุติธรรม เปรียบเทียบของส่วนต่างๆ เหล่านั้น ณ วันที่โอน เพื่อวัตถุประสงค์นี้ให้กิจการถือปฏิบัติตาม ข้อกาหนดที่ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 14 กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าต่อไปนี้ในกาไร ห รือขาดทุน 3 . 2 . 2 0 . 1 มูลค่าตามบัญชี ( วัดมูลค่า ณ วันที่ เลิกรับรู้ รายการ) ที่ปันส่วนให้กับส่วนที่ไม่ รับรู้อีกต่อไป และ 3 . 2 . 2 0 . 2 สิ่งตอบแทนที่ได้รับสำหรับส่วนที่ไม่รับรู้อีกต่อไป 3 . 2 . 21 หากสินทรัพย์ที่โอนวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย หนี้สินที่เกี่ยวข้องไม่สามารถใช้ทางเลือก ตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ที่อนุญาตให้กิจการเลือกกาหนดหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่า ด้วยด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน การโอนทุกประเภท 3 . 2 . 22 ถ้าสินทรัพย์ที่โอนยังคงรับรู้ต่อไป สินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องต้องไม่หักกลบ ในทานอง เดียวกันกิจการต้องไม่หักกลบรายได้ใดๆ ที่เกิดขึ้นจากสินทรัพย์ที่โอนกับค่าใช้จ่ายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากหนี้สินที่เกี่ยวข้อง (ดูย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ) 3 . 2 . 23 หากผู้โอนมอบหลักประกันที่ไม่ใช่เงินสด (เช่น ตราสารหนี้หรือตราสารทุน) ให้กับผู้รับโอน การบัญชีสำหรับหลักประกันของผู้โอนและผู้รับโอนขึ้นอยู่กับผู้รับโอนมีสิทธิที่จะนำ หลักประกันนั้นไปขายหรือวางเป็นประกันอีกทอดหนึ่งหรือไม่ และผู้โอนได้ปฏิบัติผิดสัญญา แล้วหรือไม่ ผู้โอนและผู้รับโอนต้องถือปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 3 . 2 . 23 . 1 หากผู้รับโอนมีสิทธิตามสัญญาหรือตามธรรมเนียมปฏิบัติที่จะนาหลักประกัน ไปขายหรือวางเป็นประกันอีกทอดหนึ่ง เช่นนี้ ผู้โอนต้องจัดประเภทรายการใหม่ สาหรับสินทรัพย์นั้นในงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ (เช่น ให้เป็นสินทรัพย์ ที่ให้ยืม ตราสารทุนที่วางเป็นประกัน หรือลูกหนี้ซื้อคืน) โดยแสดงแยกต่างหาก จากสินทรัพย์อื่น 3 . 2 . 23 . 2 หากผู้รับโอนขายหลักประกันที่ได้รับมา ผู้รับโอนต้องรับรู้สิ่ งที่ตอบแทนที่ได้รับ จากการขาย และรับรู้หนี้สินจากภาระผูกพันที่ต้องส่งคืนหลักประกันด้วยมูลค่า ยุติธรรม 3 . 2 . 23 . 3 หากผู้โอนปฏิบัติผิดสัญญาภายใต้ข้อกาหนดของสัญญา และไม่มีสิทธิที่จะ ไถ่ถอนหลักประกันคืนอีกต่อไป ผู้โอนต้อง เลิกรับรู้ รายการหลักประกันนั้น และ ผู้รับ โอนต้องรับรู้หลักประกันเป็นสินทรัพย์โดยวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่า

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 18 ยุติธรรม หรือ ในกรณีที่ผู้รับโอนได้ขายหลักประกันดังกล่าวไปแล้ว ผู้รับโอน ต้อง เลิกรับรู้ รายการภาระผูกพันที่ต้องส่งคืนหลักประกัน 3 . 2 . 23 . 4 ทั้งนี้ ยกเว้นที่ได้กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 23 . 3 ผู้โอนยังคงต้องยกยอด หลักประกันเป็นสินทรัพย์ และผู้รับโอนต้องไม่รับรู้หลักประกันเป็นสินทรัพย์ 3 . 3 การ เลิกรับรู้ รายการของหนี้สินทางการเงิน 3 . 3 . 1 กิจการต้องตัดรายการหนี้สินทางการเงิน (หรือบางส่วนของหนี้สินทางการเงิน) ออกจาก งบแสดงฐานะการเงิน เฉพาะเมื่อหนี้สิ นทางการเงินนั้นสิ้นสุดลง เช่น เมื่อภาระผูกพันที่ระบุ ในสัญญาได้มีการปฏิบัติตามแล้ว ได้มีการยกเลิก หรือสิ้นสุด 3 . 3 . 2 การแลกเปลี่ยนตราสารหนี้ที่มีความแตกต่างอย่างมากในข้อกาหนดระหว่างผู้กู้และผู้ให้กู้ ต้องถือเป็นการสิ้นสุดของหนี้สินทางการเงินเดิม และถือเป็นการรับรู้รายการของหนี้สิน ทางการเงินใหม่ ในทานองเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงอย่างมากในข้อกาหนดของหนี้สิน ทางการเงินที่มีอยู่หรือบางส่วนของหนี้สินนั้น (ไม่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะปัญหาทางการเงินของ ลูกหนี้หรือไม่ก็ตาม) ต้องถือปฏิบัติเป็นการสิ้นสุดของหนี้ สินทางการเงินเดิม และถือเป็น การรับรู้รายการของหนี้สินทางการเงินใหม่ 3 . 3 . 3 กิจการต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนสาหรับผลแตกต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีของหนี้สิน ทางการเงิน (หรือบางส่วนของหนี้สินทางการเงิน) ที่สิ้นสุดลงหรือที่ได้โอนให้กับกิจการอื่น และสิ่งตอบแทนที่ จ่ายซึ่งรวมถึงสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดที่ได้โอนไปหรือหนี้สินที่รับมา 3 . 3 . 4 หากกิจการซื้อคืนหนี้สินทางการเงินบางส่วน กิจการต้องปันส่วนมูลค่าตามบัญชีก่อนหน้านี้ของ หนี้สินทางการเงินระหว่างส่วนที่กิจการยังคงรับรู้ต่อไปและส่วนที่มีการ เลิกรับรู้ รายการ โดยใช้ เกณฑ์ของมูลค่ายุติธรรมเปรียบเทียบของส่วนต่างๆ เหล่านั้น ณ วันที่ซื้อคืน ผลแตกต่างระหว่าง ( 1 ) มูลค่าตามบัญชีที่ปันส่วนให้กับส่วนที่มีการ เลิกรับรู้ รายการ และ ( 2 ) สิ่งตอบแทนที่จ่าย ซึ่ง รวมถึงสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดที่ได้โอนไปหรือหนี้สินที่รับมาสาหรับส่ วนที่ เลิกรับรู้ รายการ ต้อง รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน บทที่ 4 การจัดประเภทรายการ 4 . 1 การจัดประเภทรายการของสินทรัพย์ทางการเงิน 4 . 1 . 1 ในกรณีที่ไม่ได้นําย่อหน้ําที่ 4 . 1 . 8 มําถือปฏิบัติ กิจกํารต้องจัดประเภท สินทรัพย์ทํางกํารเงิน ณ วันที่กิจกํารได้มํา ดังต่อไปนี้ 4 . 1 . 1 . 1 หลักทรัพย์เพื่อค้ํา 4 . 1 . 1 . 1 . 1 ตรําสํารทุน 4 . 1 . 1 . 1 . 2 ตรําสํารหนี้ 4 . 1 . 1 . 2 หลักทรัพย์เผื่อขําย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 19 4 . 1 . 1 . 2 . 1 ตรําสํารทุน 4 . 1 . 1 . 2 . 2 ตรําสํารหนี้ 4 . 1 . 1 . 3 ตรําสํารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด 4 . 1 . 1 . 4 ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลํารํายงําน กิจกํารต้องทบทวนควํามเหมําะสมในกํารจัดประเภท สินทรัพย์ทํางกํารเงินที่แสดงไว้แต่เดิม 4 . 1 . 2 สินทรัพย์ทางการเงินต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน หากสินทรัพย์ ทางการเงินนั้นไม่ได้มีการวัดมูลค่าตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 4 . 1 . 3 ตามปกติการค้าหลักทรัพย์เป็นการที่กิจการเข้าทำการซื้อขายหลักทรัพย์ที่มีสภาพซื้อง่าย ขายคล่องและสามารถเปลี่ยนมือได้บ่อย ดังนั้น หลักทรัพย์เพื่อค้าจึงหมายถึง หลักทรัพย์ที่ กิจการถือไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการหากาไรจากการขึ้นลงของราคาในช่วงเวลาสั้นๆ โดยจัดร วม เป็นกลุ่มหลักทรัพย์ซึ่งกิจการเจาะจงถือไว้เพื่อค้า ทาให้หลักทรัพย์ในกลุ่มมีการหมุนเวียนอย่าง ต่อเนื่อง หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าหลักทรัพย์ที่กิจการได้มาเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า ได้แก่ การที่ กิจการทาการซื้อขายกลุ่มหลักทรัพย์อย่างสม่าเสมอจนมีรูปแบบที่ชัดเจนว่าห ลักทรัพย์ในกลุ่ม มีการหมุนเวียนเพื่อทากาไรช่วงสั้นอย่างแน่นอน หลักทรัพย์ดังกล่าวแตกต่างจากหลักทรัพย์เผื่อขาย ซึ่งเป็นหลักทรัพย์ที่กิจการถือไว้เพื่อการอื่นโดยมิได้มีวัตถุประสงค์หลักที่จะค้าหลักทรัพย์นั้น แม้ว่ากิจการจะเต็มใจขายหลักทรัพย์ดังกล่าวทันทีที่โอกาสอานวย ดังนั้นหลักทรัพย์ที่กิจการ ได้มาโดยไม่มีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน ต้องจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขายในทัน ที ทั้งนี้ในกรณีที่เป็น เงินลงทุนในตราสารทุนเผื่อขายที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ต้องไม่เป็นสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายซึ่งเกิดจากการรวมธุรกิจตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ 4 . 1 . 4 กิจการ จะจัดประเภทตราสารหนี้เป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดก็ต่อเมื่อกิจการ มีความตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถที่จะถือตราสารดังกล่าวไปจนครบกาหนด โดยที่กิจการ จะไม่ขายตราสารดังกล่าวก่อนครบกาหนดหรือจะไม่โอนเปลี่ยนประเภทตราสารดังกล่าวเว้นแต่ จะเกิดสถานการณ์ตาม ที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 กิจการจะต้องทบทวนความตั้งใจที่จะถือ ตราสารหนี้ ที่จะถือจนครบกำหนดทุกรายการเพื่อโอนเปลี่ยนประเภทหากกิจการขายหรือ โอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนดรายการใดรายการหนึ่งทั้งที่สถานการณ์ ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ไม่เกิดขึ้น 4 . 1 . 5 การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่อไปนี้อาจทาให้กิจการต้องเปลี่ยนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้ ไปจนครบกาหนดโดยที่ไม่จาเป็นต้องทบทวนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้รายการอื่นไปจนครบ กาหนด การจาหน่ายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ดังกล่าวจะไม่ถือว่าเป็นการกระทา ที่ส ม่าเสมอกับการจัดประเภทที่ทาไว้เดิม 4 . 1 . 5 . 1 มีหลักฐานที่แสดงว่าความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารลดลงอย่างเป็นสาระสาคัญ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 20 4 . 1 . 5 . 2 มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายภาษีอากรซึ่งเป็นผลให้มีการยกเลิกหรือลดข้อลดหย่อน ทางภาษีอากรเกี่ยวกับดอกเบี้ยที่จะได้รับตราสารหนี้ซึ่งกรณีนี้ไม่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง อัตราภาษีโดยทั่วไป 4 . 1 . 5 . 3 มีการรวมกิจการหรือจาหน่ายกิจการที่สาคัญซึ่งทาให้กิจการต้องขายหรือโอนตราสาร ห นี้ ที่จะถือจนครบกาหนดเพื่อให้กิจการรักษาระดับความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ ยหรือ ความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการไว้ดังเดิม 4 . 1 . 5 . 4 มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ส่งผลให้กิจการไม่สามารถถือเงินลงทุนบางชนิดไว้ ในระดับที่กิจการเคยถือไว้ได้ ทาให้กิจการจาเป็นต้องจาหน่ายตราสารหนี้ดังกล่าว 4 . 1 . 5 . 5 มีการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนดหรือกฎหมายเกี่ยวกับกำรรักษาระดับเงินทุนของกิจการ ทาให้กิจการต้องลดขนาดลงโดยการขายเงินลงทุนดังกล่าว นอกจากสถานการณ์ข้างต้น กิจการอาจไม่จาเป็นต้องทบทวนความตั้งใจหรือความสามารถที่จะถือ ตราสารหนี้รายการอื่นไปจนครบกาหนด หากกิจการต้องขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ รายการหนึ่งเนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ ซึ่งสถานการณ์นี้เกิดจากเหตุการณ์ ที่ไม่เป็นปกติสาหรับกิจการหรือเกิดเหตุการณ์ที่เป็นเอกเทศและไม่คาดว่าจะเกิดขึ้นอีก กิจการ ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ดังกล่าวตามข้อกาห นด ที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 8 . 7 ง 4 . 1 . 6 กิจการต้องไม่จัดประเภทตราสารหนี้เป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนดหากกิจการเพียงแต่ ตั้งใจว่าจะถือตราสารหนี้นั้นไปอย่างไม่มีกาหนด หรือจะถือไว้เผื่อขายภายใต้สถานการณ์ต่อไปนี้ 4 . 1 . 6 . 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดของตราสารหนี้นั้ นเปลี่ยนไปทาให้ความเสี่ยงในการชาระหนี้ สูงขึ้น 4 . 1 . 6 . 2 กิจการมีความจำเป็นต้องเพิ่มสภาพคล่อง ตัวอย่างเช่น มีผู้มาขอคืนเงินมัดจำ มีผู้ต้องการกู้เงินเป็นจานวนมาก หรือกิจการต้องจ่ายค่าเรียกร้องจากกรมธรรม์ ประกันภัย 4 . 1 . 6 . 3 เงินลงทุนที่สามารถใช้ทดแทนตราสารหนี้ดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยที่จูงใจให้น่าลงทุนกว่า 4 . 1 . 6 . 4 มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขและแหล่งที่มาของเงินทุน 4 . 1 . 6 . 5 มีการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน 4 . 1 . 7 หากกิจการขายตราสารหนี้ในลักษณะตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่ อไปนี้ จะถือว่าการขายนั้นกระทา เมื่อครบกำหนด 4 . 1 . 7 . 1 กิจการขายตราสารหนี้เมื่อใกล้ถึงวันครบกำหนด หรือใกล้ถึงวันที่ผู้ออกตราสาร สามารถใช้สิทธิไถ่ถอนก่อนครบกาหนดหากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ผู้ออกตราสาร จะใช้สิทธิไถ่ถอนนั้น ซึ่งระยะเวลาจากวันที่ขายถึงวันครบกำหนดใกล้เคียงกัน จนทาให้ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยไม่เป็นตัวแปรที่สาคัญในการกาหนดราคาของ ตราสารอีกต่อไป 4 . 1 . 7 . 2 กิจการขายตราสารหนี้หลังจากที่ได้รับชาระเงินส่วนใหญ่ของเงินต้นที่คงค้างอยู่ ณ วันที่ได้ตราสารมา

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 21 ทางเลือกในการ เลือก กาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน 4 . 1 . 8 ถึงแม้จะมีข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการอาจเลือก กำหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ทั้งนี้ เมื่อกำหนดแล้วไม่สามารถยกเลิกได้ หากการกำหนดดังกล่าวช่วยขจัดหรือ ลด ความ ไม่สอดคล้อง ของการวัดมูลค่าหรือการรับรู้รายการอย่างมีนัยสำคัญ (บางครั้ง เรียกว่าการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการวัดมูลค่าสินทรัพย์ หรือหนี้สิน หรือการรับรู้ผลกาไรและขาดทุนจากรายการดังกล่าวด้วยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน ( ดูย่อหน้าที่ ข 4 . 1 . 3 ถึง ข 4 . 1 . 6 ) 4 . 2 การจัดประเภทรายการของหนี้สินทางการเงิน 4 . 2 . 1 กิจการต้องจัดประเภทหนี้สินทางการเงินทั้งหมดเป็นหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าภายหลัง ด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย ยกเว้น 4 . 2 . 1 . 1 หนี้สินทํางกํารเงินที่วัดมูลค่ําด้วยมูลค่ํายุติธรรมผ่ํานกําไรหรือขําดทุน หนี้สิน ดังกล่าวรวมถึงหนี้สิน อนุพันธ์ ต้องวัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรม 4 . 2 . 1 . 2 หนี้สินทางการเงินที่เกิดขึ้นจากการโอนสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่เข้าเงื่อนไข การ เลิกรับรู้ รายการหรือเมื่อถือปฏิบัติตามเกณฑ์ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ให้ กิจการนาย่อหน้าที่ 3 . 2 . 15 และ 3 . 2 . 17 มาถือปฏิบัติในการวัดมูลค่าของหนี้สิน ทางการเงินดังกล่าว 4 . 2 . 1 . 3 สัญญําค้ําประกันทํางกํารเงิน ภายหลังการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ผู้ออก สัญญา ดังกล่าวต้อง (ยกเว้นเมื่อถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 1 หรือ 4 . 2 . 1 . 2 ) วัดมูลค่า ภายหลังของสัญญาดังกล่าวด้วยมูลค่าที่สูงกว่าระหว่าง 4 . 2 . 1 . 3 . 1 จานวนเงินของ ค่ําเผื่อผลขําดทุน ที่กำหนดใน หมวด ที่ 5 . 5 และ 4 . 2 . 1 . 3 . 2 จานวนเงินที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก (ดูย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 ) หักจานวนเงิน สะสมของรายได้ (เมื่อเหมาะสม) ที่รับรู้ตามหลักการของมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 4 . 2 . 1 . 4 ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อที่อัตราดอกเบี้ยต ่ากว่าอัตราดอกเบี้ยตลาด ผู้ให้สินเชื่อ ดังกล่าวต้อง (ยกเว้นเมื่อปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 1 ) วัดมูลค่าภายหลังของ ภาระผูกพันดังกล่าวด้วยมูลค่าที่สูงกว่าระหว่าง 4 . 2 . 1 . 4 . 1 จานวนเงินของค่าเผื่อผลขาดทุนที่กำหนดใน หมวด ที่ 5 . 5 และ 4 . 2 . 1 . 4 . 2 จานวนเงินที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก (ดูย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 ) หักจานวนเงิน สะสมของรายได้ (เมื่อเหมาะสม) ที่รับรู้ตามหลักการของมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 22 4 . 2 . 1 . 5 สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายที่รับรู้โดยผู้ซื้อในการรวมธุรกิจที่ถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ดังกล่าวต้องวัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรมโดยรับรู้การเปลี่ยนแปลงของ มูลค่ายุติธรรมในกาไรหรือขาดทุน ทางเลือกในการเลือกกาหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน 4 . 2 . 2 ณ วันที่มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการอาจเลือกกาหนด ( ไม่สามารถยกเลิกได้) ให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน เมื่อข้อกาหนด ในย่อหน้าที่ 4 . 3 . 4 อนุญาตให้ทาได้ หรือเมื่อการกาหนดดังกล่าวส่งผลให้ข้อมูลดังกล่าว เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจมากขึ้นเนื่องจาก 4 . 2 . 2 . 1 การกาหนดดังกล่าวช่วยขจัดหรือลดความไม่สอดคล้องในการวัดมูลค่าหรือ การรับรู้รายการอย่างมีนัยสาคัญ (บางครั้งอาจเรียกว่าการจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชีที่จะเกิดจากการวัดมูลค่าสินทรัพย์หรือหนี้สินหรือการรับรู้ผลกาไร และขาดทุนจากรายการดังกล่าวด้วยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน ( ดูย่อหน้าที่ ข 4 . 1 . 3 ถึง ข 4 . 1 . 6 ) หรือ 4 . 2 . 2 . 2 กลุ่มของหนี้สินทางการเงินหรือสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ที่มีการบริหารและประเมินผลการดำเนินงานด้วยเกณฑ์มูลค่ายุติธรรม ซึ่งสอดคล้องกับกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง หรือกลยุทธ์การลงทุนที่เป็น ลายลักษณ์อักษร และข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มดังกล่าวมีการนาเสนอเป็นการภายใน ต่อผู้บริหารสำคัญขอ ง กิจการ (ตามคำจำกัดความในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 เรื่อง กํารเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจกํารที่เกี่ยวข้อง ) เช่น คณะกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารของกิจการ (ดูย่อหน้าที่ ข 4 . 1 . 7 ถึง ข 4 . 1 . 10 ) 4 . 3 อนุพันธ์แฝง 4 . 3 . 1 อนุพันธ์แฝง คือ องค์ประกอบของสัญญาแบบผสมที่ประกอบด้วยสัญญาหลักที่ไม่ใช่อนุพันธ์ โดยกระแสเงินสดบางส่วนของเครื่องมือทางการเงินแบบผสมนี้จะเปลี่ยนแปลงในทิศทาง ที่คล้ายคลึงกับอนุพันธ์เดี่ยว อนุพันธ์แฝงทาให้กระแสเงินสดตามสัญญาบางส่วนหรือทั้งหมด เปลี่ยนแปลงไปตามอัตราดอกเบี้ยที่กำหนด ราคาของเครื่องมือทางการเงิน ราคาสินค้า โภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ดัชนีราคาหรือดัชนีอัตรา อันดับความน่าเชื่อถือ ด้านเครดิต หรือดัชนีความน่าเชื่อ ถือด้านเครดิต หรือตัวแปรอื่นที่กาหนดไว้ในกรณีของตัวแปรที่ ไม่ใช่ตัวแปรทางการเงินที่ไม่เฉพาะเจาะจงกับคู่สัญญาเท่านั้น อนุพันธ์ที่ผูกติดกับ เครื่องมือ ทางการเงิน แต่สามารถโอนได้ตามสัญญาอย่างอิสระจากเครื่องมือทางการเงินนั้น หรือมีคู่สัญญา ที่ต่างไปไม่ถือเป็นอนุพันธ์แฝง แต่เป็นเครื่องมือทางการเงินที่แยกต่างหาก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 23 สัญญาแบบผสม 4 . 3 . 2 อนุพันธ์แฝง ในสัญญาแบบผสม ต้องแยกออกจากสัญญาหลักและถือเป็นอนุพันธ์ภายใต้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ก็ต่อเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขทุกข้อดังต่อไปนี้ 4 . 3 . 2 . 1 ลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยงของอนุพันธ์แฝงไม่มีความสัมพันธ์อย่าง ใกล้ชิดกับลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยงของสัญญาหลัก (ดูย่อหน้าที่ ข 4 . 3 . 5 และ ข 4 . 3 . 8 ) 4 . 3 . 2 . 2 เครื่องมือทางการเงินที่แยกต่างหากซึ่งมีเงื่อนไขเช่นเดียวกับอนุพันธ์แฝง มีลักษณะตรงตามคานิยามของอนุพันธ์ และ 4 . 3 . 2 . 3 สัญญาแบบผสมนี้ไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมที่การเปลี่ยนแปลงของมูลค่า ยุติธรรมรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน (เช่น อนุพันธ์ที่แฝงในหนี้สิ นทางการเงิน ที่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนไม่แยกออกจากสัญญาหลัก) 4 . 3 . 3 ในกรณีที่อนุพันธ์แฝงแยกออกจากสัญญาหลัก กิจการต้องถือปฏิบัติกับสัญญาหลัก ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เหมาะสม แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ไม่ได้ กำหนดว่าอนุพันธ์แฝงต้องแสดงรายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะทางการเงินหรือไม่ 4 . 3 . 4 ถึงแม้จะมีข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 และ 4 . 3 . 3 หากสัญญาประกอบด้วยอนุพันธ์แฝง หนึ่งรายการหรือมากกว่า กิจการอาจเลือกกาหนดให้สัญญาแบบผสมทั้งสัญญาวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน เว้นแต่ 4 . 3 . 4 . 1 อนุพันธ์แฝงไม่ได้เปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดตามสัญญาอย่างมีนัยสาคัญ หรือ 4 . 3 . 4 . 2 มีความชัดเจนโดยอาศัยการ วิเคราะห์เพียงเล็กน้อยหรือไม่ต้องวิเคราะห์เมื่อ พิจารณาตั้งแต่แรกเริ่มว่าการแยกอนุพันธ์แฝงสาหรับเครื่องมือทางการเงินแบบ ผสมที่คล้ายคลึงนั้นเป็นเรื่องต้องห้าม เช่น สิทธิเลือกที่จะจ่ายชาระเงินก่อนครบ กาหนดที่แฝงอยู่กับเงินกู้ยืมซึ่งอนุญาตให้จ่ายชำระคืนก่อนครบกา หนดด้วย มูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาทุนตัดจาหน่าย 4 . 3 . 5 หากกิจการต้องแยกอนุพันธ์แฝงออกจากสัญญาหลักตามข้อกำหนดของแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ แต่ไม่สามารถวัดมูลค่าอนุพันธ์แฝงแยกต่างหากได้ ทั้ง ณ วันที่ได้มา หรือ ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงานในภายหลัง กิจการต้องเลือกกาหนดให้สัญญาแบบผสม ทั้งสัญญาวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน 4 . 3 . 6 หากกิจการไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์แฝงได้อย่างน่าเชื่อถือจากเงื่อนไขและ ข้อกาหนดของอนุพันธ์แฝงนั้น ให้กิจการวัดมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์แฝงด้วยผลต่างระหว่าง มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแบบผสมกับมูลค่ายุติธรรมของสัญญาหลัก หากกิจการไม่สามารถ วัดมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์แฝงตามวิธีดังกล่าว ให้กิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 4 . 3 . 5 และ เลือกกำหนดให้สัญญาแบบผสมดัง กล่าววัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 24 4 . 4 การจัดประเภทรายการใหม่ 4 . 4 . 1 กิจการต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยน สินทรัพย์ทางการเงิน จากประเภทหนึ่งไปเป็นอีก ประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4 . 4 . 1 . 1 กํารโอนเปลี่ยนเงินลงทุนในตรําสํารทุนและตรําสํารหนี้ 4 . 4 . 1 . 1 . 1 สําหรับกํารโอนเปลี่ยนหลักทรัพย์เพื่อค้ําไปเป็นเงินลงทุนประเภทอื่น กิจกํารต้องใช้มูลค่ํายุติธรรม ณ วันที่โอนในกํารบันทึกบัญชีและรับรู้ ผลต่ํางระหว่ํางมูลค่ําตํามบัญชีกับมูลค่ํายุติธรรม ณ วันนั้นในกําไร หรือขําดทุนทันที 4 . 4 . 1 . 1 . 2 สําหรับกํารโอนเปลี่ยนเงินลงทุนประเภทอื่นไ ปเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้ํา กิจกํารต้องใช้มูลค่ํายุติธรรม ณ วันที่โอนในกํารบันทึกบัญชีและรับรู้ ผลต่ํางระหว่ํางมูลค่ําตํามบัญชีกับมูลค่ํายุติธรรม ณ วันนั้น พร้อมทั้ง กลับบัญชีทุกบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนที่โอนเปลี่ยนในกําไรหรือ ขําดทุนทันที 4 . 4 . 1 . 1 . 3 ส ําหรับตรําสํารหนี้ที่โอนเปลี่ยนจํากหลักทรัพย์เผื่อขํายไปเป็น ตรําสํารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด กิจกํารต้องใช้มูลค่ํายุติธรรม ณ วันที่โอนในกํารบันทึกบัญชีและปรับปรุงส่วนเกินทุนหรือส่วนต ่ํากว่ํา ทุนที่เกิดจํากกํารเปลี่ยนแปลงมูลค่ําของเงินลงทุนด้วยผลต่ําง ระหว่ํางมูลค่ําตํามบั ญชีกับมูลค่ํายุติธรรม ณ วันที่โอน ส่วนเกินทุน หรือส่วนต ่ํากว่ําทุนดังกล่ําวยังคงแสดงเป็นรํายกํารแยกต่ํางหํากใน องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้ําของ และต้องตัดจําหน่ํายตลอด อํายุที่เหลืออยู่ของตรําสํารหนี้ ในลักษณะเดียวกันกับกํารตัด จําหน่ํายส่วนเกินหรือส่วนลดของตรําสํารหนี้โดยใช้วิธี อัตรําดอกเบี้ย ที่แท้จริงหรือวิธีอื่นที่ให้ผลไม่แตกต่ํางกัน 4 . 4 . 1 . 1 . 4 ส ําหรับกํารโอนเปลี่ยนตรําสํารหนี้ที่จะถือจนครบก ําหนดไปเป็น หลักทรัพย์เผื่อขําย กิจกํารต้องใช้มูลค่ํายุติธรรม ณ วันที่โอนใน กํารบันทึกบัญชีและรับรู้ผลต่ําง ระหว่ํางมูลค่ําตํามบัญชีกับมูลค่ํา ยุติธรรม ณ วันที่โอนเป็นรํายกํารแยกต่ํางหําก ในองค์ประกอบอื่นของ ส่วนของเจ้ําของ 4 . 4 . 1 . 2 ตามปกติ การโอนเปลี่ยนเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง จะไม่เกิดขึ้นบ่อย เนื่องจากกิจการต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการถือเงินลงทุน นับตั้งแต่เริ่มแรกที่ได้เงินลงทุนมา หากกิจการไม่มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนกิจการ ต้องจัดประเภทเงินลงทุนนั้นเป็นหลักทรัพย์เผื่อขายในทันที อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปอาจทำให้กิจกำรต้องโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน การโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนบางประเภทต้องมีหลักฐานสนับสนุนอย่างเพียงพอ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 25 เช่น การโอนเปลี่ยนระหว่างหลักทรัพย์เพื่อค้าและหลักทรัพย์เผื่อขายต้องมี หลักฐานสนับสนุนในเวลาต่อมาว่ากิจการได้ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 4 . 4 . 2 กิจการต้องไม่จัดประเภทรายการใหม่สาหรับหนี้สินทางการเงินใดๆ 4 . 4 . 3 การเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ดังต่อไปนี้ไม่ถือเป็นการจัดประเภทรายการใหม่ตามวัตถุประสงค์ ของย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 ถึง 4 . 4 . 2 4 . 4 . 3 . 1 รายการซึ่งในอดีตเลือกกาหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดหรือการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิ ซึ่งไม่เข้าเงื่อนไขการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป 4 . 4 . 3 . 2 รายการที่เลือกกำหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดหรือการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุน สุทธิ และ 4 . 4 . 3 . 3 การเปลี่ยนแปลงการวัดมูลค่าตามที่กาหนดไว้ในหมวดที่ 6 . 7 บทที่ 5 การวัดมูลค่า 5 . 1 การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรก 5 . 1 . 1 ยกเว้นลูกหนี้การค้าภายใต้ขอบเขตของย่อหน้าที่ 5 . 1 . 3 ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนด้วยมูลค่ายุติธรรม บวกหรือหักด้วย ต้นทุนกํารทํารํายกําร ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาหรือการออกสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงินนั้น 5 . 1 . 1 ก อย่างไรก็ตาม หากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรกแตกต่างจากราคาของรายการ กิ จการต้องถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ ข 5 . 1 . 2 ก 5 . 1 . 2 ในกรณีที่กิจการใช้การบัญชีวันชาระ สาหรับสินทรัพย์ที่วัดมูลค่าภายหลังด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย สินทรัพย์ดังกล่าวให้รับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อขาย ( ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 1 . 3 ถึง ข 3 . 1 . 6 ) 5 . 1 . 3 แม้จะมีข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่า ลูกหนี้การค้าด้วยราคาของรายการ (ตามที่กาหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ) ใน กรณีที่ลูกค้าการค้าไม่มีองค์ประกอบเกี่ยวกับการจัดหาเงิน ที่มีนัยสาคัญตามที่กาหนดในมำตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (หรือเมื่อกิจการใช้วิธีผ่อนปรนในทางปฏิบัติตามที่กาหนดใน ย่อหน้าที่ 63 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 26 5 . 2 การวัดมูลค่าภายหลังของสินทรัพย์ทางการเงิน 5 . 2 . 1 หลังจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน ด้วยวิธี 5 . 2 . 1 . 1 หลักทรัพย์เพื่อค้ํา ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร หรือ ขาดทุน 5 . 2 . 1 . 2 หลักทรัพย์เผื่อขําย ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 5 . 2 . 1 . 3 ตรําสํารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด ด้วย วิธีรําคําทุนตัดจําหน่ําย 5 . 2 . 1 . 4 ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืม ด้วย วิธีรําคําทุนตัดจําหน่ําย 5 . 2 . 1 . 5 อนุพันธ์ ด้วย มูลค่ํายุติธรรมผ่ํานกําไร หรือ ขําดทุน 5 . 2 . 2 กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดเรื่องการด้อยค่าในบทที่ 5 . 5 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ที่จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์ เผื่อขายตามที่กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 2 สินทรัพย์ ทางการเงินที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนดตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 3 และลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมตามที่กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 4 5 . 2 . 3 กิจการต้องถือปฏิบัติตามข้อกาหนดเรื่องการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง 6 . 5 . 13 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่กาหนดให้เป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง และหากกิจการมีการป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ย แบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการสามารถ เลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป และให้เปิดเผยเกี่ยวกับข้อเท็จจริงดังกล่าว 5 . 3 การวัดมูลค่าภายหลังของหนี้สินทางการเงิน 5 . 3 . 1 ภายหลังการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่าหนี้สินทางการเงินตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 ถึง 4 . 2 . 2 5 . 3 . 2 กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดเรื่องการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง 6 . 5 . 13 สาหรับหนี้สินทางการเงินที่เลือกกาหนดให้เป็นรายกำรที่มีการป ้ องกัน ความเสี่ยง และหากกิจการมีการป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยงอัตรา ดอกเบี้ยแบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการ สามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป 5 . 4 การวัดมูลค่าราคาทุนตัดจาหน่าย สินทรัพย์ทางการเงิน วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง 5 . 4 . 1 ดอกเบี้ยรับต้องคานวณโดยใช้ วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง ( ดูภาคผนวก ก และย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 1 ถึง ข 5 . 4 . 7 ) การคานวณนี้ให้ใช้ อัตรําดอกเบี้ยที่แท้จริง กับ มูลค่ําตํามบัญชี ก่อนรํายกํารหัก ของ สินทรัพย์ ทางการเงิน ยกเว้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 27 5 . 4 . 1 . 1 สินทรัพย์ทํางกํารเงินที่มีกํารด้อยค่ําด้ํานเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกําเนิด สาหรับ สินทรัพย์ทางการเงินเหล่านี้ กิจการต้องใช้ อัตรําดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วย ควํามเสี่ยงด้ํานเครดิต กับ รําคําทุนตัดจําหน่ํายของสินทรัพย์ทํางกํารเงิน ตั้งแต่ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก 5 . 4 . 1 . 2 สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต เมื่อซื้อ หรือเมื่อกำเนิด แต่กลายเป็น สินทรัพย์ทํางกํารเงินที่มีกํารด้อยค่ํา ด้ํานเครดิต ใน ภายหลัง สาหรับสินทรัพย์เหล่านี้ กิจการต้องใช้อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริงกับราคาทุนตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น สาหรับรอบระยะเวลา รายงานภายหลัง 5 . 4 . 2 กิจการที่คานวณดอกเบี้ยรับโดยใช้วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริงกับราคาทุนตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ ทางการเงินตามย่อหน้าที่ 5 . 4 . 1 . 2 ในรอบระยะเวลาที่รายงาน ต้องคานวณดอกเบี้ยรับโดยใช้ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกับมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ในรอบระยะเวลารายงานภายหลัง หาก ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นจนทาให้สินทรัพย์ทางการ เงินดั งกล่าวไม่มีการด้อยค่าด้านเครดิตอีกต่อไป และความเสี่ยงด้านเครดิตที่ดีขึ้นนี้มีความ เกี่ยวพันอย่างเป็นรูปธรรมกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากการที่กิจการถือปฏิบัติตามข้อกาหนด ในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 1 . 2 ( เช่น อั นดับความน่าเชื่อถือของผู้กู้ดีขึ้น ) การเปลี่ยนแปลงของกร ะแสเงินสดตามสัญญา 5 . 4 . 3 เมื่อกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินมีการเจรจาต่อรองใหม่หรือมีการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเป็นอย่างอื่น และการเจรจาต่อรองใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ไม่ส่งผลให้มีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินนั้นตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการต้องคานวณมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ใหม่ของสินทรัพย์ทางการเงิน และต้องรับรู้ ผล กาไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลง ในกาไรหรือขาดทุน มูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของ สินทรัพย์ทางการเงินต้องคานวณใหม่ด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดตามสัญญาที่มีการ เจรจาต่อรองใหม่หรือเปลี่ยนแปลง ที่คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเดิมของสินทรัพย์ทาง การเงิน ( หรือใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต สาหรับสินทรัพย์ทาง กา รเงินที่มีการด้อยค่า ด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด ) หรือเมื่อสามารถใช้ได้ ให้ใช้อัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงที่ปรับใหม่ ที่คำนวณตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 9 ต้นทุนหรือค่าธรรมเนียมใดๆ ที่เกิดขึ้นให้นาไปปรับปรุงกับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลง แ ละให้ตัด จาหน่ายตลอดอายุที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลง การตัดออกจากบัญชี 5 . 4 . 4 กิจการต้องลดมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินโดยตรง เมื่อกิจการ ไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะได้รับคืน สินทรัพย์ทางการเงินทั้งจานวน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 28 หรือบางส่วน การตัดออกจากบัญชีถือเป็นสถานการณ์หนึ่งของการ เลิกรับรู้ รายการ (ดูย่อ หน้าที่ ข 3 . 2 . 16 . 18 ) การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาอันเป็นผลจากการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง 5 . 4 . 5 กิจการต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 5 . 4 . 6 ถึง 5 . 4 . 9 สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สิน ทางการเงิน ก็ต่อเมื่อเกณฑ์ในการกำหนดกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินหรือ หนี้สินทางการเงินเปลี่ยนแปลงไปอันเป็นผลจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เพื่อวัตถุประสงค์นี้ คาศัพท์ “ การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ” หมาย ถึง การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่มีผลกระทบ ต่อตลาดในวงกว้าง ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 2 5 . 4 . 6 เกณฑ์ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน สามารถเปลี่ยนแปลงได้ 5 . 4 . 6 . 1 โดยการปรับปรุงเงื่อนไขตามสัญญาที่กาหนดไว้เมื่อมีการรับรู้รายการเริ่มแรกของ เครื่องมือทางการเงิน (ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขตามสัญญาถูกปรับปรุงจากการใช้อัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นแทนอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่กาหนดไว้เดิม) 5 . 4 . 6 . 2 โดยไม่ได้ปรับปรุงเงื่อนไขตามสัญญาที่กาหนดไว้เมื่อมีการรับรู้รายการเริ่มแรกของ เครื่องมือทางการเงิน (ตัวอย่างเช่น วิธีการคานวณอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงถูกเปลี่ยนแปลง โดยไม่มีการปรับปรุงเงื่อนไขตามสัญญา) และ/หรือ 5 . 4 . 6 . 3 เนื่องจากเงื่อนไขตามสัญญาที่มีอยู่มีผลบังคับ ใช้ (ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขเกี่ยวกับ การนาอัตราดอกเบี้ยทดแทนมาใช้แทนอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงเดิมที่ถูกยกเลิกไป) 5 . 4 . 7 เพื่อการผ่อนปรนในทางปฏิบัติ กิจการต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 5 สาหรับการเปลี่ยนแปลง เกณฑ์ ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินห รือหนี้สินทางการเงิน ที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง การผ่อนปรนในทางปฏิบัตินี้ให้ถือปฏิบัติ กับการเปลี่ยนแปลงข้างต้นเท่านั้นและขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยการปฏิรูปอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิงเท่านั้น (ดูย่อหน้าที่ 5 . 4 . 9 ) ในการนี้ การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการกำหนด กระแสเงินสดตามสัญญาเกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ก็ต่อเมื่อเข้าทั้งสองเงื่อนไข ต่อไปนี้ 5 . 4 . 7 . 1 การเปลี่ยนแปลงเป็นผลโดยตรงจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง และ 5 . 4 . 7 . 2 เกณฑ์ใหม่ที่ใช้ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาเทียบเท่ากั บเกณฑ์เดิมใน เชิงเศรษฐกิจ (เกณฑ์ใหม่ใช้ทดแทนเกณฑ์เดิมทันที) 5 . 4 . 8 ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่ใช้เกณฑ์ใหม่ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาเทียบเท่ากับ เกณฑ์เดิมในเชิงเศรษฐกิจ (เกณฑ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง) ได้แก่ 5 . 4 . 8 . 1 การเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงปัจจุบันเป็นอั ตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น สาหรับการกำหนด กระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน หรือการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 29 นำการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงมาใช้โดยเปลี่ยนแปลงวิธีการคำนวณอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิงด้วยการบวกเพิ่มส่วนต่างคงที่เพื่อชดเชยความแตกต่างระหว่างอัตรา ดอกเบี้ ยอ้างอิงเดิมกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น 5 . 4 . 8 . 2 การเปลี่ยนแปลงระยะเวลาที่ปรับอัตราดอกเบี้ย วันที่ที่ปรับอัตราดอกเบี้ย หรือ จำนวนวันระหว่างวันที่กำหนดจ่ายดอกเบี้ย เพื่อจะนำการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ย อ้างอิงมาใช้ และ 5 . 4 . 8 . 3 การเพิ่มข้อกาหนดเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ ยอ้างอิงทดแทน ( fallback ) ในเงื่อนไขตาม สัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน อันจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 8 . 1 และ 5 . 4 . 8 . 2 เพื่อนาไปปฏิบัติ 5 . 4 . 9 หากมีการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินเพิ่มเติมจาก การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการกำหนดกระแสเงินสดตามสัญญาที่เกิดจากการปฏิรูปอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิง กิจการต้องปฏิบัติตามการผ่อนปรนในทางปฏิบัติในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 7 สาหรับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกา รปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงเป็นอันดับแรก แล้วจึงปฏิบัติตาม ข้อกาหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้กับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมซึ่งการผ่อนปรน ในทางปฏิบัติไม่ได้นามาใช้ ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมไม่ทาให้เกิดการ เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้ สินทางการเงิน กิจการต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 5 . 4 . 3 หรือ ย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 6 ตามความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมดังกล่าว ทั้งนี้ หากการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมทาให้เกิดการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดของการ เลิกรับรู้ รายการ 5 . 5 การด้อยค่า การรับรู้รายการสาหรับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น การด้อยค่าของตราสารทุน และหน่วยลงทุนซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย 5 . 5 . 1 กิจการต้องบันทึกการด้อยค่าของตราสารทุน และหน่วยลงทุน ซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขาย เข้ากาไรหรือขาดทุน ทันทีที่มีหลักฐานสนับสนุนว่าหลักทรัพย์นั้นด้อยค่า อย่างไรก็ดี กิจการต้องรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุนในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและไม่ปรับลดมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ทางการเงินตราสารทุนในงบแสดงฐานะการเงิน ทั้งนี้หลักฐานสนับสนุนว่าหลักทรัพย์ เผื่อขายเกิดการด้อยค่า มีดังต่อไปนี้ 5 . 5 . 1 . 1 กิจการที่ออกหลักทรัพย์กาลังประสบปัญหาทางกำรเงิน อย่างมีสาระสาคัญ 5 . 5 . 1 . 2 การผิดสัญญา เช่น การไม่จ่ายชาระ หรือการผิดนัดสัญญา ในการจ่ายชาระดอกเบี้ย และเงินต้น 5 . 5 . 1 . 3 ผู้ให้กู้ยืมยอมผ่อนปรนเงื่อนไขการชาระหนี้ให้แก่ผู้ออกหลักทรัพย์ เนื่องจากเหตุผล ทางเศรษฐกิจหรือทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญญาทางการเงินของ ผู้ออก ห ลักทรัพย์ ซึ่งหากเป็นกรณีอื่นผู้ให้กู้ยืมจะไม่พิจารณาอนุมัติ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 30 5 . 5 . 1 . 4 มีความเป็นไปได้สูงที่กิจการผู้ออกหลักทรัพย์จะล้มละลายหรือฟื ้ นฟูกิจการ หรือ ปรับโครงสร้างทางการเงิน 5 . 5 . 1 . 5 หลักทรัพย์นั้นไม่มีการซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องอีกต่อไปเนื่องจากปัญหา ทางการเงิน 5 . 5 . 1 . 6 มีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีการลดลงในประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตจากกลุ่ม ของสินทรัพย์ทางการเงินตั้งแต่การรับรู้ดังกล่าวเมื่อเริ่มแรก ซึ่งถึงแม้ว่าการลดลง จะไม่สามำรถระบุได้ว่าเป็นของสินทรัพย์รายการใดในกลุ่ม ซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้ 5 . 5 . 1 . 6 . 1 การเปลี่ยนแปลงในทางลบของความสามารถในการชำระเงินของ ผู้ออกหลักทรัพย์ (เช่นการเพิ่มขึ้นของจำนวนของจำนวนเงินกู้ยืม ประเภทบัตรเครดิตซึ่งมีการใช้สินเชื่อเต็มจำนวนและจ่ายชำระ รายเดือนด้วยจำนวนเงินขั้นต่า) หรือ 5 . 5 . 1 . 6 . 2 สภาพเศรษฐกิจในระดับประเทศหรือในระดับท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ กับการไม่ปฏิบัติตามสัญญาของสินทรัพย์ในกลุ่ม (เช่นการเพิ่มขึ้นของ อัตราการว่างงานในภูมิภาคของผู้ออกหลักทรัพย์ การลดลงของราคา อสังหาริมทรัพย์ในบริเวณที่เดียวกันกับที่ใช้ในการจานอง การลดลง ของราคาน้ามั นสาหรับเงินให้สินเชื่อแก่ผู้ผลิตน้ามัน หรือการเปลี่ยนแปลง ในทางลบของสภาพอุตสาหกรรมที่กระผู้ออกหลักทรัพย์ ) 5 . 5 . 1 . 7 นอกเหนือจากประเภทของเหตุการณ์ที่ระบุในย่อหน้า ที่ 5 . 5 . 1 . 1 ถึง 5 . 5 . 1 . 6 หลักฐานที่ชัดเจนของการด้อยค่าสาหรับการลงทุนในตราสารทุนรวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญที่มีในทางลบค่าสภาพแวดล้อมทางด้านเทคโนโลยี การตลาด เศรษฐกิจ และกฎหมาย ที่ผู้ออกหลักทรัพย์ประกอบ กิจการอยู่ ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าต้นทุนการลงทุนในตราสารทุ นนั้น อาจไม่สามารถเรียก คื นกลับมาได้ การลดลง อย่างมีสาระสาคัญหรืออย่างต่อเนื่องของมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุน จนต่ากว่าราคาทุนถือเป็นหลักฐานที่ชัดเจนของการด้อยค่า การด้อยค่าของตราสารหนี้ ทั้งนี้ไม่รวมหน่วยลงทุนซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย วิธีการทั่วไป 5 . 5 . 2 กิจการต้องรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุนสาหรับ ผลขําดทุน ด้ํานเครดิต ที่คําดว่ําจะเกิดขึ้น ของสินทรัพย์ ทางการเงินซึ่งวัดมูลค่าตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 2 . 2 หรือ 4 . 1 . 1 . 3 หรือ 4 . 1 . 1 . 4 ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า สินทรัพย์ที่เกิดจํากสัญญํา หรือภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ และสัญญาค้าประกัน ทางการเงินที่เป็นไปตามข้อกาหนดเรื่องการด้อยค่าตามย่อหน้าที่ 2 . 1 . 7 4 . 2 . 1 . 3 หรือ 4 . 2 . 1 . 4 5 . 5 . 3 กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนด เรื่อง การด้อยค่าสาหรับการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 31 ค่าเผื่อผลขาดทุนของ ตราสารหนี้ซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ตามที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 2 . 2 อย่างไรก็ตาม กิจการต้องรับรู้ ค่าเผื่อผลขาดทุนในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และต้องไม่ลด มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการ เงินตราสารหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน 5 . 5 . 4 ตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 14 ถึง 5 . 5 . 17 ในแต่ละวันที่รายงาน กิจการต้องวัดมูลค่าของ ค่าเผื่อผลขาดทุนของเครื่องมือทางการเงินด้วยจานวนเงินที่เท่ากับ ผลขําดทุนด้ํานเครดิต ที่คําดว่ําจะเกิดขึ้นตลอดอํายุ หากความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก 5 . 5 . 5 วัตถุประสงค์ของข้อกาหนดการด้อยค่าเพื่อรับรู้ ผลขาดทุน ด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ของเครื่องมือทางการเงินทั้งหมดที่มีความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ไม่ว่าการประเมินดังกล่าวจะเป็นรายสัญญาหรือเป็นรายกลุ่ม โดยให้ พิจารณาข้อมูลสนับสนุนที่มีความสมเหตุสมผลทั้งหมดซึ่ งรวมถึงข้อมูลที่มีการคาดการณ์ไป ในอนาคต 5 . 5 . 6 ตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 14 ถึง 5 . 5 . 17 ณ วันที่รายงาน หากความเสี่ยงด้านเครดิตของ เครื่องมือทางการเงินไม่ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุนของเครื่องมือทางการเงินด้วยจานวนเงินที่เท่ากับ ผลขําดทุนด้ํานเครดิตที่คําดว่ําจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้ํางหน้ํา 5 . 5 . 7 สาหรับ ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ และสัญญาค้าประกันทางการเงิน ให้ถือว่าวันที่กิจการเริ่มเป็น คู่สัญญาในภาระผูกพันที่ไม่สามารถยกเลิกได้เป็นวันที่มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกตาม วัตถุประสงค์ของการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดการด้อยค่า 5 . 5 . 8 หากกิจการวัดมูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุนของเครื่องมือทางการเงิน ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากับ ผ ลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ในรอบระยะเวลารายงานก่อน แต่ ณ วันที่ รายงานปัจจุบัน กิจการพิจารณาแล้วเห็นว่ากิจการไม่ต้องถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 กิจการ ต้องวัดมูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุน ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากับ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิ ดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า ณ วันที่รายงานปัจจุบัน 5 . 5 . 9 กิจการต้องรับรู้จานวน เงินของผลขาดทุน ด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ( หรือกลับรายการ ผลขาดทุน ) เพื่อปรับปรุงค่าเผื่อผลขาดทุน ณ วันที่รายงาน ให้เป็นจานวนเงินที่ต้องรับรู้ตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ เป็น ผลกำไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า ในกาไรหรือขาดทุน การพิจารณาการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต 5 . 5 . 10 ณ แต่ละวันที่รายงาน กิจการต้องประเมินว่า ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ ในการประเมินดังกล่าว กิจการต้องใช้การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง ของการผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นตลอดอายุของ เครื่องมือทางการเงินที่คาดไว้ แทนการใช้การเปลี่ยนแปลงของจำนวนเงินของผลขาดทุน ด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประเมินดังกล่าว กิจการต้องเปรียบเทียบความเสี่ยง ของ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 32 การผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นของเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่รายงาน กับความเสี่ยง ของ การผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นของเครื่องมือทา งการเงิน ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก และพิจารณา ข้อมูลสนับสนุนและสมเหตุสมผล ที่สามารถหาได้โดยไม่ใช้ ต้นทุนหรือความพยายามที่มาก เกินไป ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ถึงการ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตนับตั้งแต่การรับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรก 5 . 5 . 1 1 กิจการอาจสันนิษฐานว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินไม่เพิ่มขึ้นอย่า ง มี นัยสาคัญ นับ ตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หากพิจารณาแล้วว่าเครื่องมือทางการเงินนั้นมีความเสี่ยง ด้านเครดิตต่า ณ วันที่รายงาน ( ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 22 ถึง ข 5 . 5 . 24 ) 5 . 5 . 1 2 ใน การพิจารณาว่า ความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกหรือไม่ กิจการไม่สามารถใช้เพียงข้อมูล การค้างชาระเกินกาหนด เพียงอย่างเดียว ในการพิจารณา หาก กิจการสามารถหาข้อมูลคาดการณ์อนาคตที่สนับสนุนและสมเหตุสมผล โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป อย่างไรก็ตาม หากกิจการไม่สามารถหาข้อมูล คาดการณ์อนาคตนอกเหนือจากสถานะการค้างชาระเกินกาหนด ( ไม่ว่าจะ เป็นการพิจารณาเป็น รายสัญญาหรือเป็นกลุ่ม ) โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป กิจการอาจใช้ข้อมูลการ ค้างชาระเกิน กาหนดเพื่อพิจารณาว่า ความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่การ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือไม่ ไม่ว่ากิจการจะใช้วิธีใดในการประเมินการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ของความเสี่ยงด้านเครดิต ให้มีข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้ว่า ความเสี่ยงด้านเครดิตข อง สินทรัพย์ทางการเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก เมื่อมีการค้างชาระ การจ่ายเงินตามสัญญาเกินกว่า 30 วัน กิจการสามารถโต้แย้งข้อสันนิษฐานดังกล่าว หากกิจการ มีข้อมูลสนับสนุนและสมเหตุสมผลโดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไปที่แสดงให้เห็น ว่าความเสี่ยงด้านเครดิตไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับ ตั้งแต่การ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก แม้ว่าจะมีการ ค้างชาระการจ่ายเงินตามสัญญาเกินกว่า 30 วัน ในกรณีที่กิจการประเมินว่ำ ความ เสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญก่อนมีการค้างชาระการจ่ายเงินตามสัญญาเกินกว่า 30 วัน กิจการไม่สามารถใช้ข้อสันนิษฐานดังกล่าวได้ สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข 5 . 5 . 1 3 หากมีการเจรจาต่อรองใหม่หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ ทางการเงินและไม่มีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินนั้น กิจการต้องประเมินว่าความเสี่ยง ด้านเครดิตของสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญตามที่กาหนดในย่อหน้ำที่ 5 . 5 . 4 หรือไม่ โดยเปรียบเทียบ 5 . 5 . 1 3 . 1 ความเสี่ยงของ การผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้น ณ วันที่รายงาน ( อ้างอิงจากเงื่อนไขตาม สัญญาที่มีการเปลี่ยนแปลง ) และ 5 . 5 . 13 . 2 ความเสี่ยงของ การผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้น ณ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ( อ้างอิงจาก เงื่อนไขตามสัญญาเดิมที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 33 สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกำเนิด 5 . 5 . 1 4 ถึงแม้จะมีข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 และ 5 . 5 . 6 ณ วันที่รายงาน กิจการต้องรับรู้ ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อ หรือเมื่อกาเนิด ด้วยผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นตลอดอายุนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกเท่านั้น 5 . 5 . 1 5 ณ แต่ละวันที่รายงาน กิจการต้องรับรู้จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงของผลขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ เป็นผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่าในกาไรหรือขาดทุน กิจการ ต้องรับรู้การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ เป็นผลกาไรจากการด้อยค่า แม้ว่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุดังกล่าว เป็นจานวนเงินน้อยกว่าผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งเคยรวมอยู่ในกระแสเงินสด ที่ประมาณการ ณ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก วิธีการอย่างง่าย สาหรับลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา และลูกหนี้ตามสัญญาเช่า 5 . 5 . 1 6 ถึงแม้จะมีข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 และ 5 . 5 . 6 กิจการต้องวัดมูลค่าของค่าเผื่อ ผลขาดทุนด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอด อายุเสมอ สาหรับ 5 . 5 . 1 6 . 1 ลูกหนี้การค้าหรือสินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญาที่เกิดจากรายการที่อยู่ภายใต้ ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 และ 5 . 5 . 1 6 . 1 . 1 ไม่มีองค์ประกอบเกี่ยวกับการจัดหาเงินที่มีนัยสำคัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (หรือ เมื่อกิจการใช้ วิธีผ่อนปรนในทำงปฏิบัติตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 63 ของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ) หรือ 5 . 5 . 1 6 . 1 . 2 มีองค์ประกอบเกี่ยวกับการจัดหาเงินที่มีนัยสาคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ถ้ากิจการเลือกนโยบายการ บัญชีในการวัดมูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุนด้วยจำนวนเงินที่ เท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ นโยบายการบัญชีดังกล่าวต้องถือปฏิบัติกับลูกหนี้การค้าหรือ สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญาทั้งหมด แต่อาจถือปฏิบัติแยกกัน ระหว่างลูกหนี้กำรค้ากับสินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา 5 . 5 . 1 6 . 2 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าที่เกิดจากรายการที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐาน การ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 6 หากกิจการเลือกนโยบาย การบัญชีในการวัด มูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุนด้วยจานวนเงินที่เท่ากับผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตลอดอายุ นโยบายการบัญชีดังกล่าวต้องถือปฏิบัติ กับลูกหนี้ตามสัญญา เช่าทั้งหมด แต่อาจถือปฏิบัติแยกกันระหว่างลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินและ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 34 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดำเนินงาน 5 . 5 . 1 7 กิจการอาจเลือกนโยบายการบัญชีสาหรับลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า และ สินทรัพย์ที่เกิดจาก สัญญา โดยอิสระจากกันได้ การวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 5 . 5 . 1 8 กิจการต้องวัดมูลค่า ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของเครื่องมือทางการเงิน โดยวิธีการที่สะท้อนถึงเรื่องต่อไปนี้ 5 . 5 . 1 8 . 1 จานวนเงินที่คานึงถึงความน่าจะเป็นถ่วงน้าหนักและปราศจากอคติ ซึ่งพิจารณา จากการประเมินช่วงของผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ 5 . 5 . 1 8 . 2 มูลค่าเงินตามเวลา และ 5 . 5 . 1 8 . 3 ข้อมูลสนับสนุนและสมเหตุสมผล โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มาก เกินไป ณ วันที่รายงาน เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต สภาพการณ์ปัจจุบัน และการพยากรณ์ สภาวะเศรษฐกิจในอนาคต 5 . 5 . 1 9 ในการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการไม่จาเป็นต้องระบุสถานการณ์ ที่เป็นไปได้ทุกสถานการณ์ อย่างไรก็ตาม กิจการต้องพิจารณาความเสี่ยงหรือความน่าจะเป็น ที่ผลขาดทุนด้านเครดิตจะเกิดขึ้น โดยสะท้อนทั้งความน่าจะเป็นที่ผลขาดทุนด้านเครดิต จะเกิดขึ้น และความน่าจะเป็นที่ผลขาดทุนด้านเครดิตจะไม่เกิดขึ้น แม้ว่าความน่าจะเป็นที่ผลขาดทุน ด้านเครดิตจะเกิดขึ้นอยู่ในระดับต่า มาก 5 . 5 . 20 ช่วงระยะเวลาที่ยาวที่สุดที่ใช้ในการพิจารณาในการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น คือระยะเวลาที่ยาวที่สุดตามสัญญา ( รวมถึงสิทธิเลือกที่จะขยายระยะเวลา ) ซึ่งกิจการ มีฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต และไม่มีระยะเวลาที่ยาวนานกว่านั้น แม้ว่าระยะเวลา ที่ยาวนานกว่านั้นจะสอดคล้องกับวิธีปฏิบัติในการดาเนินธุรกิจก็ตาม 5 . 5 . 2 1 อย่างไรก็ตาม เครื่องมือทางการเงินบางประเภทประกอบด้วยเงินให้กู้ยืมและภาระผูกพันที่ยังไม่ใช้ และความสามารถตามสัญญาของกิจการในการเรี ยกร้องให้จ่ายชาระและยกเลิกภาระผูกพัน ที่ยังไม่ใช้นั้นไม่ได้จากัดฐานะเปิดต่อผลขาดทุนด้านเครดิตของกิจการในระยะเวลาที่ทวงถามตาม สัญญา สาหรับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวเท่านั้นที่กิจการต้องวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาที่กิจการมีฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตและผลขาดทุน ด้านเครดิตที่ว่าจะเกิดขึ้นนี้จะไม่ลดลงด้วยมาตรการในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต แม้ว่า ระยะเวลาดังกล่าวขยายเกินกว่าระยะเวลาที่ยาวที่สุดตามสัญญา 5 . 6 ผลกาไรและขาดทุน 5 . 6 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมต้องรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน เว้นแต่ 5 . 6 . 1 . 1 เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ( ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 35 6 . 5 . 13 และหากกิจการมีการป ้ องกันความเสี่ยงใ นมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยง อัตราดอกเบี้ยแบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการสามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป ) หรือ 5 . 6 . 1 . 2 เป็นหนี้สินทางการเงินที่กิจการเลือกกาหนดให้แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรหรือขาดทุน และกิจการต้องแสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงใน ควําม เสี่ยงด้ํานเครดิต ของหนี้สินในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 . 4 5 . 6 . 1 . 3 เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย และกิจการต้องรับรู้กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 5 . 6 . 1 ก เงินปันผล ให้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนก็ต่อเมื่อ 5 . 6 . 1 ก. 1 กิจการมีสิทธิที่จะได้รับเงินปันผล 5 . 6 . 1 ก. 2 มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของเงินปันผลนั้น และ 5 . 6 . 1 ก. 3 กิจการสามารถวัดมูลค่าจานวนเงินของเงินปันผลได้อย่างน่าเชื่อถือ 5 . 6 . 2 ผลกาไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายและไม่เป็น ส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ( ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง 6 . 5 . 13 และ หากกิจการมีการป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ยแบบเป็น กลุ่ม ( fair v alue hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการสามารถเลือก ถือ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป ) ต้องรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน เมื่อสินทรัพย์ทางการเงิน นั้น มีการ เลิกรับรู้ รายการหรือมีการจัดประเภทรายการใหม่ตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 . 2 หรือผ่าน กระบวนการตัดจาหน่าย หรือเพื่อรับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า ถ้ากิจการ จัดประเภท รายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินออกจากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย กิจการต้องถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 . 2 และ 4 . 4 . 1 . 4 ผลกาไรหรือขาดทุนจากหนี้สิน ทางการเงินที่ วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายและไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของ การป ้ องกันความเสี่ยงต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อหนี้สินทางการเงินนั้นมีการ เลิกรับรู้ รายการและผ่านกระบวนการตัดจาหน่าย (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 2 สาหรับแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ กำไรหรือขาดทุนจากอั ตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ) 5 . 6 . 3 ผลกำไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่เป็นรายการที่มี การป ้ องกันความเสี่ยงในความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงต้องรับรู้ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง 6 . 5 . 13 และหากกิจการมีการป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยง อัตราดอกเบี้ยแบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการสามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป 5 . 6 . 4 หากกิจการรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินโดยใช้การบัญชีวันชำระ (ดูย่อหน้าที่ 3 . 1 . 2 ข 3 . 1 . 3 และ ข 3 . 1 . 6 ) สำหรับสินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายไม่ให้รับรู้การเปลี่ยนแปลงใดๆ ในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่จะได้รับระหว่างช่วงเวลาตั้งแต่วันซื้อขายและวันจ่ายชาระ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 36 อย่างไรก็ตาม สาหรับสินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมต้องรับรู้ในกำไรหรือขาดทุนหรือในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดใน ย่อหน้า ที่ 5 . 6 . 1 วันซื้อขายถือเป็นวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกเพื่อวัตถุประสงค์ใน การถือปฏิบัติตามข้อกำหนดการด้อยค่า หนี้สินที่เลือกกาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน 5 . 6 . 5 กิจการต้องแสดงผลกาไรหรือขาดทุนจากหนี้สินทางการเงินที่ เลือกกาหนดให้วัดมูลค่า ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 หรือย่อหน้าที่ 4 . 3 . 4 ดังต่อไปนี้ 5 . 6 . 5 . 1 จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่เป็นผล จากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินนั้นต้องแส ดงในกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 3 ถึง ข 5 . 6 . 20 ) และ 5 . 6 . 5 . 2 จำนวนเงินคงเหลือจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินดังกล่าว ต้องแสดงในกำไรหรือขาดทุน เว้นแต่การปฏิบัติต่อผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจากความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน ตามที่อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 จะก่อให้เกิดหรือขยายการจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชี ในกาไรหรือขาดทุน (ในกรณีดังกล่าวให้ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 6 ) ย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 5 ถึง ข 5 . 6 . 7 และ ข 5 . 6 . 10 ถึง ข 5 . 6 . 1 2 ให้แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การพิจารณาว่ามีการก่อให้เกิดหรือขยายการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชีหรือไม่ 5 . 6 . 6 หากข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 ก่อให้เกิดหรือขยายการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี ในกำไรหรือขาดทุน กิจการต้องแสดงผลกำไรหรือขาดทุนทั้งหมดของหนี้สิน (รวมถึงผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินนั้น) ในกำไรหรือขาดทุน 5 . 6 . 7 ถึงแม้จะมี ข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 กิจการต้องแสดงผลกาไรและขาดทุนทั้งหมด ที่เกิดจากภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงินที่เลือกกำหนดให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนในกำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 5 . 6 . 8 ผลกาไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ต้องรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ยกเว้นผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า (ดูหมวดที่ 5 . 5 ) และผลกาไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ของ ตราสารหนี้ (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 2 ถึง ข 5 . 6 . 2 ก ) จนกระทั่งมีการ เลิกรับรู้ รายการหรือจัด ประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินนั้น เมื่อมีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ ทางการเงิน ผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ก่อนหน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 37 ให้จัดประเภท รายการใหม่จำกส่วนของเจ้าของไปยังกำไรหรือขาดทุนซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการ จัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) หากมีการจัดประเภท รายการใหม่ สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินออกจากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่ำนกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น กิจการต้องถือปฏิบัติกับผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ ก่อนหน้าใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ดอกเบี้ยที่คานวณโดยใช้วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริงให้รับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุน สำหรับแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศของตราสารทุน ให้ดู ย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 3 5 . 6 . 9 ตามที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 หากตราสารหนี้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จานวนเงินที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเป็นจานวนเงินเดียวกับจานวนเงิน ที่จะรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเสมือนว่าสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าววัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจาหน่าย บทที่ 6 การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 1 วัตถุประสงค์และขอบเขตของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 1 . 1 การบัญชีป้องกันความเสี่ยงมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงผลกระทบในงบการเงิน ซึ่งเกิดจาก กิจกรรมการบริหารความเสี่ยงของกิจการที่ใช้เครื่องมือทางการเงินในการจัดการฐานะเปิด ที่เกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุน วิธีการดังกล่าวมีเป้าหมาย ในการแสดงถึงบริบทของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงภายใต้การบัญชีป้องกั นความเสี่ยง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และผลกระทบที่เกิดขึ้น 6 . 1 . 2 กิจการอาจเลือกกาหนด ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงระหว่างเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยง และรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ตามย่อหน้าที่ 6 . 2 . 1 ถึง 6 . 3 . 7 และย่อหน้าที่ ข 6 . 2 . 1 ถึง ข 6 . 3 . 25 สาหรับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข กิจการต้อง ถือปฏิบัติกับผลกาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 ถึง 6 . 5 . 13 และย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 1 ถึง ข 6 . 5 . 28 สาหรับรา ยการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เป็นกลุ่มรายการ กิจการต้องถือปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กาหนดเพิ่มเติม ตามย่อหน้าที่ 6 . 6 . 1 ถึง 6 . 6 . 6 และ ย่อหน้าที่ ข 6 . 6 . 1 ถึง ข 6 . 6 . 16 6 . 1 . 3 สาหรับ การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมต่อฐานะเปิดต่อความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ยของกลุ่ม สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน (และเพียงแค่การป้องกันความเสี่ยงนี้เท่านั้น) กิจการสามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป ทั้งนี้ให้กิจการเปิดเผยข้อเท็จจริ ง เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 38 6 . 2 เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง เครื่องมือที่เข้าเงื่อนไข 6 . 2 . 1 กิจการอาจเลือกกาหนดให้อนุพันธ์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็น เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง ยกเว้นสิทธิเลือกซึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรบางประเภท ( ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 2 . 4 ) 6 . 2 . 2 กิจการอาจเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์หรือ หนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ อนุพันธ์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนเป็นเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกัน ความเสี่ยง ยกเว้นหนี้สินทางการเงินที่เลือกกำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงใน ความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินดังกล่าวแสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามข้อกาหนด ในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 สาหรับการ ป ้ องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ องค์ประกอบของ ความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์หรือหนี้สิน ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์อาจเลือกกาหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 2 . 3 เพื่อวัตถุประสงค์ของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ ยง เฉพาะสัญญากับคู่สัญญาภายนอกกิจการ ที่เสนอรายงานเท่านั้น (เช่น ภายนอกกลุ่มกิจการหรือกิจการที่รายงาน) ที่สามารถเลือ ก กำหนด ให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง การเลือกกาหนดเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 2 . 4 เครื่องมือที่เข้าเงื่อนไขต้องเลือกกาหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงทั้งจานวน ยกเว้น กรณีดังต่อไปนี้ 6 . 2 . 4 . 1 กิจการแยกมูลค่าที่แท้จริงและมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกออกจากกัน และกิจการ เลือกกาหนดให้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือกเท่านั้น โดยไม่รวม การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าตามเวลาเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ( ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 และ ย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 29 ถึง ข 6 . 5 . 33 ) 6 . 2 . 4 . 2 กิจการแยกองค์ประกอบราคาล่วงหน้าและอง ค์ประกอบราคาปัจจุบันของสัญญา ฟอร์เวิร์ดออกจากกัน และกิจการเลือกกำหนดให้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของ องค์ประกอบราคาปัจจุบันของสัญญาฟอร์เวิร์ดเท่านั้น โดยไม่รวมองค์ประกอบราคา ล่วงหน้า เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ในทานองเดียวกัน ส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศอาจแยกจากและไม่รวมในการเลือกกาหนดเครื่องมือทางการเงิน ให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ( ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 และ ย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 34 ถึง ข 6 . 5 . 39 ) และ 6 . 2 . 4 . 3 กิจการอาจเลือกกาหนดให้สัดส่วนของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (เช่น ร้อยละ 50 ของจานวนเงินที่กาหนดไว้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงใน ความสัมพันธ์ของ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 39 การป้องกันความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม กิจการไม่อาจเลือกกาหนดให้ส่วนใดส่วนหนึ่งของ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมที่เกิดขึ้นเพียงช่วงใดช่วงหนึ่ง ของระยะเวลาระหว่าง ที่เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงยังมีผลอยู่เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 6 . 2 . 5 กลุ่มของรายการต่อไปนี้ กิจการอาจพิจารณารวมกันและเลือกกาหนดร่วมกันให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ( รวมถึงสถานการณ์ที่ความเสี่ยงที่เกิดจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยงบางรายการหักกลบกับความเสี่ยงที่เกิดจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงอื่น ) 6 . 2 . 5 . 1 อนุพันธ์หรือสัดส่วนของอนุพันธ์ และ 6 . 2 . 5 . 2 รายการที่ไม่ใช่อนุพันธ์ หรือสัดส่วนของรายการที่ไม่ใช่อนุพันธ์ 6 . 2 . 6 อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ ทางการเงิน ซึ่งรวมสิทธิเลือกที่เป็นลายลักษณ์อักษรและสิทธิเลือก ที่กิจการซื้อ ( ตัวอย่างเช่น สิทธิเลือกอัตราดอกเบี้ยแบบคอลล่าร์ ) ไม่เข้าเงื่อนไขในการเป็น เครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง หากรายการดังกล่าวให้ผลเหมือนสิทธิเลือกที่เป็นลายลักษณ์ อักษรที่หักกลบได้ ณ วันที่เลือกกาหนด ( เว้นแต่เข้าเงื่อนไขตาม ย่อหน้าที่ ข 6 . 2 . 4 ) ในทานอง เดียวกัน เครื่องมือทางการเงินตั้งแต่สองรายการขึ้นไป (หรือสัดส่วนของเครื่องมือทางการเงินนั้น) อาจเลื อกกาหนดแบบร่วมกันให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงเฉพาะเมื่อการรวมกันแล้ว ให้ผลไม่เหมือนสิทธิเลือกที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่หักกลบได้ ณ วันที่เลือกกาหนด ( เว้นแต่เข้า เงื่อนไขตาม ย่อหน้าที่ ข 6 . 2 . 4 ) 6 . 3 รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง รายการที่เข้าเงื่อนไข 6 . 3 . 1 รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงสามารถเป็นได้ทั้งสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ได้รับรู้รายการแล้ว สัญญําผูกมัด ที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ รํายกํารที่คําดกํารณ์ หรือเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงาน ต่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ 6 . 3 . 1 . 1 รายการเดี่ ยว หรือ 6 . 3 . 1 . 2 กลุ่มของรายการ ( ให้ปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 6 . 1 ถึง 6 . 6 . 6 และ ย่อหน้าที่ ข 6 . 6 . 1 ถึง ข 6 . 6 . 16 ) รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงสามารถเป็นส่วนประกอบของรายการหรือกลุ่มของ รายการดังกล่าวได้ ( ดูย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 และ ย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 7 ถึง ข 6 . 3 . 25 ) 6 . 3 . 2 รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงต้องวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ 6 . 3 . 3 หากรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงเป็นรายการที่คาดการณ์ ( หรือส่วนประกอบของ รายการที่คาดการณ์ ) รายการนั้นต้องมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมาก 6 . 3 . 4 ฐานะเปิดโดยรวมซึ่งเป็นการร วมกันของฐานะเปิดที่เข้าเงื่อนไขของรายการที่มีการป ้ องกัน ความเสี่ยงตามย่อหน้าที่ 6 . 3 . 1 และอนุพันธ์อาจเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป ้ องกัน ความเสี่ยงได้ ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 3 ถึง ข 6 . 3 . 4 ) นอกจากนี้รายการที่คาดการณ์ของฐานะเปิด โดยรวม ( กล่าวคือ รายการที่ไม่มีข้อผูกมัดแต่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งจะก่อให้เกิด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 40 ฐานะเปิดและอนุพันธ์ ) ถือเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง ถ้าฐานะเปิดโดยรวม มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมาก และเมื่อรายการดังกล่าวเกิดขึ้นก็จะไม่เป็น รายการคาดการณ์อีกต่อไป 6 . 3 . 5 ตามวัตถุประสงค์ของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง สินทรัพย์ หนี้สิน สัญญาผูกมัด หรือ รายการที่คาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากกับคู่สัญญาภายนอก กิจการที่เสนอรายงานเท่านั้น สามารถเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง การบัญชีป ้ องกันความ เสี่ยงสามารถถือปฏิบัติกับรายการระหว่างกิจการในกลุ่มกิจการ เดียวกันได้เฉพาะงบการเงินแต่ละกิจการหรืองบการเงินเฉพาะของกิจการเหล่านั้นเท่านั้น โดยไม่สามารถนาไปถือปฏิบัติกับงบการเงินรวมของกลุ่มกิจการ ยกเว้นงบการเงินรวมของ กิจการที่ดาเนินธุรกิจด้านการลงทุนตามที่กา หนดในมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 ซึ่งรายการระหว่างกิจการที่ดาเนินธุรกิจด้านการลงทุนและบริษัทย่อยที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน จะไม่มีการตัดรายการระหว่างกันในการจัดทำงบการเงินรวม 6 . 3 . 6 อย่างไรก็ตาม ย่อหน้าที่ 6 . 3 . 5 ไม่ใช้สาหรับรายการต่อไปนี้ ความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของ รายการที่เป็นตัวเงินระหว่างกันในกลุ่มกิจการ ( เช่น เจ้าหนี้หรือลูกหนี้ระหว่างบริษัทย่อยสองบริษัท ) อาจเข้าเงื่อนไขถือเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงในงบการเงินรวมได้ หากรายการดังกล่าว ก่อให้เกิดฐานะ เปิดต่อกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ไม่มี การตัดรายการระหว่างกันได้อย่างครบทั้งหมดในการจัดทางบการเงินรวมตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ตามมาตรฐานการบัญชี ฉ บับที่ 21 กาไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศของรายการที่เป็นตัวเงินระหว่างกันในกลุ่มกิจการไม่ถือว่ามีการตัดรายการ ระหว่างกันได้อย่างครบทั้งหมดในการจัดทางบการเงินรวม เมื่อรายการที่เป็นตัวเงินระหว่างกันใน กลุ่มกิจการนั้นเป็นรายการซึ่งเกิดขึ้นระหว่างสองกิจการในกลุ่มกิจการที่มีสกุลเงินที่ใช้ใน การดาเนินงานแตกต่างกัน นอกจากนั้น ความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของรายการระหว่างกันใน กลุ่มกิจการที่คาดการณ์ซึ่งมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่ ในระดับสูงมาก อาจเข้าเงื่อนไขเป็น รายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงในงบการเงินรวมได้ หากรายการดังกล่าวเป็นรายการที่กาหนด ด้วยสกุลเงินอื่นที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของกิจการที่เข้าทารายการ และความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศนี้จะส่งผลกระทบต่อกำไรหรือขา ดทุนรวม การเลือกกาหนดรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 3 . 7 กิจการอาจเลือกกำหนดรายการทั้งจำนวนหรือส่วนประกอบของรายการเป็นรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงในความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง รายการทั้งจำนวน ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในกระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมของรายการนั้น ส่วนประกอบของรายการประกอบด้วยเพียงบางส่วนของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ทั้งจำนวนหรือความผันผวนของกระแสเงินสดทั้งจำนวนของรายการ ในกรณีดังกล่าว กิจการอาจ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 41 เลือกกาหนด ให้ประเภทของส่วนประกอบ ( รวมถึงการรวมส่วนประกอบ ) ดังต่อไปนี้เท่านั้นเป็น รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง 6 . 3 . 7 . 1 เฉพาะการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมของรายการอันเนื่องมาจาก ความเสี่ยงหนึ่งหรือหลายความเสี่ยงที่เฉพาะเจาะจง ( ส่วนประกอบความเสี่ยง ) หากส่วนประกอบความเสี่ยงดังกล่าวสามารถระบุแยกต่างหากได้และวัดมูลค่า ได้อย่างน่าเชื่อถือ โดยอาศัยการประเมินภายใต้บริบทของโครงสร้างตลาดใดโครงสร้างหนึ่ง ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 8 ถึง ข 6 . 3 . 15 ) ส่วนประกอบความเสี่ยงนั้นให้รวมถึงการเลือกกาหนด เฉพาะแค่การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่สูงกว่าหรือต่ากว่าเมื่อเทียบกับราคาที่กาหนดหรือตัวแปรอื่นๆ ( ความเสี่ยง ด้านเดียว ) 6 . 3 . 7 . 2 กระแสเงินสดตามสัญญาที่เลือกไว้หนึ่งรายการหรือมากกว่า 6 . 3 . 7 . 3 ส่วนประกอบของจานวนเงินที่กาหนดไว้ กล่าวคือ ส่วนใดส่วนหนึ่งที่ระบุไว้ของจานวน เงินของรายการ ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 16 ถึง ข 6 . 3 . 20 ) 6 . 4 การเข้าเงื่อนไขการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 4 . 1 ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงเข้าเงื่อนไขการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงเมื่อเป็น ไปตามเกณฑ์ทุกข้อดังต่อไปนี้ 6 . 4 . 1 . 1 ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงประกอบด้วยเพียงเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกัน ความเสี่ยงและรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงที่สามารถนำมาใช้ไ ด้ใน ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงเท่านั้น 6 . 4 . 1 . 2 ณ การเริ่มต้นของความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง กิจการมีการเลือก กาหนดและการจัดทำเอกสารที่เป็นทางการซึ่งระบุถึงความสัมพันธ์ของการ ป ้ องกันความเสี่ยง และวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงของ กิจการในการป ้ องกันความเสี่ยง เอกสารดังกล่าวต้องระบุถึงเครื่องมือที่ใช้ ป ้ องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง ลักษณะของความเสี่ยงที่ ป ้ องกัน และวิธีการที่กิจการใช้ในการประเมินว่าความสัมพันธ์ของการป ้ องกัน ความเสี่ยงเป็นไปตามข้อกาหนดความมีประสิทธิผลใ นการป ้ องกันความเสี่ยง ( รวมถึงการวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความไม่มีประสิทธิผลและวิธีการในการ กำหนด อัตรําส่วนกํารป ้ องกันควํามเสี่ยง ) 6 . 4 . 1 . 3 ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงเป็นไปตามข้อกำหนดของความมี ประสิทธิผลในการป ้ องกันความเสี่ยงทุกข้อดังต่อไปนี้ 6 . 4 . 1 . 3 . 1 มีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง และเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 4 ถึง ข 6 . 4 . 6 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 42 6 . 4 . 1 . 3 . 2 ผลกระทบของความเสี่ยงด้านเครดิตไม่เหนือกว่าการเปลี่ยนแปลง มูลค่าอันเกิดจากความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 7 ถึง ข 6 . 4 . 8 ) และ 6 . 4 . 1 . 3 . 3 อัตราส่วนการป ้ องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์ของการป ้ องกัน ความเสี่ยงเท่ากับอัตราส่วนของปริมาณของรายการที่มีการป ้ องกัน ความเสี่ยงซึ่งกิจการได้ป ้ องกันความเสี่ยงต่อปริมาณของเครื่องมือ ที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงซึ่งกิจการได้ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงสำหรับ ปริมาณของรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การเลือกกำหนดความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงต้อง ไม่สะท้อนความไม่สมดุลระหว่างค่าน้าหนักของรายการที่มีการ ป ้ องกันความเสี่ยงกับเค รื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิด ความไม่มีประสิทธิผลของการป ้ องกันความเสี่ยง ( ไม่ว่าจะรับรู้ รายการแล้วหรือไม่ ) ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางบัญชีที่จะไม่สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง ( ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 9 ถึง ข 6 . 4 . 11 ) 6 . 5 การบัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข 6.5.1 กิจการถือปฏิบัติตามการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงกับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ที่เข้าเงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 (ซึ่งรวมถึงการที่กิจการตัดสินใจเลือกกำหนด ค วามสัมพันธ์ของ การป ้ องกันความเสี่ยง) 6 . 5 . 2 ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้ 6.5.2.1 การป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม คือ การป ้ องกันความเสี่ยงของฐานะ เปิดต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สินที่รับรู้รายการ แล้ว หรือสัญญาผูกมัดที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ หรือส่วนประกอบของรายการ ดังกล่าวข้างต้น อันเนื่องมาจากความเสี่ยงใดความเสี่ยงหนึ่งและมีผลกระทบต่อ กำไรหรือขาดทุ น 6 . 5 . 2 . 2 การป ้ องกันความเสี่ ยงในกระแสเงินสด คือ การป ้ องกันความเสี่ยงของฐานะ เปิดต่อความผันผวนของกระแสเงินสด อันเนื่องมาจากความเสี่ยงใดความเสี่ยง หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่รับรู้รายการแล้ว (เช่น การจ่ายชาระ ดอกเบี้ยในอนาคตทั้งหมดหรือบางส่วนของหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว) หรือรายการที่คาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมาก หรือ ส่วนประกอบของรายการดังกล่าวข้างต้น และมีผลกระทบต่อกำไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 2 . 3 การป ้ องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศตามที่นิยามไว้ ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 43 6 . 5 . 3 การป้องกันความเสี่ยงของความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของสัญญาผูกมัด อาจถือปฏิบัติตาม การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมหรือการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด 6 . 5 . 4 หากความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงยุติการเป็นไปตามข้อกำหนดของความมี ประสิทธิผล ในการป ้ องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราส่วนการป ้ องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 . 3 . 3 ) แต่วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงสาหรับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ที่เลือกกาหนดไว้ยังคงเป็นเช่นเดิม กิจการต้องปรับอัตราส่วนการป ้ องกันความเสี่ยงของ ความสัมพันธ์ ของการป ้ องกันความเสี่ยงนั้นเพื่อให้กลับมาเป็นไปตามข้อกาหนดของความ มีประสิทธิผลในการป ้ องกันความเสี่ยง (หรือสามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่าการปรับสมดุล ( rebalancing ) ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 7 ถึง ข 6 . 5 . 21 ) 6 . 5 . 5 กิจการต้องยกเลิกการใช้การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงโดยทันทีเป็นต้นไป เฉพาะเมื่อ ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง (หรือบางส่วนของความสัมพันธ์ของการป ้ องกัน ความเสี่ยง) ยุติการเป็นไปตามข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลในการป ้ องกันความเสี่ยง (หลังจากการพิจารณาการปรับสม ดุลของความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ถ้าสามารถปฏิบัติได้) ทั้งนี้ให้รวมถึงเหตุการณ์ที่เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงหมดอายุ หรือขาย ยกเลิกหรือใช้สิทธิ ในการนี้การทดแทนหรือการต่ออายุเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกัน ความเสี่ยงหนึ่งให้เป็นอีกเครื่องมื อที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงหนึ่ง ไม่ถือว่าเป็นการหมดอายุ หรือยกเลิก หากการทาสัญญาใหม่ทดแทนหรือการต่ออายุเป็นส่วนหนึ่งและสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงที่บันทึกไว้ นอกจากนี้ในการนี้ เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกัน ความเสี่ยงไม่ถือว่าหมดอายุหรือยกเลิก หากมี ลักษณะดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 5 . 1 ผลทางกฎหมายหรือข้อบังคับ หรือผลจากการออกกฎหมายหรือข้อบังคับทาให้ คู่สัญญาของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงตกลงกันให้คู่สัญญาหักบัญชีไม่ว่า จะหนึ่งรายหรือหลายรายเข้ามาเป็นคู่สัญญาใหม่ของแต่ละฝ่ายแทนที่คู่สัญญาเดิม ในการนี้ คู่สัญญาหักบัญชี หมายถึง คู่สัญญากลาง (บางครั้งเรียกว่า องค์กร หักบัญชี หรือ ตัวแทนหักบัญชี) หรือกิจการหนึ่งหรือหลายกิจการ เช่น สมาชิก หักบัญชีขององค์กรหักบัญชี หรือลูกค้าของสมาชิกหักบัญชีขององค์กรหักบัญชี ที่ทาหน้าที่ในฐานะคู่สัญญาที่ทาให้มีการหั กบัญชีโดยคู่สัญญากลาง อย่างไรก็ตาม เมื่อคู่สัญญาของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงทดแทนคู่สัญญาเดิมด้วย คู่สัญญาที่ต่างไป และคู่สัญญาแต่ละฝ่ายมีการหักบัญชีโดยใช้คู่สัญญากลาง รายเดียวกันให้ถือว่าเป็นไปตามข้อกำหนดตามย่อหน้าย่อยนี้ 6 . 5 . 5 . 2 การเปลี่ยนแปลงอื่น (ถ้ามี) ในเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงให้จากัดเพียง เท่าที่จาเป็นเพื่อทาให้เกิดการทดแทนคู่สัญญาดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงข้างต้น ให้จากัดเพียงเท่าที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่อาจจะมีขึ้นได้ หากเครื่องมือที่ใช้ ป ้ องกันความเสี่ยงดังกล่าวได้หักบั ญชีตั้งแต่แรกโดยคู่สัญญาหักบัญชี การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในข้อกาหนดเกี่ยวกับหลักประกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 44 สิทธิในการหักกลบยอดคงค้างของลูกหนี้และเจ้าหนี้ และค่าธรรมเนียมตาม กฎหมาย การยกเลิกการใช้การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงสามารถส่งผลต่อความสัมพันธ์ของการป ้ องกัน ความเสี่ยงทั้งจานวนหรือเพียงบางส่วนก็ได้ (ซึ่งหากเป็นกรณีหลังให้ใช้การบัญชีป ้ องกัน ความเสี่ยงต่อไปกับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงส่วนที่เหลือ) 6 . 5 . 6 กิจการต้องถือปฏิบัติตาม 6 . 5 . 6 . 1 ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 9 เมื่อกิจการยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงสำหรับ การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมซึ่งรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็น (หรือเป็นส่วนประกอบของ) เครื่องมือทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย และ 6 . 5 . 6 . 2 ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 11 เมื่อยกเลิกการใช้ การบัญชีป้องกันความเสี่ยงสำหรับป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงิน สด การป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม 6 . 5 . 7 ตราบที่การป ้ องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมยังคงเข้าเงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ให้กิจการถือปฏิบัติกับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยง ดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 7 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงต้องรับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุน 6 . 5 . 7 . 2 ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป ้ องกันความเสี่ยงของรายการที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยง ต้องนาไปปรับปรุงกับมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยงนั้น (ถ้าสามารถปฏิบัติได้) และต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ในกรณีที่รายการที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยงเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือเป็นส่วนประกอบของ สินทรัพย์ทางการเงิน) ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2 ให้รับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป ้ องกันความเสี่ยงของ รายการที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยงในกาไรหรือขาดทุน ในกรณีที่รายการที่ มี การ ป ้ องกันความเสี่ยงนั้นเป็นสัญญาผูกมัดที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ (หรือส่วนประกอบ ของสัญญาผูกมัด) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมขอ งรายการ ที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยงนับตั้งแต่การ เลือก กาหนดให้เป็นรายการที่การป ้ องกัน ความเสี่ยงให้รับรู้เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สิน พร้อมกับรับรู้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เป็นผลกำไรหรือขาดทุนในกำไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 8 เมื่อรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธร รมเป็นสัญญาผูกมัด (หรือเป็นส่วนประกอบ ของสัญญาผูกมัด) เพื่อให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์หรือก่อให้เกิดหนี้สิน ให้กิจการปรับมูลค่าตามบัญชี เมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย์หรือหนี้สินซึ่งเป็นผลจากการที่กิจการได้ปฏิบัติตามสัญญาผูกมัด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 45 ด้วยผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธร รมของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เคย รับรู้ไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน 6 . 5 . 9 การปรับปรุงใดๆ ที่เกิดขึ้นตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 . 2 ต้องตัดจำหน่ายไปยังกำไรหรือขาดทุน หากรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็นเครื่องมือทางการเงิน (หรือเป็นส่วนประกอบของ เครื่องมือทางการเงิน) ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย การตัดจาหน่ายอาจเริ่มต้นทันที ที่มีการปรับปรุงเกิดขึ้น และต้องเริ่มก่อนที่รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงนั้นยุติที่จะมีการปรับปรุง ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงนั้น การ ตัดจาหน่ายดังกล่าวคานวณโดยใช้อัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงที่คานวณใหม่ ณ วันที่เริ่มการตัดจาหน่าย ในกรณีของสินทรัพย์ทาง การเงิน (หรือเป็นส่วนประกอบของสินทรัพย์ทางการเงิน) ที่เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง และ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2 ให้ ตัดจาหน่าย ในลักษณะเดียวกัน แต่ใช้จานวนเงินซึ่งเป็นผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่เคยรับรู้ก่อนหน้า ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 . 2 โดยไม่ปรับปรุงกับมูลค่าตามบัญชี การป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด 6 . 5 . 1 0 ตราบที่การป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดเป็นไปตามเงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงต้องถือปฏิบัติดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 1 0 . 1 ให้ปรับปรุงส่วนประกอบแยกต่างหากของส่วนของเจ้าของซึ่งเกี่ยวข้องกับ รายการที่ มี การป ้ องกันความเสี่ยง (สารองการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) จะปรับปรุงด้วยจานวนที่ต ่ากว่าของรายการใดรายการหนึ่งต่อไปนี้ (เป็นจานวน เงินค่าสัมบูรณ์) 6 . 5 . 1 0 . 1 . 1 ผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง นับจากการเริ่มต้นของการป ้ องกันความเสี่ยง และ 6 . 5 . 1 0 . 1 . 2 ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม (มูลค่าปัจจุบัน) ของรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง (กล่าวคือ มูลค่าปัจจุบัน ของผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดอนาคต ที่คาดการณ์ที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง) โดยนับจากการเริ่มต้น ของการป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 5 . 1 0 . 2 ผลกาไรหรือขาดทุนในส่วนที่มีประสิทธิผลของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง (กล่าวคือ ส่วนที่หักกลบกับการเปลี่ยนแปลงในสารองการป ้ องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสดที่คานวณตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 1 ) ต้องรับรู้ในกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น 6 . 5 . 1 0 . 3 ผลกาไรหรือขาดทุนส่วนที่เหลือของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง ( หรือ ผลกาไรหรือขาดทุนที่คงเหลือของการเปลี่ยนแปลงของสำรองการป ้ องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 46 ความเสี่ยงในกระแสเงินสดที่คานวณตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 1 ) ถือเป็นส่วนของ การป ้ องกันความเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิผลที่ต้องรับรู้ ในกำไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 1 0 . 4 จานวนเงินสะสมในสารองการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 1 ต้องถือปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 1 0 . 4 . 1 หากรายการที่คาดการณ์ที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงทำให้เกิด การรับรู้รายการของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหรือ หนี้สินที่ไม่ใช่หนี้สินทางการเงินในภายหลัง หรือรายการที่ คาดการณ์ที่มี การป ้ องกันความเสี่ยงสำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินที่ไม่ใช่หนี้สินทางการเงิน กลายเป็นสัญญาผูกมัดที่ต้องถื อปฏิบัติตามการบัญชีป ้ องกัน ความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องโอนจำนวนเงินของ สารองการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดตรงไปรวมอยู่ใน ราคาทุนเริ่มแรกหรือมูลค่าตามบัญชีอื่นของสินทรัพย์หรือ หนี้สินนั้น รายการดังกล่าวไม่ถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ (ดู มาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 1 ) ดังนั้นจึงไม่กระทบ กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 6 . 5 . 1 0 . 4 . 2 สำหรับการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดนอกเหนือจาก รายการที่กล่าวถึงในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 4 . 1 จานวนเงินข้างต้น ต้องจัดประเภทรายการใหม่จากสารองการป ้ องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสดไปเป็นกาไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นการปรับปรุง การจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) ใน รอบระยะเวลำ รายงา น เดียวกัน หรือในรอบระยะเวลารายงานที่ กระแสเงินสดอนาคตที่คาดการณ์ ที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงส่งผล กระทบต่อกาไรหรือขาดทุน (เช่น ในรอบระยะเวลารายงานที่มี การรับรู้ดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่าย หรือเมื่อยอดขายที่ คาดการณ์ได้เกิดขึ้น) 6 . 5 . 1 0 . 4 . 3 อย่างไรก็ตาม หากจานวนเงินข้างต้นเป็นผลขาดทุน และกิจการ คาดว่าผลขาดทุนทั้งหมดหรือบางส่วนนั้นจะไม่ได้รับคืนภายใน หนึ่งรอบ ระยะเวลาในอนาคตหรือนานกว่านั้น กิจการต้อง จัดประเภท รายการใหม่สาหรับจานวนเงินที่ไม่คาดว่าจะได้รับคืนเข้ากาไร หรือขาดทุนในทันที โดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 47 6 . 5 . 11 เมื่อกิจการยกเลิกการบัญชีป้องกันความเสี่ยงสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 5 และ 6 . 5 . 6 . 2 ) กิจการต้องถือปฏิบัติกับจำนวนเงินที่สะสมไว้ในสำรอง การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 1 ดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 11 . 1 หากกระแสเงินสดอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงยังคงคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น จำนวนเงินดังกล่าวต้องคงอยู่ในสำรองการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด จนกระทั่งกระแสเงินสดอนาคตนั้นได้เกิดขึ้นหรือจนกระทั่งมีการถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 4 . 3 เมื่อกระแสเงินสดอนำคตเกิดขึ้น ให้กิจการถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 4 6 . 5 . 11 . 2 หากกระแสเงินสดอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่คาดว่าจะเกิดขึ้นอีกต่อไป จานวนดังกล่าวต้องจัดประเภทรายการใหม่ในทันทีจากสารองการป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสดไปกาไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) กระแสเงินสดอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่ ไม่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากอาจจะยังคงคาดว่าจะเกิดขึ้นได้ การป ้ องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุ ทธิในหน่วยงานต่างประเทศ 6 . 5 . 12 การป ้ องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ซึ่งรวมการป ้ องกัน ความเสี่ยงของรายการที่เป็นตัวเงินที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิ (ดู มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ) ต้องถือปฏิบัติในทานองคล้ายกันกับการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด 6 . 5 . 12 . 1 ส่วนหนึ่งของผลกาไรหรือขาดทุนของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงในส่วนที่มี ประสิทธิผลต้องรับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 ) และ 6 . 5 . 12 . 2 ส่วนที่ไม่มีประสิทธิผลต้องรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 13 ผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนของเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยงในส่วนที่มีประสิทธิผล ที่สะสมไว้ในสำรองการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศต้องจัดประเภทรายการใหม่จาก ส่วนของเจ้าของไปยังกาไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) ตามย่อหน้าที่ 48 ถึง 49 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ) เกี่ยวกับการจาหน่ายหน่วยงานต่างประเทศทั้งหมดหรือบางส่วน การบัญชีสาหรับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือก 6 . 5 . 14 เมื่อกิจการแยกมูลค่าที่แท้จริงและมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกและเลือกกำหนดให้ เฉพาะ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือกเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 2 . 4 . 1 ) กิจการต้องถือปฏิบัติ กับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกดังต่อไปนี้ (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 29 ถึง ข 6 . 5 . 33 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 48 6 . 5 . 14 . 1 กิจการต้องแยกความแตกต่างของมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกตามประเภทของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ซึ่งใช้สิทธิเลือกในการป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 29 ) ดังนี้ 6 . 5 . 14 . 1 . 1 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงแบบธุรกรรมสัมพันธ์ หรือ 6 . 5 . 14 . 1 . 2 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงแบบช่วงเวลาสัมพันธ์ 6 . 5 . 14 . 2 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยงรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงแบบธุรกรรมสัมพันธ์ต้องรับรู้ในกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงนั้น และ จานวนเงินดังกล่าวต้องสะสมไว้ในส่วนประกอบแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรร มที่เกิดขึ้นจากมูลค่าตามเวลาของสิทธิ เลือกที่สะสมไว้ในส่วนประกอบแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของ (“ จานวนเงิน ” ) นั้น ต้องถือปฏิบัติดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 14 . 2 . 1 หากรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในภายหลังก่อให้เกิดการรับรู้ รายการของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหรื อหนี้สินที่ไม่ใช่ หนี้สินทางการเงิน หรือ สัญญาผูกมัดสำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินที่ไม่ใช่หนี้สินทางการเงินซึ่งถือปฏิบัติ ตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องโอน “ จานวนเงิน ” นั้นจากส่วนประกอบแยกต่างหากในส่วนของเจ้า ของ ตรงไปราคาทุนเริ่มแรกหรือมูลค่าตามบัญชีอื่นของสินทรัพย์ หรือ หนี้สินนั้น โดยไม่ถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) ดังนั้นจึงไม่กระทบกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ) 6 . 5 . 14 . 2 . 2 สำหรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนอกเหนือจาก ที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 . 2 . 1 จานวนเงินนั้นต้องจัดประเภท รายการใหม่จากส่วนประกอบแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของไปกาไร หรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) ภายในรอบระยะเวลารายงาน เดียวกันหรือในรอบระยะเวลารายงานซึ่งกระแสเงินสดอนาคต ที่คาดการณ์ที่มีการป้องกันความเสี่ยงส่งผลกระทบต่อกำไรหรือ ขาดทุน ( เช่น เมื่อยอดขายที่คาดการณ์เกิดขึ้น ) 6 . 5 . 14 . 2 . 3 อย่างไรก็ตาม หากจานวนเงินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนนั้นไม่คาดว่า จะได้รั บคืนภายในหนึ่งรอบระยะเวลารายงานในอนาคตหรือนานกว่านั้น จำนวนเงินนั้นที่ไม่คาดว่าจะได้รับคืนต้องจัดประเภทรายการใหม่ ในทันทีไปกาไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 49 6 . 5 . 14 . 3 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยงรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงแบบช่วงเวลาสัมพันธ์ต้องรับรู้ในกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงนั้น และ ต้องสะสมในส่วนประกอบแยกต่า งหากของส่วนของเจ้าของ มูลค่าตามเวลา ณ วันที่ มีการเลือกกำหนดให้สิทธิเลือกเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่ เกี่ยวข้อง กับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงต้องตัดจาหน่ายอย่างเป็นระบบและ สมเหตุสมผลตลอดระยะเวลาที่การปรับปรุงการป้องกันความเสี่ยงสาหรับมู ลค่าที่ แท้จริงของสิทธิเลือกส่งผลกระทบต่อกาไรหรือ ดังนั้น ในแต่ละรอบระยะเวลารายงาน จำนวนเงินที่ตัดจำหน่ายส่วนต้องจัดประเภทรายการใหม่จากส่วนประกอบแยก ต่างหากของส่วนของเจ้าของไปกำไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุง การจัดประเภทรายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 1 เรื่อง การนำเสนอ งบการเงิน ) อย่างไรก็ตาม หากมีการยกเลิกการบัญชีป้องกันความเสี่ยงสาหรับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่มีการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่แท้จริงของ สิทธิเลือกเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องจัดประเภทรายการใหม่ ในทันทีสาหรับจานวนเงินสุทธิ (กล่าวคือ รวมการตั ดจาหน่ายสะสม) ที่สะสมไว้ใน ส่วนประกอบแยกต่างหากของส่วนของเจ้าของต้องไปยังกาไรหรือขาดทุน โดยถือ เป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) การบัญชีสำหรับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดและส่วนต่างอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน 6 . 5 . 15 เมื่อกิจการแยกองค์ประกอบราคาล่วงหน้าและองค์ประกอบราคาปัจจุบันของสัญญาฟอร์เวิร์ด และเลือกกาหนดให้เฉพาะการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของอ งค์ประกอบราคาปัจจุบันของสัญญา ฟอร์เวิร์ดเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง หรือเมื่อกิจการแยกส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศออกจากเครื่องมือทางการเงินและไม่รวมรายการดังกล่าวในการเลือก กาหนดให้เครื่องมือทางการเงินนั้นเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันควา มเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 2 . 4 . 2 ) กิจการอาจถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 กับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ด หรือส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ในลักษณะเดียวกันกับการถือปฏิบัติต่อมูลค่า ตามเวลาของสิทธิเลือกในกรณีดังกล่าว กิจการต้องถือปฏิบัติ ตามแนวปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 34 ถึง ข 6 . 5 . 39

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 50 6 . 6 การป ้ องกันความเสี่ยงของกลุ่มของรายการ การที่กลุ่มของรายการสามารถถือเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 6 . 1 กลุ่มของรายการ (รวมถึงกลุ่มของรายการที่รวมกันเป็นฐานะสุทธิ ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 6 . 1 ถึง ข 6 . 6 . 8 ) สามารถเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงได้เฉพาะเมื่อ 6 . 6 . 1 . 1 กลุ่มของรายการประกอบไปด้วยรายการ (รวมถึงส่วนประกอบของรายการ) ที่แต่ละรายการสามารถเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงได้ 6 . 6 . 1 . 2 รายการต่างๆ ในกลุ่มมีการบริหารรวมกันแบบกลุ่มเพื่อวัตถุประสงค์ของ การบริหารความเสี่ยง และ 6 . 6 . 1 . 3 ในกรณีของการป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดของกลุ่มของรายการที่มี ความผันผวนในกระแสเงินสดที่ไม่คาดว่าจะเป็นสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับความผันผวน โดยรวมในกระแสเงินสดของกลุ่มของรายการ จนทาให้เกิดการหักกลบฐานะ ความเสี่ยง 6 . 6 . 1 . 3 . 1 ให้ถือเป็นการป ้ องกันความเสี่ยงของความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ และ 6 . 6 . 1 . 3 . 2 การเลือกกาหนดฐานะสุทธิดังกล่าวระบุรอบระยะเวลารายงานที่ รายการที่คาดการณ์คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อกาไรห รือขาดทุน รวมถึงลักษณะและปริมาณด้วย (ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 6 . 7 ถึง ข 6 . 6 . 8 ) การเลือกกาหนดของส่วนประกอบของจานวนเงินที่กำหนดไว้ 6 . 6 . 2 ส่วนประกอบที่เป็นสัดส่วนของกลุ่มของรายการที่เป็นไปตามเกณฑ์ถือเป็นรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่เป็นไปตามเกณฑ์ หากการเลือกกาหนดนี้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการบริหาร ความเสี่ยงของกิจการ 6 . 6 . 3 ส่วนประกอบลาดับชั้นในกลุ่มรายการโดยรวม (เช่น ลาดับชั้นล่างสุด) สามารถถือปฏิบัติตาม การบัญชีป้องกันความเสี่ยงได้เฉพาะเมื่อ 6 . 6 . 3 . 1 ส่วนประกอบลาดับชั้นดังกล่าวสามารถระบุแยกต่างหากได้และวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ 6 . 6 . 3 . 2 วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยงคือการป้องกันความเสี่ยงส่วนประกอบลาดับชั้น 6 . 6 . 3 . 3 รายการในกลุ่มของรายการโดยรวมที่ซึ่งมีลาดับชั้นระบุไว้ในกลุ่มนั้น มีฐานะเปิดต่อ ควา มเสี่ยงที่มีการป้องกันความเสี่ยงประเภทเดียวกัน (เพื่อให้การวัดมูลค่าของลาดับขั้น ที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญจากรายการใดรายการหนึ่ง ในกลุ่มของรายการโดยรวมซึ่งรวมกันขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของลาดับขั้นที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง) 6 . 6 . 3 . 4 ในการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่มีอยู่ (เช่น สัญญาผูกมัดที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ หรือสินทรัพย์ที่รับรู้รายการ) กิจการสามารถระบุและติดตามกลุ่มของรายการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 51 โดยรวมที่มีการระบุลาดับชั้นที่มีการป้องกันความเสี่ยง (เพื่อให้กิจการสามารถ ปฏิบัติตามข้อกาหนดของการบัญชีสา หรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง ที่เข้าเงื่อนไข) และ 6 . 6 . 3 . 5 รายการใดๆ ในกลุ่มของรายการที่มีสิทธิเลือกที่จะจ่ายชาระก่อนครบกาหนดให้ถือว่า เข้าเงื่อนไขของข้อกำหนดสำหรับส่วนประกอบของจำนวนเงินที่กำหนดไว้ (ดู ย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 20 ) การแสดงรายการ 6 . 6 . 4 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงของกลุ่มของรายการที่มีฐานะความเสี่ยงที่หักกลบ (กล่าวคือในการ ป้องกันความเสี่ยงฐานะสุทธิ) ซึ่งความเสี่ยงที่ได้รับการป้องกันเสี่ยงของกลุ่มของรายการ ส่งผลกระทบต่อรายการรายบรรทัดที่หลากหลายในงบกาไรขาดทุนและกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้แส ดงผลกำไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงในงบการเงินดังกล่าวเป็นรายการ รายบรรทัดแยกต่างหากจากรายการที่ได้รับผลกระทบจากรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น ในงบการเงินดังกล่าว จำนวนเงินในรายการรายบรรทัดที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มี การป้องกันความเสี่ ยง (เช่น รายได้ หรือ ต้นทุนขาย) ไม่ได้รับผลกระทบใดๆ 6 . 6 . 5 สาหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่มีการป้องกันความเสี่ยงร่วมกันเป็นกลุ่มในการป้องกันความเสี่ยง ในมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องรับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์และหนี้สินแต่ละรายการ ในงบแสดงฐานะการเงินโด ยเป็นรายการปรับปรุงของมูลค่าตามบัญชีของรายการแต่ละรายการ ดังกล่าวซึ่งรวมกันเป็นกลุ่มของรายการตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 . 2 ฐานะสุทธิเป็นศูนย์ 6 . 6 . 6 เมื่อรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็นกลุ่มซึ่งเป็นฐานะสุทธิเป็นศูนย์ (กล่าวคือ รายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงหักกลบอย่างสมบูรณ์ด้วยกันเองกับความเสี่ยงที่มีการบริหารแบบกลุ่ม) กิจการสามารถเลือกกาหนดให้รายการดังกล่าวอยู่ในความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง โดยไม่มีเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง หากเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ 6 . 6 . 6 . 1 กา รป้องกันความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การป้องกันความเสี่ยงของความเสี่ยง สุทธิที่มีความต่อเนื่อง โดยที่กิจการป้องกันความเสี่ยงฐานะประเภทเดิมที่ทาขึ้นใหม่ อย่างเป็นประจา เมื่อเวลาผ่านไป (เช่น เมื่อรายการนั้นเข้าใกล้ช่วงเวลาที่กิจการ ป้องกันความเสี่ยง) 6 . 6 . 6 . 2 ขนาดของฐานะสุทธิที่มีการป้องกันความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไปตลอดอายุของกลยุทธ์ การป้องกันความเสี่ยงของความเสี่ยงสุทธิที่มีความต่อเนื่อง และกิจการใช้เครื่องมือ ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไขเพื่อป้องกันความเสี่ยงของความเสี่ยงสุทธินั้น (กล่าวคือ เมื่อฐาน ะสุทธิไม่เป็นศูนย์)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 52 6 . 6 . 6 . 3 ตามปกติแล้วการบัญชีการป้องกันความเสี่ยงสามารถถือปฏิบัติสาหรับฐานะสุทธิ ดังกล่าวเมื่อฐานะสุทธิไม่เป็นศูนย์และเมื่อมีการป้องกันความเสี่ยงด้วยเครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข และ 6 . 6 . 6 . 4 การไม่ถือปฏิบัติตามการบัญชีการป้องกันความเสี่ยงสำหรับรายการฐานะสุทธิ ที่เป็นศูนย์จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางบัญชีที่ไม่สม่าเสมอ เนื่องจากการบัญชีป้องกัน ความเสี่ยงจะไม่รับรู้ฐานะความเสี่ยงที่หักกลบ ซึ่งหากเป็นอย่างอื่นจะมีการรับรู้ ในการ ป้องกันความเสี่ยงขอ งฐานะสุทธิ 6 . 7 ทางเลือกในการเลือกกาหนดฐานะเปิดด้านเครดิตวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน การที่ฐานะเปิดด้านเครดิตสามารถเลือกกาหนดที่มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน 6 . 7 . 1 หากกิจการใช้อนุพันธ์ด้านเครดิตที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินทั้งหมดหรือบางส่วน (ฐานะ เปิดด้านเครดิต) กิจการอาจเลือกกาหนดให้เครื่องมือทางการเงินในส่วนที่กิจการบริหาร วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน (กล่าวคือ เครื่องมือทางการเงินทั้งหมด หรือตามสัดส่วน) เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 6 . 7 . 1 . 1 ชื่อของฐานะเปิดด้านเครดิต (เช่น ผู้กู้ยืม หรือผู้ครอบครองภาระผูกพันวงเงิน สินเชื่อ) ตรงกันกับชื่อของกิจการที่อ้างไว้ในในอนุพันธ์ด้านเครดิ ต (การมีชื่อ ตรงกัน) และ 6 . 7 . 1 . 2 ระดับของสิทธิเรียกร้องของเครื่องมือทางการเงินตรงกันกับระดับของสิทธิ เรียกร้องของเครื่องมือที่สามารถส่งมอบได้ซึ่งเป็นไปตามสัญญาอนุพันธ์ ด้านเครดิต ในการเลือกกำหนดดังกล่าว กิจการอาจไม่ต้องคำนึงถึงว่าเครื่องมือทางการเงินที่มี การบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตอยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ หรือไม่ (เช่น กิจการอาจเลือกกาหนดดังกล่าวสาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อซึ่งไม่อยู่ ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้) กิจการอาจเลือกกำหนดดังกล่าว สาหรับเครื่องมือทางการเงิน เมื่อมีการรับรู้รายการเริ่มแรก หรือในภายหลัง หรือขณะที่ เครื่องมือทางการเงินยังไม่ได้รับรู้รายการ กิจการต้องจัดทำเอกสารเกี่ยวกับการเลือก กำหนดดังกล่าวไปพร้อมกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 53 การบัญชีสาหรับฐานะเปิดด้านเครดิตที่เลือกกำหนดที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน 6 . 7 . 2 หากกิจการเลือกกำหนดให้วัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุนตามย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 หลังจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือยังไม่มีการรับรู้รายการ มาก่อน กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชี (ถ้ามี) กับมูลค่ายุติธรรม ณ เวลาที่มี การเลือกกาหนดดังกล่าวในกาไรหรือขาดทุนโดยทันที สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2 กิจการต้องจัดประเภท รายการใหม่สาหรับผลสะสมของผลกำไรหรือขาดทุนที่เคยรับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น โดย ทันทีจากส่วนของเจ้าของไปกาไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) 6 . 7 . 3 กิจการต้องยกเลิกการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินหรือสัดส่วนของเครื่องมือทางการเงิน ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิตด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน เมื่อเป็นไปตาม เงื่อนไขต่อไปนี้ 6 . 7 . 3 . 1 ไม่เข้าเงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 อีกต่อไป เช่น 6 . 7 . 3 . 1 . 1 อนุพันธ์ด้านเครดิตหรือเครื่องมือทางการเงินที่เกี่ยวข้องที่ก่อให้เกิด ความเสี่ยงด้านเครดิ ตนั้นหมดอายุหรือขาย ยกเลิก หรือชำระ หรือ 6 . 7 . 3 . 1 . 2 ไม่ได้บริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินโดยใช้ อนุพันธ์ด้านเครดิตอีกต่อไป เช่น กรณีดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้ เนื่องจากคุณภาพเครดิตของผู้กู้ยืมหรือผู้ครอบครองภาระผูกพันวงเงิน สินเชื่อดีขึ้น หรื อมีการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนดด้านเงินทุนของกิจการ และ 6 . 7 . 3 . 2 เครื่องมือทางการเงินที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิตไม่ได้กาหนดให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนหากไม่มีการเลือกกาหนดดังกล่าว 6 . 7 . 4 เมื่อกิจการยกเลิกการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน หรือสัดส่วนของเครื่องมือทางการเงิน ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิตด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ให้ถือว่ามูลค่า ยุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่มีการยกเลิกดังกล่าวเป็นมูลค่าตามบัญชีใหม่ของ เ ครื่องมือทางการเงินนั้น หลังจากนั้น ให้วัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินด้วยการวัดมูลค่าที่เคยใช้ก่อน ที่ จะมีการเลือกกาหนดให้เครื่องมือทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน (รวมถึงการตัดจาหน่ายอันเป็นผลมาจากมูลค่าตามบัญชีใหม่) เช่น สินทรัพย์ทำงการเงิน เคยจัดประเภทตั้งแต่เริ่มแรกให้วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย ให้กลับไปวัดมูลค่าตามเดิม และให้คานวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงใหม่จากมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ใหม่ ณ วันที่มีการ ยกเลิกการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 54 6 . 8 การยกเว้นสาหรับการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดของการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยงโดยเฉพาะ เป็นการ ชั่วคราว 6 . 8 . 1 กิจการต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 – 6 . 8 . 12 และย่อหน้าที่ 7 . 1 . 5 และย่อหน้าที่ 7 . 2 . 2 1 . 4 สาหรับทุกความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ย่อหน้าเหล่านี้ถือปฏิบัติต่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง ดังกล่าวเท่านั้น ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นจะได้รับผลกระทบโดยตรงจาก การปฏิรูปอัต ราดอกเบี้ยอ้างอิงก็ต่อเมื่อการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงทาให้เกิดความไม่แน่นอน เกี่ยวกับ 6 . 8 . 1 . 1 อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ( ทั้งที่กาหนดหรือไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา ) ที่เลื อกกำหนด ให้ เป็นความเสี่ยงที่ป้องกัน และ/หรือ 6 . 8 . 1 . 2 เวลาหรือจานวนเงินของกระแสเงินสดที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของรายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 6 . 8 . 2 เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 12 คาศัพท์ “ การปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ” หมายถึ ง การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่มีผลกระทบต่อตลาด ในวงกว้าง ซึ่งรวมถึงการแทนที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงด้วยอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยอื่นที่มาจากคาแนะนาที่ระบุไว้ในรายงานของคณะกรรมการ เสถียรภาพทางการเงิน ( Financial Stability Board ) ประจาเดือน กรกฎาคม 2557 เรื่อง “ การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงหลัก ” ( “ Reforming Major Interest Rate Benchmark ” ) 1 6 . 8 . 3 ย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 12 ให้ข้อยกเว้นเพียงข้อกาหนดที่ระบุในย่อหน้าเหล่านี้เท่านั้น กิจการ ต้องถือปฏิบัติตามข้อกาหนดอื่นของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดต่อความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ข้อกำหนดเรื่องความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากสาหรับการป ้ องกันความเสี่ยงใน กระแสเงินสด 6 . 8 . 4 เพื่อวัตถุประสงค์ในการพิจารณาว่ารายการที่คาดการณ์ ( หรือส่วนประกอบของรายการที่คาดการณ์ ) มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 6 . 3 . 3 หรือไม่ กิจการ ต้องสันนิษฐานว่าอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของกระแสเงินสดที่มีการป้องกันความเสี่ยง ( ทั้งที่กาหนด หรือไม่ได้กำหนดอยู่ในสัญญา ) จะไม่ถูกเปลี่ยนแปลงจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง 1 รายงานเรื่อง “ การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงหลัก ” ( “ Reforming Major Interest Rate Benchmarks ” ) ศึกษาได้ที่ http :// www . fsb . org / wp - content / uploads / r_140722 . pdf .

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 55 การจัดประเภทรายการใหม่จานวนเงินที่สะสมไว้อยู่ในบัญชีสารองสาหรับการป ้ องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสด 6 . 8 . 5 เพื่อ วัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตาม ข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 1 ในการพิจารณาว่า กระแสเงินสดในอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงคาดว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ กิจการต้อง สันนิษฐาน ว่าอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของกระแสเงินสดที่ มีการป้องกันความเสี่ยง ( ทั้งที่กาหนดหรือไม่ได้ กำหนดอยู่ในสัญญา ) จะไม่ถูกเปลี่ยนแปลงจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ ยอ้างอิง การประเมินความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงและ เครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 8 . 6 เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 . 3 . 1 และ ข 6 . 4 . 4 – ข 6 . 4 . 6 กิจการต้องสันนิษฐานว่าอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของกระแสเงินสดที่มีการป้องกันความเสี่ยง และ/หรือความเสี่ยงที่ป้องกัน ( ทั้งที่กาหนดหรือไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา ) หรืออัตราดอกเบี้ย อ้างอิงของกระแสเงินสดของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงจะไม่ถูกเปลี่ยนแปลงจาก การปฏิ รูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง การเลือกกาหนดส่วนประกอบของรายการเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง 6 . 8 . 7 เว้นแต่จะถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 8 . 8 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงของส่วนประกอบของ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่ไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 . 1 และ ข 6 . 3 . 8 ซึ่งส่วนประกอบความเสี่ยงนั้นต้องระบุแยกต่างหากได้ – เฉพาะ ณ การเริ่มต้น ของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง 6 . 8 . 8 โดยที่เป็นไปตามเอกสารการป้องกันความเสี่ยง เมื่อกิจการมีการปรับ ( นั่นคือ การยกเลิกหรือ เริ่มต้นใหม่ ) ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงอันเนื่องมาจากทั้งเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันค วามเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง ( นั่นคือ กิจการ มีการใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องซึ่งทาให้ทั้งรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง และเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่ใช้ในการบริหารฐานะเปิดไม่คงอยู่เหมือนเดิมเป็นเวลานาน) กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 . 1 และ ข 6 . 3 . 8 ส่วนประกอบความเสี่ยงนั้น สามารถระบุแยกต่างหากได้ เมื่อกิจการเลือกกาหนดเมื่อเริ่มแรกสาหรับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงในความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นแล้วเท่านั้น รายการที่มีการป้องกัน ค วามเสี่ยงที่ได้รับการประเมินเมื่อวันเลือกกาหนดเมื่อเริ่มแรกของความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็น ณ วันเริ่มต้นความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงหรือวันต่อมา จะไม่ถูกประเมินใหม่ ณ การเลือกกาหนดใหม่ในภายหลังใดๆ ในความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความ เสี่ยงเดิม

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 56 การหยุดการถือปฏิบัติ 6 . 8 . 9 กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 อย่างทันทีต่อรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เมื่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นก่อน ดังนี้ 6 . 8 . 9 . 1 เมื่อความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่เกี่ยวกับเวลาและ จำนวนเงินของกระแสเงินสดที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงไม่มีอยู่แล้ว และ 6 . 8 . 9 . 2 เมื่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่มีการป้ องกันความเสี่ยง เป็นส่วนหนึ่งได้สิ้นสุดลง 6 . 8 . 10 กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 6 . 8 . 5 อย่างทันที เมื่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นก่อน ดังนี้ 6 . 8 . 10 . 1 เมื่อความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่เกี่ยวกับเวลาและ จำนวนเงินของกระแสเงินสดที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงไม่มีอยู่แล้ว และ 6 . 8 . 10 . 2 เมื่อจำนวนเงินทั้งหมดที่สะสมอยู่ในบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่สิ้นสุดลง ได้ถูกจัดประเภทรายการใหม่ไปกาไรหรือขาดทุน 6 . 8 . 11 กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 6 . 8 . 6 อย่างทันที 6 . 8 . 11 . 1 ต่อรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เมื่อความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่ป้องกันหรือเวลาและจานวนเงินของ กระแสเงินสดที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ไม่มีอยู่แล้ว และ 6 . 8 . 11 . 2 ต่อเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง เมื่อความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่เกี่ยวกับเวลาและจานวนเงินของกระแสเงินสดที่อ้างอิงกับ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงไม่มีอยู่แล้ว ถ้าความสัมพันธ์ของการป้ องกันความเสี่ยงซึ่งรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งได้ถูกยกเลิกก่อนวันที่ที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 11 . 1 หรือ วันที่ที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 11 . 2 กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 6 . 8 . 6 อย่างทันที ต่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง ณ วันที่มีการยกเลิกความสัมพันธ์ป้องกันความเสี่ยง 6 . 8 . 12 เมื่อมีการเลือกกาหนดกลุ่มของรายการเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือ การรวมกลุ่มของเครื่องมือทางการเงินเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง กิจการ ต้องยุติ การถือปฏิบัติย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 6 อย่างทันทีต่อรายการแต่ละรายการ หรือเครื่องมือทางการเงินตามย่อหน้าที่ 6 . 8 . 9 6 . 8 . 10 หรือ 6 . 8 . 11 ตามที่ เกี่ยวข้อง เมื่อความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่ป้องกันและ/หรือระยะเ วลาและจานวนเงินของกระแสเงินสดที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 57 อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของรายการดังกล่าวหรือของเครื่องมือทางการเงิน ดังกล่าวไม่มีอยู่แล้ว 6 . 8 . 13 กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 8 . 7 และ 6 . 8 . 8 เมื่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง เกิดขึ้นก่อน 6 . 8 . 13 . 1 เมื่อการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับส่วนประกอบ ความเสี่ยงที่ไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญาซึ่งถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 หรือ 6 . 8 . 13 . 2 เมื่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงซึ่งส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้ กาหนดอยู่ในสัญญาที่ถูกเลือกกาห นดได้สิ้นสุดลง 6 . 9 การยกเว้นเป็นการชั่วคราวเพิ่มเติมที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง 6 . 9 . 1 ในขณะที่หรือเมื่อข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 8 ยุติการถือปฏิบัติสาหรับความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 8 . 9 ถึง 6 . 8 . 13 ) กิจการต้องปรับปรุงการเลือกกาหนด ที่เป็นทางการของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตามที่ระบุไว้ก่อนหน้านี้ในเอกสาร เพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง นั่นคือการเปลี่ยนแปลง มีความสอดคล้องกับข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 6 ถึง 5 . 4 . 8 ในบริบทนี้ การเลือกกาหนด การป้องกันความเสี่ยงต้องถูกปรับปรุง เพียงเพื่อทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหนึ่งอย่างหรือ มากกว่า ดังนี้ 6 . 9 . 1 . 1 การกาหนดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น (ทั้งที่กาหนดหรือไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา) เป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกัน 6 . 9 . 1 . 2 การปรับป รุงคาอธิบายของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง รวมถึงคาอธิบายของ ส่วนของกระแสเงินสดที่ถูกเลือกกาหนดหรือมูลค่ายุติธรรมที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือ 6 . 9 . 1 . 3 การปรับปรุงคาอธิบายของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 6 . 9 . 2 กิจการต้องถือปฏิบัติตามข้อกำหนดในย่อหน้ำที่ 6 . 9 . 1 . 3 ในกรณีที่เข้าเงื่อนไขทั้งสามข้อ ดังต่อไปนี้ 6 . 9 . 2 . 1 กิจการทาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง โดยใช้วิธีอื่น ที่นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการกาหนดกระแสเงินสดตามสัญญาของ เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 6 ) 6 . 9 . 2 . 2 เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงเดิมไม่ได้ถูก เลิกรับรู้ รายการ และ 6 . 9 . 2 . 3 วิธีการที่เลือกมีความเทียบเท่าในเชิงเศรษฐกิ จกับการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการกาหนด กระแสเงินสดตามสัญญาของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงเดิม (ตามที่ระบุใน ย่อหน้าที่ 5 . 4 . 7 และ 5 . 4 . 8 ) 6 . 9 . 3 ข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 8 อาจยุติการถือปฏิบัติในเวลาที่แตกต่างกัน ดังนั้น ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 กิจการอาจปรับปรุงการเลือกกำหนดที่เป็นทางการ ของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงในเวลาที่แตกต่างกันหรืออาจปรับปรุงการเลือกกาหนด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 58 ที่เป็นทางการของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมากกว่าหนึ่งครั้ง โดยเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงในการเลือกกาหนดของความสัมพั นธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 7 ถึง 6 . 9 . 12 ตามความเหมาะสม กิจการต้องถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 (สำหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม) หรือย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 0 (สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) สาหรับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 6 . 9 . 4 กิจการต้องปรับปรุงความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 ภายในวันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานที่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เกิดขึ้นกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยง เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน การปรับปรุงการเลือกกาหนดที่เป็นทางการในความสัมพันธ์ ของ การป้องกันความเสี่ยง ไม่รวมถึงการสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงหรือ การเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงใหม่ 6 . 9 . 3 ข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 8 อาจยุติการถือปฏิบัติในเวลาที่แตกต่างกัน ดังนั้น ในการถือฏิบัติ ตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 กิจการอาจปรับปรุงการเลือกกำหนดที่เป็นทางการของ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงในเวลาที่แตกต่างกันหรืออาจปรับปรุงการเลือกกาหนด ที่เป็นทางการของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมากกว่าหนึ่งครั้ง โดยเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงในการเลือกกาหนดของความสัมพันธ์ข องการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 7 ถึง 6 . 9 . 12 ตามความเหมาะสม กิจการต้องถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 (สำหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม) หรือย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 0 (สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) สาหรับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 6 . 9 . 4 กิจการต้องปรับปรุงความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 ภายในวันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานที่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เกิดขึ้นกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยง เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน การปรับปรุงการเลือกกาหนดที่เป็นทางการในความสัมพันธ์ ของ การป้องกันความเสี่ยง ไม่รวมถึงการสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงหรือ การเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงใหม่ 6 . 9 . 5 หากการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ย อ้างอิงในสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้ สินทางการเงินที่ถูกเลือกกาหนดในความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยง (ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 5 . 4 . 6 ถึง 5 . 4 . 8 ) หรือในการเลือกกาหนด ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง (ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 ) กิจการต้องปฏิบัติตาม ข้อกำหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้เป็นอันดับแรกตามความเหมาะสม ในการพิจารณาว่าการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมส่งผลทาให้เกิดการยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกัน ความเสี่ยงหรือไม่ โดยหากการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมดังกล่าวไม่ส่งผลทาให้เกิดการยกเลิก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 59 กำรใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องปรับปรุงการเลือกกำหนดที่เป็นทางการของ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 6 . 9 . 6 ย่อหน้าที่ 6 . 9 . 7 ถึง 6 . 9 . 13 ให้ข้อยกเว้นสาหรับข้อกาหนดที่ระบุในย่อหน้าเหล่านี้เท่านั้น กิจการ ต้องถือปฏิบัติ ตามข้อกาหนดอื่นของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ รวมถึงการเข้าเงื่อนไขการบัญชีป้องกันความเสี่ยงในย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ต่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ย อ้างอิง การบัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข การป ้ องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด 6 . 9 . 7 เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 0 เมื่อกิจการปรับปรุงคาอธิบายของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 . 2 จา นวนเงินที่สะสมไว้อยู่ใน บัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดต้องถือว่าอ้างอิงจากอัตราดอกเบี้ย อ้างอิงอื่นซึ่งใช้ในการพิจารณากระแสเงินสดในอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยง 6 . 9 . 8 สำหรับการสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง เมื่ออัตราดอกเบี้ย อ้างอิงของ กระแสเงินสดในอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงซึ่งเคยถูกพิจารณามีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 1 ในการพิจารณาว่า กระแสเงินสดในอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยงคาดว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ จานวนเงินที่สะสมไว้อยู่ในบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดสาหรับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงต้องถือว่าอ้างอิงจากอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นซึ่งจะใช้ ในการพิจารณากระแสเงิ นสดในอนาคตที่มีการป้องกันความเสี่ยง กลุ่มของรายการ 6 . 9 . 9 เมื่อกิจการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 สาหรับกลุ่มของรายการที่ถูกเลือกกำหนดให้เป็น รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในการป้องกันความเสี่ยงมูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสด กิจการต้องปันส่วนรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เป็นกลุ่มย่อยโดยใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ที่มีการป้องกันความเสี่ยง และต้องกาหนดอั ตราดอกเบี้ยอ้างอิงเป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกัน สาหรับแต่ละกลุ่มย่อย ตัวอย่างเช่น ในความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่กลุ่มของ รำยการได้รับการป้องกันความเสี่ยงสาหรับการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงตามการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง กระแสเงินสดหรือมูลค่ำยุติธรรมที่ได้รับการป้องกันของบางรายการในกลุ่ม สามารถเปลี่ยนแปลงไปอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นก่อนที่รายการอื่นในกลุ่มจะเปลี่ยนแปลง ตามตัวอย่างนี้ ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 กิจการจะเลือกกาหนดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 60 เป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกั นสาหรับกลุ่มย่อยของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง กิจการยังคงเลือกกาหนดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงปัจจุบันเป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกันสาหรับ กลุ่มย่อยอื่นของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง จนกว่ากระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมที่มี การป้องกันความเสี่ย งของรายการเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น หรือรายการหมดอายุและได้รับการแทนที่โดยรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงซึ่งอ้างอิง อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น 6 . 9 . 10 กิจการต้องประเมินแยกต่างหากว่าแต่ละกลุ่มย่อยเข้าข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 6 . 6 . 1 ที่สามารถ ถือเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้หรือไม่ ในกรณีที่กลุ่มย่อยกลุ่มใดไม่เข้าข้อกาหนด ตามย่อหน้าที่ 6 . 6 . 1 กิจการต้องยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงโดยทันทีเป็นต้นไป สาหรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยรวมทั้งหมด กิจการต้องถือปฏิ บัติตาม ข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 และ 6 . 5 . 1 0 สาหรับความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยรวมทั้งหมด การเลือกกาหนดส่วนประกอบความเสี่ยง 6 . 9 . 11 อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นซึ่งถูกเลือกกำหนดเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กำหนดอยู่ ในสัญญาซึ่งไม่สามารถระบุแยกต่างหากได้ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 . 1 และ ข 6 . 3 . 8 ) ณ วันที่ที่เลือก กำหนดจะถือว่าเข้าข้อกำหนดในวันนั้น ก็ต่อเมื่อกิจการประมาณได้อย่างสมเหตุสมผลว่า อัตรำดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นจะสามารถระบุแยกต่างหากได้ภายใน 24 เดือน โดยระยะเวลา 24 เดือน จะถือปฏิบัติกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นแต่ละอัตราแยกต่างหาก และเริ่มต้นจากวันที่ที่กิจการ เลือกกาหนดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา เป็น ครั้งแรก (นั่นคือ ระยะเวลา 24 เดือนจะถือปฏิบัติกับแต่ละอัตรา) 6 . 9 . 12 หากในภายหลัง กิจการประมาณได้อย่างสมเหตุสมผลว่าอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นไม่สามารถระบุ แยกต่างหากได้ภายใน 24 เดือนนับจากวันที่ที่กิจการเลือกกาหนดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น เ ป็นส่วนประกอบความเ สี่ยงที่ไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญาเป็นครั้งแรก กิจการต้องยุติการถือปฏิบัติ ตามข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 11 สำหรับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นนั้นและยกเลิกการใช้ การบัญชีป้องกันความเสี่ยงโดยทันทีเป็นต้นไป นับจากวันที่มีการประเมินใหม่สาหรับความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดซึ่งอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นถูกเลือกกาหนดเป็นส่วนประกอบ ความเสี่ยงที่ไม่ได้กาหนดอยู่ในสัญญา 6 . 9 . 13 นอกเหนือจากความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ระบุในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 1 กิจการต้อง ถือปฏิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 11 และ 6 . 9 . 12 สาหรับความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงใหม่ที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นถูกเลือกกาหนดเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้ กาหนดอยู่ในสัญญา (ดูย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 . 1 และ ข 6 . 3 . 8 ) เมื่อส่วนประกอบความเสี่ยงดังกล่าว ไม่สามารถระบุแยกต่างหากได้ ณ วันที่ที่เลือกกา หนด เนื่องจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 61 บทที่ 7 วันถือปฏิบัติ และการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน 7 . 1 วันถือปฏิบัติ 7 . 1 . 1 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ เป็นทางเลือกในการใช้การบัญชีสาหรับเครื่องมือทางการเงิน สาหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 25 6 3 เป็นต้นไป ทั้งนี้อนุญาตให้ถือปฏิบัติ ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้สำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญช ที่เริ่ม ในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2562 เป็นต้นไปเท่านั้น หากกิจการเลือกถือปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ กิจการต้องเปิ ดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว หากกิจการนา แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้มาถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้กับงบการเงิน สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ม ในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2562 เป็นต้นไป กิจการต้อง ถือปฏิบัติพร้อมกับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่อง การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง การป้องกันความเสี่ยงของ เงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ และการ ตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 19 เรื่อง การชาระหนี้สินทางการเงินด้วยตราสารทุน 7 . 1 . 2 นอกจากข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 7 . 1 . 1 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มก่อนวันที่ 1 มกราคม 2563 กิจการอาจเลือกถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้เฉพาะข้อกาหนดสาหรับการนาเสนอผลกาไร และขาดทุนจากหนี้สินทางการเงินที่ เลือก กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน ตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 1 . 2 5 . 6 . 5 ถึง 5 . 6 . 7 7 . 2 . 9 และย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 5 ถึง ข 5 . 6 . 20 โดยไม่ต้องถือปฏิบัติตามข้อกาหนดอื่นๆ ใน แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ หากกิจการเลือก ที่จะปฏิบัติเฉพาะย่อหน้าเหล่านั้น กิจการต้ องเปิดเผยข้อเท็จจริงและให้การเปิดเผยที่เกี่ยวข้อง ตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 8 . 5 ถึง 8 . 6 ( ดูย่อหน้าที่ 7 . 2 . 2 และ 7 . 2 . 1 0 ) อย่างต่อเนื่อง 7 . 1 . 3 กิจการต้องถือปฏิบัติ ตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 3 และ 4 . 2 . 1 กับการรวมธุรกิจตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 โดยทันที เป็นต้นไป 7 . 1 . 4 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 ออกในปี 2562 ทาให้เกิดการปรับปรุงย่อหน้าที่ 2 . 1 5 . 5 . 1 6 8 . 23 . 3 ข 4 . 3 . 8 ข 5 . 5 . 34 และ ข 5 . 5 . 46 กิจการต้องปฏิบัติตามการปรับปรุง ดังกล่าวเมื่อถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 7 . 1 . 5 การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ซึ่งปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 ทาให้เกิดการเพิ่มส่วนที่ 6 . 8 และปรับปรุงย่อหน้าที่ 7 . 2 . 2 1 กิจการต้องปฏิบัติตามการปรับปรุงดังกล่าวกับงบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 256 4 เป็นต้นไป ทั้งนี้อนุญาตให้กิจการถือปฏิบั ติก่อนวันที่ มีผลบังคับใช้ หากกิจการถือปฏิบัติตามการปรับปรุงดังกล่าวก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ กิจการต้อง เปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวด้วย 7 . 1 . 6 การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ระยะที่ 2 มีการปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 และ มาตรฐาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 62 การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 โดยเพิ่มย่อหน้าที่ 5 . 4 . 5 ถึง 5 . 4 . 9 6 . 8 . 13 ส่วนที่ 6 . 9 และ ย่อหน้าที่ 7 . 2 . 43 ถึง 7 . 2 . 46 กิจการต้องถือปฏิบัติตามการปรับปรุงนี้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้อนุญาตให้กิจการถือปฏิบัติก่อนวันที่มี ผลบังคับใช้ หากกิจการถือปฏิบัติตามการปรับปรุงดังกล่าวก่อนวันที่มีผลบังคับใช้กิจการต้อง เปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวด้วย 7 . 1 . 7 การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ ประจาปี 2561 - 2563 ที่ออกใน เดือนพฤษภาคมปี 2563 ทาให้มีการแก้ไขเพิ่มเติม แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบั บนี้ ในปี 2565 โดยเพิ่มย่อหน้าที่ 7 . 2 . 26 และ ข 3 . 3 . 6 ก และแก้ไขเพิ่มเติมย่อหน้าที่ ข 3 . 3 . 6 กิจการต้อง ถือปฏิบัติตามการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวสาหรับรอบระยะเวลารายงานประจาปีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2566 ทั้งนี้อนุญาตให้ กิจการ ถือปฏิบัติ ได้ ก่อนวันบังคับใช้ หากกิจการ ถือปฏิบัติตามการแก้ไขเพิ่มเติม ดังกล่าวสาหรับรอบระยะเวลา ก่อนวันบังคับใช้ กิจการต้อง เปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว 7 . 2 การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน 7 . 2 . 1 กิจการ ต้อง ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้แบบปรับปรุงย้อนหลังตามมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงการประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด เว้นแต่ที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 3 ถึง 7 . 2 . 21 และต้องไม่ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับนี้กับรายการที่ได้มีการ เลิกรับรู้ รายการแล้ว ณ วันที่เริ่มต้นใช้ แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ครั้งแรก 7 . 2 . 2 ตามวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน ตามย่อหน้าที่ 7 . 2 . 1 7 . 2 . 3 ถึง 7 . 2 . 21 วันที่เริ่มต้นใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ครั้งแรก คือวันที่กิจการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้เป็นครั้งแรก และต้องเป็นวันแรกของรอบระยะเวลารายงานภายหลัง การประกาศใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ การปฏิบัติในช่วงการเปลี่ยน ผ่าน สามารถเกี่ยวข้องกับ วันที่เริ่มต้นใช้ครั้งแรกหนึ่งวันหรือมากกว่าหนึ่งวันสาหรับข้อกาหนดที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ วิธีการที่กิจการเลือกถือปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน สาหรับการจัดประเภท รายการและการวัดมูลค่า (บทที่ 4 และ 5 ) 7 . 2 . 3 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการอาจเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 การ เลือก กาหนดดังกล่าวต้องมาจากพื้นฐานข้อเท็จจริงและสถานการณ์ที่มีอยู่ ณ วันที่เริ่มต้น ใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก การจัดประเภทรายการต้องมีการปรับย้อนหลัง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 63 7 . 2 . 4 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการ 7 . 2 . 4 . 1 ต้องยกเลิกการ เลือก กาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุนที่ได้เคยกาหนดไว้ในอดีต หากสินทรัพย์ทางการเงินนั้นไม่เข้า เงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 7 . 2 . 4 . 2 อาจ เลือกที่จะยกเลิกการ เลือก กาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนที่ได้เคยกาหนดไว้ในอดีต แม้ว่าสินทรัพย์ทางการเงินนั้น เข้าเงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 การยกเลิกการกาหนดการแสดงรายการดังกล่าวต้องมาจากพื้นฐานข้อเท็จจริงและสถานการณ์ ที่มีอยู่ ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก การจัดประเภทรายการต้องมีการปรับ ย้อนหลัง 7 . 2 . 5 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการ 7 . 2 . 5 . 1 อาจ เลือก กำหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุน ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 . 1 7 . 2 . 5 . 2 ต้องยกเลิกการ เลือก กำหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนหากเคย เลือก กำหนดให้การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกเข้าเ งื่อนไข ตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 . 1 และการ เลือก กาหนดนั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไข ณ วันที่เริ่มต้น ใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก 7 . 2 . 5 . 3 อาจเลือกที่จะยกเลิกการ เลือก กำหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุนหากเคย เลือก กาหนดให้การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกเข้าเงื่อนไข ตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 . 1 และการ เลือก กำหนดนั้นเป็นไปตามเงื่อนไข ณ วันที่เริ่มต้น ใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก การ เลือก กาหนดและการยกเลิกต้องมาจากพื้นฐานข้อเท็จจริงและสถานการณ์ที่มีอยู่ ณ วันที่ เริ่มต้นใช้แนวป ฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก การจัดประเภทรายการต้องมีการปรับย้อนหลัง 7 . 2 . 6 สาหรับการปรับปรุงการรับรู้รายได้หรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยตามวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง กิจการมีทางเลือก ดังนี้ 7 . 2 . 6 . 1 หากกิจการไม่สามารถปฏิบัติตามได้ ในการปรับย้อนหลังตามวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง (ตามที่ได้นิยามไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 ) กิจการต้องปฏิบัติดังนี้ 7 . 2 . 6 . 1 . 1 ให้ใช้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแต่ละรอบที่นามาเปรียบเทียบเป็นมูลค่า ตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น หรือเป็นราคาทุน ตัดจาหน่าย ของหนี้สินทางการเงินถ้ากิจการปรับปรุงรายการในงวดก่อน และ 7 . 2 . 6 . 1 . 2 ให้ใช้มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก เป็นมูลค่าตามบัญชี

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 64 ก่อนรายการหัก ใหม่ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือเป็นราคาทุนตัดจำหน่ายใหม่ ของหนี้สินทางการเงิน ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก 7 . 2 . 7 หากกิจการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วยราคาทุนก่อนที่จะถือปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับนี้ (เดิมถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559 ) เรื่อง การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน ) สาหรับเงินลงทุนในตราสารทุน ที่ไม่มีราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับตราสารที่เหมือนกัน (กล่าวคือ ข้อมูล ระดับ 1 ) หรือสาหรับสินทรัพย์อนุพันธ์ และสินทรัพย์อนุพันธ์ที่มีความสัมพันธ์กับตราสารทุน และต้องมีการชาระหรือรับชาระโดยการส่งมอบตราสารทุนดังกล่าวที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุน หรือ วิธีใดนอกเหนือจากมูลค่ายุติธรรม หรือไม่เคยบันทึกบัญชี สาหรับอนุพันธ์ดังกล่าวที่มีอยู่ ณ วันแร กที่ถือปฎิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ กิจการต้องวัดมูลค่าเงินลงทุนหรือ ตราสารดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่เริ่มต้นใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ครั้งแรก ผลต่าง ระหว่างมูลค่าตามบัญชีเดิมและมูลค่ายุติธรรมต้องรับรู้ในกำไรสะสมต้นงวด (หรือองค์ประกอบอื่ น ของส่วนของผู้ถือหุ้น (ตามความเหมาะสม)) ของรอบระยะเวลารายงานที่รวมวันที่เริ่มต้น ใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ครั้งแรก 7 . 2 . 8 หากกิจการวัดมูลค่าหนี้สินอนุพันธ์ หรือหนี้สินอนุพันธ์ที่มีความสัมพันธ์กับตราสารทุนและต้อง มีการชาระโดยการส่งมอบตราสารทุนดังกล่าวที่ไม่มีราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่อง สาหรับตราสารที่เหมือนกัน (กล่าวคือ ข้อมูลระดับ 1 ) ด้วยราคาทุน หรือวิธีใดนอกเหนือจาก มูลค่ายุติธรรม หรือไม่เคยบันทึกบัญชี สาหรับอนุพันธ์ดังกล่าวที่มีอยู่ ณ วันแรกที่ถือปฎิบัติ ตำมแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการต้องวัดมูลค่าหนี้สินอนุพันธ์ดังกล่าวด้วยมูลค่า ยุติธรรม ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีเดิม และมูลค่ายุติธรรมต้องรับรู้ในกำไรสะสมต้นงวดในรอบระยะเวลาบัญชีที่รวมวันที่เริ่มต้น ใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก 7 . 2 . 9 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการต้องพิจารณาจากข้อเท็จจริงและ สถานการณ์ที่มีอยู่ ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรกว่าวิธีการตามที่กล่าว ในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 จะก่อให้เกิดหรือขยาย การจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี ในกาไรหรือ ขาดทุนหรือไม่ หากทาให้เกิดหรือขยาย การจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี กิจการต้องนา แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติย้อนหลัง 7 . 2 . 9 ก ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการอาจ เลือก กาหนดให้ สัญญา ที่มีอยู่ ณ วันดังกล่าว ตามย่อหน้าที่ 2 . 5 เฉพาะเมื่อ กิจการ เลือก กาหนดให้สัญญาที่คล้ายคลึงกันทุกสัญญา การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์สุทธิที่เกิดขึ้นจากการ เลือก กาหนดดังกล่าวให้รับรู้ในกาไรสะสม ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก 7 . 2 . 1 0 ถึงแม้ว่าจะมีข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 1 กิจการที่ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการ และ การวัดมูลค่าตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ซึ่งรวมถึงข้อกำหนดที่เกี่ยวกับการวัดมูลค่า ด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายสาหรับสินทรัพย์ทางการเงินและการด้อยค่าตามที่กล่าวใน หมวด ที่ 5 . 4 และ 5 . 5 ) ต้องเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 ฌ แต่ไม่จำเป็นต้องปรับปรุงรายการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 65 ในงวดก่อนย้อนหลัง กิจการอาจปรับปรุงรายการในงวดก่อนย้อนหลัง ก็ต่อเมื่อสามารถทาได้ โดยปราศจากการเข้าใจถึงปัญหาหลังจากที่เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นแล้ว หากกิจการไม่ปรับปรุง รำยการในงวดก่อนย้อนหลัง กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีเดิมและมูลค่าตามบัญชี ณ ต้นงวดของรอบปีบัญชีที่รวมวันที่เริ่มต้นใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ครั้งแรก ในกำไรสะสมต้นงวด (หรือองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น (ตามความเหมาะสม)) ของรอบปีบัญชีที่รวม วันที่ เริ่มต้นใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ครั้งแรก อย่างไรก็ตาม หากกิจการปรับปรุงรายการในงวด ก่อนย้อนหลัง งบการเงินที่ปรับปรุงต้องสะท้อนข้อกาหนดทั้งหมดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ 7 . 2 . 1 1 หากกิจการจัดทารายงานทางการเงินระหว่างกาลตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 เรื่อง การรายงาน ทางการเงินระหว่างกาล กิจการไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดของแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้กับงวดระหว่างกาลงวดก่อนวันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก หากกิจการ ไม่สามารถปฏิบัติตามได้ (ดังที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 ) การด้อยค่า ( หมวด ที่ 5 . 5 ) 7 . 2 . 1 2 กิจการต้อง ถือปฏิบัติตามข้อกาหนดเกี่ยวกับการด้อยค่าในหมวดที่ 5 . 5 โดยปรับปรุงย้อนหลัง ตามข้อกาหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 ตามย่อหน้าที่ 7 . 2 . 10 และ 7 . 2 . 13 ถึง 7 . 2 . 15 7 . 2 . 1 3 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก กิจการต้องใช้ ข้อมูล สนับสนุนและสมเหตุสมผล ที่สามารถหาได้โดยไม่ใช้ ต้นทุนหรือความพยายามที่มาก เกินไป ที่จะกาหนดความเสี่ยงด้านเครดิต ณ วันที่เครื่องมือทางการเงินมีการรับรู้เมื่อเริ่มแรก (หรือ ณ วันที่กิจการเป็นคู่สัญญาที่ไม่สามารถ ยกเลิกสัญญาได้ สาหรับภาระผูกพัน วงเงิน สินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงิน ตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 7 ) และเปรียบเทียบความเสี่ยงข้างต้นกับความเสี่ยงด้านเครดิต ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติ ทางการบัญชีครั้งแรก 7 . 2 . 1 4 เมื่อพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตมีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับจากวันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกหรือไม่ กิจการที่อาจปฏิบัติดังนี้ 7 . 2 . 1 4 . 1 ปฎิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 11 และย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 22 ถึง ข 5 . 5 . 24 และ 7 . 2 . 1 4 . 2 ปฎิบัติตามข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้ตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 12 สำหรับ การค้างชาระการจ่ายเงินตามสัญญา เกินกว่า 30 วัน หากกิจการจะนาข้อกาหนด เกี่ยวกับการด้อยค่ามาถือปฏิบัติ โดยระบุว่ามีการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านเครดิต อย่างมีนัยสำคัญตั้งแต่ การรับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรกของเครื่องมือทางการเงิน โดยอาศัยข้อมูลการค้างชาระเกินกำหนดเป็นเกณฑ์ 7 . 2 . 15 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรก หากการพิจารณาว่ามีการเพิ่มขึ้นของ ความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างมีนัยสาคัญตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือ ไม่ จะใช้ต้นทุน หรือความพยายามที่มากเกินไป กิจการต้องรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุนด้วยจำนวนเงินเท่ากับ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ณ แต่ละวันที่รายงานจนกว่าเครื่องมือ ทาง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 66 การเงินดังกล่าวถูก เลิกรับรู้ รายการ (เว้นแต่เครื่องมือทางการเงินนั้นมีความเสี่ยงด้านเครดิตต่า ณ วันที่รายงาน ให้ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 7 . 2 . 14 . 1 ) การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน สาหรับการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง (บทที่ 6 ) 7 . 2 . 16 เมื่อกิจการถือปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้เป็นครั้งแรก สาหรับการบริหารความเสี่ยง แบบพลวัต ( dynamic risk management ) กิจการอาจถือปฏิบัติตามแนวทางที่ปฏิบัติอยู่ต่อไป หรือแนวทางปฏิบัติอื่นแทนข้อกาหนดในบทที่ 6 ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ โดยต้อง ปฏิบัติกับความสัมพันธ์ของการบริหารความเสี่ยงแบบพลวัตทั้งหมด โดยทั่วไปการบริหารความเสี่ยงแบบพลวัตได้ ( dynamic risk management ) จะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 7 . 2 . 16 . 1 เป็นการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินที่ฐานะเปิดต่อความเสี่ยง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ( open portfolio ) โดยมีการเพิ่มขึ้นของฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงใหม่ ๆ อย่างสม่าเสมอ และฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มีอยู่นั้นได้หมดไป และ 7 . 2 . 1 6 . 2 เมื่อรูปแบบของความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไป การบริหาร ความเสี่ยงก็จะถูกปรับเปลี่ยนอย่างสม่าเสมอเพื่อตอบสนองต่อฐานะ ความเสี่ยงสุทธิ ที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ การบริหารความเสี่ยงแบบพลวัต ( dynamic risk management ) อาจมีลักษณะบางประการ ดังต่อไปนี้ 7 . 2 . 16 . 3 สาหรับการบริหารความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ย อาจมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษารายได้ ดอกเบี้ยสุทธิจากกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินที่ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงมีการปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ( open portfolio ) ให้อยู่ในช่วงเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งผันแปรไปตาม อัตราดอกเบี้ยตลาด 7 . 2 . 16 . 4 การบริหารความเสี่ยงทางการเงินที่อาจนำมาใช้กับกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงิน ที่ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ( open portfolio ) ที่มีฐานะ เปิดต่อความเสี่ยงที่อ้างอิงจากประมาณการของปริมาณ และ/หรือ ช่วงเวลาของ กระแสเงินสด (ตัวอย่างเช่น ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่อ้างอิงกับพฤติกรรม) 7 . 2 . 16 . 5 กลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินที่บริหารจัดการนั้นมีเพียงความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจาก ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงจากแหล่งภายนอกกิจการเท่านั้น 7 . 2 . 17 กิจการต้องถือปฏิบัติข้อกาหนดของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ของแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้แบบเปลี่ยนทันที เว้นแต่ที่ได้กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 21 7 . 2 . 18 ในการถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงนับจากวันที่เริ่มต้นการปฏิบัติตามข้อกาหนด ของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ เงื่อนไขทั้งหมดต้อง เข้า เงื่อนไขการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ณ วันดังกล่าว 7 . 2 . 19 ในกรณีที่กิจการมีการป้องกันความเสี่ยงก่อนวันที่ถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ เป็นครั้งแรก และการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขของการบัญชีป้องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 67 ความเสี่ยงตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ) หลังจากที่คานึงถึงการปรับ สมดุลของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงในช่วงการเปลี่ยน ผ่าน แล้ว (ดูย่อหน้าที่ 7 . 2 . 20 . 2 ) กิจการสามารถใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ต่อไปได้ 7 . 2 . 2 0 ณ วันแรกที่ถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ 7 . 2 . 2 0 . 1 กิจการอาจเริ่มใช้ข้อกำหนดของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงตามแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ในเวลาเดียวกับที่กิจการยุติการปฏิบัติตามข้อกาหนดการบัญชี ป้องกันความเสี่ยงที่ใช้อยู่เดิม และ 7 . 2 . 2 0 . 2 กิจการต้องพิจารณาอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงตามข้อกาหนดการบัญชีป้องกัน ความเสี่ยงที่ใช้อยู่เดิมเป็นจุดเริ่มต้นในการปรับสมดุลอัตราส่วนการ ป้องกันความเสี่ยง ของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ยังคงอยู่ (ถ้าสามารถปฏิบัติได้) ผลกาไร หรือขาดทุนจากการปรับสมดุลดังกล่าวต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 7 . 2 . 2 1 นอกเหนือจากการถือปฏิบัติแบบเปลี่ยนทันทีเกี่ยวกับการบัญชีป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนด ในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 7 . 2 . 2 1 . 1 กิจการต้องนำการบัญชีสำหรับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 มาถือปฏิบัติแบบปรับย้อนหลัง หากตามแนวทางที่ใช้อยู่เดิม เฉพา ะเมื่อการเปลี่ยนแปลง ของมูลค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือกมีการ เลือก กาหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงในความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง การปรับย้อนหลังให้ถือปฏิบัติ เฉพาะกับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่มีอยู่ ณ วันเริ่มต้นของ รอบระยะเวลาบัญชีที่นามาเปรียบเทียบแรกสุดหรือเมื่อมีการ เลือก กำหนดภายหลัง 7 . 2 . 2 1 . 2 กิจการอาจนำการบัญชีสำหรับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญา ฟอร์เวิร์ด ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 16 มาถือปฏิบัติแบบปรับย้อนหลัง หากตามแนวทางที่ใช้อยู่เดิม เฉพาะเมื่อการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบราคาปัจจุบันของสัญญา ฟอร์เวิร์ด มีการ เลือก กำหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยง การปรับย้อนหลังให้ถือปฏิบัติเฉพาะกับความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยง ที่มีอยู่ ณ วันเริ่มต้นของรอบระยะเวลาบัญชีที่นามาเปรียบเทียบ แรกสุด หรือเมื่อมีการ เลือก กาหนดภายหลัง นอกจากนี้ หากกิจการเลือกปรับย้อนหลัง สาหรับ การบัญชีดังกล่าว การปรับย้อนหลังนี้ต้องถือปฏิบัติกับความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงทั้งหมดซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขกำรเลือกดังกล่าว (เช่น การ ปฏิบัติในช่วง เปลี่ยน ผ่าน นี้ไม่มีทางเลือกข้างต้นสำหรับปฏิบัติเป็นรายความสัมพันธ์ ของ การป้องกันความเสี่ยงได้ การบัญชี สาหรับส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 16 ) อาจถือปฏิบัติโดยปรับย้อนหลังสาหรับความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงซึ่งมีอยู่ ณ วันเริ่มต้นของรอบระยะเวลาบัญชีที่นามาเปรียบเทียบ แรกสุดหรือเมื่อมีการ เลือก กำหนดภายหลัง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 68 7 . 2 . 21 . 3 กิจการต้องถือปฏิบัติแบบย้อนหลังสำหรับข้อกำหนดตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 6 ที่ว่า เครื่ องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ไม่ถือว่าหมดอายุหรือยกเลิก หาก มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 7 . 2 . 2 1 . 3 . 1 ผลทางกฎหมายหรือข้อบังคับ หรือผลจากการออกกฎหมายหรือ ข้อบังคับทาให้คู่สัญญาของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงตกลงกัน ให้คู่สัญญาหักบัญชีไม่ว่าจะหนึ่งรายหรือหลายรายเข้ามาเป็นคู่สัญญาใหม่ ของแต่ละฝ่ายแทนที่คู่สัญญาเดิม และ 7 . 2 . 2 1 . 3 . 2 การเปลี่ยนแปลงอื่น (ถ้ามี) ในเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ให้จากัดเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อทาให้เกิดการทดแทนคู่สัญญาดังกล่าว 7 . 2 . 2 1 . 4 กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในส่วนที่ 6 . 8 แบบปรับย้อนหลัง การปรับย้อนหลัง ให้ปฏิบัติเมื่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นคงอยู่ ณ วันเริ่มต้นของ รอบระยะเวลารายงานที่กิจการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดดังกล่าวเป็นครั้งแรกหรือ เมื่อมีการเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงหลังจากนั้น และ ถือปฏิบัติกับจำนวนเงินที่สะสมอยู่ในบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสดที่คงอยู่ ณ วัน เริ่มต้นของรอบระยะเวลารายงานที่กิจการถือปฏิบัติ ตามข้อกาหนดดังกล่าวเป็นครั้งแรก การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน สาหรับการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ระยะที่ 2 7 . 2 . 22 กิจการต้องปฏิบัติตามการปรับปรุงเพิ่มเติมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ระยะที่ 2 แบบปรับปรุงย้อนหลังตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 8 ยกเว้นที่มีการระบุไว้ในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 23 ถึง 7 . 2 . 25 7 . 2 . 22 กิจการต้องปฏิบัติตามการปรับปรุงเพิ่มเติมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ระยะที่ 2 แบบปรับปรุงย้อนหลังตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ยกเว้นที่มี การระบุไว้ในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 23 ถึง 7 . 2 . 25 7 . 2 . 23 กิจการต้องเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงใหม่ (ตัวอย่างเช่น ตามที่ระบุ ในย่อหน้าที่ 6 . 9 . 13 ) โดยทันทีเป็นต้นไปเท่านั้น (นั่นคือ ไม่ให้กิจการเลือกกาหนดความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงใหม่ในงวดก่อน) อย่างไรก็ตาม กิจการต้องคืนสถานะความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงที่สิ้นสุดไปแล้ว ก็ต่อเมื่อเข้าเงื่อนไขครบทุกข้อ ดังต่อไปนี้ 7 . 2 . 23 . 1 กิจการได้ยุติความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง และกิจการจะไม่ถูกกาหนดให้ต้องยุติ ความสัมพันธ์ของกา รป้องกันความเสี่ยง ถ้าการปรับปรุงนี้ถือปฏิบัติในเวลานั้น และ 7 . 2 . 23 . 2 ณ ต้นงวดของรอบระยะเวลารายงานซึ่งกิจการถือปฏิบัติตามการปรับปรุงนี้ เป็นครั้งแรก (วันที่เริ่มปฏิบัติตามการปรับปรุงนี้) ความสัมพันธ์ของการป้องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 69 ความเสี่ยงที่สิ้นสุดลงนั้น เข้าเงื่อนไขการบั ญชีป้องกันความเสี่ยง (หลังจากพิจารณา รวมการปรับปรุงนี้แล้ว) 7 . 2 . 24 ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 7 . 2 . 23 หากกิจการคืนสถานะความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงที่สิ้นสุดไปแล้ว กิจการต้องอ้างอิงตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 11 และ 6 . 9 . 12 จนถึงวันที่ อัตราอ้างอิงอื่นถูกเลือกกำหนดให้เป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กำหนดอยู่ในสัญญา เป็นครั้งแรกตามที่ได้อ้างอิงกับวันที่เริ่มปฏิบัติตามการปรับปรุงนี้ (เช่น ระยะเวลา 24 เดือน สาหรับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นที่ถูกเลือกกาหนดเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กาหนด อยู่ ในสัญญา เริ่มต้นจากวันที่นาการปรับปรุงมาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก) 7 . 2 . 24 ในการถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 7 . 2 . 23 หากกิจการคืนสถานะความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงที่สิ้นสุดไปแล้ว กิจการต้องอ้างอิงตามย่อหน้าที่ 6 . 9 . 11 และ 6 . 9 . 12 จนถึงวันที่ อัตราอ้างอิงอื่นถูกเลือกกำหนดให้เป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กำหนดอยู่ในสัญญา เป็นครั้งแรกตามที่ได้อ้างอิงกับวันที่เริ่มปฏิบัติตามการปรับปรุงนี้ (เช่น ระยะเวลา 24 เดือน สาหรับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่นที่ถูกเลือกกาหนดเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้กาหนด อยู่ ในสัญญา เริ่มต้นจากวันที่นาการปรับปรุงมาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก) 7 . 2 . 25 กิจการไม่ถูกกาหนดให้ต้องปรับปรุงรายการในงวดก่อน เพื่อสะท้อนการปฏิบัติตามการปรับปรุง ดังกล่าว กิจการอาจปรับปรุงรายการในรอบงวดก่อนก็ต่อเมื่อสามารถทาได้โดยไม่นาข้อมูล ในอดีตที่รู้ในภาย หลังมาใช้ ( hindsight ) หากกิจการไม่ปรับปรุงรายการในงวดก่อน กิจการต้อง รับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีเดิมและมูลค่าตามบัญชี ณ ต้นงวดของรอบปีบัญชีแรกที่มี การถือปฏิบัติตามการปรับปรุงดังกล่าว ในกาไรสะสมต้นงวด (หรือองค์ประกอบอื่นของส่วนของ เจ้าของ ตามความเหมาะส ม) ของรอบปีบัญชีที่มีการนาการปรับปรุงมาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่านสำหรับการแก้ไขเพิ่มเติม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ในปี 2565 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมตาม การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่าง ประเทศ ประจาปี 2561 ถึง 2563 7 . 2 . 26 กิจการต้องถือป ฏิ บัติตาม การแก้ไขเพิ่มเติม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ กับหนี้สินทางการเงิน ที่มีการปรับแต่งหรือมีการแลกเปลี่ยนในหรือหลังวันเริ่มต้นของ รอบระยะเวลารายงานประจาปี ที่ กิจการถือปฏิบัติตามการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวเป็นครั้งแรก บทที่ 8 การเปิดเผยข้อมูล ประเภทของเครื่องมือทางการเงินและระดับของการเปิดเผยข้อมูล 8 . 1 ในกรณีที่แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลตามประเภทของเครื่องมือ ทางการเงิน กิจการต้องจัดกลุ่มเครื่องมือทางการเงินเป็นประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 70 ของข้อมูลที่เปิดเผย และคานึงถึงลักษณะของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวด้วย กิจการต้อง ให้ข้อมูลที่เพียงพอ เพื่อให้สามารถกระทบยอดกับรายการรายบรรทัดที่แสดงรายการในงบแสดง ฐานะการเงินได้ ความมีนัยสำคัญของเครื่องมือทางการเงินต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน 8 . 2 กิ จการต้องเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินความมีนัยสำคัญของ เครื่องมือทางการเงินต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน งบแสดงฐานะการเงิน ประเภทของสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน 8 . 3 กิจการต้องเปิดเผยมูลค่าตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภทในงบแสดงฐานะ การเงินหรือในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ตามที่กาหนดในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ดังต่อไปนี้ 8 . 3 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แยก แสดง ระหว่าง ( 1 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการกำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือในภายหลังตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และ ( 2 ) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าและสินทรัพย์ ทางการเงินที่กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุ ติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่กาหนด ในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 8 . 3 . 2 หนี้สินทางการเงินที่วัด มูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แยกแสดง ระหว่าง ( 1 ) หนี้สินทางการเงินที่กิจการกาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือในภายหลังตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และ ( 2 ) หนี้สินทางการเงินที่เป็นไปตามคานิยามการถือไว้เพื่อ ค้าในแนวปฏิบัติทาง การบัญชีฉบับนี้ 8 . 3 . 3 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย 8 . 3 . 4 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย 8 . 3 . 5 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยให้แยก แสดงระหว่าง ( 1 ) เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ และ ( 2 ) เงินลงทุนในตราสารทุน ตามที่กาหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 8 . 4 ในกรณีที่กิจการกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงิน) วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน แทนการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นหรือราคาทุนตัดจาหน่าย กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 4 . 1 ฐานะเปิดสูงสุดต่อ ความเสี่ยงด้านเครดิ ตของสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่มของ สินทรัพย์ทางการเงิน) (ดูย่อหน้าที่ 8 . 30 . 1 ) ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 71 8 . 4 . 2 จานวนเงินของฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตที่ลดลงจากอนุพันธ์ด้านเครดิต ที่เกี่ยวข้องหรือเครื่องมือทา งการเงินที่คล้ายคลึงกัน (ดูย่อหน้าที่ 8 . 30 . 2 ) 8 . 4 . 3 จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือกลุ่ม ของสินทรัพย์ทางการเงิน) ในระหว่างรอบระยะเวลารายงานและผลสะสมของ การเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของ สินทรัพย์ทางการเงิน จำนวนเงินดังกล่าวสามารถกาหนดตามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 8 . 4 . 3 . 1 จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งไม่ได้ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดที่ทาให้ เกิด ความ เสี่ยง ด้านตลาด หรือ 8 . 4 . 3 . 2 จานวนเงินซึ่งกาหนดโดยวิธีการอื่นซึ่งกิจการเชื่อว่าแสดงถึงจานวนเงินของ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินอันเป็นผล มาจากการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงด้านเครดิตของสินทรัพย์ได้อย่าง เที่ยงธรรมมากกว่า การ เปลี่ยน แปลงของสภาวะ ตลาดที่ทาให้เกิดความเสี่ยงด้านตลาด ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง ของอัตราดอกเบี้ย ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หรือ ดัชนีราคาหรือดัชนีอัตรา ที่สังเกตได้ในตลาด (ที่เป็นค่าเทียบเคียง) 8 . 4 . 4 จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์ด้านเครดิตที่เกี่ยวข้อง หรือเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่าง รอบระยะเวลารายงาน และผลสะสมของการเปลี่ยนแปลง นับตั้งแต่วันที่กิจการกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรหรือขาดทุน 8 . 5 ในกรณีที่กิจการกาหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และต้องแสดงผล กระทบของการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินดังกล่าวในกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (ดูย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 ) กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 5 . 1 ผลสะสมของจานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงิน ซึ่ง เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ของความ เสี่ยงด้านเครดิตของ หนี้สินดังกล่าว (ดูย่อหน้า ที่ ข 5 . 6 . 1 3 ถึง ข 5 . 6 . 20 สำหรับแนวทาง การพิจารณาผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน) 8 . 5 . 2 ความแตกต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีของหนี้สินทางการเงินและมูลค่าที่กิจการต้อง จ่ายชาระตามสัญญาแก่ผู้ถือครองภาระผูกพัน ณ วันครบกำหนดสัญญา 8 . 5 . 3 การโอนผลสะสมของกำไรหรือขาดทุนภายในส่วนของเจ้าของในระหว่างรอบระยะเวลา รายงาน รวมทั้งเหตุผลของการโอนดังกล่าว 8 . 5 . 4 จานวนเงินที่แสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ถ้ามี) ซึ่งรับรู้เมื่อมีการ เลิกรับรู้ รายการ สาหรับหนี้สินที่ถูก เลิกรับรู้ รายการในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 72 8 . 5 ก ในกรณีที่กิจการกาหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ตามที่กาหนดในย่อห น้าที่ 4 . 2 . 2 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และต้องแสดง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมทั้งหมดของหนี้สินดังกล่าว (รวมถึงผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน) ในกาไรหรือขาดทุน (ดูย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 ) กิจการต้องเปิดเผยข้อมู ลต่อไปนี้ 8 . 5 ก. 1 จานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงิน ในระหว่าง รอบระยะเวลารายงานและผลสะสมของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินดังกล่าว (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 3 ถึง ข 5 . 6 . 20 สาหรับแนวทางการพิจารณา ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง ด้านเครดิตของหนี้สิน) และ 8 . 5 ก. 2 ความแตกต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีของหนี้สินทางการเงินและมูลค่าที่กิจการต้อง จ่ายตามสัญญาแก่ผู้ถือครองภาระผูกพัน ณ วันครบกำหนดสัญญา 8 . 6 นอกจากนี้ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 6 . 1 คาอธิบายอย่างละเอียดของวิธีที่กิจการใช้เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 4 . 3 8 . 5 . 1 และ 8 . 5 ก. 1 และย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 รวมถึงคาอธิบายเหตุผลที่วิธีการ ดังกล่าวมีความเหมาะสม 8 . 6 . 2 ในกรณีที่กิจการเชื่อว่า การเปิดเผยข้อ มูลไม่ว่าจะในงบแสดงฐานะการเงินหรือในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินเพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 4 . 3 8 . 5 . 1 หรือ 8 . 5 ก. 1 หรือย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 ไม่แสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินหรือหนี้สินทาง การเงินอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง ด้านเครดิตอย่างเที่ยงธรรม กิจการต้องเปิดเผยเหตุผลซึ่งนาไปสู่ข้อสรุปดังกล่าวและ ปัจจัยที่กิจการเชื่อว่าเกี่ยวข้องด้วย 8 . 6 . 3 คาอธิบายอย่างละเอียดของวิธีการที่กิจการใช้ในการพิจารณาว่าการแสดงผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จะก่อให้เกิดหรือเพิ่มการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชีของกาไรหรือขาดทุน หรือไม่ (ดูย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 ) หากกิจการต้องแสดงผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินในกาไรหรือขาดทุน (ดูย่อหน้าที่ 5 . 6 . 6 ) กิจการต้องเปิดเผยคาอธิบายอย่างละเอียดของความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจ ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 6 ด้วย การจัดประเภทรายการใหม่ 8 . 7 ก หากในรอบระยะเวลารายงานปัจจุบันหรือรอบระยะเวลารายงานก่อนหน้า กิจการจัดประเภท รายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินใดๆ ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 กิจการต้อง เปิดเผยข้อมูลสาหรับแต่ละเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ 8 . 7 ก . 1 วันที่จัดประเภทรายการใหม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 73 8 . 7 ก . 2 คาอธิบายเชิงคุณภำพของผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ 8 . 7 ก . 3 จานวนเงินที่จัดประเภทรายการใหม่ ทั้งเข้าและออกในแต่ละประเภท 8 . 7 ข สาหรับแต่ละรอบระยะเวลารายงานภายหลังการจัดประเภทรายการใหม่จนกระทั่งการ เลิกรับรู้ รายการ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้สาหรับสินทรัพย์ที่ถูกจัดประเภทรายการใหม่ออก จาก ประเภทหลักทรัพย์เพื่อค้า ไปเป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายหรือมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 8 . 7 ข. 1 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่กาหนด ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่ และ 8 . 7 ข . 2 ดอกเบี้ยรับที่กิจการรับรู้ 8 . 7 ค ตั้งแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานประจาปีล่าสุด หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับ สินทรัพย์ทางการเงินออกจากประเภท หลักทรัพย์เผื่อขาย ไปเป็นประเภท ตราสารหนี้ที่จะถือ จนครบกำหนด หรือออกจากประเภท หลักทรัพย์เพื่อค้า ไปเป็นประเภท ตราสารหนี้ที่จะถือ จนครบกำหนด หรือ หลักทรัพย์เผื่อขาย กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ 8 . 7 ค. 1 มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และ 8 . 7 ค. 2 ผลกาไรหรือขาดทุนจากมูลค่ายุติธรรมที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนหรือกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นในระหว่างรอบระยะเวลารายงานที่จะเกิดขึ้น หากสินทรัพย์ทางการเงินนั้น ไม่ถูกจัดประเภทรายการใหม่ 8 . 7 ง กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลสาหรับการขายหรือการโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ที่จะถื อจนครบ กำหนดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดังต่อไปนี้ 8 . 7 ง. 1 จานวนต้นทุนตัดจาหน่ายของหลักทรัพย์ที่มีการขายหรือการโอนเปลี่ยน 8 . 7 ง. 2 จานวนรวมของรายการกาไรหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดขึ้น 8 . 7 ง. 3 จานวนรวมของรายการกาไรหรือขาดทุนสุทธิที่ยังไม่เกิดขึ้น 8 . 7 ง. 4 สถานการณ์อาจทาให้กิจการต้องเปลี่ยนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้ไปจนครบ กาหนดโดยที่ไม่จาเป็นต้องทบทวนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้รายการอื่นไปจนครบ กาหนด ตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ที่ทาให้กิจการขาย หรือโอนเปลี่ยนตราสารนั้น การหักกลบสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน 8 . 8 ก การเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข ถึง 8 . 8 จ เป็นข้อกาหนดเพิ่มเติมในการเปิดเผยข้อมูลอื่นๆ ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ และให้ถือปฏิบัติสำหรับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้ ทุกรายการแล้วซึ่งหักกลบลบหนี้ได้ตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 นอกจากนี้ การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวถือปฏิบัติกับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้แล้ว และอยู่ภายใต้ข้อตกลงหลักของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้หรือข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน โดยไ ม่ คานึงว่ารายการดังกล่าวหักกลบลบหนี้ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 หรือไม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 74 8 . 8 ข กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินผลกระทบหรือผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากข้อตกลงการหักกลบที่มีต่อฐานะการเงินของกิจการ ซึ่งรวมถึ งผลกระทบหรือ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นของสิทธิในการหักกลบที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้และ หนี้สินทางการเงินที่รับรู้ของกิจการซึ่งอยู่ภายใต้ขอบเขตของย่อหน้าที่ 8 . 8 ก 8 . 8 ค เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณแยกจากกัน สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้และหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ ซึ่งอยู่ภายใต้ขอบเขตของ ย่อหน้าที่ 8 . 8 ก ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ดังต่อไปนี้ 8 . 8 ค. 1 จานวนเงินขั้นต้น ( gross amount ) ของสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้และหนี้สินทางการเงิน ที่รับรู้ 8 . 8 ค. 2 จำนวนเงินที่หักกลบลบหนี้ได้ตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เมื่อคานวณจานวนเงินสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน 8 . 8 ค. 3 จานวนเงินสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน 8 . 8 ค. 4 จำนวนเงินที่อยู่ภายใต้ข้อตกลงหลักของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้หรือข้อตกลง ที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งไม่ได้นามารวมอยู่ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 ซึ่งรวมถึง 8 . 8 ค. 4 . 1 จำนวนเงิน ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้ ซึ่งไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขของการหักกลบบางข้อหรือทุกข้อในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 32 และ 8 . 8 ค. 4 . 2 จานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันทางการเงิน (รวมถึงหลักประกันเงินสด) และ 8 . 8 ค. 5 จานวนเงินสุทธิหลังหักจานวนเงินในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 จากจานวนเงินในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ข้างต้น ข้อมูลที่กาหนดในย่อหน้านี้ต้องแสดงในรูปแบบตาราง แยกระหว่างสินทรัพย์ทางการเงินและ หนี้สินทางการเงิน เว้นแต่การแสดงด้วยรูปแบบอื่นเหมาะสมกว่า 8 . 8 ง จานวนเงินรวมที่เปิดเผยตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 สาหรับเครื่องมือ ทางการเงินหนึ่ง ต้องไม่เกินกว่าจานวนเงินที่เปิดเผยตามย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 สาหรับเครื่องมือทางการเงินนั้น 8 . 8 จ กิจการต้องเปิดเผยคาอธิบายเกี่ยวกับสิทธิในการหักกลบที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ ทางการเงิน ที่รับรู้และหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ของกิจการ ซึ่งอยู่ภายใต้ ข้อตกลงหลักของการหักกลบ ที่มีผลบังคับใช้และข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเปิดเผยตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 รวมถึง ลักษณะของสิทธิเหล่านั้นด้วย 8 . 8 ฉ หากข้อมูลที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข ถึง 8 . 8 จ ถูกเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน มากกว่าหนึ่งข้อ กิจการต้องอ้างอิงระหว่างหมายเหตุประกอบงบการเงินเหล่านั้นด้วย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 75 หลักประกัน 8 . 9 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 8 . 9 . 1 มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการนาไปวางเป็นหลักประกันสาหรับ หนี้สินหรือหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงจานวนเงินดังกล่าวที่จัดประเภทรายการใหม่ ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 23 . 1 และ 8 . 9 . 2 ข้อกาหนดและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการวางหลักประกัน 8 . 1 0 ในก รณีที่กิจการถือครองหลักประกัน (ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์ทางการเงินหรือไม่ใช่สินทรัพย์ ทางการเงิน) และมีสิทธิในการนาหลักประกันไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง โดยที่ เจ้าของหลักประกันนั้นไม่ได้ผิดสัญญา กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 8 . 1 0 . 1 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่กิจการถือครอง 8 . 1 0 . 2 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันที่นาไปขายหรือวางเป็นประกันต่ออีกทอดหนึ่ง และ เปิดเผยว่ากิจการมีภาระผูกพันที่จะต้องส่งคืนหลักประกันหรือไม่ และ 8 . 1 0 . 3 ข้อกาหนดและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักประกัน บัญชีค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิต 8 . 11 ก มูลค่าตามบัญชีของตราสารหนี้เผื่อขาย จะไม่ลดมูลค่าลงด้วยค่าเผื่อผลขาดทุน และกิจการต้อง ไม่แสดงค่าเผื่อผลขาดทุนแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงินเป็นยอดหักมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ทางการเงิน อย่างไรก็ตาม กิจการต้องเปิดเผยค่าเผื่อผลขาดทุนในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เครื่องมือทางการเงินแบบผสมซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงหลายรายการ 8 . 12 ในกรณีที่กิจการออกเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบของหนี้สินและส่วนของเจ้าของ (ดูย่อหน้าที่ 28 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ) และเครื่องมือทางการเงินนั้นประกอบด้วย อนุพันธ์แฝงหลายรายการซึ่งมูลค่าของ อนุพันธ์แฝง เหล่านั้นมีความสัมพันธ์กัน (เช่น ตรา สารหนี้ แปลงสภาพที่ให้สิทธิผู้ออกในการเรียกคืนก่อนกาหนด) กิจการต้องเปิดเผยการคงอยู่ของลักษณะ เหล่านั้น การผิดสัญญาและการละเมิดสัญญา 8 . 13 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ สาหรับ เงินกู้ยืม ที่รับรู้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 8 . 13 . 1 รายละเอียดของการผิดสัญญาเกี่ยวกับเงินต้น ดอกเบี้ย เงินสดหรือสินทรัพย์อื่น ที่สารองไว้เพื่อชาระหนี้สิน ( sinking fund ) หรือข้อกาหนดในการไถ่ถอน เงินกู้ยืม ดังกล่าว ที่เกิดขึ้นในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน 8 . 13 . 2 มูลค่าตามบัญชีของเงินกู้ยืมที่ผิดสัญญา ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 76 8 . 13 . 3 เปิดเผยว่ากิจการได้แก้ไขการผิดสัญญาหรือมีการเจรจาปรับเงื่อนไขของเงินกู้ยืมใหม่ หรือไม่ ก่อนที่จะได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงิน 8 . 14 ในกรณีที่กิจการมีการละเมิดเงื่อนไขข้อตกลงการกู้ยืม นอกเหนือจากที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 13 ใ นระหว่างรอบระยะเวลารายงาน และการละเมิดดังกล่าวอนุญาตให้ผู้ให้กู้ยืมเรียกร้องให้กิจการ จ่ายชาระหนี้คืนเร็วขึ้น กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในลักษณะเดียวกันกับที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 13 ( เว้นแต่การละเมิดดังกล่าวจะได้รับการแก้ไขแล้ว หรือมีการเจรจาปรับเงื่อนไขของเงิน กู้ยืมใหม่ ก่อนหรือ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายการรายได้ ค่าใช้จ่าย ผลกำไรหรือขาดทุน 8 . 15 กิจการต้องเปิดเผยรายการรายได้ ค่าใช้จ่าย ผลกาไรหรือขาดทุนดังต่อไปนี้ ในงบกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จหรือในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 8 . 15 . 1 ผลกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากรายการต่อไปนี้ 8 . 15 . 1 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แยกแสดงระหว่างผลกาไรสุทธิหรือขาดทุน สุทธิที่เกิดจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่กาหนดให้ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อ เริ่มแรก หรือในภายหลังตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และผลกาไร สุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ที่ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่ กาหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (เช่น หนี้สินทางการเงินที่เป็นไปตามคา นิยามถือไว้เพื่อค้าในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้) สำหรับหนี้สิน ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน กิจการต้อง แยกแสดงระหว่างผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรขา ดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และจานวนเงินที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 8 . 15 . 1 . 2 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย 8 . 15 . 1 . 3 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด 8 . 15 . 1 . 4 เงินลงทุนในตราสารทุน ซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย 8 . 15 . 1 . 5 หลักทรัพย์เผื่อขาย ตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 3 โดยแยกแสดง ระหว่างผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในระหว่าง รอบระยะเวลารายงานและผลกาไรหรือขาดทุนที่จัดประเภทรายการใหม่ จากกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสะสมไปยังกำไรหรือ ขาดทุนสำหรับ รอบระยะเวลารายงานเมื่อมีการ เลิ กรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงิน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 77 8 . 15 . 2 ดอกเบี้ยรับรวมและดอกเบี้ยจ่ายรวม (ซึ่งคานวณโดยใช้วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง) สาหรับ สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจำหน่ายหรือที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 3 (แสดงจานวน ดังกล่าวแยกจากกัน) หรือห นี้สินทางการเงินที่ไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กำไรหรือขาดทุน 8 . 15 . 3 รายได้ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียม (นอกเหนือจากจานวนเงินที่รวม ในการคานวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง) ที่เกิดจาก 8 . 15 . 3 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้วั ดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน และ 8 . 15 . 3 . 2 การดาเนินธุรกิจด้านการดูแลผลประโยชน์หรือเก็บรักษาสินทรัพย์อื่นใด ( trust and other fiduciary activities ) ซึ่งทาให้เกิดการถือครองหรือมีการลงทุน ในสินทรัพย์แทนบุคคล ทรัสต์ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน และ สถาบันอื่น 8 . 15 ก กิจการต้องเปิดเผยการวิเคราะห์ผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จที่เกิด ขึ้น จากการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่ำด้วยราคาทุนตัดจำหน่าย โดยแยกแสดง รายการ ระหว่างผลกาไรและขาดทุนที่เกิดจากการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้น การ เปิดเผยข้อมูลนี้ ต้องรวมถึงเหตุผลของการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้นด้วย การเปิดเผยข้อมูลอื่น นโยบายการบัญชี 8 . 16 ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 117 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนาเสนอ งบการเงิน กิจการ ต้องเปิดเผยโดยสรุปเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีที่สาคัญซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์ในการวัดมูลค่า เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง (หรือหลายเกณฑ์) ที่ใช้ในการจัดทางบการเงิน และนโยบายการบัญชีอื่น ที่เกี่ยวข้องต่อความเข้าใจในงบการเงิน การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง 8 . 16 ก กิจการต้องถือปฏิบัติตามข้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 16 ข ถึง 8 . 19 ฉ สาหรับ ฐานะเปิด ต่อความเสี่ยงที่กิจการป้องกันความเสี่ยง และเลือกที่จะใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง การเปิดเผยข้อมูลการบัญชีป้องกันความเสี่ยงต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ 8 . 16 ก. 1 กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงของกิจการและการนากลยุทธ์มาใช้บริหารความเสี่ยง 8 . 16 ก. 2 ผลของการป้องกันความเสี่ยงของกิจการที่อาจมีต่อจำนวนเงิน จังหวะเวลา และ ความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดในอนาคตของกิจการ และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 78 8 . 16 ก. 3 ผลกระทบของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงที่มีต่องบแสดงฐานะการเงิน งบกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของของกิจการ 8 . 16 ข กิจการต้องแสดงการเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในหนึ่งหัวข้อของหมายเ หตุประกอบงบการเงิน หรือแสดงเป็นส่วนแยกเฉพาะในงบการเงิน อย่างไรก็ตาม กิจการไม่จาเป็นต้องเปิดเผย ข้อมูลซ้ากับ ที่ได้แสดงไว้แล้ว หากงบการเงินมีการอ้างอิงไปยังข้อมูลดังกล่าวในรายงานอื่น เช่น การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ายจัดการหรือรายงานความเสี่ยง ซึ่งผู้ใช้งบการเงินสามารถเข้าถึงได้ภายใต้ เงื่อนไขและช่วงเวลาเดียวกับงบการเงิน งบการเงินที่ไม่มีการอ้างอิงไปยังข้อมูลดังก ล่าวถือเป็น งบการเงินที่ไม่สมบูรณ์ 8 . 16 ค เมื่อกิจการต้องพิจารณาความเสี่ยงแต่ละประเภทโดยอิงกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่กิจการ ตัดสินใจจะป้องกันความเสี่ยงและถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ตามที่กำหนด ในย่อหน้าที่ 8 . 17 ก ถึง 8 . 19 ฉ ที่กาหนดให้กิจการเปิดเผ ยข้อมูลแยกตามประเภทความเสี่ยง กิจการต้องพิจารณาประเภทความเสี่ยงอย่างสม่าเสมอสาหรับการเปิดเผยข้อมูลการบัญชีป้องกัน ความเสี่ยงทั้งหมด 8 . 16 ง เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 16 ก (เว้นแต่กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น) กิจการต้อง พิจารณาถึงความละเอียดในการเปิดเผยข้อมูล การให้ความสาคัญในด้านต่างๆ ของข้อกาหนด ของการเปิดเผยข้อมูล ระดับที่เหมาะสมในการรวมหรือแยกข้อมูล และพิจารณาว่าผู้ใช้งบการเงิน ต้องการคาอธิบายเพิ่มเติมเพื่อประเมินข้อมูลเชิงปริมาณที่เปิดเผยหรือไม่ อย่างไรก็ตาม สาหรับ ข้อกาหนดของการเปิดเผยข้อมูลที่ข้อมูลมีความเกี่ยวข้องกันในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องใช้การรวม หรือแยกข้อมูลในระดับเดียวกัน กลยุทธ์กํารบริหํารควํามเสี่ยง 8 . 17 ก กิจการต้องอธิบายกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงสาหรับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงแต่ละประเภท ที่กิจการตัดสินใจป้องกันความเสี่ยง และถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยง คาอธิบายนี้ ต้องช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินได้ว่า (ตัวอย่างเช่น) 8 . 17 ก. 1 ความเสี่ยงแต่ละประเภทเกิดขึ้นได้อย่างไร 8 . 17 ก. 2 กิจการบริหารความเสี่ยงแต่ละประเภทอย่างไร รวมถึงประเมินว่ากิจการป้องกันความเสี่ยง รายการทั้งจานวนสาหรับความเสี่ยงทั้งหมด หรือป้องกันความเสี่ยงองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่ง (หรือหลายองค์ประกอบ) ของรายการพร้อมเหตุผล 8 . 17 ก. 3 กิจการบริหารฐานะเปิดต่อความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด 8 . 17 ข เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 17 ก การเปิดเผยข้อมูลควรรวมถึงคาอธิบายรายการ ดังนี้ (ซึ่งมิได้จำกัดเพียงรายการเหล่านี้เท่านั้น) 8 . 17 ข. 1 เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่กิจการใช้ในการป้องกันฐานะเปิดต่อความเสี่ยง (และวิธีการนามาใช้)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 79 8 . 17 ข. 2 วิธีที่กิจการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง และเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงเพื่อวัตถุประสงค์ในการประเมิน ประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยง และ 8 . 17 ข. 3 วิธีที่กิจการกาหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง และแหล่งที่มาของความไม่มี ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง 8 . 17 ค เมื่อกิจการกำหนดให้องค์ประกอบความเสี่ยงที่ระบุเป็นรายการที่มีการป้องกันความ เสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 3 . 7 ) กิจการต้องให้ข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณดังต่อไปนี้ นอกเหนือจาก การเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 17 ก และ 8 . 17 ข 8 . 17 ค. 1 วิธีที่กิจการระบุองค์ประกอบความเสี่ยงที่กาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (รวมถึงคาอธิบายลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความเสี่ยงและ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงโดยรวม) และ 8 . 17 ค. 2 วิธีที่องค์ประกอบความเสี่ยงเกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงทั้งจานวน (เช่น จากประสบการณ์ในอดีต องค์ประกอบความเสี่ยงที่ถูกกาหน ดให้มีการป้องกัน ความเสี่ยงครอบคลุมโดยเฉลี่ยร้อยละ 80 ของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงโดยรวม) จํานวนเงิน จังหวะเวลํา และควํามไม่แน่นอนของกระแสเงินสดในอนําคต 8 . 18 ก กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณตามประเภทความเสี่ยง เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถ ประเมินข้อกาหนดและเงื่อนไขของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและผลกระทบต่อจานวนเงิน จังหวะเวลา และความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดในอนาคตของกิจการ เว้นแต่ได้รับยกเว้น ตามย่อหน้าที่ 8 . 18 ค 8 . 18 ข เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 18 ก กิจการต้องเปิดเผยรายละเอียดดังนี้ 8 . 18 ข. 1 โครงร่างของจังหวะเวลาของจำนวนเงินที่กำหนดไว้ของเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยง และ 8 . 18 ข. 2 ราคา หรืออัตราเฉลี่ยของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (ตัวอย่างเช่น ราคาใช้สิทธิ หรือราคาฟอร์เวิร์ด เป็นต้น) (ถ้ามี) 8 . 18 ค ในสถานการณ์ที่กิจการกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงขึ้นใหม่ (กล่าวคือ ยกเลิก และเริ่มต้นใหม่) เป็นประจำ เนื่องจากทั้งเครื่องมือที่ ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย (กล่าวคือ กิจการใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยง แบบพลวัต ซึ่งทั้งฐานะเปิดและเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ไม่ได้คงอยู่เป็นระยะเวลานาน ดังเช่นตัวอย่างในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 24 . 2 ) 8 . 18 ค. 1 กิจการได้รับยกเว้นจากการเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 18 ก และ 8 . 18 ข 8 . 18 ค. 2 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังนี้ 8 . 18 ค. 2 . 1 ข้อมูลเกี่ยวกับกลยุทธ์ขั้นสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 80 8 . 18 ค. 2 . 2 คาอธิบายที่สะท้อนกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงของกิจการโดยใช้ การบัญชีป้องกันความเสี่ยงและวิธีกำหนดความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้น และ 8 . 18 ค. 2 . 3 ข้อบ่งชี้ว่าความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงถูกยกเลิกและ เริ่มต้นใหม่บ่อยเพียงใดภายใต้กระบวนการของกิจการที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้น 8 . 18 ง กิจการต้องเปิดเผยคาอธิบายเกี่ยวกับแหล่งที่มาของความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง ซึ่งคาดว่าจะกระทบต่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ ยงในระหว่างอายุสัญญานั้น โดยเปิดเผยแยกตามประเภทความเสี่ยง 8 . 18 จ หากมีแหล่งที่มาอื่นของความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงปรากฏขึ้นในความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องเปิดเผยแหล่งที่มาเหล่านั้น โดย แยก ตามประเภท ความเสี่ยง และอธิบายผลของความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงนั้น 8 . 18 ฉ สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด กิจการต้องเปิดเผยคาอธิบายเกี่ยวกับรายการ ที่คาดการณ์ใดๆ ที่ได้ใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงแล้วในรอบระยะเวลารายงานก่อน แต่ไม่คาดว่า จะเกิดขึ้ นอีกต่อไป ผลกระทบของกํารบัญชีป ้ องกันควํามเสี่ยงต่อฐํานะกํารเงินและผลกํารดําเนินงําน 8 . 19 ก กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบตารางสาหรับจานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับรายการที่กาหนดให้ เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง โดยแยกตามประเภทความเสี่ยงสาหรับการป้องกันความเสี่ ยง แต่ละประเภท (การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด หรือการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิของหน่วยงานต่างประเทศ) ดังนี้ 8 . 19 ก. 1 มูลค่าตามบัญชีของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (แยกแสดงระหว่างสินทรัพย์ ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน) 8 . 19 ก. 2 รายการรายบรรทัดในงบแสดงฐานะการเงินที่รวมเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง 8 . 19 ก. 3 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงซึ่งใช้ เป็น เกณฑ์ในการรับรู้ความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ ยงสำหรับ รอบระยะเวลา รายงาน และ 8 . 19 ก. 4 จานวนเงินที่กาหนดไว้ของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง (รวมถึงปริมาณ เช่น ตัน หรือลูกบาศก์เมตร) 8 . 19 ข กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบตารางสาหรับจานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง โดยแยกตามประเภทความเสี่ยงสาหรับการป้องกันความเสี่ยงแต่ละประเภท ดังนี้ 8 . 19 ข. 1 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม 8 . 19 ข. 1 . 1 มูลค่าตามบัญชีของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ในงบแสดง ฐานะการเงิน (แสดงสินทรัพย์แยกจากหนี้สิน)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 81 8 . 19 ข. 1 . 2 จานวนเงินสะสมของการปรับปรุงการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม ของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ซึ่งรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน (แสดงสินทรัพย์แยกจากหนี้สิน) 8 . 19 ข. 1 . 3 รายการรายบรรทัดในงบแสดงฐา นะการเงินที่รวมรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง 8 . 19 ข. 1 . 4 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงซึ่งใช้ เป็นเกณฑ์ในการรับรู้ความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง สาหรับรอบระยะเวลารายงาน และ 8 . 19 ข. 1 . 5 จำนวนเงินสะสมของการปรับปรุงการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่า ยุติธรรม ที่คงเหลืออยู่ในงบแสดงฐานะการเงินสำหรับรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยง ใดๆ ที่ได้หยุดปรับผลกำไรและขาดทุนจาก การป้องกันความเสี่ยง ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 9 8 . 19 ข. 2 สาหรับการป้อ งกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดและการป้องกันความเสี่ยงของเงิน ลงทุนสุทธิของหน่วยงานต่างประเทศ 8 . 19 ข. 2 . 1 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่ใช้ เป็นเกณฑ์ในการรับรู้ความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง สาหรับรอบระยะเวลารายงาน (กล่าวคือ สาหรับการป้องกันความเสี่ยง ในกระแสเงินสด การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่ใช้ในการกาหนดความ ไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ ตามที่กำหนด ในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 3 ) 8 . 19 ข. 2 . 2 ยอดคงเหลือของบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสดและของบัญชีสารองสา หรับการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ สำหรับการป้องกันความเสี่ยงที่ยังคงเกิดขึ้นต่อไป ซึ่งเป็นไปตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 11 และ 6 . 5 . 12 . 1 และ 8 . 19 ข. 2 . 3 ยอดคงเหลือของบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสดและของบัญชีสารองสาหรับการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ที่เ หลืออยู่จากความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงใดๆ ที่ไม่เป็น ไปตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป 8 . 19 ค กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบตาราง โดยแยกตามประเภทความเสี่ยงสาหรับการป้องกัน ความเสี่ยงแต่ละประเภท ดังนี้ 8 . 19 ค. 1 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม 8 . 19 ค. 1 . 1 ความ ไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง กล่าวคือ ความแตกต่าง ระหว่างผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงของเครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ที่ได้รับรู้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 82 ในกาไรหรือขำดทุน (หรือกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับการป้องกัน ความเสี่ยงของตราสารทุนสาหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย) และ 8 . 19 ค. 1 . 2 รายการรายบรรทัดในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จที่รวมความไม่มีประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ 8 . 19 ค. 2 สำหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดและการป้องกันความเสี่ยงของ เงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ 8 . 19 ค. 2 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ในกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นในรอบระยะเวลารายงาน 8 . 19 ค. 2 . 2 ความไม่มีประสิทธิผล ใน การป้องกันความเสี่ยงที่ได้รับรู้ในกำไรหรือ ขาดทุน 8 . 19 ค. 2 . 3 รายการรายบรรทัดในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จที่รวมความไม่มีประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ 8 . 19 ค. 2 . 4 จำนวนเงินของบัญชีสารองสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแส เงินสดหรือของบัญชีสารองสาหรับการแป ลงค่าเงินตราต่างประเทศ ที่โอนไปยังกาไรหรือขาดทุน ซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) (แยกระหว่างจานวนเงินที่ ได้ถือปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาก่อนแต่ไม่คาดว่า กระแสเงินสดในอนาคตที่ได้ป้องกันความเสี่ยง จะเกิดขึ้นอีกต่อไป และ จานวนเงินที่โอนเนื่องจากรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงมีผลกระทบ ต่อกาไรหรือขาดทุนแล้ว) 8 . 19 ค. 2 . 5 รายการรายบรรทัดในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จที่รวมการปรับปรุง การจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) และ 8 . 19 ค. 2 . 6 สำหรับการป้องกันความเสี่ยงของฐานะสุทธิ ผลกำไรหรือขาดทุน จากการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้เป็นรายการรายบรรทัดที่แยกต่างหาก ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 6 . 4 ) 8 . 19 ง หากปริมาณของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ได้รับยกเว้นตามย่อหน้าที่ 8 . 18 ค ไม่ได้ เป็นตัวแทนของปริมาณปกติในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน (กล่าวคือ ปริมาณ ณ วันที่ รายงานไม่ สะท้อนปริมาณในระหว่าง รอบระยะเวลารายงาน ) กิจการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริง ดังกล่าวและเหตุผลที่กิจการเชื่อว่า ปริมาณดังกล่าวไม่ได้เป็นตัวแทน 8 . 19 จ กิจการต้องแสดงการกระทบยอ ดแต่ละองค์ประกอบของส่วนของเจ้าของและการวิเคราะห์ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 โดย 8 . 19 จ. 1 ต้องแยกแสดงจานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 19 ค. 2 . 1 และ 8 . 19 ค. 2 . 4 และ จานวนเงิน ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 4 . 1 และ 6 . 5 . 10 . 4 . 3 เป็นอย่างน้อย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 83 8 . 19 จ. 2 ต้องแยกแสดง ระหว่างจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องกับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือก ที่ป้องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกรรม และ จานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกที่ป้องกันความเสี่ยง รายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับช่วงเวลา เมื่อกิจการถือปฏิบัติต่อมูลค่าตามเวลา ของสิทธิเลือกตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 และ 8 . 19 จ. 3 ต้องแยกแสดงระหว่างจานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบฟอร์เวิร์ดของสัญญา ฟอร์เวิร์ด และส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน ที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยงรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกรรม และ จานวนเงินที่เกี่ยวข้องกับอง ค์ประกอบฟอร์เวิร์ดของสัญญาฟอร์เวิร์ด และส่วนต่าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงินที่ป้องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับช่วงเวลา เมื่อกิจการถือปฏิบัติต่อจานวนเงิน เหล่านั้นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 8 . 19 ฉ กิจกำรต้องเปิดเผยข้อมูลที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 19 จ แยกตามประเภทความเสี่ยง ซึ่งการเปิดเผย ดังกล่าวอาจ เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินก็ได้ ทํางเลือกในกํารกําหนดให้ฐํานะเปิดด้ํานเครดิตวัดมูลค่ําด้วยมูลค่ํายุติธรรมผ่ํานกําไรหรือ ขําดทุน 8 . 19 ช หากกิจการกำหนดให้เครื่องมือทางการเงินหรือบางส่วนของเครื่องมือทางการเงินวัดมูลค่า ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน เนื่องจากมีการใช้อนุพันธ์ด้านเครดิตในการจัดการ ความเสี่ยง ด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินนั้น กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ 8 . 19 ช. 1 สาหรับอนุพันธ์ด้านเครดิตที่ใช้ในการจัดการความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือ ทางการเงินที่กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่กาหนด ในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลการกระทบยอดของแต่ละรายการ สาหรับ จำนวนเงินที่กำหนดไว้ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดรอบระยะเวลา รายงาน 8 . 19 ช. 2 ผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนจากการกาหนดให้เครื่องมือทางการเงิน หรือบางส่วนของเครื่องมือทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุนตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และ 8 . 19 ช. 3 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ถือเป็นมูลค่าตามบัญชีใหม่ตามที่กาหนด ในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 4 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และจานวนเงิน ที่กาหนดไว้หรือจานวนเงินต้นที่เกี่ยวข้อง เมื่อมีการยกเลิกกำรวัดมูลค่าเครื่องมือ ทางการเงินหรือบางส่วนของเครื่องมือทางการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน (กิจการไม่จาเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในรอบระยะเวลารายงานถัดไป เว้นแต่เป็นการให้ข้อมูลเปรียบเทียบตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 84 ควํามไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจํากกํารปฏิรูปอัตรําดอกเบี้ยอ้ํางอิง 8 . 19 ซ สาหรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่กิจการถือปฏิบัติตามข้อยกเว้นที่กาหนดไว้ ในย่อหน้าที่ 6 . 8 . 4 ถึง 6 . 8 . 12 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ 8 . 19 ซ. 1 อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่มีนัยสาคัญที่ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงของ กิจการมีฐานะเปิดอยู่ 8 . 19 ซ. 2 ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่กิจการบริหารที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการปฏิรูปอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิง 8 . 19 ซ. 3 วิธีการที่กิจการใช้ในการบริหารจัดการเพื่อเปลี่ยน ผ่าน ไ ปใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น 8 . 19 ซ. 4 คาอธิบายของสมมติฐานหรือดุลยพินิจที่มีนัยสาคัญที่กิจการใช้ในการถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าเหล่านี้ (ตัวอย่างเช่น สมมติฐานหรือดุลยพินิจว่าเมื่อใดความไม่แน่นอน ที่เกิดขึ้นจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่เกี่ยวกับจังหวะเวลาและจา นวนเงินของ กระแสเงินสดที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงไม่มีอยู่อีกต่อไป) และ 8 . 19 ซ. 5 จานวนเงินที่กาหนดไว้ของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่อยู่ในความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้น การเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปอัตราดอก เบี้ยอ้างอิง 8 . 19 ฌ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผลกระทบจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงต่อเครื่องมือ ทางการเงินและกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงของกิจการ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ 8 . 19 ฌ. 1 ลักษณะและระดับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินที่เกิดจากการปฏิรูป อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง และการบริหารความเสี่ยงเหล่านั้น และ 8 . 19 ฌ. 2 ความคืบหน้าของแผนการเปลี่ยน ผ่าน ไปใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น และวิธีการ บริหารจัดการสาหรับการเปลี่ยน ผ่าน ดังกล่าว 8 . 19 ญ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 19 ฌ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 19 ญ. 1 วิธีการบริหารจัดการเพื่อเปลี่ยน ผ่าน ไปใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น และความคืบหน้า ของแผน ณ วันที่รายงาน รวมทั้งความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินอันเนื่อง มาจาก การเปลี่ยน ผ่าน ดังกล่าว 8 . 19 ญ. 2 แยกแสดงรายการอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงที่สาคัญ ที่อยู่ในแผนการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ย อ้างอิง โดยแสดงข้อมูลเชิงปริมาณของเครื่องมือทางการเงินที่ยังไม่ได้เปลี่ยน ผ่าน ไป ใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยแยกแสดงดังนี้ 24 ญ. 2 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ 24 ญ. 2 . 2 หนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ และ 24 ญ. 2 . 3 อนุพันธ์ และ 8 . 19 ญ. 3 กรณีความเสี่ยงที่ระบุในย่อหน้าที่ 8 . 19 ญ. 1 ทาให้กิจการต้องเปลี่ยนกลยุทธ์ใน การบริหารความเสี่ยง กิจการต้องเปิดเผยการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว (ดูย่อหน้าที่ 8 . 17 ก)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 85 มูลค่า ยุติธรรม 8 . 2 0 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน แต่ละประเภท (ดูย่อหน้าที่ 8 . 1 ) ในลักษณะที่จะช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถเปรียบเทียบกับ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินแต่ละประเภทดังกล่าวได้ ยกเว้นตามที่กำหนดไว้ ในย่อหน้าที่ 8 . 23 8 . 21 ในการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องจัดกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงิ นเป็นประเภทต่างๆ แต่กิจการต้องหักกลบระหว่างมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินเฉพาะรายการที่มีการหักกลบมูลค่าตามบัญชีระหว่างกัน ในงบแสดงฐานะการเงิน 8 . 22 ในบางกรณีกิจการไม่สามารถรับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของ สินทรัพย์ ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน เนื่องจากมูลค่ายุติธรรมไม่ได้อิงทั้งจากราคาเสนอ ซื้อขาย ในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกัน (กล่าวคือ ข้อมูลระดับ 1 ) หรือจากเทคนิคการประเมินมูลค่าที่ใช้เฉพาะข้อมูลจากตลาดที่สามารถสังเกตได้ (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 1 . 2 ก) ในกรณีดังกล่าวกิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังนี้ ตามประเภทของสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงิน 8 . 22 . 1 นโยบายการบัญชีในการรับรู้กาไรหรือขาดทุนจากผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมที่รับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก และราคาของรายการเพื่อสะท้อนกำรเปลี่ยนแปลงในปัจจัย ต่างๆ (รวมถึงเวลา) ที่ผู้ร่วมตลาดใช้พิจารณาในการกาหนดราคาสินทรัพย์ หรือ หนี้สิน (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 1 . 2 ก. 2 ) 8 . 22 . 2 ผลต่างรวมที่ยังไม่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ณ วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดรอบระยะเวลา รายงาน และการกระทบยอดของการเปลี่ยนแปลงในยอดคงเหลือของผลต่างดังกล่าว 8 . 22 . 3 เหตุผลที่กิจการสรุปว่า ราคาของรายการไม่ได้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม รวมถึงคาอธิบายหลักฐานที่สนับสนุนมูลค่ายุติธรรมนั้น 8 . 23 กิจการไม่จาเป็นต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมสาหรับกรณีต่อไปนี้ 8 . 23 . 1 เมื่อมูลค่าตามบัญชีเป็นค่าประมาณที่สมเหตุสมผลของมูลค่ายุติธรรม อาทิ เครื่องมือ ทางการเงิน เช่น ลูกหนี้การค้าระยะสั้นและเจ้าหนี้การค้าระยะสั้น 8 . 23 . 2 สาหรับสัญญาที่มีลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ตามดุลยพินิจ (ตามที่กำหนด ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 ) หากไม่สามารถ วัดมูลค่ายุติธรรมของ ลักษณะการร่วมรับผลประโยชน์ดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือ 8 . 23 . 3 สาหรับหนี้สินตามสัญญาเช่า 8 . 24 ในกรณีตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 23 . 2 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเพื่อช่วยให้ผู้ใช้งบการเงิน สามารถใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาขอบเขตของความแตกต่างที่อาจเกิดขึ้นระหว่างมูลค่า ตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาดังกล่าว ซึ่งรวมถึง 8 . 24 . 1 ข้อเท็จจริงที่กิจการไม่ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือเหล่านี้ เนื่องจากไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 86 8 . 24 . 2 คาอธิบายเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน มูลค่าตามบัญชี และเหตุผลที่ไม่สามารถ วัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อ ถือ 8 . 24 . 3 ข้อมูลเกี่ยวกับตลาดของเครื่องมือดังกล่าว 8 . 24 . 4 ข้อมูลเกี่ยวกับความตั้งใจของกิจการว่าจะจาหน่ายเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว หรือไม่ อย่างไร และ 8 . 24 . 5 ในกรณีที่มีการ เลิกรับรู้ เครื่องมือทางการเงินซึ่งในอดีตไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรม ได้อย่างน่ำเชื่อถือ กิจการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว มูลค่าตามบัญชี ณ เวลาที่ เลิกรับรู้รายการ และผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ ลักษณะและระดับของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงิน 8 . 25 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินลักษณะและระดับ ของ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินที่กิจการมี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 8 . 26 การเปิดเผยข้อมูลที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 27 ถึง 8 . 35 เน้นเกี่ยวกับความเสี่ยงซึ่งเกิดจาก เครื่องมือทางการเงิน และวิธีการในการจัดการความเสี่ยงดังกล่าว โดยทั่วไปความเสี่ยงเหล่านี้ รวมถึง (แต่ไม่จากัดเพียง) ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และความเสี่ยง ด้านตลาด เป็นต้น 8 . 26 ก ในบริบทของการเปิดเผยข้อมู ลเชิงปริมาณ การเปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภาพจะช่วยให้ผู้ใช้ ข้อมูล สามารถเชื่อมโยงการเปิดเผยข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและทาให้เห็นภาพรวมของลักษณะและ ระดับของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินได้ การเปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภาพและ ข้อมูลเชิงปริมาณอย่างมีปฏิสัมพั นธ์ระหว่างกันมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้ข้อมูลประเมินฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงของกิจการได้ดียิ่งขึ้น การเปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภาพ 8 . 27 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้สำหรับความเสี่ยงแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือ ทางการเงิน 8 . 27 . 1 ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มีและเกิดขึ้นได้อย่างไร 8 . 27 . 2 วัตถุประสงค์ นโยบายและกระบวนการในการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งวิธีการที่ใช้ ในการวัดความเสี่ยง และ 8 . 27 . 3 การเปลี่ยนแปลงใดๆ ของข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 27 . 1 หรือ 8 . 27 . 2 ในรอบระยะเวลา รายงานก่อน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 87 การเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณ 8 . 28 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้สาหรับความเสี่ยงแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงิน 8 . 28 . 1 ข้อมูลสรุปเชิงปริมาณเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่มี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน การเปิดเผยข้อมูลนี้ต้องจัดทาขึ้นจาก ข้อมูลที่เสนอเป็นการภายในให้แก่ ผู้บริหารสาคัญ ของกิจการ (ตามคา นิยามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ) เช่น ค ณะกรรมการ ของกิจการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 8 . 28 . 2 การเปิดเผยข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ก ถึง 8 . 35 นอกเหนือจากที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 28 . 1 8 . 28 . 3 การกระจุกตัวของความเสี่ยง หากยังไม่ได้เปิดเผยอย่างชัดเจนในการเปิดเผยข้อมูล ตามย่อหน้าที่ 8 . 28 . 1 และ 8 . 28 . 2 8 . 29 ถ้าข้อมูลเชิงปริมาณที่เปิดเผย ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ไม่แสดงให้เห็นถึงฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงที่มีอยู่ของกิจการในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน กิจการต้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อแสดง ให้เห็นถึงความเสี่ยงที่มีอยู่ ความเสี่ยงด้านเครดิต ขอบเขตและวัตถุประสงค์ 8 . 29 ก กิจการต้องถือปฏิบัติตามข้อกำหนดของการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ ถึง 8 . 29 ฑ สำหรับเครื่องมือทางการเงินที่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของการด้อยค่าในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ อย่างไรก็ตาม 8 . 29 ก. 1 ย่อหน้าที่ 8 . 29 ญ. 1 กาหนดให้ถือปฏิบัติกับลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ตามสัญญา หรือ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าที่ผล ขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุรับรู้ตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 16 หาก สินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขภายหลัง 30 วัน นับจากวันครบกำหนดชาระ และ 8 . 29 ก. 2 ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฎ. 2 ไม่ถือปฏิบัติกับลูกหนี้ตามสัญญาเช่า 8 . 29 ข การเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงด้านเครดิตตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ ถึง 8 . 29 ฑ จะทาให้ ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผลกระทบของความเสี่ยงด้านเครดิตต่อจำนวนเงิน จังหวะเว ลา และ ความไม่แน่นอน ของกระแสเงินสดในอนาคต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว กิจการต้อง เปิดเผย ข้อมูลความเสี่ยงด้านเครดิตดังต่อไปนี้ 8 . 29 ข. 1 ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการและ แนวปฏิบัติดังกล่าวเกี่ยวข้องอย่างไรกับการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมทั้งวิธีการ ข้อสมมติและข้อมูลที่ใช้วัดมูลค่า ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 88 8 . 29 ข. 2 ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่จะทำให้ผู้ใช้งบการ เงินสามารถประเมิน จานวนเงิน ที่เกิดขึ้นจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในงบการเงิน รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลง ในจำนวนเงินของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและ เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงนั้น และ 8 . 29 ข. 3 ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการ (กล่าวคือ ความเสี่ยง ด้านเครดิตซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยของสินทรัพย์ทางการเงินและภาระผูกพันในการให้ สินเชื่อของกิจการ) รวมถึงการกระจุกตัวของความเสี่ยงด้านเครดิตที่มีนัยสาคัญ 8 . 29 ค กิจการไม่จำเป็นต้องเปิดเ ผยข้อมูลซ้ากับที่ได้แสดงไว้แล้ว หากงบการเงินมีการอ้างอิงไปยังข้อมูล ดังกล่าวในรายงานอื่น เช่น การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ายจัดการหรือรายงานความเสี่ยง ซึ่งผู้ใช้งบการเงินสามารถเข้าถึงได้ภายใต้เงื่อนไขและช่วงเวลาเดียวกับงบการเงิน งบการเงิน ที่ไม่มีการอ้างอิ งไปยังข้อมูลดังกล่าวถือเป็นงบการเงินที่ไม่สมบูรณ์ 8 . 29 ง เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 29 ข (เว้นแต่กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น) กิจการต้อง พิจารณาถึงความละเอียดในการเปิดเผยข้อมูล การให้ความสาคัญในด้านต่างๆ ของข้อกาหนด ของการเปิดเผยข้อมูล ระดับที่เหมาะสมในการรวมหรือแยกข้อมูล และพิจารณาว่าผู้ใช้งบการเงิน ต้องการคาอธิบายเพิ่มเติมเพื่อประเมินข้อมูลเชิงปริมาณที่เปิดเผยหรือไม่ 8 . 29 จ หากการเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ ถึง 8 . 29 ฑ ไม่เพียงพอที่จะทาให้ บรรลุวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 29 ข กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมที่จาเป็นเพื่อให้ บรรลุ วัตถุประสงค์เหล่านั้น แนวปฏิบัติกํารบริหํารควํามเสี่ยงด้ํานเครดิต 8 . 29 ฉ กิจการต้องอธิบายแนวปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการ และแนวปฏิบัติ ดังกล่าวเกี่ยวข้องอย่างไรกับการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลที่ทาให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจและ สามารถประเมิน 8 . 29 ฉ. 1 การที่กิจการพิจารณาอย่างไรว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ ตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ซึ่งรวมถึง พิจารณาว่า 8 . 29 ฉ. 1 . 1 เครื่องมือทางการเงินมีความเสี่ยงด้านเครดิตต่าตามที่กำหนด ใน ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 11 หรือไม่ อย่างไร รวมถึงประเภทของเครื่องมือ ทางการเงิน ที่ถือปฏิบัติตามย่อหน้าดังกล่าวด้วย และ 8 . 29 ฉ. 1 . 2 ข้อสันนิษฐานในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 12 ที่ว่าความเสี่ยงด้านเครดิตถือว่า เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก เมื่อสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าวเกินกาหนดชาระมากกว่า 30 วัน สามารถโต้แย้ง ได้หรือไม่ อย่างไร 8 . 29 ฉ. 2 คานิยามของการผิดสัญญาของกิจการ รวมถึงเหตุผลในการเลือกคำนิยามนั้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 89 8 . 29 ฉ. 3 การที่กิจการจัดกลุ่มเครื่องมือทางการเงินอย่างไร หากมีการวัดผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแบบกลุ่ม 8 . 29 ฉ. 4 การที่กิจการพิจารณาอย่างไรว่าสินทรัพย์ทางการเงินเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน ที่ด้อยค่าด้านเครดิต 8 . 29 ฉ. 5 นโยบายการตัดออกจากบัญชีของกิจการ รวมถึงข้อบ่งชี้ว่าไม่มีความคาดหวังที่ สมเหตุสมผลที่จะได้รับคืน และข้อ มูลเกี่ยวกับนโยบายดังกล่าวสาหรับสินทรัพย์ ทางการเงินที่ตัดจาหน่ายแล้ว แต่ยังอยู่ภายใต้การบังคับให้ชาระได้ และ 8 . 29 ฉ. 6 การที่กิจการนำข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 13 มาถือปฏิบัติอย่างไรสำหรับ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเกี่ยวกับกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ ทางการเงิน รวมถึง 8 . 29 ฉ. 6 . 1 สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ค่าเผื่อผลขาดทุนได้วัดมูลค่าให้มี จานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ กิจการได้พิจารณาอย่างไรว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าวที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่ อนไข ปรับตัวดีขึ้นจนทาให้ ค่าเผื่อผลขาดทุนกลับมาสู่สภาพเดิมที่วัดมูลค่าด้วยจานวนเงินที่เท่ากับ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้าตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 6 หรือไม่ และ 8 . 29 ฉ. 6 . 2 กิจการติดตามอย่างไรว่าค่าเผื่อผลขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงิน ที่เป็นไปตามเงื่อนไขในข้อ 8 . 29 ฉ. 6 . 1 มีการวัดมูลค่าใหม่ในภายหลัง ให้มีจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 มากน้อยเพียงใด 8 . 29 ช กิจการต้องอธิ บายเกี่ยวกับปัจจัยนาเข้า ข้อสมมติและเทคนิคการประมาณการที่ใช้ในการถือปฏิบัติ ตามข้อกาหนดในหัวข้อที่ 5 . 5 สาหรับวัตถุประสงค์ดังกล่าวกิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ 8 . 29 ช. 1 เกณฑ์พื้นฐานของปัจจัยนาเข้า และข้อสมมติและเทคนิคการประมาณการที่ใช้ในการ 8 . 29 ช. 1 . 1 วัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า และผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ 8 . 29 ช. 1 . 2 พิจารณาว่า ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ และ 8 . 29 ช. 1 . 3 พิจารณาว่า สินทรัพย์ทางการเงินเป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่ด้อยค่า ด้านเครดิตหรือไม่ 8 . 29 ช. 2 วิธีการใช้ข้อมูลคาดการณ์อนาคตในการพิจารณาผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้น รวมทั้งการใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์มหภาค และ 8 . 29 ช. 3 การเปลี่ยนแปลงในเทคนิคการประมา ณการหรือข้อสมมติที่มีนัยสาคัญที่เกิดขึ้น ในระหว่างรอบระยะเวลารายงานและเหตุผลสาหรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 90 ข้อมูลเชิงปริมําณและข้อมูลเชิงคุณภําพเกี่ยวกับจ ํานวนเงินที่เกิดขึ้นจํากผลขําดทุน ด้ํานเครดิตที่คําดว่ําจะ เกิดขึ้น 8 . 29 ซ กิจการต้องแสดงการกระทบยอดค่าเผื่อผลขาดทุนจากยอดคงเหลือต้นงวดไปยังยอดคงเหลือ ปลายงวดในรูปแบบตารางแยกตามประเภทของเครื่องมือทางการเงิน เพื่ออธิบายการ เปลี่ยนแปลงค่าเผื่อผลขาดทุนและเหตุผลสาหรับการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น โดยแยกแสดง การเปลี่ยนแปลงระหว่างรอบระยะเว ลารายงานสาหรับ 8 . 29 ซ. 1 ค่าเผื่อผลขาดทุนที่วัดมูลค่าด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า 8 . 29 ซ. 2 ค่าเผื่อผลขาดทุนที่วัดมูลค่าด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตลอดอายุสาหรับ 8 . 29 ซ. 2 . 1 เครื่องมือทางการเงินที่ความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก แต่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน ที่ด้อยค่าด้านเครดิต 8 . 29 ซ. 2 . 2 สินทรัพย์ทางการเงินที่ด้อยค่าด้านเครดิต ณ วันที่รายงาน (แต่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้ อยค่าด้านเครดิตตั้งแต่ซื้อหรือเริ่มแรก) และ 8 . 29 ซ. 2 . 3 ลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ตามสัญญา หรือลูกหนี้ตามสัญญาเช่า ที่ค่าเผื่อผลขาดทุนวัดมูลค่าตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 1 6 8 . 29 ซ. 3 สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตตั้งแต่ซื้อหรือเริ่มแรก นอกจาก การกระทบยอดค่าเผื่อผลขาดทุนแล้ว กิจการต้องเปิดเผยจำนวนเงินรวมของ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ไม่คิดลด ณ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่เริ่มรับรู้ระหว่างรอบระยะเวลารายงาน 8 . 29 ฌ กิจการต้องอธิบายว่าการเปลี่ยนแปลงที่มีนัย สำคัญในมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของ เครื่องมือทางการเงินในระหว่างรอบระยะเวลารายงานทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อผล ขาดทุนอย่างไร เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของค่าเผื่อผลขาดทุนที่เปิดเผยตาม ที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ซ กิจการต้องแยก แสดงข้อมูลดังกล่าวสาหรับเครื่องมือทางการเงินที่ มีค่าเผื่อผลขาดทุนตามที่แสดงในย่อหน้าที่ 8 . 29 ซ. 1 ถึง 8 . 29 ซ. 3 และต้องเปิดเผยข้อมูล เชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณที่เกี่ยวข้องด้วย ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตาม บัญชี ก่อนรายการหัก ของเครื่องมือทางการเงิ นที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อผลขาดทุน อาจรวมถึง 8 . 29 ฌ. 1 การเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเครื่องมือทางการเงินที่เริ่มมีหรือได้มาระหว่าง รอบระยะเวลารายงาน 8 . 29 ฌ. 2 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งไม่ได้ทา ให้เกิดการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้นตามที่กาหนดใน แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 91 8 . 29 ฌ. 3 การเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเครื่องมือทางการเงินถูก เลิกรับรู้ ระหว่างรอบระยะเวลา รายงาน (รวมถึงการตัดจาหน่ายรายการเหล่านั้นด้วย) และ 8 . 29 ฌ. 4 การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นจากค่าเผื่อผลขาดทุนที่วัดมูลค่าด้วยจานวนเงิน เท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า หรือผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ 8 . 29 ญ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจลักษณะและผลกระทบของการเปลี่ยนแ ปลงของกระแสเงินสด ตามสัญญาที่ไม่ทำให้เกิดการ เลิกรับรู้ รายการต่อสินทรัพย์ทางการเงิน และผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต่อการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการต้อง เปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ 8 . 29 ญ. 1 ราคาทุนตัดจาหน่ายก่อนการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวและผลกาไรหรือขาดทุนสุทธิจาก การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่รับรู้สาหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งกระแสเงินสดตาม สัญญาได้เปลี่ยนแปลงระหว่างรอบระยะเวลารายงาน เมื่อสินทรัพย์ทางการเงิน ดังกล่าวมีจานวนเงินค่าเผื่อผลขาดทุนเท่ากับผ ลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นตลอดอายุ และ 8 . 29 ญ. 2 มูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานของสินทรัพย์ทาง การเงิน ที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก โดยค่าเผื่อผล ขาดทุน เคยวัดมูลค่าด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตลอดอายุ และในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน ค่าเผื่อผลขาดทุนได้เปลี่ยนเป็น จานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า 8 . 29 ฎ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผลกระทบของ หลักประกันและการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ที่ มีต่อจานวนเงินที่เกิดขึ้นจากผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล ดังต่อไปนี้แยกตามประเภทของเครื่องมือทางการเงิน 8 . 29 ฎ. 1 จำนวนเงินซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ ยงด้านเครดิต ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยไม่ต้องคานึงถึงหลักประกันใดๆ ที่ถือครองอยู่ หรือการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ( เช่น ข้อตกลงหักกลบ ซึ่งไม่เข้าเงื่อนไขของ การหักกลบตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ) 8 . 29 ฎ. 2 คาอธิบายเชิงพรรณนาเกี่ยวกับหลักประกันที่กิจการถือครองไว้เพื่อเป็นประกันและ การปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ รวมทั้ง 8 . 29 ฎ. 2 . 1 คาอธิบายของลักษณะและคุณภาพของหลักประกันที่กิจการถือครองไว้ 8 . 29 ฎ. 2 . 2 คาอธิบายของการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสาคัญในคุณภาพของหลักประกัน หรือ การปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ที่เป็นผลมาจากการเสื่อมค่า หรือ การเปลี่ยนแปลงในนโยบายหลักประกันของกิจการในระหว่างรอบระยะเวลา รายงาน และ 8 . 29 ฎ. 2 . 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงินที่กิจการไม่ได้รับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุน เนื่องจากมีหลักประกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 92 8 . 29 ฎ. 3 ข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับหลักประกันที่กิจการถือครองไว้เพื่อเป็นประกันและ การปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ (เช่น มูลค่าหลักประกันและการปรับเครดิตให้ดีขึ้น ด้านอื่นๆ ที่ลดความเสี่ยงด้านเครดิต) สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ด้อยค่า ด้านเครดิต ณ วันที่รายงาน 8 . 29 ฏ กิจการต้องเปิดเผยยอดคงเหลือตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินที่ถูกตัดจาหน่ายระหว่าง รอบระยะเวลารายงานและยังอยู่ภายใต้การบังคับให้ชาระได้ ฐํานะเปิดต่อควํามเสี่ยงด้ํานเครดิต 8 . 29 ฐ กิจการต้องเปิดเผยมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินและฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงด้านเครดิตของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงิน โดยแยก ตาม ระดับการจัดอันดับความ เสี่ยงด้านเครดิต เพื่อทาให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินฐานะ เปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตของ กิจการและเข้าใจการกระจุกตัวของความเสี่ยงด้านเครดิตที่มี นัยสาคัญของกิจการ โดยกิจการต้องเปิดเผยข้อมูลแยกตามประเภทของเครื่องมือทางการเงิน ดังนี้ 8 . 29 ฐ. 1 เครื่องมือทางการเงินที่ค่าเผื่อผลขาดทุนที่วัดมูลค่าด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้ นใน 12 เดือนข้างหน้า 8 . 29 ฐ. 2 เครื่องมือทางการเงินที่ ค่าเผื่อผลขาดทุนที่วัดมูลค่าด้วยจานวน เงิน เท่ากับผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นตลอดอายุ และที่เป็น 8 . 29 ฐ. 2 . 1 เครื่องมือทางการเงินที่ความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก แต่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน ที่ด้อยค่าด้านเครดิต 8 . 29 ฐ. 2 . 2 สินทรัพย์ ทางการเงินที่ด้อยค่าด้านเครดิต ณ วันที่รายงาน (แต่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตตั้งแต่ซื้อหรือเริ่มแรก) และ 8 . 29 ฐ. 2 . 3 ลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ตามสัญญา หรือลูกหนี้ตามสัญญาเช่าที่ค่าเผื่อ ผลขาดทุนวัดมูลค่าตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 1 6 8 . 29 ฐ. 3 เครื่องมือทางการเงินที่เป็นสินทรัพย์ทาง การเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตตั้งแต่ซื้อ หรือเริ่มแรก 8 . 29 ฑ สาหรับลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ตามสัญญา และลูกหนี้ตามสัญญาเช่า ซึ่งกิจการได้ถือปฏิบัติตาม ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 16 ข้อมูลที่แสดงตามย่อหน้าที่ 8 . 29 ฐ อาจอ้างอิงกับวิธีเมทริกซ์ประมาณการ ( provision matrix ) (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 35 ) 8 . 3 0 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ตามประเภทของเครื่องมือทางการเงิน สาหรับเครื่องมือ ทางการเงินภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ แต่ไม่ได้ถือปฏิบัติตาม ข้อกำหนด ของการด้อยค่าในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 93 8 . 3 0 . 1 จำนวนเงินซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยไม่ต้องคานึงถึงหลักประกันใดๆ ที่ถือครองอยู่ หรือการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ( เช่น ข้อตกลงหักกลบ ซึ่งไม่เข้าเงื่อนไขของ การหักกลบตามที่กาหนดในมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 32 ) การเปิดเผยข้อมูลนี้ ไม่ได้กาหนดสาหรับเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งมูลค่าตามบัญชีเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของ ฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต 8 . 3 0 . 2 คาอธิบายของหลักประกันที่กิจการถือครองไว้เพื่อเป็นประกันและการปรับเครดิต ให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ แล ะผลกระทบทางการเงินของรายการดังกล่าว (เช่น มูลค่า หลักประกันและการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ที่ลดความเสี่ยงด้านเครดิต) โดยคานึงถึงจำนวนเงินที่เป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยง ด้านเครดิต (ตามที่เปิดเผยในย่อหน้าที่ 8 . 30 . 1 หรือแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชีของ เครื่องมือทางการเงิน) หลักประกันและกํารปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้ํานอื่นๆ ที่ได้รับ 8 . 31 ในกรณีที่กิจการได้รับสินทรัพย์ทางการเงินหรือสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินในระหว่าง รอบระยะเวลารายงาน จากการเข้าเป็นเจ้าของหลักประกันที่ถื อครองเป็นประกันหรือเรียกร้อง การปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ (เช่น การค้าประกัน) และสินทรั พย์ดังกล่าวเข้าเงื่อนไขการรับรู้ รายการตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้ สาหรับสินทรัพย์ที่กิจการถือครองไว้ ณ วันที่ราย งาน 8 . 31 . 1 ลักษณะและมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และ 8 . 31 . 2 นโยบายของกิจการในการจาหน่ายหรือการใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานจากสินทรัพย์ หากสินทรัพย์เหล่านั้นไม่สามารถจะเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ทันที ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง 8 . 32 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 32 . 1 การวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดสาหรับหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ (รวมถึง สัญญาค้าประกันทางการเงินที่ออก) โดยแสดงระยะเวลาครบกาหนดคงเหลือตามสัญญา 8 . 32 . 2 การวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดสาหรับหนี้สินทางการเงินที่เป็นอนุพันธ์ โดยต้อง รวม ระยะเวลาครบกำหนดคงเหลือตามสัญญา สำหรับ หนี้สินทางการเงินที่เป็น อนุพันธ์เหล่านั้น ซึ่ง ระยะเวลาครบกำหนดตามสัญญา มีความจำเป็นในการทำ ความเข้าใจจังหวะเวลาของกระแสเงินสด ( ดูย่อหน้าที่ ค 1 0 ข) 8 . 32 . 3 คาอธิบายถึงการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของกิจการซึ่งมีอยู่เป็น ปกติวิสัย ในย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 94 ความเสี่ยงด้านตลาด กํารวิเครําะห์ควํามอ่อนไหว 8 . 33 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ เว้นแต่จะถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 8 . 34 8 . 33 . 1 วิเคราะห์ความอ่อนไหวสาหรับความเสี่ยงด้านตลาดแต่ละประเภทที่กิจการมีอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยแสดงถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องที่มีต่อกาไรหรือขาดทุนและส่วนของเจ้าของของกิจการ ที่เป็นไปได้อย่างมีเหตุผล ณ วันนั้น 8 . 33 . 2 วิธีและข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทาการวิเคราะห์ความอ่อนไหว และ 8 . 33 . 3 กา รเปลี่ยนแปลงวิธีและข้อสมมติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความอ่อนไหวจากรอบระยะเวลา รายงานก่อน รวมถึงเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว 8 . 34 หากกิจการจัดทาการวิเคราะห์ความอ่อนไหว เช่น มูลค่าของความเสี่ยง ( Value - At - Risk ) ซึ่งสะท้อนถึง การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างตัวแปรความเสี่ ยง (เช่น อัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน) และ กิจการใช้การวิเคราะห์ความอ่อนไหวดังกล่าวในการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน กิจการสามารถใช้ การวิเคราะห์ความอ่อนไหวดังกล่าวเปิดเผยแทนการวิเคราะห์ที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 33 นอกจากนี้ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลต่อไปนี้ 8 . 34 . 1 คำอธิบายถึงวิธีที่ใช้ในการจัดทำการวิเคราะห์ความอ่อนไหว และคำอธิบายถึง พารามิเตอร์หลักและข้อสมมติหลักสาหรับข้อมูลที่แสดง และ 8 . 34 . 2 คำอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของวิธีที่ใช้และข้อจำกัดที่อาจทำให้ข้อมูลไม่สะท้อน อย่างเต็มที่ถึงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้อง กํารเปิดเผยข้อมูลควํามเสี่ยงด้ํานตลําดอื่น 8 . 35 ในกรณีที่การวิเคราะห์ความอ่อนไหวที่เปิดเผยตามย่อหน้าที่ 8 . 33 หรือ 8 . 34 ไม่เป็นตัวแทน ของความเสี่ยงซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยในเครื่องมือทางการเงิน (เช่น เนื่องจากฐานะเปิดสิ้นปี ไม่สะท้อนฐานะเปิดระหว่างปี) กิจการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงและเหตุผลที่ทาให้เชื่อได้ว่า การวิเคราะห์ความอ่อนไหวดังกล่าวไม่เป็นตัวแทน การโอนสินทรัพ ย์ทางการเงิน 8 . 35 ก ข้อกำหนดการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข ถึง 8 . 35 ซ ที่เกี่ยวข้องกับการโอนสินทรัพย์ ทางการเงิน เสริมข้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลอื่นตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการต้อง นำเสนอการเปิดเผยข้อมูลที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข ถึง 8 . 35 ซ ในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน กิจการต้องแสดงการเปิดเผยข้อมูลที่กาหนดสาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนทั้งหมด ซึ่งไม่ได้ เลิกรับรู้ และสาหรับความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ใดๆ ที่ปรากฏอยู่ ณ วันที่รายงานของสินทรัพย์ ที่โอน โดยไม่คานึงว่ารายการโอนที่เกี่ยวข้องดังกล่ำวเกิดขึ้นเมื่อใด เพื่อวัตถุประสงค์ ในการถือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 95 ปฏิบัติตามข้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าเหล่านั้น กิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงิน ทั้งหมด หรือบางส่วน (สินทรัพย์ทางการเงินที่โอน) ก็ต่อเมื่อกิจการ 8 . 35 ก. 1 โอนสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น หรือ 8 . 35 ก. 2 ยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น แต่ยอมรับ ภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องจ่ายกระแสเงินสดให้แก่ผู้รับคนใดคนหนึ่ง หรือหลายคนตามข้อตกลงนั้น 8 . 35 ข กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลที่ทาให้ผู้ใช้งบการเงินของกิจการ 8 . 35 ข. 1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน ซึ่งไม่ได้ เลิกรับรู้ ทั้งจานวน และหนี้สินที่เกี่ยวข้อง และ 8 . 35 ข. 2 สามารถประเมินลักษณะและความเสี่ยงเกี่ยวกับความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการใน สินทรัพย์ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ 8 . 35 ค เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้า ที่ 42 จ ถึง 42 ซ หากในการโอนสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิหรือภาระผูกพันตามสัญญาใดๆ ซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยในสินทรัพย์ทาง การเงินที่โอนหรือได้รับสิทธิหรือภาระผูกพันตาม สัญญาใหม่ใดๆ เกี่ยวกับสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน ให้ถือว่ากิจการมีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน เพื่อวัตถุประสงค์ในการถือปฏิบัติตามข้อกาหนดการ เปิดเผยข้อมูลในย่อหน้า ที่ 8 . 35 จ ถึง 8 . 35 ซ รายการดังต่อไปนี้ไม่เข้าข่ายเป็นความเกี่ยวข้อง ที่ คงอยู่ 8 . 35 ค. 1 การรับรองและการรับประกันตามปกติเกี่ยวกับการโอนที่ฉ้อฉล และแนวคิดของ ความสมเหตุสมผล ความสุจริตใจและการตกลงอย่างเที่ยงธรรมที่ทาให้การโอนเป็น โมฆะ ซึ่งเป็นผลมาจากการดาเนินการตามกฎหมาย 8 . 35 ค. 2 สัญญา ฟอร์เวิร์ด สิทธิเลือก และสัญญาอื่นที่จะทำให้ได้สินทรัพย์ทางการเงินที่ โอนกลับมาซึ่งราคาตามสัญญา (หรือราคาใช้สิทธิ) เป็นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ทางการเงินที่โอน หรือ 8 . 35 ค. 3 ข้อตกลงที่กิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดของสินทรัพย์ ทำงการเงิน แต่ยอมรับภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องจ่ายกระแสเงินสดให้แก่ กิจการใดกิจการหนึ่งหรือหลายกิจการ และเป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 . 1 ถึง 3 . 2 . 5 . 3 สินทรัพย์ทางการเงินที่โอนโดยไม่ เลิกรับรู้ ทั้งจานวน 8 . 35 ง กิจการอาจโอนสินทรัพย์ทางการเงินในลักษณะที่บางส่วนหรือทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน ที่โอนไม่เข้าเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข. 1 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในแต่ละวันที่รายงานตามประเภทของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอ น ที่ ไม่ เลิกรับรู้ ทั้งจำนวนดังนี้ 8 . 35 ง. 1 ลักษณะของสินทรัพย์ที่โอน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 96 8 . 35 ง. 2 ลักษณะของความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่กิจการเปิดรับ 8 . 35 ง. 3 คาอธิบายถึงลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อจากัดที่เกิดขึ้นจากการโอนในการใช้สินทรัพย์ที่โอนนั้นของกิจการที่รายงาน 8 . 35 ง. 4 ตารางการกำหนดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอน มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่ เกี่ยวข้องและฐานะสุทธิ (ความแตกต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอน และหนี้สินที่เกี่ยวข้ อง) เมื่อคู่สัญญาของหนี้สินที่เกี่ยวข้องมีสิทธิไล่เบี้ยเพียงแค่ สินทรัพย์ที่ โอน 8 . 35 ง. 5 มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่กิจการยังคงรับรู้ สินทรัพย์ที่โอนทั้งหมด 8 . 35 ง. 6 มูลค่าตามบัญชีรวมของสินทรัพย์เดิมก่อนการโอน มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ที่กิจการยังคงรับรู้ และมูลค่าตามบัญชีของหนี้สินที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่ กิจการยังคง รับรู้สินทรัพย์ภายใต้ขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 3 . 2 และ 3 . 2 . 16 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่โอนโดย เลิกรับรู้ ทั้งจานวน 8 . 35 จ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข. 2 เมื่อกิจการ เลิกรับรู้ สินทรัพย์ทาง การเงินที่โอนทั้งจานวน (ดูย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 1 และ 3 . 2 . 6 . 3 . 1 ) แต่ยังคงมีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์เหล่านั้น กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลขั้นต่าดังต่อไปนี้โดยแยกตามประเภ ทของความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในแต่ละวันที่รายงาน 8 . 35 จ. 1 มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ซึ่งแสดงถึงความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ ของ กิจการ และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินที่รับรู้แยกเป็นรายการรายบรรทัด 8 . 35 จ. 2 มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงถึงความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ ของกิจการ 8 . 35 จ. 3 จานวนเงินซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดถึงฐานะเปิดสูงสุดข องกิจการต่อผลขาดทุนจาก ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ และข้อมูลที่แสดงถึง วิธีการในการกำหนดฐานะเปิดสูงสุดต่อผลขาดทุน 8 . 35 จ. 4 กระแสเงินสดออกที่ไม่คิดลดซึ่งจำเป็นหรืออาจจำเป็นต้องใช้ซื้อคืนสินทรัพย์ ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ (เช่น ราคาใช้สิทธิของข้อตกลงสิทธิเลือก) หรือจำนวนอื่นซึ่งจะ ชาระให้ผู้รับโอนสินทรัพย์ที่โอน หากกระแสเงินสดออกมีความผันแปร จานวนเงิน ที่ เปิดเผยต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ปรากฏในแต่ละวันที่รายงาน 8 . 35 จ. 5 การวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดของกระแสเงินสดออกที่ ไม่คิดลดซึ่งจาเป็น หรือ อาจจาเป็นต้องใช้ซื้อคืนสินทรัพย์ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ หรือจานวนอื่นซึ่งจะชาระ ให้ผู้รับโอนสินทรัพย์ที่โอน กิจการต้องแสดงระยะเวลาครบกาหนดคงเหลือตาม สัญญาของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 97 8 . 35 จ. 6 ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งอธิบายและสนับสนุนการเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณตามที่กาหนด ในย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 1 ถึง 8 . 35 จ. 5 8 . 35 ฉ หากกิจการมีความเกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องมากกว่าหนึ่งประเภทในสินทรัพย์ทางการเงินที่ได้ เลิกรับรู้ กิจการอาจรวมข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 จ ที่เกี่ยวกับสินทรัพย์นั้นและ รายงานสินทรัพย์นั้นภายใต้ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ เพียงประเภทเดียว 8 . 35 ช นอกจากนี้ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ แต่ละประเภทดังนี้ 8 . 35 ช. 1 ผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ ณ วันที่โอนสินทรัพย์ 8 . 35 ช. 2 รายได้และค่าใช้จ่ายที่รับรู้จากความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงิน ที่ได้ เลิก รับรู้ ของกิจการทั้งในรอบระยะเวลารายงานและมูลค่าสะสม (เช่น การเปลี่ยนแปลง มูลค่า ยุติธรรมของอนุพันธ์) 8 . 35 ช. 3 หากจำนวนเงินรวมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการโอน (ซึ่งเข้าเงื่อนไขของ การ เลิกรับรู้ รายการ) ในรอบระยะเวลารายงาน ไม่กระจายอย่างสม่าเสมอตลอด รอบระยะเวลา รำยงาน เช่น หากจานวนเงินรวมเกือบทั้งหมดของการโอนเกิดขึ้น ณ วันใกล้ๆ สิ้นรอบระยะเวลารายงาน) 8 . 35 ช. 3 . 1 เวลาที่เกิดการโอนที่มีจานวนเงินสูงที่สุดเกิดขึ้นภายในรอบระยะเวลา รายงาน (เช่น 5 วันสุดท้ายก่อนวันสิ้นสุดรอบระยะเวลารายงาน) 8 . 35 ช. 3 . 2 จานวนเงินที่รับรู้ (เช่น ผลกาไรหรือขาดทุนที่เกี่ยวข้อง) จากการโอน ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นของรอบระยะเวลารายงาน และ 8 . 35 ช. 3 . 3 จำนวนเงินรวมของ สิ่งตอบแทนที่ได้รับ จากการโอนที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา นั้นของรอบระยะเวลารายงาน กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลสาหรับแต่ละรอบระยะเวลารายงานที่มีการนาเสนองบกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ ข้อมูลเพิ่มเติม 8 . 35 ซ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลอื่นเพิ่มเติมที่กิจการพิจารณาว่ามีความจำเป็นที่จะทำให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข การ ใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ มาถือ ปฏิบัติเป็นครั้งแรก 8 . 35 ฌ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าตามบัญชีที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในการวัดมูลค่าซึ่งเกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ การเปิดเผยข้อมูลตามย่อหน้า นี้ไม่จาเป็นต้องถือปฏิบัติหลังจากรอบระยะเวลารายงานประจาปีที่กิจการได้ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก ตามข้อกาหนดการจัดประเภทรายการและการวัดมูลค่าสาหรับสินทรัพย์ทางการเงินใน แนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 98 8 . 35 ญ ณ วันที่ถือปฏิบัติเป็นครั้งแรกตามหมวดที่ 5 . 5 ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการต้อง เปิดเผยข้อมูลเพื่อช่วยให้สามารถกระทบยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานของ ค่าเผื่อหนี้สงสั ย จะสูญตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 เรื่อง หนี้สงสัยจะสูญและ หนี้สูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าตามที่กาหนดในมาตรฐำนการ บัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559 ) เรื่อง การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน และประมาณการหนี้สินตามที่ กำหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 กับยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวดของรอบระยะเวลา รายงานของค่าเผื่อผลขาดทุนตามที่กาหนดในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ สาหรับสินทรัพย์ ทางการเงิน กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลตามประเภทการวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559 ) และแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ และต้องแยกแสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประเภทการวัดมูลค่าที่มีต่อค่าเผื่อผลขาดทุน ณ วันนั้น 8 . 35 ฎ ในรอบระยะเวลารายงานที่มีการใช้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ มาถือปฏิบัติเป็นครั้งแรก กิจการไม่จำเป็นต้องเปิดเผยจำนวนเงินของรายการรายบรรทัดที่จะรายงานตามข้อกำหนด การจัดประเภทรายการและการวัดมูลค่า (รวมถึงข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับการวัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ทางการเงินและการด้อยค่าตามหัวข้อที่ 5 . 4 และ 5 . 5 ) ของ 8 . 35 ฎ . 1 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ สาหรับรอบระยะเวลารายงานก่อนๆ 8 . 35 ฎ . 2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559 ) เรื่อง การบัญชีสาหรับเงินลงทุน ในตราสารหนี้และตราสารทุน สาหรับรอบระยะเวลารายงานปัจจุบัน 8 . 35 ฏ หากกิจการเลือกใช้นโยบายการบัญชีป้องกันความเสี่ยงโดยถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ ต่อไป ตามที่กาหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ให้กิจการเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว วันถือปฏิบัติและการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน 8 . 36 สาหรับงบการเงินประจาปีที่กิจการถือปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้เป็นครั้งแรก กิจการไม่ จาเป็นต้องแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสาหรับการเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 25 ถึง 8 . 35 ซึ่งเกี่ยวกับลักษณะและระดับของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงิน 8 . 36 ก การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ซึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 ที่ออกโดยคณะกรรมการมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศเมื่อเดือนกันยายนปี 2562 ทาให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรฐาน การ รายงานทางการเงิน ฉบับนี้ในปี 2563 ทาให้ มี การเพิ่มย่อหน้าที่ 8 . 19 ซ และ 8 . 36 ข กิจการ ต้องถือปฏิบัติตามการ แก้ไขเพิ่มเติม ดังกล่าวเมื่อกิจการถือปฏิบัติตามการ แก้ไขเพิ่มเติม ใน แนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 99 8 . 36 ข ในรอบระยะเวลารายงานที่กิจการถือปฏิบัติตาม การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เป็นครั้งแรก ที่ออกโดยคณะกรรมการมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศเมื่อ เดือน กันยายน ปี 2562 ทาให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับนี้ในปี 2563 กิจการ ไม่ต้องแสดงข้อมูลเชิงปริมาณตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 28 . 6 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการบัญชีและข้อผิดพลาด 8 . 36 ค การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง - ระยะที่ 2 ( ซึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 ) ที่ออกโดยคณะกรรมการมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศเมื่อเดือน สิงหาคม ปี 2563 ทำให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรฐาน การ รายงานทางการเงิน ฉบับนี้ในปี 2564 โดยเพิ่มย่อหน้าที่ 8 . 19 ฌ ถึง 8 . 19 ญ และย่อหน้าที่ 8 . 36 ง กิจการต้องถือปฏิบัติตามการ แก้ไขเพิ่มเติม ดังกล่าวเมื่อกิจการถือปฏิบัติตามการ แก้ไข เพิ่มเติม ใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 8 . 36 ง ในรอบระยะเวลารายงานที่กิจการถือปฏิบัติตาม การปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง - ระยะที่ 2 เป็นครั้งแรก กิจการไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 28 . 6 ของมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 8

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 100 ภาคผนวก ก ศัพท์บัญญัติ ภาคผนวกนี้เป็นส่วน เสริมที่จำเป็น ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ เงินลงทุน สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้เพื่อเพิ่มความมั ่งคั่งให้กับกิจการ ไม่ว่าจะอยู่ใน รูปของส่วนแบ่งที่จะได้รับ (เช่น ดอกเบี้ย ค่าสิทธิ และเงินปันผล) ในรูปของราคาที่เพิ่มขึ้น หรือในรูปของประโยชน์อย่างอื่นที่กิจการได้รับ (เช่น ประโยชน์ที่ได้รับจากความสัมพันธ์ทางการค้า) รายการต่อไปนี้ ไม่ถือเป็นเงินลงทุน ก) ข) ค) สินค้าคงเหลือ ตามที่นิยามไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ตามที่นิยามไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ตามที่นิยามไว้ในมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 4 0 เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน หลักทรัพย์เพื่อค้า เงินลงทุนในตราสารหนี้ทุกชนิดหรือตราสารทุนในความต้องการ ของตลาดที่กิจการถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะขายในอนาคต อันใกล้ ทาให้กิจการถือหลักทรัพย์นั้นไว้เป็นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อหากาไร จากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ดังนั้น หลักทรัพย์เพื่อค้าจึงมี อัตราการ หมุนเวียนสูง หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนในตราสารหนี้ทุกชนิดหรือตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดซึ่งไม่ถือเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า และในขณะเดียวกันไม่ถือเป็น ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดหรือเงินลงทุนในบริษัทย่อยหรือ บริษัทร่วม การร่วมค้า ตราสารหนี้ที่จะถือจน ครบกาหนด เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ที่กิจการมีความตั้งใจแน่วแน่ และมีความสามารถที่จะถือไว้จนครบกาหนดไถ่ถอน ผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า สัดส่วนของ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ซึ่งเป็น ผลขาดทุนด้านเครดิต จากเหตุการณ์ปฏิบัติผิดสัญญาของเครื่องมือ ทาง การเงินที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดขึ้นภายใน 12 เดือนหลังจากวันที่ รายงาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 101 ราคาทุนตัดจาหน่าย ของ สินทรัพย์ทา ง การเงิน หรือ หนี้สินทางการเงิน มูลค่าของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก หักด้วยการจ่ายชาระคืนเงินต้น บวกหรือหักค่าตัดจาหน่ายสะสมที่คานวณ โดยใช้ วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งเกิดจากผลต่างระหว่างมูลค่าที่รับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรกและมูลค่า ณ วันที่ครบกำหนด และปรั บปรุงด้วย ค่าเผื่อ ผลขาดทุน สาหรับกรณีของสินทรัพย์ทางการเงิน สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา สิทธิเรียกร้องที่มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้ จากสัญญาที่ทากับลูกค้า กาหนดให้ปฏิบัติตามเกณฑ์การรับรู้และการวัดมูลค่า ผลกำไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่าของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ สินทรัพย์ทางการเงิน ที่มี การด้อยค่าด้าน เ ครดิต สินทรัพย์ทางการเงินมีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อเกิดเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่งหรือหลายเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดผลกระทบต่อประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตของสินทรัพย์ทางการเงิน โดยหลักฐานที่แสดงว่า สินทรัพย์ทางการเงินมีการด้อยค่าด้านเครดิตครอบคลุมถึงข้อมูลที่สังเกตได้ จา กเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ( ก ) การประสบปัญหาทางการเงินอย่างมีนัยสาคัญของผู้ออกหรือผู้กู้ ( ข ) การละเมิดสัญญา เช่น การปฏิบัติผิดสัญญาหรือ การค้างชาระเกิน กำ หนด ( ค ) ผู้ให้กู้ผ่อนปรนเงื่อนไขแก่ผู้กู้ที่มีปัญหาทางการเงินเนื่องจากเศรษฐกิจ ห รือเงื่อนไขตามสัญญา ซึ่งผู้ให้กู้จะไม่พิจารณาผ่อนปรนให้ในกรณี อื่น ๆ ( ง ) มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ผู้กู้จะล้มละลายหรือปรับโครงสร้าง ทางการเงิน ( จ ) การล่มสลายของตลาดซื้อขายคล่องของสินทรัพย์ทางการเงิน เนื่องจากประสบปัญหาทางการเงิน หรือ ( ฉ ) การซื้อหรือการได้มาซึ่งสินทรัพย์ทางการเงินด้วยรา คาที่มีส่วนลด จำนวนมากซึ่งสะท้อนถึง ผลขาดทุนด้านเครดิต ที่เกิดขึ้น ในบางครั้งอาจไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นผลจากเหตุการณ์ใดที่ส่งผลให้ สินทรัพย์มีการด้อยค่าด้านเครดิต แต่อาจเกิดจากผลกระทบของเหตุการณ์ หลายเหตุการณ์รวมกัน ผลขาดทุนด้านเครดิต ผลต่างระหว่างกระแสเงินสดตามสัญญาทั้งหมดซึ่งกิจการต้องได้รับและ กระแสเงินสดทั้งหมดซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับ ( นั่นคือ จานวนเงินที่คาดว่า จะไม่ได้รับทั้งหมด) คิดลดด้วย อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เมื่อเริ่มแรก ( หรือ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต สา หรับ สินทรัพย์ ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด ) กิจการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 102 ต้องประมาณกระแสเงินสดโดยพิจารณาถึงเงื่อนไขตามสัญญาทั้งหมดของ เครื่องมือทางการเงิน ( ตัวอย่างเช่น การชาระเงินก่อนครบกำหนด การขยาย ระยะเวลา สิทธิเลือกที่จะซื้อ และสิทธิเลือกที่มีลัก ษณะคล้ายคลึงกัน ) ตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงินที่คาดไว้นั้น กระแสเงินสดที่พิจารณา ต้องรวมถึงกระแสเงินสดที่ได้มาจากการขายหลักประกันที่ถือไว้หรือ ส่วนปรับปรุงด้านเครดิตอื่นๆ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขตามสัญญา โดยมีข้อสันนิษฐานว่าอายุที่คาดไว้ของเครื่ องมือทางการเงินสามารถ ประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ไม่สามารถประมาณ การอายุของเครื่องมือทางการเงินได้อย่างน่าเชื่อถือ กิจการต้องใช้อายุ คงเหลือตามสัญญาของเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งกรณีดังกล่าวยากที่จะ เกิดขึ้น อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ปรับด้วยความเสี่ยงด้าน เครดิต อัตราที่ใช้ในการคิดลดประมาณการเงินสดจ่ายหรือรับในอนาคตตลอดอายุ ของสินทรัพย์ทางการเงินที่คาดไว้ เพื่อให้ได้ ราคาทุนตัดจำหน่ายของ สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด ในการคานวณ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต กิจการ ต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับโดยพิจารณาเงื่อนไขของ สัญญาทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน ( ตัวอย่างเช่น การชาระเงินก่อน ครบกาหนด การขยายระยะเวลา สิทธิเลือกที่จะซื้อ และสิทธิเลือกที่มีลักษณะ คล้ำยคลึงกัน ) และ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยการ คานวณให้รวมถึงค่าธรรมเนียมและต้นทุนในการรับและจ่ายทั้งหมดระหว่าง คู่สัญญาตามสัญญา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ( ดู ย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 1 ถึง ข 5 . 4 . 3 ) ต้นทุนการทารายการ และส่วนเกินมูลค่าหรือส่วนลด มูลค่าอื่นๆ ทั้งหมด โดยมีข้อสันนิษฐานว่ากระแสเงินสดและอายุที่คาดไว้ ของกลุ่มของเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันสามารถประมาณ ได้อย่างน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ไม่สามารถประมาณกระแสเงินสด หรืออายุคงเหลือของเครื่องมือ ทางการเงิน (หรือกลุ่มของเครื่องมือ ทางการเงิน) ได้อย่างน่าเชื่อถือ กิจการต้องใช้กระแสเงินสดตามสัญญา ตลอดอายุสัญญาของเครื่องมือทางการเงินนั้น (หรือกลุ่มของเครื่องมือทาง การเงินนั้น) ซึ่งกรณีดังกล่าวยากจะเกิดขึ้น การ เลิกรับรู้ รายการ การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ได้เคยรับรู้ออก จากงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ อนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินหรือสัญญาอื่นภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ ที่มีลักษณะทั้งสามข้อดังต่อไปนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 103 ( ก ) มูลค่าของเครื่องมือทางการเงินเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลง ของตัวแปรที่ระบุไว้ เช่น อัตราดอกเบี้ย ราคาของเครื่องมือทางการเงิน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ดัชนีราคา หรือดัชนีอัตรา อันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตหรือดัชนีความ น่าเชื่อถือด้านเครดิต หรือตัวแปรอื่น โดยมีเงื่อนไขว่ากรณีของตัวแปร ที่ไม่ใช่ตัวแปรทางการเงิน ตัวแปรนั้นไม่ใช่ตัวแปรที่เฉพาะเจาะจงกับ คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง (บางครั้งเรียกว่า รายการอ้างอิง ) ( ข ) ไม่มีการจ่ายเงินลงทุนสุท ธิเมื่อเริ่มแรก หรือจ่ายด้วยจำนวนเพียง เล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัญญาประเภทอื่นซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่าในลักษณะเดียวกันต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยตลาด ( ค ) การรับหรือจ่ายชาระจะกระทาในอนาคต เงินปันผล การจัดสรรกาไรให้กับผู้ถือตราสารทุนตามสัดส่วนการถือครองเงินทุนใน แต่ละประเภท วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง วิธีที่ใช้ในการคานวณ ราคาทุนตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ทางการเงินหรือ หนี้สินทางการเงิน และมีการปันส่วนและรับรู้ดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่าย ในกาไรหรือขาดทุนตลอดช่วงระยะเวลาที่เกี่ยวข้อง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง อัตราที่ใช้ในการคิดลดประมาณการเงินสดจ่ายหรือรับในอนาคตตลอดอายุ ที่คาดไว้ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินเพื่อให้ได้ มูลค่าตาม บัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงิน หรือ ราคาทุนตัดจาหน่าย ของหนี้สินทางการเงิน ในการคานวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง กิจการต้อง ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับโดยพิจารณาเงื่อนไขของสัญญา ทั้งหมดของ เครื่องมือทางการเงินนั้น (ตัวอย่างเช่น การชาระเ งินก่อนครบ กำหนดการขยาย ระยะเวลา สิทธิเลือกที่จะซื้อ และสิทธิเลือกที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน) แต่ต้องไม่พิจารณา ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยการคำนวณนี้ให้รวมถึงค่าธรรมเนียมและต้นทุนในการรับและจ่าย ทั้งหมดระหว่างคู่สัญญาตามสัญญา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอั ตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง (ดู ย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 1 ถึง ข 5 . 4 . 3 ) ต้นทุนการทำรายการ และ ส่วนเกินหรือส่วนลดมูลค่าอื่นๆ ทั้งหมด โดยมีข้อสันนิษฐานว่ากระแสเงินสด และอายุที่คาดไว้ของกลุ่มของเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน สามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ไม่สามารถ ประมาณการกระแสเงินสดหรืออายุที่คาดไว้ของเครื่อง มือทางการเงิน (หรือ กลุ่มของเครื่องมือทางการเงิน) ได้อย่างน่าเชื่อถือ กิจการต้องใช้กระแสเงิน สดตามสัญญาตลอดอายุสัญญาของเครื่องมือทางการเงินนั้น (หรือกลุ่มของ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 104 เครื่องมือทางการเงินนั้น) ซึ่งกรณีดังกล่าวยากยิ่งที่จะเกิดขึ้น ผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น ผลขาดทุนด้านเครดิต ที่ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักจากความเสี่ยงของการปฏิบัติ ผิดสัญญาที่อาจจะเกิดขึ้น สั ญญาค้ำประกั นทาง การเงิน สัญญาที่กาหนดให้ผู้ค้าประกันตามสัญญาต้องจ่ายชดเชยให้แก่ผู้ที่ได้รับ การค้าประกันสำหรับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นหากลูกหนี้ที่ระบุไว้ใน สัญญาไม่สามารถจ่ายชาระเงินเมื่อครบกำหนดตามเงื่อนไขเมื่อเริ่มแรกหรือ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงของตราสารหนี้ หนี้สินทางการเงินที่วัด มูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรหรือขาดทุน หนี้สินทางการเงินที่เข้าเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ( ก ) มีลักษณะตรงตามคานิยามของ การถือไว้เพื่อค้า ( ข ) ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือวันที่เกิดรายการ กิจการได้เลือก กำหนดให้หนี้สินทางการเงินนั้นวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรหรือ ขาดทุนตามที่ได้กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 หรือ 4 . 3 . 4 ( ค ) เป็นการ เลือก กำหนดให้รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือในภายหลังด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 สัญญาผูกมัด ข้อตกลงผูกมัดที่จะแลกเปลี่ยนทรัพยากรตามจานวนและราคาที่กาหนดไว้ ณ วันใดวันหนึ่งหรือหลายวันที่กาหนดไว้ในอนาคต รายการที่คาดการณ์ รายการที่ไม่มีข้อผูกมัดแต่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต มูลค่าตามบัญ ชี ก่ อ น รายการหัก ของสินทรัพย์ ทา ง การเงิน ราคาทุนตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ทางการเงิน ก่อนที่จะมีการปรับปรุง ค่าเผื่อผลขาดทุน อัตราส่วนการป ้ องกัน ความเสี่ยง ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและ จานวนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในเรื่องของการถ่วงน้าหนัก เปรียบเทียบ ผลกาไรหรือขาดทุนจาก การด้อยค่า ผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 9 และกาไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติตามข้อกำหนด เกี่ยวกับการด้อยค่าที่กาหนดไว้ใน หมวด ที่ 5 . 5 ผลขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอด อายุ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากเหตุการณ์ปฏิบัติผิดสัญญา ที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายของเครื่องมือทางการเงินที่คาดไว้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 105 ค่าเผื่อผลขาดทุน ค่าเผื่อสาหรับ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ของสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่าตามข้อกาหน ดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่า และ สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา มูลค่าการด้อยค่าสะสมสาหรับสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่าตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 3 และประมาณการ หนี้สินสาหรับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากภาระผูกพันวงเงิน สินเชื่อ และ สัญญาค้าประกันทางการเงิน ผลกาไรหรือขาดทุนจาก การเปลี่ยนแปลง จำนวนที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง มูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของ สินทรัพย์ทางการเงิน เพื่อให้สะท้อนกระแสเงินสดตามสัญญาที่ตกลงกัน ใหม่หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขใหม่ โดยกิจการคานวณมูลค่าตามบัญชี ก่อน รายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินใหม่จากมูลค่าปัจจุบันของประมาณ การเงินสดรับหรือจ่ายชาระในอนาคตตลอดอายุที่คาดไว้ของสินทรัพย์ทาง การเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขใหม่ ซึ่งถูกคิดลดด้วย อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง เมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือ อัตราดอกเ บี้ยที่แท้จริง ปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต เมื่อเริ่มแรกสาหรับ สินทรัพย์ทางการเงินที่ มี การด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด ) หรือ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ที่ปรับปรุงใหม่ เมื่อเข้าเงื่อนไขตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 ในการ ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่า จะได้รับของสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการต้องพิจารณาเงื่อนไขตามสัญญาทั้งหมดของสินทรัพย์ทางการเงิน (ตัวอย่างเช่น การชาระเงินก่อนครบกาหนด สิทธิเลือกที่จะซื้อ หรือสิทธิ เลือกที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) แต่ต้องไม่พิจารณา ผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น ยกเว้น สินท รัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต เมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด กิจการต้องพิจารณาผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกที่ถูกพิจารณารวมในการคานวณ อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต เมื่อเริ่มแรก การค้างชำระเกินกำหนด สินทรัพย์ทางการเงินจะถือว่าค้างชาระเกินกาหนดเมื่อคู่สัญญาไม่จ่ายชาระ เมื่อถึงกาหนดชาระตามที่กาหนดไว้ในสัญญา สินทรัพย์ทางการเงินที่มี การด้อยค่าด้าน เ ครดิต เมื่อซื้อหรือเมื่อกำเนิด สินทรัพย์ทางการเงินที่ ด้อยค่าด้านเครดิต เมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด ณ การรับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก วันที่จัดประเภทรายการ ใหม่ วันแรกของรอบระยะเวลารายงานแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลง การ จัดประเภท สินทรัพย์ทางการเงินใหม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 106 การซื้อหรือการขายตาม วิธีปกติ การซื้อหรือการขายสินทรัพย์ทางการเงินภายใต้สัญญาที่มีเงื่อนไข การส่งมอบสินทรัพย์ภายในระยะเวลาที่กาหนดขึ้นจากหลักเกณฑ์หรือวิธี ปฏิบัติโดยทั่วไปของตลาดซื้อขายที่พิจารณา ต้นทุนการทำรายการ ต้นทุนส่วนเพิ่มที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อ การออกตราสาร หรือการ จาหน่ายสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 8 ) โดยต้นทุนส่วนเพิ่มนี้จะไม่เกิดขึ้นถ้ากิจการไม่ซื้อ ไม่ออกตราสาร หรือ ไม่จำหน่าย เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงที่คู่สัญญาของเครื่องมือทางการเงินฝ่ายหนึ่งจะทาให้เกิดผลขาดทุน ทางการเงินต่อคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งโดยการที่ไม่สามารถจ่ายชาระภาระผูกพัน ระดับการจัดอันดับความ เสี่ยงด้านเครดิต การจัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเสี่ยงจาก การผิดสัญญาที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงด้านสกุลเงิน ความเสี่ยงที่มูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดในอนาคตของเครื่องมือ ทางการเงินจะมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความเสี่ยงด้านอัตรา ดอกเบี้ย ความเสี่ยงที่มูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดในอนาคตของเครื่องมือ ทางการเงินจะมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา ดอกเบี้ยตลาด ความเสี่ยงด้านสภาพ คล่อง ความเสี่ยงที่กิจการจะเผชิญกับความยากลาบากในการชาระคืนภาระผูกพันที่ เกี่ยวข้องกับหนี้สินทางการเงิน ซึ่งต้องชำระด้วยเงินสดหรือสินทรัพย์ ทางการเงินอื่น เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมเป็นหนี้สินทางการเงิน ที่นอกเหนือจากเจ้าหนี้การค้าระยะสั้นซึ่งมี ระยะเวลาการจ่ายชาระตามปกติ ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงที่มูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดในอนาคตของเครื่องมือ ทางการเงินจะมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด ความเสี่ยงด้านตลาดประกอบด้วยความเสี่ยง 3 ประเภท ได้แก่ ความเสี่ยง ด้านสกุลเงิน ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงด้านราคาอื่น ความเสี่ยงด้านราคาอื่น ความเสี่ยงที่มูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดในอนาคตของเครื่องมือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 107 ทางการเงินจะมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ตลาด (นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก ความเสี่ยงด้านอัตรา ดอกเบี้ย หรือ ความเสี่ยงด้านสกุลเงิน ) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจมี สาเหตุมาจาก ปัจจัยเฉพาะกับเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท หรือกับ ผู้ออกเครื่องมือทางการเงินนั้น หรือปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อเครื่องมือ ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันซึ่งมีการซื้อขายอยู่ในตลาด คำนิยามของคำศัพท์ต่อไปนี้ได้กำหนดอยู่ในย่อหน้าที่ 11 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ภาคผนวก ก ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 หรือภาคผนวก ก ของมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 และได้นามาใช้ใน แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้โดยมีความหมาย เช่นเดียวกับที่ระบุไว้ในมาตรฐานมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ภาคผนวก ก ของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 13 หรือภาคผนวก ก ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15  ตราสารทุน  มูลค่ายุติธรรม  สินทรัพย์ทางการเงิน  เครื่องมือทางการเงิน  หนี้สินทางการเงิน  ราคาของรายการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 108 ภาคผนวก ข แนวปฏิบัติ ภาคผนวกนี้ถือเป็นส่วน เสริมที่จำเป็น ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ขอบเขต (บทที่ 2 ) ข 2 . 1 สัญญาบางประเภทกำหนดให้มีการจ่ายชาระโดยอ้างอิงจากสภาพอากาศ ภูมิประเทศ หรือ ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ (สัญญาซึ่งอ้างอิงกับตัวแปรด้านสภาพอากาศในบางครั้งเรียกว่า “ อนุพันธ์สภาพอากาศ ” ถ้าสัญญาดังกล่าวไม่อยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย สัญญาดังกล่าวจะอยู่ภายใต้ขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ข 2 . 2 แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์ ของพนักงานซึ่งต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 เรื่อง การบัญชีและการรายงาน สาหรับโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน และสัญญาค่าสิทธิซึ่งคานวณจากปริมาณการขาย และรายได้จากการให้บริการซึ่ง ต้อ งปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทากับลูกค้า ข 2 . 3 ในบางครั้ง กิจการมีการลงทุนในเชิงกลยุทธ์ในตราสารทุนที่ออกโดยกิจการอื่นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างหรือรักษาความสัมพันธ์ของการดาเนินงานในระยะยาวกับกิจการดังกล่าว ผู้ลงทุนหรือ ผู้ร่วมค้าต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วมและ การร่วมค้า ในการพิจารณาถึงความเหมาะสมในการใช้วิธีส่วนได้เสียเพื่อบันทึกบัญชีเงินลงทุน ข 2 . 4 แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ให้ถือปฏิบัติกับสินทรัพย์ทางการเงิ นและหนี้สินทางการเงินของ ผู้รับประกันที่นอกเหนือจากสิทธิและภาระผูกพันที่ได้รับการยกเว้นตามย่อหน้าที่ 2 . 1 . 5 เนื่องจากเรื่องดังกล่าวอยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 ข 2 . 5 สัญญาค้าประกันทางการเงินอาจมีรูปแบบทางกฎหมายที่แตกต่างกัน เช่น การค้าประกัน เลตเตอร์ออฟเครดิตบางประเภท สัญญาการรับประกันด้านเครดิต หรือสัญญาประกันภัย อย่างไรก็ตาม วิธีปฏิบัติทางการบัญชีจะไม่ขึ้นอยู่กับรูปแบบทางกฎหมาย ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นวิธี ปฏิบัติที่เหมา ะสม (ดูย่อหน้าที่ 2 . 1 . 5 ) ข 2 . 5 . 1 แม้ว่าสัญญาค้าประกันทางการเงินจะเข้าเงื่อนไขตามคานิยามของสัญญาประกันภัย ตามที่กาหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 แต่หากความเสี่ยงที่ถูก โอนไปมีนัยสาคัญ สัญญาค้าประกันทางการเงินดังกล่าวอยู่ภายใต้ขอบเขตของแนว ปฏิบัติทา งการบัญชีฉบับนี้ อย่างไรก็ตาม หากผู้ค้าประกันตามสัญญาได้กำหนดอย่าง ชัดเจนก่อนหน้านี้ว่าสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาประกันภัยและได้ถือปฏิบัติตามวิธีการ บัญชีสาหรับสัญญาประกันภัยแล้ว ผู้ค้าประกันตามสัญญาอาจเลือกที่จะถือปฏิบัติ ตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้หรือมาตรฐำนการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 109 ก็ได้ และหากผู้ค้าประกันตามสัญญาเลือกที่จะถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ผู้ออกสัญญาต้องรับรู้สัญญาค้าประกันทางการเงินเมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่า ยุติธรรมตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 หากสัญญาค้าประกันทางการเงินดังกล่า ว เป็นการออกให้บุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันในการ ทารายการค้าตามปกติ มูลค่า ยุติธรรมเมื่อเริ่มแรกจะเท่ากับเบี้ยประกันที่ได้รับ เว้นแต่ จะมีหลักฐานกาหนดเป็นอย่าง อื่น ดังนั้น หากสัญญาค้าประกันทางการเงินไม่ได้เลือกกาหนดเมื่อเริ่มแรกให้แสดง ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่ำนกาไรหรือขาดทุนหรือไม่ได้ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 15 ถึง 3 . 2 . 23 และย่อหน้าที่ ข 3 . 2 . 12 ถึง ข 3 . 2 . 17 (กรณีที่การโอนสินทรัพย์ทางการ เงินไม่เข้าเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการหรือยังคงมีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ ที่โอน) ผู้ค้าประกันตามสัญญาต้องวัดมูลค่าสัญญาดังกล่าวด้วยมูลค่าที่สูงกว่า ระหว่าง ข 2 . 5 . 1 . 1 จานวนเงินที่กาหนดในหมวดที่ 5 . 5 และ ข 2 . 5 . 1 . 2 จำนวนเงินที่รับรู้เมื่อเริ่มแรกหักจำนวนเงินสะสมของรายได้ (เมื่อ เหมาะสม) ที่รับรู้ตามหลักการของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ดูย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 3 ) ข 2 . 5 . 2 สัญญาค้าประกันด้านเครดิตบางประเภทไม่ได้กาหนดเงื่อนไขก่อนจ่ายชาระเงิน ให้ผู้ถือสัญญาค้าประกันต้องมีความเสี่ยงและเกิดผลสูญเสียจากการที่ลูกหนี้ ไม่สามารถจ่ายชาระหนี้เมื่อครบกาหนด เช่น การค้าประกันที่กาหนดให้การจ่ายชาระ ขึ้ นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงในการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตหรือดัชนี ความน่าเชื่อถือด้านเครดิตตามที่กาหนด การค้าประกันดังกล่าวไม่ถือเป็นสัญญา ค้าประกันทางการเงินตามที่กาหนดขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ และ ไม่ถือเป็นสัญญาประกันภัยตามคานิยามในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การค้าประกันดังกล่าวถือเป็นอนุพันธ์ โดยให้ผู้ค้าประกันตามสัญญาดังกล่าวถือ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ข 2 . 5 . 3 หากการออกสัญญาค้าประกันทางการเงินเกี่ยวข้องกับการขายสินค้าให้ผู้ ค้าประกัน ตำม สัญญาถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เมื่อรับรู้รายได้ จากการค้าประกันและรายได้จากการขาย สิ นค้า ข 2 . 6 โดยปกติ การรับรองโดยผู้ค้าประกันตามสัญญาว่าสัญญาที่ออกเป็นสัญญาประกันภัยจะเกิดขึ้น ในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ค้าประกันตามสัญญากับลูกค้าและผู้กากับดูแล ในสัญญา เอกสาร ทางธุรกิจ และงบการเงิน นอกจากนี้ สัญญาประกันภัยมีข้อกำหนดทางบัญชีที่แตกต่างจาก ข้อกาหนดทางบัญชีของธุ รกรรมประเภทอื่นๆ เช่น สัญญาต่างๆ ที่ออกโดยธนาคารหรือธุรกิจ เอกชน ในกรณีดังกล่าวงบการเงินของผู้ค้าประกันตามสัญญามักมีข้อความที่แสดงว่าผู้ค้าประกัน ตามสัญญาได้ปฏิบัติตามข้อกาหนดทางบัญชีสาหรับสัญญาประกันภัย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 110 การรับรู้รายการและการ เลิกรับรู้ รายการ (บทที่ 3 ) การรับรู้เมื่อเริ่มแรก (บทที่ 3 . 1 ) ข 3 . 1 . 1 ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 3 . 1 . 1 กิจการรับรู้สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาทั้งหมดภายใต้ อนุพันธ์เป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะทางการเงินตามลาดับ ยกเว้นอนุพันธ์ที่ทาให้ การโอนสินทรัพย์ทางการเงินไม่ถือเป็นการขาย (ดูย่อ หน้าที่ ข 3 . 2 . 14 ) หากการโอนสินทรัพย์ ทางการเงินไม่เข้าเงื่อนไขของการ เลิกรับรู้ รายการ ผู้รับโอนต้องไม่รับรู้สินทรัพย์ที่โอนนั้นเป็น สินทรัพย์ของตน (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 2 . 15 ) ข 3 . 1 . 2 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการนาข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 3 . 1 . 1 มาปฏิบัติ ข 3 . 1 . 2 . 1 ลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ที่ไม่มีเงื่อนไขที่รับรู้เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินเมื่อกิจการเข้าไป เป็นคู่สัญญา ซึ่งทาให้กิจการมีสิทธิตามกฎหมายในการรับเงินสด หรือมีภาระ ผูกพันตามกฎหมายในการจ่ายเงินสด ข 3 . 1 . 2 . 2 โดยทั่วไป สินทรัพย์ที่จะได้มาและหนี้สินที่จะเกิดขึ้นจากผลของสั ญญาผูกมัดใน การซื้อหรือขายสินค้าหรือบริการจะไม่ถูกรับรู้รายการจนกระทั่งมีคู่สัญญา อย่างน้อยหนึ่งรายปฏิบัติตามสัญญา เช่น โดยทั่วไปกิจการที่ได้รับคาสั่งซื้อจะ ไม่รับรู้รายการสินทรัพย์ (และกิจการที่สั่งซื้อจะไม่รับรู้รายการหนี้สิน) ณ วันที่มี การตกลงกัน แต่จะชะลอการรับรู้รายการออกไปจนกว่าสินค้าหรือบริการนั้นจะมี การขนส่ง ส่งมอบ หรือให้บริการ หากสัญญาผูกมัดในการซื้อหรือขายรายการที่ ไม่ใช่รายการทางการเงินอยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ในย่อหน้าที่ 2 . 4 ถึง 2 . 7 มูลค่ายุติธรรมสุทธิของสัญญาดั งกล่าวจะถูกรับรู้เป็น สินทรัพย์หรือหนี้สิน ณ วันที่มีการตกลงกัน (ดูย่อหน้าที่ ข 4 . 1 . 4 . 3 ) นอกจากนั้น หากสัญญาผูกมัดที่ยังไม่ได้รับรู้รายการเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงในการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม ให้รับรู้การเปลี่ยนแปลงใดๆ ในมูลค่ำยุติธรรมสุทธิ เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภายหลังจากการเริ่มต้นการป้องกัน ความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 . 2 และ 6 . 5 . 8 ) ข 3 . 1 . 2 . 3 สัญญาฟอร์เวิร์ดซึ่งอยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ดูย่อหน้าที่ 2 . 1 ) ถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินในวั นที่มีการตกลงกัน แทนวันที่มีการจ่ายชาระ เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาของสัญญาฟอร์เวิร์ด มูลค่า ยุติธรรมของสิทธิและภาระผูกพันมักจะเท่ากัน ดังนั้น มูลค่ายุติธรรมสุทธิของ สัญญาฟอร์เวิร์ดเท่ากับศูนย์ หากมูลค่ายุติธรรมสุทธิของสัญญาฟอร์เวิร์ด ไม่เท่ากับศูนย์ สัญญาดังกล่าวจะถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สิน ข 3 . 1 . 2 . 4 สัญญาสิทธิเลือกซึ่งอยู่ภายในขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ดูย่อหน้าที่ 2 . 1 ) จะถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินเมื่อผู้ถือครองหรือผู้ออกเข้า ไปเป็นคู่สัญญา

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 111 ข 3 . 1 . 2 . 5 รายการในอนาคตที่วางแผนไว้ซึ่งไม่ว่าจะมีความน่าจะเป็นมากเพียงใดก็ไม่ถือเป็น สินทรัพย์หรือหนี้สิน เนื่องจากกิจการยังไม่ได้เข้าไปเป็นคู่สัญญา การซื้อหรือการขายสินทรัพย์ทางการเงินตามวิธีปกติ ข 3 . 1 . 3 การซื้อหรือการขายสินทรัพย์ทางการเงินตามวิธีปกติ กิจการจะรับรู้รายการโดยใช้การบัญชี วันซื้อขายหรือการบัญชีวันชำระตามที่ระบุในย่อหน้าที่ ข 3 . 1 . 5 และ ข 3 . 1 . 6 กิจการต้อง ใช้วิธีปฏิบัติแบบเดียวกันอย่างสม่าเสมอสาหรับการซื้อและการขายสินทรัพย์ทางการเงินทั้งหมด ที่ ถูกจัดประเภทแบบเดียวกันตามที่กาหนดในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ สาหรับวัตถุประสงค์นี้ สินทรัพย์ที่ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนจะถูกจัดประเภทแยกต่างหาก จากสินทรัพย์ที่เลือกกาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ข 3 . 1 . 4 สั ญญาซึ่งกาหนดหรืออนุญาตให้มีการจ่ายชาระสุทธิสาหรับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสัญญา ถือว่าไม่ใช่สัญญาตามวิธีปกติ โดยสัญญาดังกล่าวจะถูกบันทึกบัญชีเป็นอนุพันธ์ในช่วงเวลา ระหว่างวันซื้อขายและวันจ่ายชาระ ข 3 . 1 . 5 วันซื้อขาย คือ วันที่กิจการมีข้อผูกมัดที่จะซื้อหรือขาย สินทรัพย์ การบัญชีวันซื้อขายจะเกี่ยวข้อง กับ ( 1 ) การรับรู้สินทรัพย์ที่จะได้รับและหนี้สินที่จะต้องจ่ายในวันซื้อขาย และ ( 2 ) การ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ที่ถูกขาย รับรู้กาไรหรือขาดทุนใดๆ จากการขาย และรับรู้ลูกหนี้จากการจ่าย ชาระจากผู้ซื้อในวันซื้อขาย โดยทั่วไปด อกเบี้ยของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกันจะไม่ถูก รับรู้จนกว่าจะถึงวันจ่ายชาระและโอนกรรมสิทธิ์ ข 3 . 1 . 6 วันจ่ายชาระ คือ วันที่สินทรัพย์ถูกส่งมอบแก่หรือส่งมอบโดยกิจการ การบัญชีวันชาระ ณ วันจ่าย ชาระจะเกี่ยวข้องกับ ( 1 ) การรับรู้สินทรัพย์ในวันที่กิจการได้รับสิ นทรัพย์นั้น และ ( 2 ) การ เลิก รับรู้ รายการสินทรัพย์และรับรู้กำไรหรือขาดทุนใดๆ จากการขาย ในวันที่กิจการได้ส่งมอบ สินทรัพย์ เมื่อการบัญชีวันชาระถูกนามาถือปฏิบัติให้กิจการบันทึกบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลง ใดๆ ในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่จะได้รับระหว่างวันซื้อขายและวันจ่ายชาระในลักษณะ เดียวกับการบันทึกบัญชีสาหรับสินทรัพย์ที่ได้มา กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะไม่ถูกรับรู้ สาหรับสินทรัพย์ที่ใช้ราคาทุนตัดจำหน่าย แต่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนสาหรับสินทรัพย์ที่จัด ปร ะเภทเป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน และรับรู้ใน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 112 การ เลิกรับรู้ รายการของสินทรัพย์ทางการเงิน (บทที่ 3 . 2 ) ข 3 . 2 . 1 แผนภูมิต่อไปนี้แสดงการประเมินการ เลิกรับรู้ รายการของสินทรัพย์ทางการเงิน ข้อตกลงซึ่งทำให้กิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ ทางการเงิน แต่รับ ภาระผูกพันตามสัญญาที่จะจ่ายกระแสเงินสดนั้นให้กับผู้รับรายใดรายหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งราย (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 . 2 ) ประเมินตามหลักการ การ เลิกรับรู้ รายการ ดังต่อไปนี้สาหรับ บาง ส่วนหรือทั้ง จานวน ของ สินทรัพย์ (หรือกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน) (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 2 ) สิทธิตามสัญญาที่จะได้รับกระแส เงินสดจากสินทรัพย์ หมดอายุ หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 3 . 1 ) ใช่ รวมบริษัท ย่อย ทั้งหมด (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 1 ) เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ ยังคงรับรู้สินทรัพย์ต่อไป ตราบเท่าที่ กิจการยัง คง มีความ เกี่ยวข้อง อย่าง ต่อเนื่อง ยังคงรับรู้เป็นสินทรัพย์ ไม่ใช่ กิจการมีภาระผูกพันตามสัญญาที่ จะ จ่ายกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 . 2 ) กิจการได้โอนสิทธิตาม สัญญา ที่จะได้ รับกระแ สเงินสดจาก สินทรัพย์หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 . 1 ) กิจการได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เกือบ ทั้งห มด หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 1 ) ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ ใช่ กิจการยัง คง ไว้ซึ่ง ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เกือบ ทั้งหมด หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 2 ) กิจการ ยังคง มี การ ควบคุมสินทรัพย์หรือไม่ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 . 3 ) เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ ยังคงรับรู้เป็นสินทรัพย์ เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ ไม่ใช่ ใช่ ใช่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 113 ข 3 . 2 . 2 เมื่อสถานการณ์ตามที่ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 4 . 2 (เมื่อกิจการยังคงไว้ซึ่งสิทธิตามสัญญาที่จะ ได้รับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์ทางการ เงิน แต่รับภาระผูกพันตามสัญญาที่จะจ่ายกระแสเงินสด นั้นให้กับผู้รับรายใดรายหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งราย) เกิดขึ้น เช่น หากกิจการเป็นทรัสต์ และ จ่ายผลประโยชน์ในสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นสินทรัพย์ทางการเงินอ้างอิงซึ่งกิจการเป็น เจ้าของ และให้บริการสินทรัพย์ทางการเงิน นั้นให้แก่ผู้ลงทุน ในกรณีดังกล่าว สินทรัพย์ทางการเงินนั้น ถือว่า เข้าเงื่อนไขสาหรับการ เลิกรับรู้ รายการหากเป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 และ 3 . 2 . 6 ข 3 . 2 . 3 ในการนาย่อหน้าที่ 3 . 2 . 5 มาถือปฏิบัติ กิจการอาจเป็นผู้ออกสินทรัพย์ทางการเงิน หรือเป็น กลุ่มกิจการที่รวมบริษัทย่อย ซึ่งได้รับโอนสินทรัพย์ทางการเงินมาและส่งต่อกระแสเงินสด จากสินทรัพย์ทางการเงินนั้นให้กับผู้ลงทุนซึ่งเป็นบุคคลที่สามซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกัน การประเมินการโอนความเสี่ย งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ (ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 6 ) ข 3 . 2 . 4 ตัวอย่างที่กิจการได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมด ข 3 . 2 . 4 . 1 การขายสินทรัพย์ทางการเงินอย่างไม่มีเงื่อนไข ข 3 . 2 . 4 . 2 การขายสินทรัพย์ทางการเงินพร้อมกับสิทธิเลือกในการซื้อคืนสินทรัพย์ทางการเงิน ดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่มีการซื้อคืน และ ข 3 . 2 . 4 . 3 การขายสินทรัพย์ทางการเงินพร้อมกับสิทธิเลือกที่จะซื้อหรือสิทธิเลือกที่จะขาย ซึ่งอยู่ในฐานะขาดทุนอย่างมาก (เช่น สิทธิเลือ กซึ่งอยู่ในฐานะขาดทุน และ มีความเป็นไปได้สูงที่จะไม่มีกาไรในอนาคตก่อนหมดอายุ) ข 3 . 2 . 5 ตัวอย่างกรณีที่กิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมด ข 3 . 2 . 5 . 1 รายการขายและซื้อคืน ซึ่งราคาที่ซื้อคืนคือราคาที่ถูกกาหนดไว้ หรือ คือราคาขาย บวกด้วยผลตอบแทนของผู้ให้กู้ยืม ข 3 . 2 . 5 . 2 สัญญาการให้ยืมหลักทรัพย์ ข 3 . 2 . 5 . 3 การขายสินทรัพย์ทางการเงินพร้อมกับธุรกรรมการแลกเปลี่ยนผลตอบแทนรวม ซึ่งจะรับโอนความเสี่ยงด้านตลาดกลับมาที่กิจการ ข 3 . 2 . 5 . 4 การขายสินทรัพย์ทางการเงินพร้อมกับสิทธิเลือกที่จะซื้ อหรือสิทธิเลือกที่จะขายซึ่ง อยู่ในฐานะได้กาไรอย่างมาก (เช่น สิทธิเลือกซึ่งอยู่ในฐานะได้กาไร และมีความ เป็นไปได้สูงที่จะไม่เกิดขาดทุนก่อนหมดอายุ) และ ข 3 . 2 . 5 . 5 การขายลูกหนี้ระยะสั้นซึ่งกิจการได้ค้าประกันการชดเชยให้กับผู้รับโอนในกรณีที่ อาจเกิดผลขาดทุนด้านเคร ดิต ข 3 . 2 . 6 หากกิจการพิจารณาว่าผลที่เกิดขึ้นจากการโอนทาให้กิจการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของ ความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ที่โอน กิจการไม่รับรู้สินทรัพย์ที่โอนอีกในอนาคต ยกเว้นกรณีที่กิจการซื้อสินทรัพย์ที่โอนกลับคืนมาโดยการทารายการใหม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 114 การประเมินการโอนการควบคุม ข 3 . 2 . 7 กิจการไม่คงไว้ซึ่งการควบคุมในสินทรัพย์ที่โอนหากผู้รับโอนมีความสามารถในทางปฏิบัติ ในการขายสินทรัพย์ดังกล่าว กิจการยังคงมีการควบคุมในสินทรัพย์ที่โอนหากในทางปฏิบัติ ผู้รับโอนไม่มีความสามารถในการขายสินทรัพย์ที่โอน ในทางปฏิ บัติผู้รับโอนมีความสามารถ ในการขายสินทรัพย์ที่โอนหากสินทรัพย์ดังกล่าวมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่อง เนื่องจาก ผู้รับโอนสามารถซื้อสินทรัพย์ที่โอนกลับคืนมาได้จากตลาดหากผู้รับโอนจาเป็นต้องส่งคืน สินทรัพย์ให้กับกิจการ เช่น ในทางปฏิบัติผู้รับโอนอาจมีความสามารถใน การขายสินทรัพย์ ที่โอนหากสินทรัพย์นั้นอยู่ภายใต้สิทธิเลือกที่อนุญาตให้กิจการซื้อสินทรัพย์นั้นกลับคืนมา แต่ผู้รับโอนสามารถหาสินทรัพย์ที่โอนได้จากตลาดทันทีเมื่อมีการใช้สิทธิเลือก หากกิจการ ยังคงมีสิทธิเลือกดังกล่าวอยู่ และผู้รับโอนไม่สามารถหาสินทรัพย์ ที่โอนได้จากตลาดทันทีเมื่อมี การใช้สิทธิเลือก จะถือว่าในทางปฏิบัติผู้รับโอนไม่มีความสามารถในการขายสินทรัพย์ที่โอน ข 3 . 2 . 8 ในทางปฏิบัติผู้รับโอนมีความสามารถในการขายสินทรัพย์ที่โอนเฉพาะเมื่อผู้รับโอนสามารถ ขายสินทรัพย์นั้นได้ทั้งจานวนให้กับบุคคลที่สามทซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกัน และสามารถใช้สิทธิ ดังกล่าวได้เพียงฝ่ายเดียวและไม่มีการกาหนดข้อจากัดเพิ่มเติมในการโอน ประเด็นที่สาคัญคือ อะไรที่ผู้รับโอนสามารถทาได้บ้างในทางปฏิบัติ นอกเหนือจากสิทธิตามสัญญาที่ผู้รับโอน สามารถหรือไม่สามารถทาอะไรกับสินทรัพย์ที่โอนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข 3 . 2 . 8 . 1 สิทธิตามสัญญาในการจำหน่ายสินทรัพย์ที่โอนมีผลกระทบในทางปฏิบัติเพียง เล็กน้อยหากไม่มีตลาดสาหรับสินทรัพย์ที่โ อน และ ข 3 . 2 . 8 . 2 ความสามารถในการจำหน่ายสินทรัพย์ที่โอนมีผลกระทบในทางปฏิบัติเพียง เล็กน้อยหากไม่สามารถใช้สิทธิได้อย่างอิสระ ดังนี้ ข 3 . 2 . 8 . 2 . 1 ความสามารถในการจาหน่ายสินทรัพย์ที่โอนของผู้รับโอนจะต้องเป็น อิสระจากการกระทาของบุคคลอื่น (กล่าวคือ ต้องเป็นความสามารถ เพียงฝ่ายเดียว) และ ข 3 . 2 . 8 . 2 . 2 ผู้รับโอนต้องสามารถจาหน่ายสินทรัพย์ที่โอนโดยไม่มีความจาเป็น ที่จะมีการกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการโอน เช่น เงื่อนไข เกี่ยวกับการให้บริการสินทรัพย์ที่ถูกให้ยืม หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการ ให้สิทธิที่จะซื้อจะขำยแก่ผู้รับโอนเพื่อซื้อคืนสินทรัพย์ ข 3 . 2 . 9 การที่ผู้รับโอนไม่อาจขายสินทรัพย์ที่โอนเพียงอย่างเดียวไม่ได้หมายความว่าผู้โอนยังคงไว้ซึ่ง การควบคุมในสินทรัพย์ที่โอน อย่างไรก็ตาม หากสิทธิที่จะขายหรือการค้าประกันจำกัด ผู้รับโอนจากการขายสินทรัพย์ที่โอน ส่งผลให้ผู้ โอนยังคงไว้ซึ่งการควบคุมสินทรัพย์ที่โอน เช่น หากสิทธิที่จะขายหรือการค้าประกันมีมูลค่าเพียงพอที่จะทาให้ผู้รับโอนไม่ขายสินทรัพย์ที่ โอน เนื่องจากในทางปฏิบัติผู้รับโอนจะไม่สามารถขายสินทรัพย์ที่โอนให้กับบุคคลที่สามได้โดย ไม่กาหนดเงื่อนไขหรือข้อจากัดอื่นที่ คล้ายคลึงกัน แต่ผู้รับโอนจึงถือสินทรัพย์ที่โอนไว้เพื่อการ รับชาระจากการค้าประกันหรือสิทธิที่จะขาย ภายใต้สถานการณ์นี้ผู้โอนยังคงไว้ซึ่งการควบคุม ในสินทรัพย์ที่โอน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 115 การโอนที่เป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ ข 3 . 2 . 1 0 กิจการอาจยังคงสิทธิในบางส่วนของการจ่ายดอกเบี้ยของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน โดยถือเป็นค่าตอบแทนในการให้บริการสินทรัพย์เหล่านั้น ดอกเบี้ยบางส่วนที่กิจการ จะไม่ได้รับเมื่อเลิกสัญญา หรือโอนสัญญาให้บริการ จะมีการปันส่วนไปยังสินทรัพย์หรือหนี้สิน ที่เกิดจากการให้บ ริการ ดอกเบี้ยบางส่วนที่กิจการยังคงได้รับเมื่อมีการยุติหรือโอนสัญญา การให้บริการคือลูกหนี้ดอกเบี้ย ( interest - only strip receivable ) เช่น หากกิจการยังคงได้รับ ดอกเบี้ยใดๆ เมื่อมีการเลิกสัญญาหรือโอนสัญญาการให้บริการ ส่วนต่างของดอกเบี้ยทั้งหมด คือลูกหนี้ดอกเบี้ ย ( interest - only strip receivable ) เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาย่อหน้าที่ 3 . 2 . 13 มาปฏิบัติ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เกิดจากการให้บริการและลูกหนี้ดอกเบี้ย ( interest - only strip receivable ) จะมีการใช้ในการปันส่วนมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ระหว่างส่วนของ สินทรัพย์ที่ เลิกรับรู้ รายการและส่วนที่รับรู้ต่อไป หากไม่มีการระบุค่าธรรมเนียมในการ ให้บริการหรือค่าธรรมเนียมที่จะได้รับและคาดว่าจะไม่สามารถชดเชยการให้บริการได้อย่าง เพียงพอนั้น ให้รับรู้หนี้สินจากกำรให้บริการด้วยมูลค่ายุติธรรม ข 3 . 2 . 11 เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนที่รับรู้ต่อไปและส่วนที่ เลิกรับรู้ รายการ เพื่อวัตถุประสงค์ในการ นำย่อหน้าที่ 3 . 2 . 13 มาปฏิบัติ กิจการต้องนำข้อกำหนดเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรมใน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม มาปฏิบัติเพิ่มเติมจาก ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 14 การโอนที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการ ข 3 . 2 . 12 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการนาหลักการตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 15 มาปฏิบัติ หากกิจการมีการค้าประกัน ผลขาดทุนจากการปฏิบัติผิดสัญญาจากสินทรัพย์ที่โอน ทำให้สินทรัพย์ที่โอนไม่สามารถ ถูก เลิกรับรู้ รายการได้ เนื่องจากกิจการยังคงความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ที่โอน สินทรัพย์ที่โอนยังคงต้องถูกรับรู้ทั้งจานวนและสิ่งตอบแทนที่ ได้รับจะต้องถูกรับรู้เป็นหนี้สิน ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ที่โอน ข 3 . 2 . 13 ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่โอนและหนี้สินที่เกี่ยวข้องภายใต้ย่อหน้าที่ 3 . 2 . 16 สินทรัพย์ทุกประเภท ข 3 . 2 . 13 . 1 หากกิจการค้าประกันในการจ่ายชาระผลขาดทุนจากการปฏิบัติผิดสัญญาจาก สินทรัพย์ที่โอน ทำให้สินทรัพย์ที่โอนไม่สามารถถูก เลิกรับรู้ รายการได้ตาม ขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ณ วันที่มีการโอน สินทรัพย์ที่โอนต้องถูกวัด มูลค่าด้วยจานวนที่ต่ากว่าของ ( 1 ) มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และ ( 2 ) จำนวน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 116 เงินสูงสุดของสิ่งตอบแทนที่ได้รับซึ่งกิจการอาจถูกเรียกใ ห้ชาระคืน ( “ จานวนเงินที่ ค้าประกัน ” ) หนี้สินที่เกี่ยวข้องจะมีการรับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยจานวนเงินที่ ค้าประกัน บวกด้วยมูลค่ายุติธรรมของการค้าประกัน (ซึ่งโดยทั่วไปคือสิ่งตอบแทนที่ ได้รับ สาหรับการค้าประกัน) หลังจากนั้นมูลค่ายุติธรรมเมื่อเริ่มแรกของการค้าประกัน จะมีการรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อเข้าตามหลักภาระผูกพัน (ตาม มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ) และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์จะลดด้วยค่าเผื่อ ผลขาดทุน สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจำหน่าย ข 3 . 2 . 13 . 2 หากภาระผูกพันในสัญญาสิทธิที่จะขาย (สิทธิที่ผู้ถือมีสิทธิที่จะขายคืน) ซึ่งออกโดย กิจการ หรือสัญญาสิทธิที่จะซื้อที่ถือโดยกิจการ ทาให้สินทรัพย์ที่โอนไม่สามารถ ถูก เลิกรับรู้ รายการและกิจการวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่โอนด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย หนี้สิน ที่เกี่ยวข้องจะถูกรับรู้ด้วยราคาทุน (เช่น สิ่งตอบแทนที่ได้รับ) ปรับปรุงด้วย การตัดจาหน่าย ของส่วนต่างใดๆ ระหว่างทุนและมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ที่โอน ณ วันที่สัญญาสิทธิเลือกหมดอายุ เช่น สมมุติว่ามูลค่าตาม บัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ ณ วันที่มีการโอนเท่ากับ 98 และมูลค่าของสิ่ง ตอบแทนที่ ได้รับเท่ากับ 95 มูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ ณ วันที่ มีการใช้สิทธิเท่ากับ 100 มูลค่าตามบัญชีเมื่อเริ่มแรกของหนี้สินที่เกี่ยวข้องเท่ากับ 95 และส่วนต่างระหว่างมูลค่า 95 และ 100 ให้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธี ดอกเบี้ยที่แท้จริง หากสัญญาสิทธิเ ลือกถูกใช้สิทธิ ผลต่างใดๆ ระหว่างมูลค่าตาม บัญชีของหนี้สินที่เกี่ยวข้องและราคาที่ใช้สิทธิให้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ข 3 . 2 . 13 . 3 หากสัญญาสิทธิที่จะซื้อของกิจการทาให้ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ที่โอน และกิจการวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่โอนด้วยมูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ยังคงต้องถูกวัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมต่อไป หนี้สินที่เกี่ยวข้องวัดมูลค่าด้วย ( 1 ) ราคาใช้สิทธิ หักด้วยมูลค่าตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะซื้อ หากสัญญาสิทธิที่จะซื้ออยู่ในฐานะ กาไร หรือเท่าทุน หรือ ( 2 ) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนหักด้วยมูลค่าตาม เวลาของ สัญญาสิทธิที่จะซื้อ หากสัญญาสิทธิที่จะซื้ออยู่ในฐานะขาดทุน การปรับปรุง การวัดมูลค่า ของหนี้สินที่เกี่ยวข้องทาให้มั่นใจว่ามูลค่าที่แสดงในบัญชีสุทธิของ สินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องคื อมูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิที่จะซื้อ เช่น หาก มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์อ้างอิงเท่ากับ 80 ราคาใช้สิทธิเท่ากับ 95 และมูลค่า ตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะซื้อเท่ากับ 5 ดังนั้น มูลค่าตามบัญชีของหนี้สินที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 117 เกี่ยวข้องเท่ากับ 75 ( 80 – 5 ) และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่โอนเท่ากับ 80 (ซึ่งคือมูลค่ายุติธรรม) ข 3 . 2 . 13 . 4 หากสัญญาสิทธิที่จะขายซึ่งออกโดยกิจการทำให้ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ที่โอนและกิจการวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่โอนด้วยมูลค่ายุติธรรม หนี้สินที่ เกี่ยวข้องถูกวัดมูลค่าด้วยราคำใช้สิทธิบวกด้วยมูลค่าตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะ ขาย การวัดมูลค่าสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมจะต้องวัดที่มูลค่าที่ต่ากว่าระหว่าง มูลค่ายุติธรรมและราคาใช้สิทธิ เนื่องจากกิจการไม่มีสิทธิที่จะเพิ่มมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่โอนให้สูงกว่าราคาใช้สิทธิของสัญญาสิทธิ ที่จะขาย วิธีการดังกล่าวทา ให้มั่นใจว่ามูลค่าตามบัญชีสุทธิของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องเท่ากับมูลค่า ยุติธรรมของภาระผูกพันในสัญญาสิทธิที่จะขาย เช่น หากมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์อ้างอิงเท่ากับ 120 ราคาใช้สิทธิเท่ากับ 100 และมูลค่าตามเวลาของ สัญญาสิทธิที่ จะขายเท่ากับ 5 ดังนั้น มูลค่าตามบัญชีของหนี้สินที่เกี่ยวข้องเท่ากับ 105 ( 100 + 5 ) และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์เท่ากับ 100 (ในกรณีนี้คือราคา ใช้สิทธิ) ข 3 . 2 . 13 . 5 หากสัญญาคอลล่าร์ ( collar ) ซึ่งเป็นการซื้อสิทธิที่จะซื้อและการขายสิทธิที่จะขาย ทาให้ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ที่โอนและกิจการวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่ โอนด้วยมูลค่ายุติธรรม กิจการยังคงต้องวัดมูลค่าสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรม หนี้สินที่เกี่ยวข้องจะถูกวัดมูลค่าด้วย ( 1 ) ผลรวมของราคาใช้สิทธิที่จะซื้อและ มูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิที่จะขายหักด้วยมูลค่ำตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะ ซื้อ หากสัญญาสิทธิที่จะซื้อมีฐานะเท่าทุนหรือกาไร หรือ ( 2 ) ผลรวมของมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และมูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิที่จะขายหักด้วยมูลค่า ตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะซื้อ หากสัญญาสิทธิที่จะซื้อมีฐานะขาดทุนการ ปรับปรุงหนี้สินที่เ กี่ยวข้องทาให้มั่นใจว่ามูลค่าตามบัญชีสุทธิของสินทรัพย์และ หนี้สินที่เกี่ยวข้องเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิที่กิจการถืออยู่หรือ ที่ออกขายโดยกิจการ เช่น สมมติว่ากิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมพร้อมกันกับการซื้อสั ญญาสิทธิที่จะซื้อด้วยราคาใช้สิทธิที่ 120 และออกขายสัญญาสิทธิที่จะขายด้วยราคาใช้สิทธิที่ 80 สมมติว่ามูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์เท่ากับ 100 ณ วันที่มีการโอน มูลค่าตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะ ขายและสัญญาสิทธิที่จะซื้อเท่ากับ 1 และ 5 ตามลาดับ ในกรณีนี้กิจการรับรู้ สินทรัพย์ที่ 100 (มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์) และรับรู้หนี้สินที่ 96 ( 100 + 1 ) – 5 ) โดยสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 4 ซึ่งเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิที่กิจการถืออยู่ และออกขายโดยกิจการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 118 การโอนทุกประเภท ข 3 . 2 . 14 ในกรณีที่การโอนสินทรัพย์ทางการเงินไม่เข้าเงื่อนไขเป็นการ เลิกรับรู้ รายการสิทธิตามสัญญา หรือภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการโอนของผู้โอนจะไม่ถูกบันทึกบัญชีแยกต่างหากเป็นอนุพันธ์ หากการรับรู้ทั้งอนุพันธ์และสินทรัพย์ที่โอนหรือหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการโอนส่งผลให้มี การรับรู้ สิทธิหรือภาระผูกพันที่เหมือนกันซ้าสองครั้ง เช่น สัญญาสิทธิที่จะซื้อซึ่งผู้โอนถืออยู่ทาให้ การโอนสินทรัพย์ไม่ถือเป็นการขาย ในกรณีดังกล่าวสัญญาสิทธิที่จะซื้อจะไม่ถูกรับรู้แยก ต่างหากเป็นสินทรัพย์อนุพันธ์ ข 3 . 2 . 15 ในกรณีที่การโอนสินทรัพย์ทางการเงิ นไม่เข้าเงื่อนไขเป็นการ เลิกรับรู้ รายการผู้รับโอนไม่ต้อง รับรู้สินทรัพย์ที่โอนเป็นสินทรัพย์ของตน ผู้รับโอนต้อง เลิกรับรู้ รายการเงินสดหรือสิ่งตอบแทน จ่ายอื่น และรับรู้ลูกหนี้ที่เกิดจากผู้โอน หากผู้โอนมีทั้งสิทธิและภาระผูกพันในการซื้อการควบคุม ในสินทรัพย์ที่โอนทั้ งจานวนกลับคืนมาด้วยจานวนเงินที่แน่นอน (เช่น ภายใต้สัญญาซื้อคืน) ผู้รับโอนอาจวัดมูลค่าลูกหนี้โดยใช้ราคาทุนตัดจำหน่าย ตัวอย่าง ข 3 . 2 . 16 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงถึงการนาหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการ เลิกรับรู้ รายการของแนวปฏิบัติทางการ บัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติ ข 3 . 2 . 16 . 1 สัญญาซื้อคืนและการให้ยืมหลักทรัพย์ หากสินทรัพย์ทางการเงินถูกขายภายใต้ สัญญาซื้อคืนด้วยราคาที่แน่นอนหรือด้วยราคาขายบวกผลตอบแทนของผู้ให้กู้ หรือหากสินทรัพย์ทางการเงินถูกยืมภายใต้สัญญาที่จะส่งคืนสินทรัพย์ทางการ เงินนั้นให้แก่ผู้โอน สินทรัพย์ทางการเงิน นั้นจะไม่ถูก เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากผู้ โอนยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญ ทั้งหมด หากผู้รับโอนได้รับสิทธิในการขายสินทรัพย์หรือนาสินทรัพย์ไปวางเป็น ประกัน ผู้โอนต้องเปลี่ยนประเภทการแสดงรายการสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะ ทางการเงินขอ งตน เช่น สินทรัพย์ที่ให้ยืม หรือลูกหนี้ซื้อคืน ข 3 . 2 . 16 . 2 สัญญาซื้อคืนและการให้ยืมหลักทรัพย์ สินทรัพย์ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันอย่าง มีนัยสาคัญ หากสินทรัพย์ทางการเงินถูกขายภายใต้สัญญาซื้อคืนสินทรัพย์ที่มี ลักษณะเหมือนกันหรือมีลักษณะเหมือนกันอย่างมีนัยสาคัญด้วยรา คาที่แน่นอน หรือด้วยราคาขายบวกผลตอบแทนของผู้ให้กู้ หรือหากสินทรัพย์ทางการเงิน ถูกยืมหรือถูกให้ยืมภายใต้สัญญาที่จะส่งคืนสินทรัพย์ที่มีลักษณะเหมือนกันหรือ มีลักษณะเหมือนกันอย่างมีนัยสำคัญให้แก่ผู้โอนสินทรัพย์ทางการเงินนั้น จะไม่ถูก เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากผู้โอนยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 3 สัญญาซื้อคืนและการให้ยืมหลักทรัพย์ สิทธิในการเปลี่ยนแทน หากสัญญาซื้อคืน ด้วยราคาซื้อคืนที่แน่นอน หรือด้วยราคาที่เท่ากับราคาขายบวกด้วยผลตอบแทน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 119 ของผู้ให้กู้ หรือรา ยการให้ยืมหลักทรัพย์ที่มีลักษณะเหมือนกันซึ่งให้สิทธิผู้รับ โอนในการเปลี่ยนแทนด้วยสินทรัพย์ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันและมีมูลค่ายุติธรรม เท่ากันกับสินทรัพย์ที่โอน ณ วันที่มีการซื้อคืนสินทรัพย์ที่ขายหรือให้ยืมภายใต้ สัญญาซื้อคืนหรือการให้ยืมหลักทรัพย์จะไม่ถูก เลิกรับ รู้ รายการ เนื่องจากผู้โอน ยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสำคัญ ทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 4 สิทธิซื้อคืนลาดับแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม หากกิจการขายสินทรัพย์ทางการเงิน และยังคงมีเพียงสิทธิซื้อคืนลาดับแรกในการซื้อคืนสินทรัพย์ที่โอนด้วยมูลค่า ยุติธร รมหากต่อมาผู้รับโอนขายสินทรัพย์ดังกล่าว กิจการสามารถ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ได้เนื่องจากกิจการได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของ ความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 5 รายการขายและซื้อคืน การซื้อคืนสินทรัพย์ทางการเงินในระยะเวลาอันสั้น ภายหลังจากการขาย ใ นบางครั้งจะถูกพิจารณาว่าเป็นการขายแล้วซื้อคืน การซื้อ คืน ดังกล่าวไม่ได้ขัดขวางการ เลิกรับรู้ รายการ ถ้าหากว่ารายการขายเดิมเป็นไป ตามเงื่อนไขของการ เลิกรับรู้ รายการ อย่างไรก็ตาม หากสัญญาขายสินทรัพย์ทาง การเงินทำขึ้นพร้อมกับสัญญาซื้อคืนสินทรัพย์ประเภทเดียวกันด้วยราคาที่ แน่นอนหรือด้วยราคาขายบวกผลตอบแทนของผู้ให้กู้ สินทรัพย์ดังกล่าวจะไม่ ถูก เลิกรับรู้ รายการ ข 3 . 2 . 16 . 6 สัญญาสิทธิที่จะขายและสัญญาสิทธิที่จะซื้อซึ่งมีฐานะได้กำ ไรอย่างมาก หากสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนสามารถถูกซื้อคืนโดยผู้โอน และสัญญาสิทธิที่จะ ซื้อมีฐานะได้กำไรอย่างมาก การโอนไม่ถือว่าเข้าเงื่อนไขเป็นการ เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากผู้โอนยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มี นัยสาคัญทั้งหมด ในทานองเ ดียวกัน หากสินทรัพย์ทางการเงินสามารถถูกขาย คืนโดยผู้รับโอน และสัญญาสิทธิที่จะขายมีฐานะได้กาไรอย่างมาก การโอนไม่ถือ ว่าเข้าเงื่อนไขเป็นการ เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากผู้โอนยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและ ผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 7 สัญญาสิ ทธิที่จะขายและสิทธิที่จะซื้อซึ่งมีฐานะขาดทุนอย่างมาก สินทรัพย์ ทาง การเงินซึ่งถูกโอนภายใต้สิทธิที่จะขายซึ่งมีฐานะขาดทุนอย่างมากที่ถือโดย ผู้รับโอน หรือสิทธิที่จะซื้อซึ่งมีฐานะขาดทุนอย่างมากที่ถือโดยผู้โอน จะถูก เลิก รับรู้ รายการเนื่องจากผู้โอนได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็น เจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 8 สินทรัพย์ที่มีโอกาสถูกซื้อซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิที่จะซื้อที่ไม่ทำให้เกิดกำไรหรือ ขาดทุนอย่างมาก หากกิจการถือสัญญาสิทธิที่จะซื้อสินทรัพย์ซึ่งสามารถหาได้ ทันทีในตลาด และสัญญาสิทธิที่จะซื้อไม่มีฐานะได้กาไรหรือขาดทุนอย่างมาก สินทรัพย์จะถูก เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจากกิจการ ( 1 ) ไม่ได้คงไว้หรือไม่ได้โอน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 120 ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด และ ( 2 ) ไม่มีอานาจควบคุม อย่างไรก็ตาม หากไม่สามารถหาสินทรัพย์ได้ ทันทีในตลาด การ เลิกรับรู้ รายการจะไม่สามารถทำได้ภายในขอบเขตของจานวนเงินของ สินทรัพย์ซึ่งมีสัญญาสิทธิที่จะซื้อ เนื่องจากกิจการยังคงมีอำนาจควบคุมใน สินทรัพย์ ข 3 . 2 . 16 . 9 สินทรัพย์ที่มีโอกาสที่จะขายซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิที่จะขายที่ออกโดยกิจการซึ่งไม่ทา ให้เกิดกาไรห รือขาดทุนอย่างมาก หากกิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งไม่ สามารถหาได้ทันทีในตลาด และขายสัญญาสิทธิที่จะขายซึ่งไม่มีฐานะขาดทุน อย่างมาก กิจการไม่ได้คงไว้หรือไม่ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความ เป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมดเนื่องจากสัญญาสิทธิที่จะขายดังกล่าว กิจการ ยังคงมีอานาจควบคุมในสินทรัพย์หากสิทธิที่จะขายมีมูลค่ามากพอที่จะทาให้ ผู้รับโอนไม่ขายสินทรัพย์ ในกรณีดังกล่าวสินทรัพย์ยังคงถูกรับรู้ตามขอบเขต ของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของผู้โอน (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 2 . 9 ) และจะถือว่ากิจการ โอนการควบคุมสินทรัพย์หากสัญญาสิทธิที่จะขายไม่มีมูลค่ามากพอที่จะทาให้ ผู้รับโอนไม่ขายสินทรัพย์ ในกรณีดังกล่าวสินทรัพย์จะถูก เลิกรับรู้ รายการ ข 3 . 2 . 16 . 1 0 สินทรัพย์ซึ่งมีสัญญาสิทธิที่จะซื้อ สัญญาสิทธิที่จะขาย หรือสัญญาซื้อคืนล่วงหน้า ด้วยมูลค่ำยุติธรรม การโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีเพียงสัญญาสิทธิที่จะซื้อ สัญญาสิทธิที่จะขาย หรือสัญญาซื้อคืนล่วงหน้า ซึ่งสามารถใช้สิทธิหรือซื้อคืน ด้วยราคาที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่มีการซื้อคืน จะส่งผลให้มีการ เลิกรับรู้ รายการ เนื่องจำกมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด ข 3 . 2 . 16 . 11 สัญญาสิทธิที่จะซื้อหรือสัญญาสิทธิที่จะขายซึ่งจ่ายชำระเป็นเงินสด กิจการ ประเมินการโอนสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมีสัญญาสิทธิที่จะขาย หรือสัญญาสิทธิ ที่จะซื้อ หรือสัญญาซื้อคืนล่วงห น้า ที่จะถูกจ่ายชาระสุทธิด้วยเงินสด เพื่อพิจารณา ว่า กิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญ ทั้งหมดหรือไม่ หากกิจการไม่ได้คงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความ เป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมดในสินทรัพย์ที่โอนให้กิจการพิจารณาว่ากิจการ ยังคงมีอานาจควบคุมในสินทรัพย์ที่โอนหรือไม่ การที่สัญญาสิทธิที่จะขาย หรือ สัญญาสิทธิที่จะซื้อ หรือสัญญาซื้อคืนล่วงหน้าดังกล่าว ถูกจ่ายชาระสุทธิด้วยเงิน สดไม่ได้หมายความว่ากิจการได้ โอนอานาจควบคุมแล้ว (ดูย่อหน้าที่ ข 3 . 2 . 9 และ ข 3 . 2 . 16 . 7 ถึง ข 3 . 2 . 16 . 9 ข้างต้น) ข 3 . 2 . 16 . 12 การยกเลิกการจากัดรายการ คือ สิทธิซื้อคืนอย่างไม่มีเงื่อนไข (สัญญาสิทธิที่จะซื้อ) ซึ่งให้สิทธิกิจการในการเรียกคืนสินทรัพย์ที่โอนโดยขึ้นอยู่กับข้อจากัดบางอย่าง โดยมีเงื่อนไขว่าสัญญาสิทธิที่จะซื้อดังกล่าวต้องส่งผลให้กิจการไม่ได้คงไว้หรือ ไม่ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 121 ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการได้โดยเฉพาะจานวนเงินซึ่งอยู่ภายใต้ เงื่อนไข การซื้อคืน (สมมติว่าผู้รับโอนไม่สามารถขายสินทรัพย์) เช่น หากมูลค่าตาม บัญชี และ จานวนเงินที่ได้จากการโอนสินทรัพย์ที่ให้ยืมเท่ากับ 100,000 และเงินให้ สินเชื่อ แต่ละรายการสามารถเรียกคืนได้ แต่จานวนเงินรวมของเงินให้สิ นเชื่อที่ สามารถถูกซื้อคืน จะต้องไม่เกิน 10,000 โดย 90,000 ของเงินให้สินเชื่อจะเข้า ข่ายเป็นการ เลิกรับรู้ รายการ ข 3 . 2 . 16 . 13 สัญญาซื้อคืนส่วนที่เหลือ กิจการที่อาจเป็นผู้โอนซึ่งให้บริการแก่สินทรัพย์ที่โอน อาจถือสิทธิซื้อคืนส่วนที่เหลือ เพื่อซื้อคืนสินทรัพย์ที่โ อนเมื่อจานวนเงินของ สินทรัพย์คงเหลือมีมูลค่าลดลงถึงระดับที่กาหนดไว้ซึ่งต้นทุนของการให้บริการ ดังกล่าวกลายเป็นภาระของกิจการเมื่อเปรียบเทียบกับกาไรจากการให้บริการ โดยมีเงื่อนไขว่าสิทธิซื้อคืนส่วนที่เหลือดังกล่าวส่งผลให้กิจการไม่ได้คงไว้หรือ ไม่ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด และผู้รับโอนไม่สามารถขายสินทรัพย์ได้ ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการ ได้เฉพาะจำนวนเงินของสินทรัพย์ซึ่งอยู่ภำยใต้สัญญาสิทธิที่จะซื้อ ข 3 . 2 . 16 . 14 ส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิและการค ้าประกันด้านเครดิต กิจการอาจค้าประกัน ส่วนสูญเสียของสินทรัพย์แก่ผู้รับโอนโดยการเข้าไปถือส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิ บางส่วนหรือทั้งหมดในสินทรัพย์ที่โอน หรืออีกทางเลือกหนึ่ง กิจการอาจ ค้าประกั นส่วนสูญเสียของสินทรัพย์แก่ผู้รับโอนในรูปของการค้าประกันด้าน เครดิตซึ่งอาจไม่จากัดหรือจากัดจานวนเงินที่ระบุไว้ หากกิจการยังคงไว้ซึ่งความ เสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญทั้งหมด สินทรัพย์นั้น ยังคงต้องถูกรับรู้ทั้งจานวน หากกิจการยังคงไว้ซึ่งควำมเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญและยังคงมีอำนาจควบคุมบางส่วน ซึ่งจะ ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการได้สาหรับจานวนเงินสดหรือสินทรัพย์อื่นที่กิจการ สามารถถูกเรียกให้จ่ายชาระ ข 3 . 2 . 16 . 15 สัญญาแลกเปลี่ยนผลตอบแทนทั้งหมด กิจการอาจขายสินทรัพย์ทางการเงิ น ให้แก่ผู้รับโอนและเข้าทาธุรกรรมแลกเปลี่ยนผลตอบแทนทั้งหมดกับผู้รับโอน ซึ่งกระแสเงินสดจากดอกเบี้ยจ่ายทั้งหมดของสินทรัพย์อ้างอิงจะถูกส่งให้แก่ กิจการเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการจ่ายชำระด้วยจำนวนเงินคงที่หรือ การจ่ายชาระด้วยอัตราผันแปร และการเพิ่มขึ้นหรื อการลดลงใดๆ ในมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์อ้างอิงกิจการจะเป็นผู้ชดเชย ดังนั้น ในกรณีดังกล่าวจะ ไม่สามารถ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทั้งจำนวน ข 3 . 2 . 16 . 16 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย กิจการอาจโอนสินทรัพย์ทางการเงินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ให้แก่ผู้รับโอนและเข้าทาสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับ ผู้รับโอน เพื่อรับอัตราดอกเบี้ยคงที่และจ่ายอัตราดอกเบี้ยผันแปรโดยอ้างอิง จาก จำนวนเงินตามสัญญาซึ่งเท่ากับจำนวนเงินต้นของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 122 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยไม่ได้ทาให้สินทรัพย์ที่โอนไม่สามารถถูก เลิก รับรู้ หากการจ่ายชาระของสัญญาแลกเปลี่ยนไม่ได้ขึ้นอยู่กับการจ่ายชาระสินทรัพย์ ที่โอน ข 3 . 2 . 16 . 17 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยแบบตัดจาหน่าย กิจการอาจโอนสินทรัพย์ ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ย คงที่ซึ่งมีการทยอยลดเงินต้นตลอดช่วงระยะเวลา หนึ่งให้แก่ผู้รับโอนและเข้าทาสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยแบบตัดจาหน่าย กับผู้รับโอนเพื่อรับอัตราดอกเบี้ยคงที่และจ่ายอัตราดอกเบี้ยผันแปรโดยอ้างอิง กับจำนวนเงินตามสัญญา ถ้าจำนวนเงินตามสัญญามีการตัดจำหน่ายตาม ระยะเวลาซึ่ งเท่ากับจานวนเงินต้นของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนการแลกเปลี่ยน ดังกล่าวจะทาให้กิจการยังคงมีความเสี่ยงจากการชำระคืนก่อนครบกำหนด ในกรณีดังกล่าวกิจการยังคงรับรู้สินทรัพย์ที่โอนทั้งหมดหรือสินทรัพย์ที่โอนตาม ขอบเขตของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในทางกลับกัน หากการตัดจาหน่ายมูลค่า อ้างอิงตามสัญญาของสัญญาแลกเปลี่ยนไม่สัมพันธ์กับยอดคงเหลือของเงินต้น ของสินทรัพย์ที่โอน สัญญาแลกเปลี่ยนดังกล่าวไม่ส่งผลให้กิจการยังคงไว้ซึ่ง ความเสี่ยงจากการชำระเงินก่อนครบกำหนดของสินทรัพย์ ดังนั้น กิจการ สามารถ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ที่ โอนได้ โดยมีเงื่อนไขว่าการจ่ายชาระของ สัญญาแลกเปลี่ยนไม่ได้ขึ้นอยู่กับการจ่ายชาระดอกเบี้ยของสินทรัพย์ที่โอน และ สัญญาแลกเปลี่ยนไม่ได้ส่งผลให้กิจการยังคงไว้ซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญใดๆ ในสินทรัพย์ที่โอน ข 3 . 2 . 16 . 18 การตัดออกจาก บัญชี กิจการไม่มีการคาดคะเนอย่างสมเหตุสมผลในการได้รับคืน กระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินทั้งหมดหรือบางส่วน ข 3 . 2 . 17 ย่อหน้านี้แสดงถึงการนาการพิจารณาความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ มาถือปฏิบัติเมื่อกิจการยังคงมี ความเกี่ยวข้อง คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินบางส่วน สมมติว่ากิจการมีกลุ่มของเงินให้สินเชื่อที่อาจมีการชำระคืนก่อนครบกำหนดโดยมีอัตรา ดอกเบี้ยตามสัญญาและอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเท่ากับร้อยละ 10 และมีเงินต้นตามราคาทุน ตัดจาหน่ายเท่ากับ 10,000 กิจการได้เข้าทารายการโอนสินทรัพย์โดยได้รั บเงินจานวน 9,115 ผู้รับโอนได้รับสิทธิในเงินต้นที่ได้รับ จานวน 9,000 และได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 9 . 5 ของเงินต้น ดังกล่าว กิจการยังคงสิทธิในเงินต้นที่ได้รับจานวน 1,000 ดอกเบี้ยร้อยละ 10 ของเงินต้น ดังกล่าว และอัตราดอกเบี้ยส่วนเกิน ร้อยละ 0 . 5 ของเงินต้น 9,000 เงินที่ได้รับจากการชาระเงิน ก่อนครบกาหนดจะถูกปันส่วนระหว่างกิจการและผู้รับโอนตามสัดส่วน 1 ต่อ 9 แต่การ ปฏิบัติ ผิดสัญญาใดๆ จะถูกหักออกจากส่วนได้เสียของกิจการจำนวน 1,000 ก่อน จนกว่าส่วนนี้ จะหมดไป มูลค่ายุติธรรมของเงินให้สินเชื่อ ณ วันที่ทารายการเท่ากับ 10,100 และมูลค่ายุติธรรมของ อัตราดอกเบี้ยส่วนเกินที่ร้อยละ 0 . 5 นั้นเท่ากับ 40

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 123 กิจการพิจารณาว่ากิจการได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญ บางส่วน (เช่น ความเสี่ยงจากการชำระเงินก่อนครบกำหนดที่มีนัยสาคัญ) แต่ยังคงไว้ซึ่ง ความเสี่ยงและผลตอบแท นของความเป็นเจ้าของที่มีนัยสาคัญบางส่วน (เนื่องจากกิจการยังมี ส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิ) และยังคงมีอานาจควบคุม ดังนั้น กิจการจึงนาการพิจารณาความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ มาปฏิบัติ ในการถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการวิเคราะห์ธุรกรรม ดังนี้ (ก) การคงไว้ ตามสัดส่วนของส่วนได้เสียจานวน 1,000 บวกด้วย (ข) การมีส่วนได้เสียแบบ ด้อยสิทธิเพื่อให้ การค้าประกันส่วนสูญเสียของสินทรัพย์สาหรับผลขาดทุนด้านเครดิตแก่ผู้รับโอน กิจการคานวณว่าจานวน 9,090 ( 90 % x 10,100 ) ของสิ่งตอบแทนที่ได้รับจานวน 9,115 แสดงถึงสิ่งตอบแทนในสัดส่วนร้อยละ 90 ส่วนที่เหลือของสิ่งตอบแทนที่ได้รับ ( 25 ) แสดงถึง สิ่งตอบแทนที่ได้รับจากส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิเพื่อค้าประกันส่วนสูญเสียของสินทรัพย์ สาหรับผลขาดทุนด้านเครดิตแก่ผู้รับโอน นอกจากนั้น อัตราดอกเบี้ยส่วนเกิน ที่ร้อยละ 0 . 5 แสดงถึ งสิ่งตอบแทนที่ได้รับสาหรับการค้าประกันส่วนสูญเสียของสินทรัพย์ ดังนั้น สิ่งตอบแทน ที่ ได้รับทั้งหมดสาหรับการค้าประกันส่วนสูญเสียของสินทรัพย์เท่ากับ 65 ( 25 + 40 ) กิจการคานวณกาไรหรือขาดทุนจากการขายร้อยละ 90 ของกระแสเงินสด สมมติว่ามูลค่า ยุติธรรมสาหรับส่วนของ ร้อยละ 10 ที่คงไว้ และร้อยละ 90 ที่โอน ไม่สามารถหาได้แยก ต่างหาก ณ วันที่ทารายการ กิจการปันส่วนมูลค่าตามบัญชีตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 3 . 2 . 14 ดังนี้ กิจการคานวณกาไรหรือขาดทุนจากการขายส่วนร้อยละ 90 ของกระแสเงินสด โดยการหัก มูลค่าตามบัญชีของส่วนที่โอนจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับ ซึ่งเท่ากับ 90 ( 9,090 – 9,000 ) มูลค่า ตามบัญชีของส่วนที่กิจการคงไว้คือ 1,000 นอกจากนั้น กิจการรับรู้ความเกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง ที่คงอยู่ ซึ่งเป็นผลมาจากการถือส่วนได้เสีย แบบด้อยสิทธิสาหรับผลขาดทุนด้านเครดิต ดังนั้น กิจการรับรู้สินทรัพย์ด้วยจานวน 1,000 (จานวนสูงสุดที่จะไม่ได้รับจากการมีส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิ) และรับรู้หนี้สินที่เกี่ ยวข้อง จานวน 1,065 (ซึ่งคือจานวนสูงสุดที่จะไม่ได้รับจากการมีส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิซึ่งเท่ากับ 1,000 บวกด้วยมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิจำนวน 65 ) มูลค่ายุติธรรม ร้อยละ การปันส่วน มูลค่าที่แสดงในบัญชี ส่วนที่โอน 9,090 90 % 9,000 ส่วนที่คงไว้ 1,010 10 % 1,000 10,100 10,000

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 124 กิจการใช้ข้อมูลทั้งหมดข้างต้นในการบันทึกบัญชีดังนี้ เดบิต เครดิต สินทรัพย์เดิม - 9,000 รับรู้สินทรัพย์จากการมีส่วนได้เสียแบบ ด้อยสิทธิ หรือส่วนได้เสียคงเหลือ 1,000 - รับรู้สินทรัพย์สาหรับสิ่งตอบแทนที่ ได้รับในรูปของ อัตราดอกเบี้ยส่วนเกิน 40 - กำไรหรือขาดทุน (กำไรจากการโอน) - 90 หนี้สิน - 1,065 เงินสดรับ 9,115 - รวม 10,155 10,155 ภายหลังจากเกิดรายการ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์เท่ากับ 2,040 ซึ่งประกอบด้วยจานวน 1,000 ที่แสดงถึงการปันส่วนต้นทุนของส่วนที่คงไว้ และจำนวน 1,040 ที่แสดงถึง ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการจากการมีส่วนได้เสียแบบด้อยสิทธิสาหรับผลขาดทุนด้าน เครดิต (ซึ่งรวมถึงอัตราดอกเบี้ยส่วนเกิน จำนวน 40 ) ในรอบระยะเวลาต่อมา กิจการรับรู้สิ่งตอบแทนที่ได้รับสาหรับการค้าประกันส่วนสูญเสีย ของสินทรัพย์ ( 65 ) ตามสัดส่วนของระยะเวลา รับรู้ดอกเบี้ยค้างรับจากสิ นทรัพย์ที่รับรู้โดยใช้ วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง และรับรู้การด้อยค่าของเงินให้สินเชื่อ ของสินทรัพย์ที่รับรู้ เช่น สมมติว่า ในปีถัดมามีการขาดทุนจากการด้อยค่าจากเงินให้สินเชื่อที่เป็นสินทรัพย์อ้างอิงจานวน 300 ดังนั้นกิจการลดมูลค่าสินทรัพย์ที่ได้รับรู้ไว้แล้วนั้ นด้วยจานวน 600 ( 300 ที่เกี่ยวข้องกับ ส่วนได้เสียที่คงไว้ และ 300 ที่เกี่ยวข้องกับความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ซึ่งเกิดขึ้นจากส่วนได้เสีย แบบด้อยสิทธิสาหรับการขาดทุนจากการด้อยค่า) และลดหนี้สินที่รับรู้จานวน 300 ทาให้มีผล กำไรหรือขาดทุนสุทธิจากการด้อยค่าจานวน 300 การ เลิกรับรู้ รายการของหนี้สินทางการเงิน (หมวดที่ 3 . 3 ) ข 3 . 3 . 1 หนี้สินทางการเงิน (หรือบางส่วนของหนี้สินทางการเงิน) จะถูกตัดออกจากบัญชีเมื่อลูกหนี้ มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งต่อไปนี้ ข 3 . 3 . 1 . 1 จ่ายชาระหนี้สิน (หรือบางส่วนของหนี้สิน) คืนแก่เจ้าหนี้ ซึ่งโดยปกติจ่ายชาระด้วย เงินสด สินทรัพย์ทางการเงินอื่น สินค้าหรือบริการ หรือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 125 ข 3 . 3 . 1 . 2 หลุดพ้นจากความรับผิดชอบตามกฎหมายสาหรับหนี้สินนั้น (หรือบางส่วนของ หนี้สิน) โดยกระบวนการทางกฎหมายหรือโดยเจ้าหนี้ (หากลูกหนี้ให้การค้าประกัน อาจยังคงเข้าเงื่อนไขนี้ได้) ข 3 . 3 . 2 หากผู้ออกตราสารหนี้ซื้อตราสารนั้นกลับคืนมา หนี้สินจะถูกยกเลิก ถึงแม้ว่าผู้ออกเป็นผู้เสนอ ราคาซื้อขายปกติของตราสารนั้นหรือมีความตั้งใจที่จะขายคืนในระยะเวลาอันใกล้ ข 3 . 3 . 3 การจ่ายชำระหนี้ให้กับบุคคลที่สามซึ่งรวมถึงทรัสต์ (ในบางครั้งเรียกว่า ‘ in - substanc e defeasance ’) โดยกิจการไม่ได้ช่วยลดภาระผูกพันหลักที่ลูกหนี้มีต่อเจ้าหนี้ โดยไม่มีการปลดหนี้ ตามกฎหมาย ข 3 . 3 . 4 หากลูกหนี้จ่ายชาระหนี้ให้แก่บุคคลที่สามเพื่อให้รับภาระผูกพันในหนี้สินและแจ้งแก่เจ้าหนี้ว่า บุคคลที่สามได้รับภาระผูกพันในหนี้สินไว้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ สามารถ เลิกรับรู้ รายการภาระผูกพัน ในหนี้สินได้ เว้นแต่จะเป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ ข 3 . 3 . 1 . 2 หากลูกหนี้จ่ายชาระหนี้ให้แก่ บุคคลที่สามเพื่อให้รับภาระผูกพันในหนี้สินและได้รับการปลดหนี้ตามกฎหมายจากเจ้าหนี้ ลูกหนี้ สามารถตัดบัญชีหนี้สินนั้นได้ อย่างไรก็ตาม หากลูกหนี้ตกลงจะชาระหนี้ให้แก่บุคคลที่สาม หรือ ชาระหนี้โดยตรงไปยังเจ้าหนี้เดิม ให้ลูกหนี้รับรู้ภาระผูกพันในหนี้สินใหม่ที่มีต่อบุคคลที่สาม ข 3 . 3 . 5 ถึงแม้ว่าการปลดหนี้ตามกฎหมายไม่ว่าจะโดยกระบวนการทางกฎหมายหรือโดยเจ้าหนี้ ส่งผลให้มีการ เลิกรับรู้ รายการหนี้สิน กิจการอาจรับรู้หนี้สินใหม่หากสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน ไม่เข้าเงื่อนไขการ เลิกรับรู้ รายการตามย่อหน้าที่ 3 . 2 . 1 ถึง 3 . 2 . 23 หากไม่เป็นไปตามเงื่อนไข ดังกล่าว สินทรัพย์ที่โอนจะไม่ถูก เลิกรับรู้ รายการ และกิจการต้องรับรู้หนี้สินใหม่ที่เกี่ยวข้องกับ สินทรัพย์ที่โอน ข 3 . 3 . 6 เพื่อวัตถุประสงค์ของย่อหน้าที่ 3 . 3 . 2 เงื่อนไขถือว่ามีความแตกต่างอย่างยิ่งหากมูลค่า ปัจจุบันคิดลดของกระแสเงินสดภายใต้เงื่อนไขใหมซึ่งรวมค่าธรรมเนียมจ่ายใดๆ สุทธิ ด้วยค่าธรรมเนียมรับใดๆ และคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเดิม มีความแตกต่าง อย่างน้อยร้ อยละ 10 จากมูลค่าปัจจุบันคิดลดของกระแสเงินสดคงเหลือของหนี้สิน ทางการเงินเดิมในการพิจารณาค่าธรรมเนียมจ่ายสุทธิด้วยค่าธรรมเนียมรับ ให้ผู้กู้ยืมรวม เพียงค่าธรรมเนียมจ่ายหรือรับระหว่างผู้กู้ยืมและผู้ให้กู้ยืมเท่านั้นโดยรวมค่าธรรมเนียมจ่าย หรือรับที่ผู้กู้ยืมหรื อผู้ให้กู้ยืมกระทาในนามของผู้อื่นด้วย ข 3 . 3 . 6 ก หากการแลกเปลี่ยนตราสารหนี้หรือการปรับแต่งเงื่อนไขได้ถือว่าเป็นการสิ้นสุดของหนี้สิน ให้รับรู้ต้นทุนหรือค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของผลกำไรหรือผลขาดทุน จากการสิ้นสุดของหนี้สิน หากการแลกเปลี่ยนหรือการปรับแต่งเงื่อนไขไม่ถือว่าเป็นการสิ้นสุด ของหนี้สิน ให้ปรับปรุงต้นทุนหรือค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นกับมูลค่าตามบัญชีของหนี้สินและ ตัดจาหน่ายตลอดระยะเวลาคงเหลือของหนี้สินที่มีการปรับแต่ง ข 3 . 3 . 7 ในบางกรณี เจ้าหนี้ปลดลูกหนี้จากภาระผูกพันใน การจ่ายชาระหนี้ แต่ลูกหนี้รับภาระใน การค้า ประกันการจ่ายชำระหากคู่สัญญาที่เป็นผู้รับผิดชอบหลักจากการปฏิบัติผิดสัญญา ในสถานการณ์ ดังกล่าวให้ลูกหนี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 126 ข 3 . 3 . 7 . 1 รับรู้หนี้สินทางการเงินใหม่ ด้วยมูลค่ายุติธรรมของภาระผูกพันสาหรับการค้าประกัน และ ข 3 . 3 . 7 . 2 รับรู้กาไรหรือขาดทุนจากผลต่างระหว่าง ( 1 ) การจ่ายใดๆ และ ( 2 ) มูลค่าตามบัญชี ของหนี้สินทางการเงินเดิมหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินใหม่ การจัดประเภทรายการ (บทที่ 4 ) การจัดประเภทรายการของสินทรัพย์ทางการเงิน ( หมวดที่ 4 . 1 ) ทางเลือกในการเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน (หมวดที่ 4 . 1 และ 4 . 2 ) ข 4 . 1 . 1 ตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 และ 4 . 2 . 2 แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้อนุญาตให้กิจการ เลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงินหรือกลุ่มของเครื่องมือทางการเงิน (สินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงินหรือทั้งสองประเภท) แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรหรือขาดทุนโดยการการวัดมูลค่าด้วยวิธีนี้ส่งผลให้มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องมากขึ้น ข 4 . 1 . 2 การตัดสินใจของกิจการที่จะเลือกกาหนด ให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินแสดง ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนจะคล้ายกับการเลือกใช้นโยบายการบัญชี (ถึงแม้จะ แตกต่างจากการเลือกนโยบายการบัญชีคือไม่จาเป็นต้องนามาถือปฏิบัติกับธุรกรรมที่คล้ายกัน ทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง) เมื่อกิจการมีทางเลือกตำมย่อหน้าที่ 14 . 2 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 กาหนดว่านโยบายการบัญชีที่เลือกใช้ทาให้งบการเงินให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ และ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจมากขึ้นสาหรับส่วนที่เกี่ยวกับผลกระทบของรายการ เหตุการณ์อื่น หรือ สถานการณ์ที่มีต่อฐานะการเงิน ผลการดาเนินการ และกระแสเงินสดของกิจการ เช่น ในกรณีที่ กิจการเลือกกาหนดให้หนี้สินทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ย่อ หน้าที่ 4 . 2 . 2 กล่าวถึงสองกรณีที่จะต้องให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มากขึ้น ดังนั้นในกา รเลือก ดังกล่าวตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 กิจการจะต้องแสดงให้เห็นถึงการเลือกหรือไม่เลือกตาม สถานการณ์ทั้งสองสถานการณ์ การเลือกกาหนดเพื่อขจัดหรือลดการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชีอย่างมีนัยสาคัญ ข 4 . 1 . 3 การวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน และการรับรู้การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่าที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยู่กับการจัดประเภทของเครื่องมือทางการเงินและการพิจารณาว่า เครื่องมือทางการเงินนั้นถือเป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงที่เลือก กาหนดขึ้นหรือไม่ ข้อกาหนดดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความไม่สอดคล้องใ นการวัดมูลค่าและ การรับรู้รายการ (บางครั้งอาจอ้างอิงถึงการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี) เช่น หากกิจการไม่เลือกกาหนดให้เครื่องมือทางการเงินแสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน สินทรัพย์ทางการเงินรายการหนึ่งอาจจัดประเภท และวัดมูลค่าภาย หลังด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ในขณะที่หนี้สินอีกรายการหนึ่งที่กิจการพิจารณาว่ามี

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 127 ความเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดังกล่าวต้องวัดมูลค่าภายหลังด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย (ซึ่งไม่มี การรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม) จากสถานการณ์ดังกล่าว กิจการอา จได้ข้อสรุปว่า งบการเงินของกิจการจะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจได้มากกว่าหากทั้งสินทรัพย์และ หนี้สินนั้นมีการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ข 4 . 1 . 4 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึงกรณีที่เข้าเงื่อนไขที่กาหนดข้างต้น ซึ่งในทุกกรณีกิจการอาจ ใช้ เงื่อนไขข้างต้นในการเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินแสดงด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนได้หากเป็นไปตามหลักการในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 หรือ 4 . 2 . 2 . 1 ข 4 . 1 . 4 . 1 กิจการมีหนี้สินภายใต้สัญญาประกันภัยซึ่งการวัดมูลค่าได้นาข้อมูลในปัจจุบัน มาร่วมพิจารณา (ตามที่อนุญาตในย่อหน้าที่ 24 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 ) และมีสินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการพิจารณาว่ามีความเกี่ยวข้องกัน ซึ่ง ในกรณีดังกล่าวหากกิจการไม่กาหนดให้แสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนจะถูกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือ ราคาทุนตัดจาหน่าย ข 4 . 1 . 4 . 2 กิจการมีสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน หรือทั้งสองประเภทซึ่งมีการร่วม รั บความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมในทิศทางตรงข้ามกันและมีแนวโน้มที่จะหักกลบกันในที่สุด อย่างไรก็ตาม มีเพียงเครื่องมือทางการเงินบางประเภทเท่านั้นที่มีการวัดมูลค่า ที่มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาด ทุน (ได้แก่ อนุพันธ์ หรือที่ถูกจัดประเภทเป็น ถือไว้เพื่อค้า) นอกจากนี้ อาจรวมถึงกรณีที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดของการบัญชี ป้องกันความเสี่ยง เช่น ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในเรื่องความมีประสิทธิผลในการ ป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ข 4 . 1 . 4 . 3 กิจการมีสิ นทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน หรือทั้งสองประเภทซึ่งมีการร่วม รับความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมในทิศทางตรงข้ามกันและมีแนวโน้มที่จะหักกลบกันในที่สุด และ ไม่มีสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางกำรเงินที่จะเข้าเงื่อนไขเป็นเครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง เนื่องจากไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุน นอกจากนี้ การไม่สามารถปฏิบัติตามการบัญชีป้องกันความเสี่ยงจะทาให้ เกิดความไม่สอดคล้องในการรับรู้รายการกำไรและขาดทุนอย่างมีนัยสำคัญ เช่น กิจการซื้อกลุ่มของเงินให้สินเชื่อโดยการออกหุ้นกู้ที่มีการซื้อขายกันในตลาด โดยที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของทั้งสองรายการดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะ หักกลบกันได้ นอกจากนี้ หากกิจการมีการซื้อขายหุ้นกู้เป็นประจำ แต่แทบจะไม่มี รายการซื้อขายเงินให้สินเชื่ อ การรายงานทั้งเงินให้สินเชื่อและหุ้นกู้ด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนจะช่วยไม่ให้เกิดความไม่สอดคล้องในช่วงเวลาของ การรับรู้รายการกาไรและขาดทุนซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการวัดมูลค่ารายการทั้งสอง ด้วยราคาทุนตัดจำหน่ายและรับรู้กำไรและขาดทุนเมื่อมีการซื้อคืนหุ้น กู้ในแต่ละครั้ง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 128 ข 4 . 1 . 5 กรณีตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าก่อน ซึ่งมีการเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงินวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน จะช่วยขจัดหรือลด ความไม่สอดคล้องของการวัดมูลค่าหรือการรับรู้รายการได้อย่างมีนัยสาคั ญ และให้ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติแล้ว กิจการไม่จาเป็นต้อง วัดมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดหรือรับรู้ความไม่สอดคล้องในช่วงเวลาเดียวกัน การเหลื่อมเวลาที่สมเหตุสมผลอาจเกิดขึ้นได้เนื่องจากรายการที่เกิ ดขึ้นแต่ละรายการได้เลือก กำหนดให้รับรู้มูลค่าเมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน และในขณะที่มี การรับรู้มูลค่าเมื่อเริ่มแรกนั้นสามารถคาดการณ์ได้ว่ารายการอื่นๆ ที่เหลือจะเกิดขึ้น ข 4 . 1 . 6 กิจการไม่ควรเลือกกาหนดให้บางส่วนของสินทรัพย์ทางการเงินและห นี้สินทางการเงินที่มีความ ไม่สอดคล้องกันให้แสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน หากการกาหนด ดังกล่าวไม่ช่วยขจัดหรือลดความไม่สอดคล้องที่เกิดขึ้นได้อย่างมีนัยสาคัญ และไม่ทาให้เกิด ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจได้มากขึ้น แต่กิจการสามารถเลือกกาหนดให้ แสดงมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนกับบางส่วนของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ที่คล้ายคลึงกันจานวนหนึ่งได้ หากการกาหนดดังกล่าวช่วยลดความไม่สอดคล้องที่เกิดขึ้นได้ อย่างมีนัยสาคัญ เช่น กิจการมีหนี้สินทางการเงินที่คล้ายคลึงกันจานวนหนึ่งมูลค่ารวม 100 และมีสินทรัพย์ทางการเงินที่คล้ายคลึงกันจานวนหนึ่งมูลค่ารวม 50 โดยที่สินทรัพย์และหนี้สิน ดั งกล่าววัดมูลค่าบนหลักการที่ต่างกัน กิจการอาจต้องการลดความไม่สอดคล้องในการวัดมูลค่า อย่างมีนัยสาคัญด้วยการเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทั้งหมด และเพียงบางส่วนของหนี้สิน (เช่น หนี้สินแต่ละรายการที่เมื่อรวมกันมีมูลค่ารวม 45 ) ให้รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่า ยุติ ธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากการเลือกกาหนดให้แสดงมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนต้องนำมาถือปฏิบัติกับเครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการ ทั้งจานวน กิจการในตัวอย่างนี้ต้องเลือกกาหนดหนี้สินรายการหนึ่งหรือหลายรายการให้แสดง มูลค่าด้วยมูลค่ายุติ ธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนทั้งจานวน โดยไม่สามารถเลือกกาหนดการวัดมูลค่า ดังกล่าวเฉพาะกับส่วนประกอบใดส่วนประกอบหนึ่งของหนี้สินแต่ละ รายการนั้น (เช่น การเปลี่ยนแปลงสำหรับมูลค่าเฉพาะที่เกิดจากความเสี่ยงประเภทใดประเภทหนึ่ง เช่น การเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ) หรือเฉพาะกับสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่ง (ร้อยละ) ของหนี้สินแต่ละรายการ กลุ่มของหนี้สินทางการเงิน หรือสินทรัพย์ทางการเงิน และหนี้สินทางการเงินถูกจัดการ และประเมินผลบนพื้นฐานของมูลค่ายุติธรรม ข 4 . 1 . 7 กิจการอาจบริหารจัดการกลุ่มหนี้สินทางการเงิน หรือทั้งสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงิน และประเมินผลการบริหารตามลักษณะของการวัดมูลค่ากลุ่มของเครื่องมือ ทางการเงินดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ซึ่งทาให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจมากขึ้น ประเด็นที่สาคัญคือการพิจารณาแนวทางที่ กิจการใช้ในการบริหารและ ประเมินผลการบริหาร แทนการมุ่งเน้นการพิจารณาลักษณะของเครื่องมือทางการเงินนั้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 129 ข 4 . 1 . 8 ตัวอย่างเช่น กิจการอาจใช้เงื่อนไขข้างต้นในการเลือกกาหนดให้หนี้สินทางการเงินแสดงมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนได้หากเป็นไปตามหลักการในย่อ หน้าที่ 4 . 2 . 2 . 2 และ กิจการมีสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน ซึ่งมีการร่วมรับความเสี่ยงตั้งแต่หนึ่ง ประเภทขึ้นไป และความเสี่ยงดังกล่าวถูกบริหารและประเมินผลบนพื้นฐานของมูลค่ายุติธรรม ตามที่กาหนดไว้ในนโยบายการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินที่จัดทาขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น กิจการออกผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ซับซ้อน ซึ่งประกอบไปด้วยอนุพันธ์แฝงหลายประเภทและ มีการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นบนหลักการของมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เครื่องมือทางการเงิน ทั้ งที่เป็นอนุพันธ์และไม่ใช่อนุพันธ์ ข 4 . 1 . 9 ตามที่ได้กล่าวไปข้างต้น เงื่อนไขนี้ขึ้นอยู่กับแนวทางที่กิจการบริหารจัดการและประเมินมูลค่า กลุ่มของเครื่องมือทางการเงินที่กาลังพิจารณา ดังนั้น (ขึ้นอยู่กับข้อกาหนดในเรื่องการเลือก กาหนดการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก) กิ จการซึ่งเลือกกาหนดให้หนี้สินทางการเงินแสดงมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนภายใต้เงื่อนไขข้อนี้ ก็จะเลือกกำหนดหนี้สิน ทางการเงินทุกประเภทที่มีคุณสมบัติซึ่งมีการบริหารและประเมินมูลค่าร่วมกัน ข 4 . 1 . 10 เอกสารต่างๆ เกี่ยวกับกลยุทธ์ของกิจการไม่จาเป็นต้องจัดทาอย่างครอบคลุม แต่ควรเพียงพอ สาหรับการแสดงให้เห็นว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 . 2 เอกสารดังกล่าว ไม่ต้องจัดทำสำหรับเครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการ โดยอาจจัดทำเป็นกลุ่มได้ เช่น หากระบ บในการบริหารแผนกงานหนึ่งๆ ได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสาคัญของกิจการแล้ว สามารถแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการประเมินผลการบริหารแผนกงานอยู่บนหลักการนี้ กิจการไม่จาเป็นต้องจัดทาเอกสารใดเพิ่มเติมเพื่อแสดงว่าเป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 . 2 อีก อนุพันธ์แฝง (หมวดที่ 4 . 3 ) ข 4 . 3 . 1 เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาของสัญญาแบบผสม ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 กาหนดให้กิจการต้องระบุ อนุพันธ์แฝงนั้น และประเมินว่าจำเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลักหรือไม่ ในกรณี ที่จาเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลัก กิจการต้องวัดมูลค่าอนุพันธ์ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกและวัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ข 4 . 3 . 2 หากสัญญาหลักไม่มีการระบุหรือกาหนดวันครบกาหนดไว้ล่วงหน้า และแสดงถึงส่วนได้เสีย คงเหลือในสินทรัพย์สุทธิของกิจการ ลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยง (ของสัญญาหลัก) คือลักษณะของตราสารทุน และอนุพันธ์แฝงจาเป็นต้องมีลักษณะของส่วนได้เสียที่สัมพันธ์กับ กิจการเดียวกันจึงจะพิจารณาได้ว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด หากสัญญาหลักไม่ใช่ตราสาร ทุนและมีลักษณะตามคานิยามของเครื่องมือทางการเงิน ดังนั้นลักษณะเชิงเศรษฐกิจและ ความเสี่ยง (ขอ งสัญญาหลัก) คือลักษณะของตราสารหนี้ ข 4 . 3 . 3 อนุพันธ์แฝงประเภทที่ไม่ใช่สิทธิเลือก (เช่น อนุพันธ์แฝงที่เป็นสัญญาฟอร์เวิร์ด หรือสัญญา แลกเปลี่ยน) จะถูกแยกออกจากสัญญาหลักโดยพิจารณาจากเงื่อนไขที่ระบุไว้ชัดเจนหรือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 130 โดยนัย เพื่อที่จะส่งผลให้อนุพันธ์แฝงดังกล่าวมีมูลค่า ยุติธรรมเท่ากับศูนย์ ณ การรับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรก ส่วนอนุพันธ์แฝงประเภทสิทธิเลือก (เช่น อนุพันธ์แฝงที่เป็นสิทธิเลือกที่จะขาย สิทธิเลือกที่จะซื้อ มูลค่าสูงสุด มูลค่าต่าสุด หรือสิทธิที่จะแลกเปลี่ยน) จะถูกแยกออกจาก สัญญาหลักโดยพิจารณาจากเงื่อนไขของส่วนที่เป็ นสิทธิเลือก มูลค่าของสัญญาหลักที่แสดง ในบัญชีเมื่อเริ่มแรก คือ ส่วนที่เหลือหลังจากแยกอนุพันธ์แฝงออกไปแล้ว ข 4 . 3 . 4 โดยทั่วไปอนุพันธ์แฝงหลายประเภทที่แฝงอยู่ในสัญญาแบบผสมรายการเดียวกัน จะถูกพิจารณาว่าเป็นอนุพันธ์แฝงแบบผสมหนึ่งรายการ อย่างไรก็ตาม อนุพันธ์แฝงที่ ถูกจัด ประเภทเป็นทุน (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่อง การแสดงรายการเครื่องมือ ทางการเงิน) จะถูกบันทึกบัญชีแยกต่างหากจากอนุพันธ์แฝงที่ถูกจัดประเภทเป็นสินทรัพย์หรือ หนี้สิน นอกจากนั้น หากสัญญาแบบผสมที่ประกอบด้วยอนุพันธ์แฝงมากกว่าหนึ่งประเภท และ อนุพันธ์แฝงเหล่านั้นสัมพันธ์กับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงที่แตกต่างกัน และสามารถแยกจากกัน ได้ทันที และเป็นอิสร ะต่อกัน อนุพันธ์แฝงเหล่านี้จะถูกบันทึกบัญชีแยกจากกัน ข 4 . 3 . 5 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงถึงลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยงของอนุพันธ์แฝงที่ไม่มี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสัญญาหลัก (ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 . 1 ) ตามตัวอย่างต่อไปนี้สมมติว่า อนุพันธ์แฝงมีลักษณะตามข้อกาหนดที่ระ บุในย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 . 2 และ 4 . 3 . 2 . 3 โดยกิจการต้อง บันทึกบัญชีอนุพันธ์แฝงแยกต่างหากจากสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 5 . 1 สัญญาสิทธิที่จะขาย ที่แฝงอยู่ในเครื่องมือทางการเงินที่ทาให้ผู้ถือมีสิทธิเรียกร้อง ให้ผู้ออกซื้อคืนเครื่องมือทางการเงินด้วยเงินสดหรือสินทรัพย์อื่น ที่ผันแปรตาม การเปลี่ยนแปลงในราคาหรือดัชนีของหุ้นหรือสินค้าโภคภัณฑ์ จะถือว่าไม่มี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 5 . 2 สิทธิหรือข้อกาหนดโดยอัตโนมัติที่จะขยายระยะเวลาครบกาหนดที่เหลืออยู่ของ ตราสารหนี้ ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิดกับตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลัก เว้นแต่จะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยให้เป็นอัตราตลาดปัจจุบันในช่วงที่มีการขยาย ระยะเวลา หากกิจการออกตราสารหนี้และผู้ถือตราสารหนี้ดังกล่าวมีการขายสิทธิ เลือกที่จะซื้อตราสารหนี้ดังกล่าวให้กับบุคคลที่สาม ผู้ออกจะพิจารณาว่าสิทธิเลื อกที่ จะซื้อดังกล่าวเป็นการขยายระยะเวลาครบกาหนดของตราสารหนี้ ถ้าผู้ออกมี ส่วนร่วมหรืออำนวยความสะดวกในการขายตราสารหนี้ ซึ่งเป็นผลมาจากการ ใช้สิทธิเลือกที่จะซื้อนั้น ข 4 . 3 . 5 . 3 ตราสารหนี้หรือสัญญาประกันภัยที่เป็นสัญญาหลัก ซึ่งการจ่ายเงินต้นหรือดอกเบี้ย สัมพันธ์กับดัชนีตราสารทุนที่แฝงอยู่ถือว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ สัญญาหลัก เนื่องจากความเสี่ยงของสัญญาหลักและอนุพันธ์แฝงไม่คล้ายคลึงกัน ข 4 . 3 . 5 . 4 ตราสารหนี้หรือสัญญาประกันภัยที่เป็นสัญญาหลัก ซึ่งการจ่ายเงินต้นหรือดอกเบี้ ย สัมพันธ์กับดัชนีสินค้าโภคภัณฑ์ที่แฝงอยู่ ถือว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ สัญญาหลัก เนื่องจากความเสี่ยงของสัญญาหลักและอนุพันธ์แฝงไม่คล้ายคลึงกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 131 ข 4 . 3 . 5 . 5 สัญญาสิทธิที่จะซื้อ สัญญาสิทธิที่จะขาย สิทธิชาระเงินก่อนครบกาหนด ที่แฝงอยู่ ในตราสารหนี้ที่เป็นสั ญญาหลักหรือสัญญาประกันภัย ถือว่าไม่มีความสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับสัญญาหลัก เว้นแต่ ข 4 . 3 . 5 . 5 . 1 ราคาใช้สิทธิจะเท่ากับราคาทุนตัดจาหน่ายโดยประมาณของตราสารหนี้ ในวันที่มีการใช้สิทธิแต่ละครั้งหรือมูลค่าตามบัญชีของสัญญา ประกันภัยหลัก หรือ ข 4 . 3 . 5 . 5 . 2 ราคาใช้สิทธิของสิทธิชาระเงินก่อนครบกาหนดสามารถคืนเงินให้แก่ ผู้ให้กู้เป็นจานวนเงินเท่ากับมูลค่าปัจจุบันโดยประมาณของดอกเบี้ยที่ สูญเสียไปจากระยะเวลาที่เหลือของสัญญาหลัก ดอกเบี้ยที่สูญเสียไป เท่ากับเงินต้นที่จ่ายคืนก่อนครบกาหนดคูณด้วยความแตกต่างของ อัตราดอกเบี้ย ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยคือส่วนเกินของอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงของสัญญาหลักกับอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่กิจการ จะได้รับ ณ วันที่ชาระเงินก่อนครบกาหนด ถ้านากลับไปลงทุนใหม่ใน สัญญาที่คล้ายคลึงกันสาหรับระยะเวลาที่เหลือของสัญญาหลัก การประเมินว่าสัญญาสิทธิที่จะซื้อหรือสัญญาสิทธิที่จะขายมีความสัมพันธ์อย่าง ใกล้ชิดกับตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลักหรือไม่ จะถูกพิจารณาก่อนที่จะมีการแยก องค์ประกอบที่เป็นทุน ภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ข 4 . 3 . 5 . 6 อนุพันธ์ด้านเครดิต ที่แฝงอยู่ในตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลักและอนุญาตให้ คู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ( “ ผู้รับผลประโยชน์ ”) โอนความเสี่ยงด้านเครดิตของสินทรัพย์ อ้างอิงเฉพาะรายการ ซึ่งอาจไม่มีความเป็นเจ้าของไปยังคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ( “ ผู้ค้าประกัน ” ) และถือว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกั บตราสารหนี้ที่เป็น สัญญาหลัก อนุพันธ์ด้านเครดิตดังกล่าวอนุญาตให้ผู้ค้าประกันรับโอนความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์อ้างอิง โดยไม่จาเป็นต้องเป็นเจ้าของสินทรัพย์นั้นโดยตรง ข 4 . 3 . 6 ตัวอย่างของสัญญาแบบผสม ได้แก่ เครื่องมือทางการเงินที่ให้สิทธิผู้ถือในการขายเครื่ องมือ ทางการเงินคืนให้แก่ผู้ออก โดยแลกกับเงินสดหรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่นที่ผันแปรตาม การเปลี่ยนแปลงของดัชนีตราสารทุนหรือดัชนีสินค้าโภคภัณฑ์ซึ่งอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง ( “ เครื่องมือทางการเงินที่มีสิทธิขายคืน ” ) เว้นแต่ผู้ออกจะเลือกกาหนดในการรับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกให้เครื่องมือทางการเงินที่มีสิทธิขายคืนเป็นหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวจะถูกกาหนดให้แยกอนุพันธ์ แฝงออกมา (เช่น การจ่ายเงินต้นตามดัชนี) ตามย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 เนื่องจากสัญญาหลักคื อ ตราสารหนี้ภายใต้ย่อหน้าที่ ข 4 . 3 . 2 และการจ่ายเงินต้นตามดัชนีไม่มีความสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลัก ภายใต้ย่อหน้าที่ ข 4 . 3 . 5 . 1 ทั้งนี้ เนื่องจาก การจ่ายคืนเงินต้นสามารถเพิ่มขึ้นและลดลง จึงถือว่าอนุพันธ์แฝงเป็นอนุพันธ์ประเภทที่ไม่ให้ สิทธิเลือกที่จะซื้อหรือจะขาย โดยมูลค่าของอนุพันธ์แฝงดังกล่าวจะถูกกาหนดตามตัวแปร อ้างอิง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 132 ข 4 . 3 . 7 ในกรณีของเครื่องมือทางการเงินที่ให้สิทธิขายคืน ซึ่งสามารถขายคืนได้ตลอดเวลา โดยได้รับ เงินสดในจานวนเท่ากับสัดส่วนที่ถื ออยู่ในมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกิจการ (เช่น หน่วยลงทุนใน กองทุนเปิด หรือ กรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน) การแยกอนุพันธ์แฝงและบันทึกบัญชี สาหรับแต่ละองค์ประกอบ ทาให้ทราบมูลค่าไถ่ถอนของสัญญาแบบผสม ซึ่งต้องชาระ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน หากผู้ถือใช้สิทธิใ นการขายเครื่องมือทางการเงินนั้นคืนให้กับผู้ออก ข 4 . 3 . 8 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงถึงลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยงของอนุพันธ์แฝงที่มีความสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับลักษณะเชิงเศรษฐกิจและความเสี่ยงของสัญญาหลัก ในตัวอย่างเหล่านี้ กิจการ ไม่ต้องบันทึกบัญชีอนุพันธ์แฝงแยกต่ำงหากจากสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 8 . 1 อนุพันธ์แฝงซึ่งตัวแปรอ้างอิง คืออัตราดอกเบี้ยหรือดัชนีอัตราดอกเบี้ยซึ่งสามารถ เปลี่ยนแปลงจานวนเงินของดอกเบี้ยที่จะถูกจ่ายหรือที่จะได้รับจากสัญญาหลักที่ เป็นสัญญาหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยหรือสัญญาประกันภัย ถือว่ามีความสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับสัญญาหลัก เว้นแต่ สัญญาแบบผสมที่สามารถจ่ายชาระโดยที่ผู้ถือ ไม่ได้รับเงินลงทุนคืนในส่วนที่มีนัยสาคัญทั้งหมด หรืออนุพันธ์แฝงสามารถเพิ่ม อัตราผลตอบแทนเมื่อเริ่มต้นจากสัญญาหลักให้แก่ผู้ถือได้อย่างน้อยสองเท่า และ ส่งผลให้ได้รับอั ตราผลตอบแทนอย่างน้อยสองเท่าจากอัตราผลตอบแทนตลาด สาหรับสัญญาที่มีเงื่อนไขเหมือนกับสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 8 . 2 อัตราต่าสุดหรืออัตราสูงสุดที่แฝงอยู่ในอัตราดอกเบี้ยของ สัญญาหนี้สินหรือสัญญา ประกันภัย ถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสัญญาหลัก หากอัตราสูงสุดที่ กำหนดไว้เท่ำกับหรือสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตลาด และอัตราต่าสุดที่กำหนดไว้ เท่ากับหรือต่ากว่าอัตราดอกเบี้ยตลาดในขณะที่มีการออกสัญญานั้น และอัตรา สูงสุดหรืออัตราต่าสุดนั้นไม่ได้เป็นการปรับมูลค่าทางการเงินเมื่อเปรียบเทียบกับ สัญญาหลัก ในทานองเดียวกัน เงื่อนไขที่ประกอบอยู่ในสั ญญาเพื่อซื้อหรือขาย สินทรัพย์ (เช่น สินค้าโภคภัณฑ์) ที่กาหนดอัตราสูงสุดและอัตราต่าสุดของราคาที่ จะจ่ายหรือได้รับสำหรับสินทรัพย์นั้น ถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ สัญญาหลัก หากทั้งอัตราสูงสุดและอัตราต่าสุดอยู่ในฐานะขาดทุน ณ วันเริ่มต้น และไม่ได้มีผลในการ การปรับมูลค่าทางการเงิน ข 4 . 3 . 8 . 3 อนุพันธ์แฝงประเภทอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งทาให้การจ่ายเงินต้น หรือดอกเบี้ยถูกกาหนดเป็นเงินตราต่างประเทศและแฝงอยู่ในตราสารหนี้ที่เป็น สัญญาหลัก (เช่น หุ้นกู้ที่มีสองอัตราแลกเปลี่ยน ( dual currency bond )) จะถือว่า มีค วามสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับตราสารหนี้ที่เป็นสัญญาหลัก โดยอนุพันธ์ดังกล่าว ไม่ต้องถูกแยกออกจากสัญญาหลัก เนื่องจากมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรำ ต่างประเทศ กาหนดให้กาไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของรายการที่ เป็นตัวเงินต้องถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 133 ข 4 . 3 . 8 . 4 อนุพันธ์แฝงประเภทอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งแฝงอยู่ในสัญญาหลัก ซึ่งเป็นสัญญาประกันภัย หรือไม่ใช่เครื่องมือทางการเงิน (เช่น สัญญาใน การซื้อ หรือขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินซึ่งราคาของรายการดังกล่าวถูกกาหนด เป็นเงินตราต่างประเทศ) จะถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสัญญาหลัก ถ้าไม่มีการปรับมูลค่าทางการเงิน ไม่มีลักษณะของสิทธิเลือก และกาหนดให้การ จ่ายเงินทาในสกุลเงินใดสกุลเงินหนึ่ งต่อไปนี้ ข 4 . 3 . 8 . 4 . 1 สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของคู่สัญญาใดๆ ในสัญญานั้น ข 4 . 3 . 8 . 4 . 2 สกุลเงินซึ่งราคาของสินค้าหรือบริการที่จะได้รับมาหรือที่จะต้องส่ง มอบถูกกาหนดเป็นปกติในการค้าทั่วโลก (เช่น สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐสาหรับรายการซื้อขายน้ามันดิบ) ข 4 . 3 . 8 . 4 . 3 สกุลเงินซึ่งใช้โดยทั่วไปในสัญญาซื้อหรือขายรายการที่ไม่ใช่รายการ ทางการเงินในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งรายการนั้นเกิดขึ้น (เช่น สกุลเงินที่มีความมั่นคงและมีสภาพคล่อง ซึ่งใช้โดยทั่วไปใน ธุรกิจของท้องถิ่นหรือการค้าทั่วโลก) ข 4 . 3 . 8 . 5 สิทธิที่จะชาระเงินก่อนครบกาหน ดที่แฝงอยู่ในส่วนที่เป็นดอกเบี้ยเพียงอย่างเดียว หรือ ส่วนที่เป็นเงินต้นเพียงอย่างเดียว ถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ สัญญาหลัก ถ้าหากว่าสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 8 . 5 . 1 เกิดขึ้นจากการแยกสิทธิที่จะรับกระแสเงินสดตามสัญญาของ สินทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งสัญญาหลักไม่มีอนุ พันธ์แฝง และ ข 4 . 3 . 8 . 5 . 2 ไม่มีเงื่อนไขใดที่ไม่ได้แสดงอยู่ใน สัญญา หนี้เดิมที่เป็นสัญญาหลัก ข 4 . 3 . 8 . 6 อนุพันธ์แฝงในสัญญาเช่าที่เป็นสัญญาหลัก ถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ สัญญาหลัก หากอนุพันธ์แฝงคือ ข 4 . 3 . 8 . 6 . 1 ดัชนีที่เกี่ยวข้องกับเงินเฟ้อ เช่น ดัชนีการจ่ายค่าเช่าต่อดัชนีราคา ผู้บริโภค (ถ้าหากว่าสัญญาเช่านั้นไม่มีการปรับมูลค่าทางการเงิน และดัชนีมีความสัมพันธ์กับเงินเฟ้อในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ของกิจการ) ข 4 . 3 . 8 . 6 . 2 ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นที่มีเงื่อนไขอ้างอิงกับการขายที่เกี่ยวข้อง หรือ ข 4 . 3 . 8 . 6 . 3 ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นที่มีเงื่อนไขอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยผันแปร ข 4 . 3 . 8 . 7 กรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน ที่แฝงอยู่ในเครื่องมือทางการเงินหลักหรือ สัญญาประกันภัยที่เป็นสัญญาหลักจะถือว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสัญญา หลักดังกล่าว หากการจ่ายเงินถูกกาหนดในรูป ของหน่วยลงทุนที่สะท้อนมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ในกองทุน ลักษณะของกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน เป็นเงื่อนไขตามสัญญาที่กำหนดการจ่ายเงินชำระเงินในรูปของหน่วยของเงิน ลงทุนในกองทุนทั้งภายในและภายนอก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 134 ข 4 . 3 . 8 . 8 อนุพันธ์ที่แฝงอยู่ในสัญญาประกันภัยจะถือว่ามีความสัม พันธ์ใกล้ชิดกับสัญญา ประกันภัยซึ่งเป็นสัญญาหลัก หากอนุพันธ์แฝงและสัญญาประกันภัยที่เป็นสัญญา หลักมีความเกี่ยวข้องกันจนทาให้กิจการไม่สามารถวัดมูลค่าของอนุพันธ์แฝงแยก ต่างหากได้ (นั่นคือ ไม่สามารถวัดมูลค่าแยกต่างหาก โดยไม่พิจารณาควบคู่ไปกับ สัญญาหลักได้) ตราสารที่ มีอนุพันธ์แฝง ข 4 . 3 . 9 ตามที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ ข 4 . 3 . 1 เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาของสัญญาแบบผสมที่สัญญาหลัก ไม่ได้เป็นสินทรัพย์ที่อยู่ในขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ และมีอนุพันธ์แฝงหนึ่ง รายการหรือมากกว่า ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 กาหนดให้กิจการต้องระบุอนุพันธ์แฝงนั้น และประเมิน ว่าจาเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลักหรือไม่ ในกรณีที่จาเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลัก กิจการต้องวัดมูลค่าอนุพันธ์ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกและวัดมูลค่า ภายหลัง ข้อกาหนดนี้อาจจะทาให้การวัดมู ลค่าซับซ้อนยิ่งขึ้นหรือมีความน่าเชื่อถือน้อยลงกว่า การวัดมูลค่าตราสารทั้งหมดด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ด้วยเหตุผลดังกล่าว แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้จึงอนุญาตให้สามารถเลือกกาหนดให้สัญญาแบบผสมทั้งหมด วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ข 4 . 3 . 10 ข้อกำหนดดังกล่าวสามารถนำไปปฏิบัติได้ แม้ว่าย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 จะกำหนดให้ต้องแยก อนุพันธ์แฝงจากสัญญาหลัก หรือห้ามไม่ให้แยกจากสัญญาหลัก อย่างไรก็ตาม ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 4 อาจไม่เหมาะสมที่จะนาไปใช้ในการเลือกกาหนดให้สัญญาแบบผสมแสดงมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 3 . 4 . 1 และ 4 . 3 . 4 . 2 เนื่องจาก ไม่ได้ลดความซับซ้อนหรือช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือ การประเมินอนุพันธ์แฝงใหม่ ข 4 . 3 . 11 ตามย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 กิจการจะต้องประเมินว่าจาเป็นต้องแยกอนุพันธ์แฝงจากสัญญาหลัก หรือไม่และบันทึกเป็นอนุพันธ์เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาในครั้งแรก โดยห้ามประเมินใหม่ใน ภายหลังเว้นแต่จะมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของสัญญาซึ่งทาให้กระแสเงินสดเปลี่ยนแปลง อย่างมีนัยสาคัญ นอกเหนือจากที่สั ญญากาหนดไว้ให้มีการประเมินใหม่ กิจการต้องกาหนดว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่ โดยพิจารณาจากกระแสเงินสดที่ คาดว่าจะได้ในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับอนุพันธ์แฝง สัญญาหลักหรือทั้งสัญญาหลักและ อนุพันธ์แฝงว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของ กระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคต ที่เคยกาหนดไว้ในสัญญาหรือไม่ ข 4 . 3 . 12 ย่อหน้าที่ ข 4 . 3 . 11 ไม่ใช้กับอนุพันธ์แฝงที่รวมอยู่ในสัญญาที่ได้มาจาก ข 4 . 3 . 12 . 1 การรวมธุรกิจ (ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ )

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 135 ข 4 . 3 . 12 . 2 การรวมกันของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันตามที่อธิบายไว้ ในย่อหน้าที่ ข 1 ถึง ข 4 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 หรือ ข 4 . 3 . 12 . 3 การก่อตั้งการร่วมค้าตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน หรือการประเมินความเป็นไปได้ ณ วันที่ได้มาซึ่งกิจการ 2 การจัดประเภทรายการใหม่ของ สินทรัพย์ทางการเงิน ข 4 . 4 . 1 หากกิจการมีการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 กิจการต้องปรับปรุงการจัดประเภทรายการแบบเปลี่ยนทันทีนับจากวันที่จัดประเภทรายการใหม่ ทั้งนี้ เนื่องจากตราสารหนี้ที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจำหน่ายและวิธีวัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ณ วันที่รับรู้รายกา ร เมื่อเริ่มแรก และปฏิบัติตามข้อกาหนดเกี่ยวกับการด้อยค่าด้วยวิธีเดียวกัน ดังนั้น เมื่อกิจการ จัดประเภทรายการใหม่สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินโดยโอนเปลี่ยนระหว่างวิธีราคาทุน ตัดจาหน่ายและวิธีวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านทางกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ข 4 . 4 . 1 . 1 การรับรู้ดอกเบี้ยรับนั้นไม่เปลี่ยนแปลง และกิจการยังคงใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เดิมต่อไป ข 4 . 4 . 1 . 2 การวัดผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจาก การวัดมูลค่าทั้งสองประเภทนั้นใช้วิธีการบันทึกการด้อยค่าแบบเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์ทางการเงินมีการจัดประเภทรายการใหม่ โดย เปลี่ยนจากการวัดมูลค่าด้วยมูล ค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเป็น ราคาทุนตัดจาหน่าย ค่าเผื่อผลขาดทุนจะแสดงเป็นรายการปรับปรุงมูลค่าตามบัญชี ขั้นต้น ของสินทรัพย์ทางการเงินนับจากวันที่จัดประเภทรายการใหม่ แต่ถ้า สินทรัพย์ทางการเงินนั้นจัดประเภทรายการใหม่โดยเปลี่ยนจากราคาทุนตัด จำหน่ายเป็ นวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กิจการต้อง ตัดรายการค่าเผื่อผลขาดทุน (ดังนั้น จึงไม่แสดงรายการค่าเผื่อผลขาดทุนเป็น รายการปรับปรุงมูลค่าตามบัญชีขั้นต้นอีกต่อไป) แต่จะรับรู้เป็นขาดทุนจากการ ด้อยค่าสะสม (ด้วยจานวนที่เท่ากัน ) ในกาไรขาดทุนเ บ็ดเสร็จอื่น และเปิดเผยนับ จากวันที่จัดประเภทรายการใหม่ ข 4 . 4 . 2 อย่างไรก็ดี สำหรับ ตราสารหนี้ ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนนั้น ไม่กาหนดให้ต้องแยกรับรู้ดอกเบี้ยรับหรือผลของกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า ดังนั้น เมื่อ กิจการมีการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินโดยโอนออกจากสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง จะ ถูกกำหนดตามมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่ นอกจากนี้ เพื่อวัตถุ ประสงค์ในการนำหมวดที่ 5 . 5 มาปฏิบัติกับสินทรัพย์ทางการเงินนับจากวันที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ การได้มาซึ่งสัญญาที่มีอนุพันธ์แฝงอันเนื่องมาจากการรวมธุรกิจ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 136 จัดประเภทรายการใหม่ ให้ถือว่าวันที่จัดประเภทรายการใหม่นั้นเป็นวันที่รับรู้รายการเมื่อ เริ่มแรก การวัดมูลค่า (บทที่ 5 ) การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรก (หมวดที่ 5 . 1 ) ข 5 . 1 . 1 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก โดยทั่วไปคือราคา ของรายการ (เช่น มูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปหรือสิ่งตอบแทนที่ได้รับ ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 1 . 2 ก และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 ) อย่างไรก็ตาม หากสิ่ง ตอบแทนที่ ให้ไปหรือสิ่งตอบแทนที่ได้รับมีมากกว่าเครื่องมือทางการเงิน กิจการต้องวัดมูลค่า ยุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ตัวอย่างเช่น มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยาวหรือลูกหนี้ ที่ไม่มีดอกเบี้ยสามารถวัดมูลค่าโดยใช้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับในอนาคตทั้งหมดคิด ลดด้ วยอัตราดอกเบี้ยตลาดของเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน (มีสกุลเงิน เงื่อนไขการ กู้ยืม อัตราดอกเบี้ย และปัจจัยอื่นที่คล้ายคลึงกัน) ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตระดับ เดียวกัน เงินให้กู้ยืมส่วนที่เพิ่มขึ้น คือค่าใช้จ่ายหรือการลดลงของรายได้ เว้นแต่เงิ นให้กู้ยืมนั้น เข้าเงื่อนไขการรับรู้เป็นสินทรัพย์ประเภทอื่น ข 5 . 1 . 2 หากกิจการให้กู้ยืมเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยไม่เป็นไปตามอัตราตลาด (เช่น อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5 ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยตลาดสาหรับเงินให้กู้ยืมที่คล้ายคลึงกันเป็นร้อยละ 8 ) และได้รับ ค่าธรรมเนียมเริ่มแรกเป็นการชดเชย กิจการต้องรับรู้เงินให้กู้ยืมดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรม ซึ่งสุทธิจากค่าธรรมเนียมที่ได้รับ ข 5 . 1 . 2 ก หลักฐานที่ดีที่สุดสำหรับมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรก โดยทั่วไป คือราคาของรายการ (เช่น มูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปหรือ สิ่งตอบแทนที่ได้รับ ดูมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 ) หากกิจการกาหนดว่า มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกแตกต่างจากราคาของรายการดังที่กล่าวไว้ในย่อ หน้าที่ 5 . 1 . 1 ก กิจการต้องบั นทึกเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวตามวิธีต่อไปนี้ ข 5 . 1 . 2 ก . 1 วัดมูลค่าตามที่กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 หากมูลค่ายุติธรรมได้มาจาก ราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สิน อย่างเดียวกัน (เช่น ข้อมูลระดับ 1 ) หรือได้จากเทคนิคการประเมินมูลค่าที่ใช้ ข้อมูลที่สังเกตได้จากตลาด กิจการต้องรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก และราคาของรายการเป็นผลกาไรหรือขาดทุน ข 5 . 1 . 2 ก . 2 ในกรณีอื่นๆ ให้วัดมูลค่าตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 5 . 1 . 1 โดยปรับปรุ งส่วนต่าง ระหว่างมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก และราคาของรายการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 137 ภายหลังการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องรับรู้ผลต่างรอการตัดบัญชีเป็น กาไรหรือขาดทุนได้เฉพาะส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัย (รวมถึงปัจจัย ด้านเวลา) ซึ่งผู้ร่วมตลาดนา มาพิจารณาในการกำหนดราคาสินทรัพย์หรือหนี้สิน การวัดมูลค่าภายหลัง (หมวดที่ 5 . 2 และ 5 . 3 ) ข 5 . 2 . 1 หากเครื่องมือทางการเงินที่บันทึกเป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรหรือขาดทุน แล้วมูลค่ายุติธรรมลดลงต่ากว่าศูนย์ เครื่องมือทางการเงินดังกล่าวถือเป็น หนี้สินทางการเงินที่ต้องวัดมูลค่าตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 อย่างไรก็ตาม หากสัญ ญา แบบผสมซึ่งสัญญาหลักเป็นสินทรัพย์ตามขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ข 5 . 2 . 2 ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการบันทึกบัญชีสำหรับต้นทุนการทำรายการสำหรับการวัดมูลค่า เมื่อเริ่มแรก และการวัดมูลค่าภายหลังของสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กิจการซื้อสินทรัพย์ ทางการเงินที่ราคา 100 บวกด้วยค่านายหน้าในการซื้อ 2 ณ วันที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก กิจกา รจะ รับรู้สินทรัพย์ที่ 102 วันถัดมาเป็นวันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงาน ซึ่งราคาตลาดของสินทรัพย์ เป็น 100 หากมีการขายสินทรัพย์ต้องจ่ายค่านายหน้า 3 ณ วันดังกล่าว กิจการต้องวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่ 100 (โดยไม่ต้องคานึงถึงค่านายหน้าในการขาย) และรับรู้ขาดทุน 2 ในกาไร ขาด ทุนเบ็ดเสร็จอื่น หากสินทรัพย์ทางการเงินวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ต้นทุนการทารายการจะถูกตัดจาหน่ายไปยังกาไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีดอกเบี้ยที่ แท้จริง ข 5 . 2 . 2 ก การวัดมูลค่าภายหลังของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน และการรับ รู้ผลกำไรหรือ ขาดทุนในภายหลังตามที่อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ ข 5 . 1 . 2 ก จะต้องสอดคล้องกับข้อกาหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ การลงทุนในตราสารทุนและสัญญาที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุน ข 5 . 2 . 3 การลงทุนในตราสารทุนและสัญญาที่เกี่ยวข้องกับตราสารดังกล่าว ทั้งหมดต้องวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม อย่างไรก็ดี ในสถานการณ์ที่จำกัดราคาทุนอาจเป็นมูลค่าที่เหมาะสมใน การประเมินมูลค่ายุติธรรม เช่นในกรณีที่ไม่มีข้อมูลปัจจุบันมากพอที่จะวัดมูลค่ายุติธรรม หรือ ในกรณีที่มีช่วงข้อมูลของมูลค่ายุติธรรมที่กว้างและราคา ทุนแสดงถึงมูลค่ายุติธรรม โดยประมาณที่ดีที่สุดของช่วงข้อมูลดังกล่าว ข 5 . 2 . 4 ข้อบ่งชี้ว่าราคาทุนอาจมิใช่มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ ได้แก่ ข 5 . 2 . 4 . 1 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญในผลการดำเนินงานของกิจการที่ไปลงทุน เมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณ แผนงาน หรือเป้าหมายในการดาเนินงาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 138 ข 5 . 2 . 4 . 2 การเปลี่ยนแปลงของการคาดการณ์ว่าเป้าหมายการดาเนินงานของผลิตภัณฑ์ เชิงเทคนิคของกิจการที่ไปลงทุนจะเป็นไปตามเป้าหมาย ข 5 . 2 . 4 . 3 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญในตลาดที่เกี่ยวกับเงินทุนของกิจการที่ไปลงทุน ผลิตภัณฑ์ หรือ ความเป็นไ ปได้ของผลิตภัณฑ์ของกิจการที่ไปลงทุน ข 5 . 2 . 4 . 4 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญของเศรษฐกิจโลก หรือสภาพแวดล้อม ทางด้านเศรษฐกิจที่กิจการที่ลงทุนประกอบกิจการอยู่ ข 5 . 2 . 4 . 5 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญในผลการดาเนินงานของกิจการอื่นที่สามารถ เทียบเคียงกันได้ หรือการป ระเมินมูลค่าที่คาดการณ์จากตลาดโดยรวม ข 5 . 2 . 4 . 6 ปัจจัยภายในของกิจการที่ไปลงทุน เช่น การทุจริต ความขัดแย้งทางธุรกิจ การฟ้องร้องดาเนินคดี การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารหรือกลยุทธ์ของกิจการ ข 5 . 2 . 4 . 7 หลักฐานการทาธุรกรรมกับภายนอกเกี่ยวกับเงินทุนของกิจการที่ลงทุน ทั้งจาก กิจการที่ลงทุนเอง (เช่น การออกตราสารทุนใหม่) หรือจากการโอนตราสารทุน ระหว่างบุคคลที่สาม ข 5 . 2 . 5 เนื่องจากข้อบ่งชี้ในย่อหน้าที่ ข 5 . 2 . 4 มิได้ครอบคลุมข้อบ่งชี้ทุกกรณี ดังนั้น กิจการต้อง ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการดาเนินงานและการดาเนินการของกิจการที่ลงทุน ซึ่งได้รับหลังจากวันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หากปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวบ่งชี้ว่าราคาทุนอาจมิใช่มูลค่ายุติธรรม โดยประมาณ กิจการต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ข 5 . 2 . 6 ราคาทุนไม่อาจเป็นมู ลค่ายุติธรรมโดยประมาณที่ดีที่สุด หากลงทุนในตราสารทุนที่มีราคาเสนอ ซื้อขาย (หรือสัญญาที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุนที่มีราคาเสนอซื้อขาย) การวัดมูลค่าราคาทุนตัดจาหน่าย (หมวดที่ 5 . 4 ) วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริง ข 5 . 4 . 1 ในการนาวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริงมาถือปฏิบัติ ให้กิจการระบุค่าธรรมเนียมที่เป็นองค์ประกอบของ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเครื่องมือทางการเงิน แม้ว่าคาที่ใช้เรียกค่าธรรมเนียมสาหรับ การให้บริการทางการเงินดังกล่าวอาจไม่ได้แสดงถึงลักษณะและเนื้อหาของการให้บริการ ค่าธรรมเนียมที่เป็นองค์ประกอบของอัตราดอกเบี้ ยที่แท้จริงของเครื่องมือทางการเงินถือเป็น รายการปรับปรุงอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เว้นแต่ในกรณีที่เครื่องมือทางการเงินนั้นวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมโดยรับรู้การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมในกาไรหรือขาดทุน ในกรณี เหล่านี้ ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นจะรับรู้เป็นรำยได้หรือค่าใช้จ่าย ของเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก ข 5 . 4 . 2 ค่าธรรมเนียมที่เป็นองค์ประกอบของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเครื่องมือทางการเงิน ประกอบด้วย ข 5 . 4 . 2 . 1 ค่าธรรมเนียมในการทารายการที่กิจการได้รับจากการก่อให้เกิดหรือการได้มาซึ่ง สินทรัพย์ทางการเงิน ค่าธรรมเนียมดังกล่าวอาจรวมถึงค่าตอบแทนใน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 139 การดาเนินการต่างๆ เช่น การประเมินสถานะทางการเงินของผู้กู้ การประเมินและ การบันทึกสัญญาการค้าประกัน การวางหลักประกั น และการจัดเตรียม หลักประกันอื่นๆ การเจรจาต่อรองเงื่อนไขของเครื่องมือทางการเงินการจัดเตรียม และดาเนินการทางเอกสาร และการปิดธุรกรรม ค่าธรรมเนียมเหล่านี้ถือเป็น องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการออกเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว ข 5 . 4 . 2 . 2 ค่าธรรมเนียมที่กิจการได้รับจาก การให้สินเชื่อ เมื่อภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ ดังกล่าวไม่ได้ถูกวัดมูลค่าตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 1 และมีความเป็นไปได้ที่กิจการจะ ให้สินเชื่อในที่สุด ค่าธรรมเนียมเหล่านี้เป็นค่าตอบแทนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้มาซึ่งเครื่องมือทางการเงิน ถ้าภาระผูกพันสิ้น สุดลงโดยไม่มีการให้ สินเชื่อ กิจการต้องรับรู้ค่าธรรมเนียมดังกล่าวเป็นรายได้เมื่อภาระผูกพันสิ้นสุด ข 5 . 4 . 2 . 3 ค่าธรรมเนียมที่กิจการจ่ายไปสาหรับการออกหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคา ทุนตัดจาหน่าย ค่าธรรมเนียมเหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการออก หนี้ สินทางการเงิน ให้กิจการแยกค่าธรรมเนียมและต้นทุนที่เป็นองค์ประกอบของ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงสาหรับหนี้สินทางการเงินออกจากค่าธรรมเนียมและต้นทุน การทารายการที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการให้บริการ เช่น การบริการจัดการการลงทุน ข 5 . 4 . 3 ค่าธรรมเนียมที่ไม่ถือเป็นองค์ประกอบของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเครื่องมือทางการเงิน และถูกบันทึกตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ประกอบด้วย ข 5 . 4 . 3 . 1 ค่าธรรมเนียมการบริหารจัดการสินเชื่อ ข 5 . 4 . 3 . 2 ค่าธรรมเนียมที่กิจการได้รับในการเข้าผูกพั นวงเงินสินเชื่อเมื่อภาระผูกพันที่จะให้ สินเชื่อไม่ได้ถูกวัดมูลค่าตามย่อหน้าที่ 4 . 2 . 1 . 1 และไม่มีความเป็นไปได้ที่กิจการ จะเข้าทาสัญญาให้สินเชื่อแบบเฉพาะเจาะจง และ ข 5 . 4 . 3 . 3 ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อร่วมที่กิจการได้รับจากการจัดการการให้สินเชื่อแต่กิจการ ไม่ได้ร่ วมเป็นผู้ให้สินเชื่อในกลุ่มดังกล่าว (หรือร่วมเป็นผู้ให้สินเชื่อที่มีอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงเหมือนกับผู้ให้สินเชื่อรายอื่นๆ ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงในลักษณะ เทียบเคียงกันได้) ข 5 . 4 . 4 เมื่อนำวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริงมาถือปฏิบัติ โดยทั่วไปกิจการจะตัดจำหน่ายค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมเพื่ออัตราลดดอกเบี้ย ( points ) ที่จ่ายไปหรือได้รับมา ต้นทุนการทารายการ และ ส่วนเพิ่มหรือส่วนลดอื่นๆ ที่รวมอยู่ในการคำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุที่ คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงินนั้น อย่างไรก็ตาม กิจกำรต้องใช้ระยะเวลาที่สั้นที่สุดหาก ระยะเวลาดังกล่าวเกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมเพื่ออัตราลดดอกเบี้ยที่จ่ายไปหรือ ได้รับมา ต้นทุนการทารายการ และส่วนเพิ่มหรือส่วนลดอื่นๆ กรณีดังกล่าว ได้แก่ การที่ตัว แปรที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมเพื่ออัต ราลดดอกเบี้ยที่จ่ายไปหรือได้รับมา ต้นทุนการทารายการ และส่วนเพิ่มหรือส่วนลดอื่นๆ ถูกปรับมูลค่าตามอัตราตลาดก่อนวันครบ กาหนดชาระที่คาดการณ์ของเครื่องมือทางการเงินนั้น ซึ่งระยะเวลาการตัดจาหน่ายที่เหมาะสม คือระยะเวลาที่จะถึงกาหนดปรับราคาครั้งต่อไป เช่น หากส่วนเพิ่ มหรือส่วนลดของเครื่องมือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 140 ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวสะท้อนถึงดอกเบี้ยคงค้างของเครื่องมือทางการเงินนั้น นับตั้งแต่การจ่ายดอกเบี้ยครั้งสุดท้ายหรือการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยในตลาดเนื่องจาก อัตราดอกเบี้ยลอยตัวจะถูกปรับตามอัตราดอกเบี้ยในตลาด ดังนั้น มู ลค่าดังกล่าวจะต้องถูกตัด จาหน่ายไปจนถึงวันที่มีการปรับอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตราตลาดอีกครั้ง ทั้งนี้ เพราะส่วน เพิ่มหรือส่วนลดมูลค่ามีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่จะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยครั้งต่อไป ซึ่ง ณ วันนั้น ตัวแปรซึ่งสัมพันธ์กับส่วนเพิ่มหรือส่วนลดมูล ค่า (เช่น อัตราดอกเบี้ย) จะถูก ปรับ ไปที่อัตราตลาด อย่างไรก็ตาม หากส่วนเพิ่มหรือส่วนลดมูลค่าเป็นผลมาจากการปลี่ยนแปลง ในอัตราผลตอบแทนเพื่อชดเชยความเสี่ยงด้านเครดิตบนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ที่ระบุใน เครื่องมือทางการเงิน หรือตัวแปรอื่นๆ ที่ไม่ได้ถูกปรับไปเป็นอัตราตลำดมูลค่าดังกล่าว จะถูกตัด จาหน่ายตลอดอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงินนั้น ข 5 . 4 . 5 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว การทบทวน การประมาณการกระแสเงินสดเป็นครั้งคราวเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยตลาด จะทาให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงมีการเปลี่ยนแปลง หากสินทรัพย์ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ย ลอยตัวหรือหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวถูกรับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยจานวนเงินที่ เท่ากับเงินต้นที่จะได้รับหรือที่จะจ่ายเมื่อครบกาหนด โดยปกติแล้วการทบทวนประมาณการ ดอกเบี้ยจ่ายในอนาคตจะไม่มีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือ หนี้สิน ข 5 . 4 . 6 หากกิจการมีการปรับประมาณการจ่ายเงินหรือรับเงิน (ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงตามย่อหน้าที่ 5 . 4 . 3 และการเปลี่ยนแปลงประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น) กิจการต้อง ปรับปรุงมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือราคาทุนตัดจำหน่ายของ หนี้สินทางการเงิน (หรือกลุ่มของเครื่องมือทางการเงิน) เพื่อให้สะท้อนจานวนเงินที่เกิดขึ้นจริง หรือจานวนเงินประมาณการของกระแสเงินสดตามสัญญาที่ถูกปรับ กิจการต้องคานวณมูลค่า ตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือราคาทุนตัดจาหน่ายของหนี้สินทาง การเงินใหม่ตามมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่คิดล ดด้วยอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงเดิมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว (หรือใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับ ด้วยความเสี่ยงด้านเครดิต สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือ เมื่อกาเนิด) หรือในกรณีที่เข้าเงื่อนไข ให้กิจการคานวณอัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริงใหม่ ตามย่อ หน้าที่ 6 . 5 . 9 โดยรายการปรับปรุงที่เกิดขึ้นจะถูกรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในกาไรหรือ ขาดทุน ข 5 . 4 . 7 ในบางกรณี สินทรัพย์ทางการเงินจะถูกพิจารณาว่ามีการด้อยค่าด้านเครดิตตั้งแต่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกเพราะมีความเสี่ยงด้านเครดิตที่สูงมาก และในกรณีที่ซื้อมา กิจการซื้อมาด้วย ส่วนลดจำนวนมาก กิจการต้องรวมผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรก ในการประมาณกระแสเงินสดเพื่อคานวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้าน เครดิตของสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรื อเมื่อกาเนิด ณ วันที่รับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก อย่างไรก็ตาม ไม่ได้หมายความว่ากิจการต้องใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 141 ปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิตเพียงเพราะว่าสินทรัพย์ทางการเงินนั้นมีความเสี่ยงด้านเครดิต ในระดับสูงตั้งแต่วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ต้นทุนการทำรายการ ข 5 . 4 . 8 ต้นทุนการทำรายการรวมถึงค่าธรรมเนียมและค่านายหน้าที่จ่ายให้กับตัวแทน (รวมถึง พนักงานที่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนขาย) ที่ปรึกษา นายหน้า และตัวแทนจำหน่าย ภาษีหรือ ค่าธรรมเนียมที่หน่วยงานกากับดูแลและตลาดหลักทรัพย์เรียกเก็บ และค่าภาษีอากรในการ โ อน ต้นทุนการทารายการไม่รวมถึงส่วนเกินหรือส่วนลดมูลค่าของหุ้นกู้ ต้นทุนในการจัดหา เงินทุน หรือค่าใช้จ่ายในการบริหารเป็นการภายใน หรือต้นทุนในการถือครอง การตัดออกจากบัญชี ข 5 . 4 . 9 สินทรัพย์ทางการเงินสามารถตัดออกจากบัญชีได้ทั้งจานวนหรือบางส่วน เช่น กิจการวางแผน ที่จะบังคับเอาหลักประกันของสินทรัพย์ทางการเงินและคาดว่าจะได้รับคืนจากหลักประกัน ไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน ถ้ากิจการคาดว่าจะไม่มีโอกาสได้รับคืน กระแสเงินสดใดๆ จากสินทรัพย์ทางการเงินอีกก็ควรตัดออกจากบัญชีส่วนที่เหลือร้อยละ 70 ของมูลค่ำสินทรัพย์ทางการเงิน การด้อยค่า ( หมวดที่ 5 . 5 ) หลักเกณฑ์การประเมินการด้อยค่าแบบกลุ่มและแต่ละรายการ ข 5 . 5 . 1 กิจการอาจจาเป็นต้องประเมินการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างกลุ่ม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ เมื่อความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่วันที่รับรู้รายการเมื่อ เริ่มแรก อาจจาเป็นต้องประเมินการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตแบบเป็นกลุ่ม สินทรัพย์ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสาคัญ ตัวอย่างเช่น ความเสี่ยงด้านเครดิตของกลุ่มหรือกลุ่มย่อยของเครื่องมือทางกำรเงิน โดยการประเมินแบบกลุ่มทาให้แน่ใจว่ากิจการได้ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของการรับรู้ผล ขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุเมื่อความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญ แม้ว่าการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือ ทางการเงินแต่ละรายการจะยังไม่มีหลักฐานปรากฏก็ตาม ข 5 . 5 . 2 โดยปกติแล้วการรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุนั้นรับรู้ก่อนที่ เครื่องมือทางการเงินนั้นจะมีสถานะค้างชาระเกินกาหนด เนื่องจากความเสี่ยงด้านเครดิตจะ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 142 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญก่อนที่เครื่องมือทางการเงินจะมีสถานะค้างชาระเกินกาหนด หรือ มีปัจจัยอื่นของผู้กู้ที่แสดงให้เห็นว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (เช่น การปรับปรุงเงื่อนไขของสัญญาใหม่หรือการปรับ ปรุงโครงสร้างหนี้) ดังนั้นหากมีข้อมูลที่ สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผลที่มีการคาดการณ์ไปในอนาคตได้ดีกว่าข้อมูลการค้างชาระ เกินกาหนด โดยไม่ต้องใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป กิจการต้องนาข้อมูลดังกล่าว มาใช้ในการประเมินการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตด้ วย ข 5 . 5 . 3 อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะของเครื่องมือทางการเงินและข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตที่ สามารถหาได้ของกลุ่มเครื่องมือทางการเงินบางประเภท กิจการอาจไม่สามารถระบุได้ว่า เครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการมีการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างมีนัยสาคั ญ ก่อนที่เครื่องมือทางการเงินนั้นจะมีสถานะค้างชาระเกินกาหนด โดยอาจเป็นกรณีของเครื่องมือ ทางการเงินประเภทสินเชื่อรายย่อยซึ่งกิจการมีข้อมูลน้อยหรือไม่ได้รับ และไม่ได้ติดตามข้อมูล เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการอย่างสม่าเสมอจนกว่ำ ลูกค้าละเมิดตามเงื่อนไขในสัญญา หากกิจการไม่สามารถระบุการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยง ด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการก่อนที่เครื่องมือทางการเงินนั้นจะมีสถานะ ค้างชาระเกินกาหนด การวัดค่าเผื่อผลขาดทุนโดยพิจารณาจากเฉพาะข้อมูลด้านเครดิตของ เครื่องมือทางกำรเงินแต่ละรายการจะไม่สามารถแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง ด้านเครดิตนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกได้อย่างสมเหตุสมผล ข 5 . 5 . 4 ในบางสถานการณ์ที่กิจการไม่สามารถหาข้อมูลที่สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผลของ เครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการได้โดยไม่ต้อง ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป เพื่อวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ในกรณีดังกล่าวให้กิจการรับรู้ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุตามเกณฑ์โดยการประเมินแบบกลุ่ม โดยพิจารณาจากข้อมูลความเสี่ยงด้านเครดิตที่ครอบคลุ ม ซึ่งต้องรวมไม่เพียงข้อมูลการค้าง ชาระเกินกาหนดแต่รวมถึงข้อมูลด้านเครดิตทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ มหภาคที่มีการคาดการณ์ในอนาคต เพื่อประมาณผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตลอดอายุเมื่อความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินแต่ ละรายการเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสาคัญนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 5 ตามวัตถุประสงค์ของการพิจารณาการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตและ การรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุนตามเกณฑ์การประเมินแบบกลุ่ม กิจการสามารถจัดกลุ่มเครื่องมือ ทางการเงินตามควำมเสี่ยงด้านเครดิตที่มีลักษณะร่วมกันเพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์สามารถ ทาให้ระบุการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตในระยะเวลาที่เหมาะสม กิจการไม่ควรทาให้ข้อมูลดังกล่าวคลุมเครือโดยการจัดกลุ่มเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะ ความเสี่ยงที่แตกต่างกั นไว้ด้วยกัน ตัวอย่างของความเสี่ยงด้านเครดิตที่คล้ายคลึงกัน อาจรวมถึงแต่ไม่ได้จำกัดเฉพาะ ข 5 . 5 . 5 . 1 ประเภทของตราสาร ข 5 . 5 . 5 . 2 จัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิต

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 143 ข 5 . 5 . 5 . 3 ประเภทของหลักประกัน ข 5 . 5 . 5 . 4 วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 5 . 5 ระยะเวลาคงเหลือจนถึงครบกำหนด ข 5 . 5 . 5 . 6 อุตสาหกรรม ข 5 . 5 . 5 . 7 สถานที่ตั้งของผู้กู้ยืม และ ข 5 . 5 . 5 . 8 มูลค่าของหลักประกันเทียบกับสินทรัพย์ทางการเงิน หากมีผลกระทบต่อความน่าจะ เป็นของความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญา (เช่น สินเชื่อที่มีการค้าประกันแบบไม่มี สิทธิไล่เบี้ ยในบางกิจการหรืออัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อมูลค่าหลักประกัน ( Loan to value ratio ) ) ข 5 . 5 . 6 ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 5 กาหนดให้กิจการต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ของเครื่องมือทางการเงินทั้งหมดที่ความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับจากวันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว หากกิจการไม่สามารถ จัดกลุ่ม เครื่องมือทางการเงินตามความเสี่ยงด้านเครดิตมีลักษณะร่วมกัน เพื่อพิจารณาการ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกได้ กิจการต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุเฉพาะส่วนที่มีความเสี่ยง ด้านเครดิ ตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ การจัดกลุ่มเครื่องมือทางการเงินเพื่อประเมินว่า มีการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตแบบกลุ่มหรือไม่ อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล ใหม่เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตของกลุ่มเครื่องมือทางการเงินหรือของเครื่องมือทางการเงิน แต่ละรายกำร ระยะเวลาในการรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ข 5 . 5 . 7 ในการประเมินว่าควรจะรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุหรือไม่นั้น ให้พิจารณาจากการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความน่าจะเป็นหรือความเสี่ยงของการปฏิบัติ ผิดสัญญานับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก (โดยไม่คานึงว่าเครื่องมือทางการเงินมีการ กาหนดราคาใหม่เพื่อสะท้อนถึงความเสี่ยงด้านเครดิตที่เพิ่มขึ้นหรือไม่) แทนการพิจารณาจาก หลั กฐานที่แสดงว่าสินทรัพย์ทางการเงินมีการด้อยค่าด้านเครดิตแล้ว ณ วันที่รายงานหรือ เมื่อการปฏิบัติผิดสัญญาเกิดขึ้น โดยทั่วไปแล้วความเสี่ยงด้านเครดิตจะเพิ่มขึ้น อ ย่า ง มีนัยสาคัญ ก่อนที่สินทรัพย์ทางการเงินนั้นจะเกิดการด้อยค่าด้านเครดิต หรือก่อนที่จะมีการปฏิบัติ ผิดสัญญาเกิดขึ้น ข 5 . 5 . 8 สาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ กิจการต้องพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของ การปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นของเงินให้สินเชื่อที่เกี่ยวกับกับภาระผูกพันนั้น สาหรับสัญญา ค้าประกันทางการเงิน กิจการต้องพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของควำมเสี่ยงที่ลูกหนี้จะ ปฏิบัติผิดสัญญา ข 5 . 5 . 9 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตนับจากวันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกนั้นขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญา ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 144 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ย งของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นของเครื่องมือ ทางการเงินที่มีความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกต่ากว่า จะมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญมากกว่าเครื่องมือทางการเงินที่มีความเสี่ยงของการปฏิบัติ ผิดสัญญาที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกสูงกว่า ข 5 . 510 ความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือทางการเงินต่างๆ ที่มีระดับ ความเสี่ยงด้านเครดิตที่เทียบเท่ากัน เครื่องมือทางการเงินที่มีอายุที่คาดไว้มากกว่าจะมี ความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญา สูงกว่า ตัวอย่างเช่น ความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่ เกิดขึ้นของหุ้นกู้ระดับ AAA ที่มีอายุที่คาดไว้ 10 ปี จะสูงกว่าความเสี่ยงของการปฏิบัติ ผิดสัญญาของหุ้นกู้ระดับ AAA ที่มีอายุที่คาดไว้ 5 ปี ข 5 . 5 . 11 เนื่องจากอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงินกับความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้น มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตไม่สามารถประเมินโดย เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นตลอดอายุที่ คา ดไว้เท่านั้น ตัวอย่างเช่น หากความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นของเครื่องมือ ทางการเงินที่มีอายุที่คาดไว้ 10 ปี ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก เท่ากับความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญาของเครื่องมือทางการเงินที่มีอายุที่คาดไว้คงเหลือ 5 ปี แสด งว่าเครื่องมือ ทางการเงินที่มีอายุที่คาดไว้คงเหลือ 5 ปี มีความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากโดยปกติ แล้วความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาในช่วงอายุที่คาดไว้จะลดลงเมื่อระยะเวลาผ่านไป หากความเสี่ยงด้านเครดิตนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง และเครื่องมือทางการเงิ นนั้นใกล้จะครบ กาหนด อย่างไรก็ตาม สาหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีภาระผูกพันต้องจ่ายเงินจานวนที่มี นัยสาคัญใกล้วันครบกาหนด ความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาอาจไม่ลดลงเมื่อระยะเวลา ผ่านไป โดยในกรณีดังกล่าว กิจการควรจะพิจารณาถึงปัจจัยเชิงคุณภาพอื่นๆ ที่จะแสดงให้เห็ น ว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 12 กิจการอาจใช้วิธีการต่างๆในการประเมินว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเครื่องมือทางการเงินเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่นับวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ หรือในการวัดผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ด้วยวิธีการที่แตกต่างกันตามเครื่องมือทางการเงินที่แตกต่างกัน โดยวิธีการที่ไม่ได้นาความน่าจะเป็นของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่ชัดเจนมาใช้ในการประเมินหรือ การคำนวณ เช่น วิธีการที่ใช้อัตราผลขาดทุนด้านเครดิต ก็เป็นไป ตามข้อกำหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ซึ่งกำหนดว่ากิจการสามารถแยกการเปลี่ยนแปลงของ ความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ออกจากการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ ของผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น หลักประกัน และในการประเมินนั้นให้กิจการพิจารณาถึง ปัจจัย ดังต่อไปนี้ ข 5 . 5 . 12 . 1 การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่ นับวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 12 . 2 อายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงิน และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 145 ข 5 . 5 . 12 . 3 ข้อมูลที่สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผล ซึ่งสามารถหาได้โดยไม่ต้องใช้ต้นทุน หรือความพยายามที่มากเกินไป ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานซึ่งอาจกระทบต่อ ความเสี่ยงด้านเครดิต ข 5 . 5 . 13 วิธีการที่ใช้ในการพิจารณาว่า เครื่องมือทางการเงินมีความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ นับวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่ มแรกหรือไม่ ควรพิจารณาจากลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน (หรือกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน) และข้อมูลการ ปฏิบัติผิดสัญญา ในอดีตของเครื่องมือ ทางการเงินที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ แม้ว่าจะมีข้อกำหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 10 แล้ว แต่สาหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีข้อมูลการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่ไม่กระจุกตัวอยู่ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่งของอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงิน การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของ การ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า อาจเป็นประมาณการของการเปลี่ยนแปลง ข องความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงินอย่างสมเหตุสมผล ในกรณีนี้กิจการอาจใช้การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า ในการพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ เว้นแต่จะมีสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งบ่งชี้ว่ากิจการ จาเป็นต้องประเมินการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่เกิดขึ้นตลอด อายุเครื่องมือทาง การเงิน ข 5 . 5 . 14 อย่างไรก็ตาม การใช้การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้น ใน 12 เดือนข้างหน้า ในการพิจารณาว่าควรรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอด อายุหรือไม่ อาจไม่เหมาะสมสาหรับเครื่องมือทางการเงินบางประเภท หรือในบางสถาน การณ์ ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้นใน 12 เดือน ข้างหน้า อาจไม่ใช่เกณฑ์ที่เหมาะสมที่จะประเมินว่า เครื่องมือทางการเงินที่มีอายุสัญญา มากกว่า 12 เดือน มีความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นเมื่อ ข 5 . 5 . 14 . 1 เครื่องมือทางการเ งินนั้นมีภาระผูกพันที่ต้องจ่ายเงินจำนวนที่มีนัยสำคัญใน ช่วงเวลาที่มากกว่า 12 เดือนข้างหน้า ข 5 . 5 . 14 . 2 การเปลี่ยนแปลง ของปัจจัยเชิงเศรษฐศาสตร์มหภาคที่เกี่ยวข้อง หรือปัจจัยอื่นที่ เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตไม่สะท้อนถึงความเสี่ยงของการปฏิบัติผิดสัญญาที่ จะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้าได้อย่างเหมาะสม หรือ ข 5 . 5 . 14 . 3 การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่เกี่ยวกับความเสี่ยงด้ำนเครดิตส่งผลกระทบต่อ ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน (หรือมีผลกระทบที่ชัดเจนขึ้น) มากกว่า 12 เดือน การพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับจากวันที่รับรู้ รายการ เมื่อ เริ่มแรกหรือไม่ ข 5 . 5 . 15 ในการพิจารณาว่าต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุหรือไม่ กิจการ ควรพิจารณาจากข้อมูลที่สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผล ซึ่งสามารถหาได้โดยไม่ต้อง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 146 ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป และอาจส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงด้านเครดิตของ เครื่องมือทางการเงิ นตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 18 . 3 โดยกิจการไม่จาเป็นต้องหาข้อมูลโดยละเอียด เพื่อพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญนับตั้งแต่วันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกหรือไม่ ข 5 . 5 . 16 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านเครดิตคือ การวิเคราะห์ปัจจัยหลายปัจจัยใน ภาพรวม โดยพิจารณาว่า มีปัจจัยใดที่เกี่ยวข้อง และน้าหนักของปัจจัยนั้นเมื่อเทียบกับปัจจัยอื่นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภท ของผลิตภัณฑ์ ลักษณะของเครื่องมือทางการเงินและผู้กู้ยืม ตลอดจนเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ โดยกิจการต้องพิจารณาข้อมูลที่สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผล ซึ่ งสามารถหาได้ โดยไม่ต้องใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไป และเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเงินที่ประเมิน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยหรือข้อบ่งชี้อาจไม่สามารถระบุได้ในระดับของ เครื่องมือทางการเงินแต่ละรายการ โดยในกรณีนี้กิจการควรประเมินปัจจัยหรือข้อบ่งชี้ เป็นกลุ่ม หรือบางส่วนของกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน เพื่อพิจารณาว่าเป็นไปตามข้อกาหนด ในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 ที่ต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุหรือไม่ ข 5 . 5 . 17 รายการต่อไปนี้อาจต้องใช้ในการประเ มินการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิต ทั้งนี้ รายการดังกล่าวไม่ครอบคลุมรายการทั้งหมด ข 5 . 5 . 17 . 1 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญของตัวชี้วัดราคาภายในของความเสี่ยง ด้านเครดิต ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิต นับตั้งแต่วันที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก ซึ่งรวมถึง (แต่ไม่จากัดเฉพาะ) ส่วนต่างอัตรา ดอกเบี้ยที่อาจเปลี่ยนแปลง หากมีการออกเครื่องมือทางการเงินหรือเครื่องมือ ทางการเงินที่คล้ายคลึงกันที่มีเงื่อนไขและคู่สัญญาเหมือ นกัน ณ วันที่รายงาน ข 5 . 5 . 17 . 2 การเปลี่ยนแปลงของอัตราหรือเงื่อนไขของเครื่องมือทางการเงินที่มีอยู่ซึ่งอาจ แตกต่างจากเดิมอย่างมีนัยสาคัญ หากมีการออกเครื่องมือทางการเงินนั้นใหม่ ณ วันที่รายงาน (เช่น ข้อตกลงทางการเงินที่มีความเข้มงวดมากขึ้น หลักประกัน หรือสัญญาค้า ประกันที่มีจำนวนสูงขึ้น หรือสัดส่วนรายได้ต่อหนี้ที่สูงขึ้น) เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน นับตั้งแต่วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 17 . 3 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของบ่งชี้จากตลาดภายนอกที่เกี่ยวกับความ เสี่ยง ด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินหรือเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึง กันที่มีอายุที่คาดไว้เท่ากัน การเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดจากตลาดภายนอกของ ความเสี่ยงด้านเครดิตรวมถึง (แตไม่ครอบคุมทั้งหมด) ข 5 . 5 . 17 . 3 . 1 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย ข 5 . 5 . 17 . 3 . 2 ราคาของสัญญาการรับปร ะกันด้านเครดิต ( credit default swap ) สาหรับผู้กู้ยืม ข 5 . 5 . 17 . 3 . 3 ระยะเวลา หรือสัดส่วนของมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการ เงิน ที่ต่ากว่าราคาทุนตัดจาหน่าย และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 147 ข 5 . 5 . 17 . 3 . 4 ข้อมูลตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้กู้ยืม เช่น การเปลี่ยนแปลง ราคาของตราสารหนี้และตราสารทุนของผู้กู้ยืม ข 5 . 5 . 17 . 4 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญที่เกิดขึ้นจริงหรือที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของ การจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินโดยบุคคลภายนอก ข 5 . 5 . 17 . 5 การลดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตของผู้กู้ยืมภายในกิจการ หรือการลดลง ของคะแนนพฤติกรรมที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยงด้านเครดิตภายในกิจการที่ เกิดขึ้นจริงหรือที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิต ภายในกิจการหรือการให้คะแนนพฤติกรรมภายในกิ จการจะมีความน่าเชื่อถือ มากขึ้น เมื่อมีนาข้อมูลดังกล่าวไปเทียบกับข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ด้านเครดิตโดยบุคคลภายนอก หรือมีข้อมูลสนับสนุนจากกรณีศึกษาเกี่ยวกับ การปฏิบัติผิดสัญญา ข 5 . 5 . 17 . 6 การเปลี่ยนแปลงในทางลบของสภาพทางธุรกิจ ทางการเงิน หรือทางเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นหรือที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะทาให้ความสามารถของผู้กู้ยืมในการ ปฏิบัติตามภาระผูกพันหนี้สินเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญ เช่น อัตราดอกเบี้ย ที่เพิ่มขึ้นหรือคาดว่าจะเพิ่มขึ้น หรืออัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือที่คาดว่าจะ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ข 5 . 5 . 17 . 7 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของผลการดาเนินการของผู้กู้ยืมที่เกิดขึ้นหรือ คาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น รายได้หรือกาไรที่ลดลงหรือคาดว่าจะลดลง ความเสี่ยง จากการดาเนินงานที่เพิ่มขึ้น การขาดเงินทุนหมุนเวียน คุณภาพของสินทรัพย์ที่ ลดลง การก่อภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น ส ภาพคล่อง ปัญหาด้านการบริหารจัดการ หรือการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของธุรกิจ หรือโครงสร้างองค์กร (เช่น การยกเลิก ธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งของกิจการ) ซึ่งทาให้ความสามารถของผู้กู้ยืมในการปฏิบัติ ตามภาระผูกพันหนี้สินของกิจการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญ ข 5 . 5 . 17 . 8 การเพิ่มขึ้นอย่ำงมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน อื่นของผู้กู้ยืมรายนั้น ข 5 . 5 . 17 . 9 การเปลี่ยนแปลงในทางลบอย่างมีนัยสาคัญของสภาพแวดล้อมทั้งทางกฎหมาย เ ศรษฐกิจ หรือเทคโนโลยีของผู้กู้ยืมที่เกิดขึ้นหรือตามที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งทาให้ ของความสามารถของผู้ กู้ยืมในการปฏิบัติตามภาระผูกพันหนี้สินของกิจการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญเช่น ความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้กู้ยืมที่ลดลง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข 5 . 5 . 17 . 10 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญในมูลค่าของหลักประกัน หรือคุณภาพของการ ค้าประกันโดยบุคคลที่ สาม หรือการรับประกันด้านเครดิต ซึ่งคาดว่าจะลดแรงจูงใจ ของผู้กู้ยืมในการจ่ายชาระตามสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความน่าจะเป็นใน การปฏิบัติผิดสัญญา ตัวอย่างเช่น หากมูลค่าหลักประกันลดลง เนื่องจากราคา บ้านลดลง ผู้กู้ยืมบางรายอาจมีแรงจูงใจที่จะปฏิบัติผิดสัญญาเงินกู้ซื้ อบ้านมากขึ้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 148 ข 5 . 5 . 17 . 11 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของคุณภาพของการค้าประกันโดยผู้ถือหุ้น (หรือบริษัทใหญ่) หากผู้ถือหุ้น (หรือบริษัทใหญ่) มีแรงจูงใจและความสามารถ ทางการเงินในการช่วยเหลือโดยการเพิ่มทุนหรือให้เงินสด เพื่อมิให้การปฏิบัติ ผิดสัญญาเกิดขึ้น ข 5 . 5 . 17 . 12 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญซึ่งคาดว่าจะลดแรงจูงใจของผู้กู้ยืมในการจ่าย ชาระหนี้ตามสัญญา เช่น บริษัทใหญ่ หรือบริษัทในเครืออื่นๆให้ความช่วยเหลือ ทางการเงิน หรือการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญที่เกิดขึ้นจริงหรือที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในคุณภาพของการรับประกันด้านเครดิต โดยคุณภาพของการรับประกัน ด้านเครดิตนั้น รวมถึงการพิจารณาสถานะทางการเงินของผู้ค้าประกัน และ/หรือ ดอกเบี้ยของตราสารที่ออกธุรกรรมการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ไม่ว่า ดอกเบี้ยด้อยสิทธินั้นจะสามารถรองรับผลขาดทุนด้านเครดิ ตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น หรือไม่ก็ตาม (เช่น หลักทรัพย์ค้าประกัน) ข 5 . 5 . 17 . 13 การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมถึงกรณีการละเมิดสัญญาซึ่งทาให้มีการยกเลิกหรือการแก้ไขเงื่อนไขสัญญา ช่วงเวลาการหยุดชาระดอกเบี้ย การปรับขึ้ นอัตราดอกเบี้ย การขอหลักประกัน หรือการค้าประกันเพิ่มขึ้น หรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ตามกรอบสัญญาของ เครื่องมือทางการเงิน ข 5 . 5 . 17 . 14 การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของผลการดาเนินงานและพฤติกรรมของ ผู้กู้ยืมที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสถานะการจ่า ยชาระหนี้ ของผู้กู้ยืมในกลุ่ม (ตัวอย่างเช่น การเพิ่มขึ้นของจำนวนหรือสัดส่วนของการจ่าย ชาระหนี้ตามสัญญาที่ล่าช้า หรือการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของจานวนผู้ที่ใช้ บัตรเครดิต ซึ่งคาดว่าเกือบจะหรือจะใช้เกินวงเงินที่ได้รับ หรือผู้ที่คาดว่าจะผ่อน ชาระเงินรายเดือนเพี ยงจำนวนเงินขั้นต่า) ข 5 . 5 . 17 . 15 การเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดการด้านเครดิตของกิจการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเงิน โดยอ้างอิงตามตัวชี้วัดของการเปลี่ยนแปลงฃของความเสี่ยง ด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน วิธีปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ที่คาดว่ำจะเน้นเชิงรุกมากขึ้นหรือให้ความสำคัญกับการจัดการเครื่องมือ ซึ่งรวมถึงการติดตามและการควบคุมอย่างใกล้ชิดมากขึ้น หรือกิจการที่แทรกแซง ผู้กู้ยืม ข 5 . 5 . 17 . 16 ข้อมูลการค้างชำระเกินกำหนด รวมถึงข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้ ในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 1 2 ข 5 . 5 . 18 ในบางกรณี ข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณที่ไม่ใช่ข้อมูลทางสถิติที่สามารถหาได้อาจ เพียงพอที่จะใช้ในการพิจารณาว่าเครื่องมือทางการเงินนั้นเข้าเงื่อนไขต้องรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุน ด้วยจานวนที่เท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ กล่าวคือข้อมู ลนั้น ไม่จาเป็นต้องผ่านการคานวณทางสถิติ หรือกระบวนการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิต

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 149 เพื่อพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่ ในกรณีอื่นๆ กิจการอาจจาเป็นต้องพิจารณาข้อมูลอื่นๆ ซึ่งรวมถึงข้อมูลจากการคานวณทำง สถิติหรือกระบวนการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิต หรืออีกนัยหนึ่งกิจการอาจอ้างอิง จากการประเมินข้อมูลทั้งสองประเภท เช่น ปัจจัยเชิงคุณภาพที่ไม่รวมอยู่ในกระบวนการ จัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตภายในกิจการ และการจัดประเภทของการจัดอันดับ ความน่าเชื่อถื อด้านเครดิตภายในกิจการ ณ วันที่รายงาน ซึ่งมีการพิจารณาถึงลักษณะของ ความเสี่ยงด้านเครดิต ณ วันที่รับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรก หากข้อมูลทั้งสองประเภทนั้นมีความ เกี่ยวข้องกัน ข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้เกี่ยวกับการค้างชาระเกินกาหนดเกินกว่า 30 วัน ข 5 . 5 . 19 ข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้ในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 12 นั้นไม่ใช่ตัวชี้วัดที่ชัดเจนที่จะทำให้ สามารถระบุได้ว่ากิจการควรรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ แต่สามารถ กาหนดให้เป็นจุดสุดท้ายที่ใช้ในการพิจารณารับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้ นตลอด อายุ แม้ว่าจะมีการนาข้อมูลที่เป็นการคาดการณ์ในอนาคตมาใช้ก็ตาม (ซึ่งรวมถึงปัจจัยเชิง เศรษฐศาสตร์มหภาคในระดับกลุ่มของรายการ ) ข 5 . 5 . 2 0 กิจการสามารถโต้แย้งข้อสันนิษฐานนี้ได้ อย่างไรก็ตาม การที่จะสามารถโต้แย้งได้นั้น กิจการ จะต้องมีข้อมูลที่สนับสนุนและมีความสมเหตุสมผลแสดงให้เห็นว่า หากมีการค้างชำระ การจ่ายเงินตามสัญญาเกินกว่า 30 วัน ก็ไม่แสดงว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือ ทางการเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ตัวอย่างเช่น เมื่อการค้างชาระเกินกำหนดเกิดจากความผิดพลาด ด้ำนการจัดการ แทนที่จะเกิดจากปัญหาทางการเงินของผู้กู้ยืม หรือกิจการมีหลักฐานในอดีตที่ แสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยง ของการปฏิบัติผิดสัญญา ที่มีการค้าง ชาระเกินกาหนดเกินกว่า 30 วันไม่มีความสัมพันธ์สัมพันธ์กัน แต่หลักฐานนั้นแสดงว่าการ เพิ่ มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิตความสัมพันธ์กับสินทรัพย์ทางการเงินที่มี การค้างชาระเกินกาหนดเกินกว่า 60 วัน ข 5 . 5 . 21 กิจการไม่สามารถกาหนดให้ระยะเวลาของการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต และรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ กับระยะเวลาที่สินทรัพย์ทางการเงิน มีการด้อยค่าด้านเครดิตหรือเป็นไปตามคานิยามภายในของกิจการเกี่ยวกับการ ปฏิบัติผิดสัญญา เครื่องมือทางการเงินที่มีความเสี่ยงด้านเครดิตต่า ณ วันที่รายงาน ข 5 . 5 . 22 ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินถือว่าอยู่ในระดับต่าตามความหมายของ ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 11 ก็ต่อเมื่อเครื่องมือทางการเงินนั้นมีความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ต่า และผู้กู้ยืมสามารถจ่ายชาระกระแสเงินสดตามสัญญาในระยะเวลาอันใกล้ และการเปลี่ยนแปลง เชิงลบของ เศรษฐกิจและธุรกิจในระยะยาว ไม่อาจลดความสามารถของผู้กู้ยืมในการจ่ายชาระ กระแสเงินสดตามสัญญาได้ แต่เครื่องมือทางการเงินจะไม่ถือว่ามีความเสี่ยงด้านเครดิต

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 150 ในระดับต่า หากเครื่องมือทางการเงินนั้นมีความเสี่ยงในการขาดทุนต่าเพราะมีหลักประกัน และเครื่องมือทางการเงินที่ ไม่มีหลักประกันจะถือว่าไม่มีความเสี่ยงด้านเครดิตต่า นอกจากนี้ เครื่องมือทางการเงินยังไม่ถือว่ามีความเสี่ยงด้านเครดิตต่าเพราะเครื่องมือทางการเงินนั้นมี ความเสี่ยงของการ ปฏิบัติผิดสัญญา ต่ากว่าเครื่องมือทางการเงินอื่นๆของกิจการ หรือต่ากว่า เมื่อเทียบกับความเสี่ ยงด้านเครดิตของประเทศที่กิจการนั้นประกอบการ ข 5 . 5 . 23 ในการพิจารณาว่าเครื่องมือทางการเงินมีความเสี่ยงด้านเครดิตต่าหรือไม่นั้น กิจการอาจ พิจารณาจากการจัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินภายในกิจการหรือ วิธีการอื่นๆ ที่สอดคล้องกับนิยามของความเสี่ ยงด้านเครดิตต่าที่เข้าใจตรงกันโดยทั่วไป และ ที่พิจารณาจากความเสี่ยงและประเภทของเครื่องมือทางการเงินที่กิจการประเมิน โดยเครื่องมือ ทางการเงินที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตโดยบุคคลภายนอกเป็นเครื่องมือ ทางการเงินที่อยู่ใน ‘ ระดับน่าลงทุน ’ ( invest ment grade ) อาจเป็นตัวอย่างหนึ่งของเครื่องมือ ทางการเงินที่ถือว่ามีความเสี่ยงด้านเครดิตต่า อย่างไรก็ตาม เครื่องมือทางการเงินไม่จาเป็นต้อง ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือด้านเครดิตโดยบุคคลภายนอก จึงจะถือว่ามีความเสี่ยง ด้านเครดิตต่า แต่ควรพิจารณาว่าความเสี่ ยงด้านเครดิตอยู่ในระดับต่าจากมุมมองของผู้มี ส่วนร่วมในตลาดซึ่งได้คานึงถึงข้อกาหนดและเงื่อนไขทั้งหมดของเครื่องมือทางการเงิน ข 5 . 5 . 24 การที่กิจการไม่รับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุด้วยเหตุผลว่าเครื่องมือ ทางการเงินนั้นมีความเสี่ยงด้านเครดิต ต่าระยะเวลารอบก่อนแต่ ณ วันที่รายงานก่อน และ ไม่ถือว่ามีความเสี่ยงด้านเครดิตต่า ณ วันที่รายงาน การจะรับรู้ผลขาดทุนดังกล่าวได้นั้นกิจการ ต้องพิจารณาว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญนับจากวันที่ รับรู้ รายการ เมื่อ เริ่มแรกหรือไม่ เพื่อพิจารณาว่ากิจการต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอด อายุเข้าเงื่อนไขการรับรู้ตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 หรือไม่ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ข 5 . 5 . 25 ในบางสถานการณ์การเจรจาตกลงหรือการเปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ ทางการเงินใหม่อาจทาให้มีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเดิมตามที่กาหนดใน แนว ปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ โดยเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของสินทรัพย์ทางการเงินแล้วทา ให้ต้อง เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเดิมและรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ให้ถือว่าสินทรัพย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขนั้นเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน ‘ ใหม่ ’ ตามวัตถุประสงค์ ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ข 5 . 5 . 26 วันที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่ อนไขสัญญาให้ถือว่าเป็นวันที่ รับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรก ของสินทรัพย์ ทางการเงินเพื่อปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับการด้อยค่ากับสินทรัพย์ทางการเงินที่มี การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ซึ่งโดยทั่วไปกิจการจะวัดค่าเผื่อผลขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงิน ดังกล่าวเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้าจนกว่าจะเข้า เงื่อนไขที่ต้องรับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 151 อย่ำงไรก็ตาม ในบางสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขอาจทาให้มีการ เลิกรับรู้ รายการ สินทรัพย์ทางการเงินเดิม อาจเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขมีการด้อยค่าด้านเครดิต ณ วันที่ รับรู้ รายการ เมื่อเริ่มแรก ดังนั้น ควรรับรู้ สินทรั พย์ทางการเงินนั้นเป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อกำเนิด สถานการณ์เช่นนี้อาจเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสินทรัพย์ด้อยคุณภาพอย่างมี นัยสาคัญ ซึ่งทาให้ต้อง เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเดิม โดยในกรณีนี้ อาจเป็นไปได้ว่า การเปลี่ ยนแปลงเงื่อนไขอาจทาให้สินทรัพย์ทางการเงินใหม่นั้นมีการด้อยค่าด้านเครดิต ณ วันที่ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 27 หากมีการเจรจาตกลงหรือมีการเปลี่ยนแปลงกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินใหม่ แต่ไม่มีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเดิม ไม่ได้แสดงว่าสินทรัพย์ทางการเงินนั้นมี ความเสี่ยง ด้านเครดิตต่าลง โดยกิจการควรประเมินว่ามีความเสี่ยงด้านเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญนับ จากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือไม่ จากข้อมูลที่สนับสนุนแล ะ มีความ สมเหตุสมผล ซึ่งสามารถหาได้ โดยไม่ต้องใช้ต้นทุนหรือควำมพยายามที่มากเกินไป ซึ่งรวมถึง ข้อมูลในอดีต ข้อมูลการคาดการณ์ไปในอนาคตและการประเมินความเสี่ยงด้านเครดิตตลอด อายุที่คาดไว้ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น ซึ่งรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ทาให้มี การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขนั้นด้วย หลักฐานที่แสดงว่าเครื่องมือทำงการเงินไม่เข้าเงื่อนไขต้อง รับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุรวมถึงประวัติการชาระเงินตรงเวลาและ เป็นปัจจุบันตามข้อกาหนด ของสัญญาที่ปรับปรุงใหม่แล้ว โดยทั่วไปลูกค้าจะแสดงพฤติกรรม การชาระเงินที่ดีและต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะพิจารณำได้ว่าความเสี่ยงด้านเครดิต ลดลง ตัวอย่างเช่น ประวัติการผิดนัดชำระเงินหรือการชาระหนี้ที่ไม่ครบถ้วน จะไม่ถูกลบ หลังจากที่มีการจ่ายชาระหนี้ตามกาหนดชาระเพียงงวดเดียวจากการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ของสัญญา การวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ข 5 . 5 . 28 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น คือ ประมาณการค่าความน่าจะเป็นของผลขาดทุน ด้านเครดิตถ่วงน้าหนัก (เช่น มูลค่าปัจจุบันของจานวนเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับทั้งหมด) ตลอดช่วงอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือทางการเงิน จา นวนเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับ คือส่วนต่าง ระหว่างกระแสเงินสดตามสัญญาและกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับ เนื่องจากผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นพิจารณาถึงจานวนและจังหวะเวลาการชาระเงิน ดังนั้นผลขาดทุนด้าน เครดิตจึงเกิดขึ้นได้ถึงแม้ว่ากิจการคาดว่าจะได้รับเงิ นเต็มจานวนแต่เงินนั้นได้รับภายหลังจาก วันที่กาหนดไว้ในสัญญา ข 5 . 5 . 29 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ผลขาดทุนด้านเครดิต คือมูลค่าปัจจุบันของผลต่างระหว่าง ข 5 . 5 . 29 . 1 กระแสเงินสดที่ถึงกาหนดจ่ายให้กิจการตามสัญญา และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 152 ข 5 . 5 . 29 . 2 กระแสเงินสดที่กิจการคาดว่าจะได้รับ ข 5 . 5 . 3 0 สาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่ยังไม่ได้เบิกใช้ ผลขาดทุนด้านเครดิต คือมูลค่าปัจจุบันของ ผลต่างระหว่าง ข 5 . 5 . 3 0 . 1 กระแสเงินสดตามสัญญาที่ถึงกาหนดชาระ ในกรณีที่ผู้ถือสัญญาเบิกใช้สินเชื่อ และ ข 5 . 5 . 3 0 . 2 กระแสเงินสดที่กิจการคาดว่าจะได้รับ ในกรณีที่สินเชื่อถูกเบิกใช้ ข 5 . 5 . 31 การประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อของ กิจการต้องสอดคล้องกับการคาดการณ์การเบิกสินเชื่อของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อนั้น เช่น พิจารณาสัดส่วนของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่คาดว่าจะถู กเบิกใช้ใน 12 เดือนข้างหน้า นับตั้งแต่วันที่รายงานเมื่อประมาณผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือน ข้างหน้า และสัดส่วนของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่คาดว่าจะถูกเบิกใช้ตลอดประมาณการอายุ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อเมื่อประมาณการผลขา ดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตลอดอายุ ข 5 . 5 . 32 สาหรับสัญญาค้าประกันทางการเงิน กิจการต้องชาระเงินเฉพาะในกรณีที่ลูกหนี้ปฏิบัติผิดสัญญา ซึ่งเป็นไป ตามเงื่อนไขของเครื่องมือทางการเงินที่มีการค้าประกัน ดังนั้นจานวนเงินสดที่คาดว่า จะไม่ได้รับ คือประมาณการ จ่ายเงินชดเชยที่จะจ่ายให้ผู้ถือสัญญาสาหรับผลขาดทุนด้านเครดิต หักจานวนเงินที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากผู้ถือสัญญา ลูกหนี้ หรือบุคคลใด โดยหากสินทรัพย์ มีการค้าประกันอย่างเต็มจานวน ค่าประมาณการของจานวนเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับสาหรับ สัญญาค้าประกันทางการเงินจะสอดค ล้องกับค่าโดยประมาณของจานวนเงินสดที่คาดว่าจะ ไม่ได้รับสาหรับสินทรัพย์ที่มีการค้าประกัน ข 5 . 5 . 33 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิต ณ วันที่รายงาน แต่ไม่ได้เป็นสินทรัพย์ ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกาเนิด กิจการต้องวัดมู ลค่าผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดยใช้ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของ สินทรัพย์กับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตคิดลดด้วยอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงที่ใช้ตอนเริ่มแรกของสินทรัพย์ทางการเงินนั้น การปรับปรุงผลต่างดังกล่าว จะ ถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเป็นผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า ข 5 . 5 . 34 ในการวัดมูลค่าของค่าเผื่อผลขาดทุนสาหรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่า กระแสเงินสดที่ใช้สาหรับ ระบุผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นควรจะสอดคล้องกับกระแสเงินสดที่ใช้สาหรับ การ ประเมินลูกหนี้ตามสัญญำเช่าตามที่กาหนดใน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 6 เรื่อง สัญญาเช่า ข 5 . 5 . 35 กิจการอาจใช้วิธีการที่เหมาะสมในการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น หากผลขาดทุนนั้นสอดคล้องกับหลักการในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 18 ตัวอย่างเช่น การคำนวณ ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสาหรับลูกหนี้การค้าโดยใช้ตารางการตั้งสารอง โดยที่ กิจการสามารถใช้ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีต (ซึ่งมีการปรับปรุง ให้เหมาะสมตามย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 51 ถึง ข 5 . 5 . 52 ) สาหรับลูกหนี้การค้าเพื่อคานวณผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า หรือผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 153 เกิดขึ้นตลอดอายุตามความเหมาะสม ตารางการตั้งสารองเป็นตัวอย่างหนึ่งที่สามารถระบุอัตรา การกันสำรองที่คงที่ โดยขึ้นอยู่กับจำนวนวันที่ค้างชำร ะเกินกำหนดของลูกหนี้การค้า (ตัวอย่างเช่น อัตราการกันสำรองร้อยละ 1 หากยังไม่ค้างชำระเกินกำหนด ร้อยละ 2 หากค้างชาระเกินกาหนดไม่เกิน 30 วัน และร้อยละ 3 หากค้างชาระเกินกาหนดเกินกว่า 30 วัน แต่ไม่เกิน 90 วัน และร้อยละ 20 หากค้างชาระเกินกาหนดเกินกว่า 90 – 180 วั น เป็นต้น) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกระจายของฐานลูกค้า กิจการอาจจะทาการจัดกลุ่มตามความเหมาะสม หากข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีตนั้นแสดงให้เห็นถึงรูปแบบของผล ขาดทุนที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญในแต่ละกลุ่มลูกค้า ตัวอย่างของหลักเกณฑ์ที่อาจถูกใช้ใน การจัดกลุ่มสินทรัพย์ประกอบด้วย เขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ประเภทของผลิตภัณฑ์ การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของลูกค้า หลักประกันเงินกู้หรือการประกันสินเชื่อการค้าและ ประเภทของลูกค้า (เช่น ร้านค้าส่งหรือร้านค้าปลีก) นิยามของการปฏิบัติผิดสัญญา ข 5 . 5 . 36 ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 10 กาหนดว่า ในการระบุว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงิน มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง จากการไม่ชาระเงินตามสัญญาที่เกิดขึ้นนับจากวันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ข 5 . 5 . 37 เมื่อกำ หนดนิยามการปฏิบัติผิดสัญญาตามวัตถุประสงค์ของการพิจารณาความเสี่ยง จาก การปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้น กิจการต้องใช้คานิยามการปฏิบัติผิดสัญญาที่สอดคล้องกับ คานิยามที่ใช้เพื่อบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตภายในกิจการ สาหรับเครื่องมือทางการเงินที่ เกี่ยวข้องและพิ จารณาถึงข้อบ่งชี้เชิงคุณภาพ (ตัวอย่างเช่น ข้อตกลงทางการเงิน) ตามความเหมาะสม อย่างไรก็ตาม มีข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งได้ว่าการปฏิบัติผิดสัญญา นั้นจะไม่เกิดขึ้นหลังจากที่สินทรัพย์ทางการเงินนั้นค้างชาระเกินกาหนดเกินกว่า 90 วันแล้ว เว้นแต่กิจการจะมีข้อมูลที่มีความสมเหตุสมผลและสามารถสนับสนุนได้ที่แสดงว่าการปฏิบัติ ผิดสัญญาในช่วงเวลาที่เกินกว่านั้นมีความเหมาะสมมากกว่า คานิยามของการปฏิบัติผิดสัญญา ที่ใช้ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ต้องนำไปใช้กับเครื่องมือทางการเงินทั้งหมดอย่างสม่าเสมอ นอกจากว่ำข้อมูลที่มีอยู่นั้นจะแสดงให้เห็นว่า มีคานิยามการปฏิบัติผิดสัญญาอย่างอื่นที่มี ความเหมาะสมกับเครื่องมือทางการเงินนั้นๆ มากกว่า ระยะเวลาในการประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ข 5 . 5 . 38 อ้างอิงตามย่อหน้าที่ 5 . 5 . 20 ระยะเวลานานที่สุดที่ใช้วัดผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นคือ ระยะเวลาสูงสุดตามสัญญาที่กิจการมีความเสี่ยงด้านเครดิต สาหรับภาระผูกพัน วงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงิน คือระยะเวลาสูงสุดตามสัญญาตลอดระยะเวลาที่ กิจการมีภาระผูกพันตามสัญญาในปัจจุบันที่ จะขยายสินเชื่อ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 154 ข 5 . 5 . 39 อ ย่างไรก็ตาม อ้างอิงย่อหน้าที่ 5 . 5 . 2 1 เครื่องมือทางการเงินบางประเภทซึ่งรวมถึงเงินให้สินเชื่อ และภาระผูกพันที่ยังไม่ใช้ ซึ่งกิจการสามารถเรียกร้องให้ชาระเงินคืนและยกเลิกภาระผูกพันที่ยัง ไม่ใช้นั้นได้ ไม่ได้จำกัดให้กิจการได้รับผลขาดทุนด้ำนเครดิตในช่วงระยะเวลาการแจ้งการยกเลิก ล่วงหน้าตามสัญญา ตัวอย่างเช่น วงเงินสินเชื่อหมุนเวียน เช่น บัตรเครดิต และวงเงินเบิกเกินบัญชี ตามสัญญานั้นผู้ให้กู้ยืมสามารถยกเลิกวงเงินได้โดยการแจ้งล่วงหน้าเพียงหนึ่งวัน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติผู้ให้กู้ยืมมักจะขยายร ะยะเวลาการให้เครดิตยาวนานขึ้น และจะยกเลิกวงเงินเมื่อ ความเสี่ยงด้านเครดิตของผู้กู้ยืมนั้นเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจช้าเกินไปที่จะป้องกันการขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นบางส่วนหรือทั้งหมด เครื่องมือทางการเงินมักมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ซึ่งเป็น ผลจากลักษณะของเค รื่องมือทางการเงิน วิธีการจัดการเครื่องมือทางการเงินและลักษณะของ ข้อมูลที่สามารถหาได้ซึ่งบอกถึงการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต ข 5 . 5 . 39 . 1 เครื่องมือทางการเงินนั้นไม่ได้กาหนดระยะเวลาการชาระเงินหรือโครงสร้างการ ชาระเงินคืนที่มีระยะเวลาที่แน่ นอน และมักมีระยะเวลาการบอกเลิกสัญญาที่สั้น (เช่น หนึ่งวัน) ข 5 . 5 . 39 . 2 ความสามารถในการยกเลิกสัญญานั้นจะไม่ถูกบังคับใช้ในการดาเนินงานตามปกติ ในการจัดการเครื่องมือทางการเงินนั้น และสัญญานั้นอาจถูกยกเลิกก็ต่อเมื่อ กิจการตระหนักถึงความเสี่ยงด้านเครดิตที่เพิ่มสูงขึ้นตามระดับวงเงินที่ได้รับ และ ข 5 . 5 . 39 . 3 เครื่องมือทางการเงินนั้นมีการจัดการแบบเป็นกลุ่ม ข 5 . 5 . 4 0 ในการระบุช่วงเวลาที่กิจการคาดว่าจะเผชิญกับความเสี่ยงด้านเครดิต หากผลขาดทุนด้า นเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นไม่ได้ถูกปรับลดลงโดยการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตตามปกติของกิจการ กิจการควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ อาทิเช่น ข้อมูลและประสบการณ์ในอดีตดังนี้ ข 5 . 5 . 4 0 . 1 ช่วงระยะเวลาที่กิจการเผชิญกับความเสี่ยงด้านเครดิตสาหรับเครื่องมือทางการเงิน ที่มีลั กษณะเหมือนกัน ข 5 . 5 . 4 0 . 2 ระยะเวลาของการปฏิบัติผิดสัญญาที่เกี่ยวข้องซึ่งเกิดขึ้นกับเครื่องมือทางการเงินที่ มีลักษณะคล้ายคลึงกันภายหลังจากการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยง ด้านเครดิต และ ข 5 . 5 . 4 0 . 3 มาตรการการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งกิจการคาดว่าจะดา เนินการเมื่อ ความเสี่ยงด้านเครดิตสาหรับเครื่องมือทางการเงินนั้นเพิ่มสูงขึ้น เช่น การลดหรือ การยกเลิกวงเงินที่ยังไม่ได้เบิกใช้ ผลลัพธ์ตามค่าความน่าจะเป็นถ่วงน้าหนัก ( Probability - weighted outcome ) ข 5 . 5 . 41 วัตถุประสงค์ของการประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้น ไม่ใช่เพื่อการ ประมาณการสถานการณ์ที่แย่ที่สุดหรือที่ดีที่สุด แต่ว่าการประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นควรสะท้อนให้เห็นถึงความน่าจะเป็นที่จะเกิดผลขาดทุนด้านเครดิต และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 155 ความน่ำจะเป็นที่จะไม่เกิดผลขาดทุนด้านเครดิต แม้ว่าโอกาสที่ผลลัพธ์ส่วนใหญ่จะไม่มี ผลขาดทุนด้านเครดิตเกิดขึ้นก็ตาม ข 5 . 5 . 42 ย่อหน้าที่ 5 . 5 . 1 8 . 1 กำหนดให้ประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต้อง สะท้อนถึงความเป็นกลางและถ่วงน้าหนักด้วยค่าความน่าจะเป็นซึ่งได้ จากการประเมินค่าของ ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ ในทางปฏิบัติ อาจไม่จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ที่ซับซ้อน โดยในบางกรณี การใช้แบบจาลองอย่างง่ายก็อาจเพียงพอ โดยไม่จาเป็นจะต้องมีการจาลองสถานการณ์ที่มาก เกินจาเป็น ตัวอย่างเช่น ค่าเฉลี่ยผลขาดทุนด้านเครดิตของกลุ่มเครื่องมือทา งการเงินขนาดใหญ่ ที่มีลักษณะความเสี่ยงที่คล้ายกันนั้นอาจเป็นค่าประมาณการที่สมเหตุสมผลสำหรับ ค่าความน่าจะเป็นถ่วงน้าหนัก ส่วนในสถานการณ์อื่น การกาหนดสถานการณ์จาลองที่สามารถ ระบุถึงจานวนและจังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่เป็นไปได้ รวมทั้งค่าความน่าจะเป็นของ กระแสเงินสดนั้นอาจเป็นสิ่งจาเป็น โดยในสถานการณ์ดังกล่าวนั้น ผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจะต้องสะท้อนถึงผลลัพธ์อย่างน้อยสองผลลัพธ์ตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 1 9 ข 5 . 5 . 43 สาหรับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ นั้น กิจการต้องประเมินความเสี่ยง จาก การปฏิบัติผิดสัญญาที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือทางการเงินตลอดช่วงอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือ ทางการเงินนั้น โดยผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้านั้น คือส่วนหนึ่งของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเ กิดขึ้นตลอดอายุ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงจานวน เงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับตลอดอายุเครื่องมือทางการเงิน หากเกิดการปฏิบัติผิดสัญญาภายใน 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน (หรือช่วงเวลาที่สั้นกว่า หากอายุที่คาดไว้ของเครื่องมือ ทางการเงินนั้นสั้นกว่า 12 เดือน) ถ่วงน้าหนักด้วยความน่าจะเป็น ของ การปฏิบัติผิดสัญญา ที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า จึงไม่ใช่ทั้ง ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่คาดการณ์ว่าจะเกิดการปฏิบัติผิดสัญญา ในช่วง 12 เดือนข้างหน้า ห รือจำนวนเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในช่วง 12 เดือนข้างหน้า มูลค่าเงินตามเวลา ข 5 . 5 . 44 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต้องถูกคิดลดจนถึงวันที่รายงาน ไม่ใช่ถึงวันที่คาดว่าจะ เกิดการปฏิบัติผิดสัญญา หรือวันอื่นใด โดยใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตามสัญญา ซึ่งถูกกาหนด ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือค่าประมาณอัตราดอกเบี้ยที่ใกล้เคียงที่สุด หากเครื่องมือ ทางการเงินนั้นมีอัตราดอกเบี้ยผันแปร ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจะถูกคิดลด โดยใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงใน ปัจจุบันตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ ข 5 . 4 . 5 ข 5 . 5 . 45 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่มีการด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อกำเนิด ผลขาดทุน ด้า น เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นจะถูกคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยง ด้านเครดิตซึ่งได้ถูกกาหนด ณ วันที่รับ รู้รายการเมื่อเริ่มแรก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 156 ข 5 . 5 . 46 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสาหรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่านั้นจะถูกคิดลดโดยใช้ อัตราคิดลดเดียวกับที่ใช้ในการวัดมูลค่าลูกหนี้ตามสัญญาเช่าตามที่กำหนดใน มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 6 ข 5 . 5 . 47 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อนั้น ต้องคิดลดด้วย อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตามสัญญา หรือค่าประมาณอัตราดอกเบี้ยที่ใกล้เคียงที่สุด ซึ่งจะถูกใช้ เมื่อมีการรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินที่เกิดขึ้นจากภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ เพื่อวัต ถุประสงค์ใน การนาข้อกาหนดเกี่ยวกับการด้อยค่าไปปฏิบัตินั้น สินทรัพย์ทางการเงินที่มีการรับรู้หลังจาก การเบิกใช้ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อจะถูกจัดว่าเป็นภาระผูกพันที่ต่อเนื่อง แทนที่จะถูกจัดว่า เป็นเครื่องมือทางการเงินใหม่ ดังนั้นผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้ นสาหรับสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าวมีการวัดมูลค่าโดยพิจารณาถึงความเสี่ยงด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรกของ ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ โดยนับจากวันที่ที่กิจการมีภาระผูกพันที่ไม่สามารถเพิกถอนได้ ข 5 . 5 . 48 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสาหรับสัญญาค้าประกันทางกำรเงิน หรือภาระผูกพัน วงเงินสินเชื่อหากไม่สามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตามสัญญา อัตราคิดลดที่ใช้ ควรสะท้อนถึงตลาดในปัจจุบันเพื่อประมาณมูลค่าเงินตามเวลา รวมถึงความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจ มี ผลต่อกระแสเงินสดเป็นการเฉพาะ โดยความเสี่ยงต่างๆ นั้นจะถูกปรับเข้าไปใน อัตราคิดลด แทนที่การปรับจานวนเงินสดที่คาดว่าจะไม่ได้รับ ข้อมูลที่มีความสมเหตุสมผลและสามารถสนับสนุนได้ ข 5 . 5 . 49 ตามวัตถุประสงค์ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ข้อมูลที่มีความสมเหตุสมผลและสามารถ สนับสนุนได้คือข้อมูลที่สามารถหาได้อย่างสมเหตุผล ณ วันที่รายงานโดย ไม่ใช้ต้นทุนหรือความ พยายามที่มาก เกินไปเกี่ยวกับเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต สถานการณ์ในปัจจุบันและ การคาดการณ์ถึงสภาวะทางเศรษฐกิจในอนาคต ข้อมูลที่หาได้เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงาน ทางการเงินถูกพิจารณาว่าเป็นข้อมูลที่สามารถหาได้โดย ไม่ใช้ต้นทุนห รือความพยายามที่มาก เกินไป ข 5 . 5 . 5 0 กิจการไม่จาเป็นต้องรวบรวมผลการคาดการณ์สภาวะในอนาคตตลอดช่วงอายุที่คาดไว้ของ เครื่องมือทางการเงิน ระดับการพิจารณาความจาเป็นในการประเมินผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นขึ้นอยู่กับความพร้อมของข้อมูลโดยละเอียด โดยที่หากมีการคาดการณ์ใน ระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น ความมีอยู่ของข้อมูลโดยละเอียดนั้นจะลดลงและระดับของการใช้ ดุลพินิจสาหรับการประเมินผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นจะเพิ่มขึ้น การประเมินผล ขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นไม่จาเป็นที่จะต้องประเมินโ ดยละเอียดสาหรับช่วงเวลา ในอนาคตที่ไกลออกไป โดยช่วงเวลาในอนาคตที่ไกลออกไปนั้น กิจการอาจใช้การประมาณค่า ช่วงเวลาดังกล่าวจากข้อมูลที่มีอยู่โดยละเอียดได้ ข 5 . 5 . 51 กิจการไม่จาเป็นจะต้องทาการสืบค้นข้อมูลโดยละเอียด แต่ควรพิจารณาถึงข้อมูลทั้งหมดที่มี ความสมเหตุสมผลและ สามารถสนับสนุนได้และที่สามารถหาได้โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 157 พยายามที่มากเกินไปและเกี่ยวข้องกับการประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นซึ่งรวมถึงผลกระทบของการชาระเงินก่อนครบกาหนด ข้อมูลที่ใช้ควรรวมปัจจัยเฉพาะ ของผู้กู้ยืม สภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจโดยทั่วไป และการประเมินทิศทางทั้งในปัจจุบันและใน อนาคต ณ วันที่รายงาน กิจการอาจใช้ข้อมูลจากหลายแหล่ง ซึ่งอาจเป็นทั้งแหล่งข้อมูลภายใน (เฉพาะกิจการ) และแหล่งข้อมูลภายนอก แหล่งข้อมูลที่เป็นไปได้นั้นประกอบไปด้วยข้อมูล ภายในเกี่ยวกับผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีต กำรจัดอันดับเครดิตภายใน ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีตของกิจการอื่นๆ การจัดอันดับเครดิต ภายนอก รายงานและค่าสถิติต่างๆ ส่วนกิจการที่ไม่มีแหล่งข้อมูลหรือมีไม่เพียงพอ แหล่งข้อมูลเฉพาะกิจการอาจใช้ข้อมูลของธุรกิจในกลุ่มธุรกิจเดียวกันสำหรับเครื่องมือ ทางการเงินที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ (หรือกลุ่มเครื่องมือทางการเงินต่างๆ) ข 5 . 5 . 52 ข้อมูลในอดีตเป็นสิ่งสาคัญหลักหรือพื้นฐานสาหรับการวัดผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม กิจการควรปรับปรุงข้อมูลในอดีต เช่น ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิต จากประสบการ ณ์ บนพื้นฐานของการสะท้อนสภาวการณ์ในปัจจุบัน และคาดการณ์สภาวการณ์ ในอนาคตซึ่งไม่มีผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงเวลาที่ใช้ข้อมูลในอดีตเป็นตัวตั้งต้นจาก ข้อมูลที่สังเกตได้ตามความสมเหตุสมผลและสามารถสนับสนุนได้โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความ พยายามที่มากเกินไป ณ วันที่รายงาน และเพื่อกาจัดผลกระทบของสถานการณ์นั้นของช่วงเวลา ในอดีตที่ไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดตามสัญญาในอนาคต ในบางกรณีข้อมูลที่มีความสมเหตุสมผล และมีข้อสนับสนุนได้ดีที่สุดสามารถเป็นข้อมูลในอดีตที่ไม่จาเป็นต้องมีการแก้ไขได้ โดยขึ้นอยู่กับ ลักษณะของข้อมูลในอดีต และเมื่อ คานวณโดยเปรียบเทียบกับสถานการณ์ต่างๆ ณ วันที่รายงาน และคุณลักษณะต่างๆของเครื่องมือทางการเงินควรถูกพิจารณา การประมาณการเปลี่ยนแปลง ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นควรจะถูกสะท้อนและสอดคล้องกับทิศทาง การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่หาได้ (เช่น การเปลี่ยนแปลง ของอัตราการว่างงาน ราคาอสังหาริมทรัพย์ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ สถานะของการชาระเงิน หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงผลขาดทุน ด้านเครดิตสาหรับเครื่องมือทางการเงิน หรือกลุ่มเครื่องมือทางการเงินและระดับความรุนแรง ของความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น) กิจการควรทบทวนวิธีการ และสมมติฐานต่างๆ ที่ใช้ในการ ประมาณการผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเป็นประจา เพื่อลดความแตกต่างระหว่าง ค่าประมาณและผลขาดทุนด้านเครดิตที่เกิดขึ้นจริง ข 5 . 5 . 53 เมื่อใช้ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีตเพื่อประมาณผลขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้น สิ่งสาคัญคือข้อมูลเกี่ยวกับอัตราผลขาดทุนด้านเครดิตในอดีตจะถูกนาไปใช้ กับกลุ่มต่างๆ ที่มีลักษณะที่สอดคล้องกับกลุ่มซึ่งกิจการเอาข้อมูลอัตราผลขาดทุนด้านเครดิต ในอดีตมาใช้ ดังนั้นวิธีการที่นาไปปฏิบัตินั้นควรทาให้แต่ละกลุ่มของสินทรัพย์ทางการเงินมี ข้อมูลของ ผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ที่ผ่านมาที่สอดคล้องกันภายในกลุ่มของ สินทรัพย์ทางการเงินมีลักษณะความเสี่ยงที่คล้ายกัน รวมทั้งมีข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งสามารถ หาได้โดยทั่วไปและสะท้อนถึงสภาวะต่างๆ ในปัจจุบัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 158 ข 5 . 5 . 54 ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นควรสะท้อนถึงความคาดหวังของกิจการต่อผลขาดทุน ด้านเครดิต อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงข้อมูลทั้งหมดที่มีความสมเหตุสมผลและสามารถ สนับสนุน และที่สามารถหาได้โดยไม่ใช้ต้นทุนหรือความพยายามที่มากเกินไปเพื่อประมาณผล ขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการควรพิจารณาถึงข้อมูลที่สังเกตได้ในตลาดซึ่ง เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือทางการเงินนั้นๆ หรือเครื่องมือทางการเงินที่ คล้ายคลึงกัน หลักประกัน ข 5 . 5 . 55 ตามวัตถุประสงค์ในการวัดผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น การประมาณจำนวนเงินสด ที่คาดว่าจะไม่ได้รับที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ควรคำนึงถึงกระแสเงินสดที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก หลักประกัน และการรับประกันด้านเครดิตของสินทรัพย์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขตาม สัญญา และกิจการนั้นไม่ได้รับรู้แยกต่างหาก การประมาณจานวนเงินสดที่คาดว่าจะ ไม่ได้รับ สาหรับเครื่องมือทางการเงินที่มีหลักประกันนั้นควรคานึงถึงการคาดการณ์จานวนและจังหวะ เวลาของกระแสเงินสดที่จะได้รับจากการยึดหลักประกันที่หักต้นทุนของการได้มาและการขาย หลักประกัน โดยไม่คานึงว่าการยึดทรัพย์นั้นเป็นไปได้หรือไม่ (ซึ่งก็คือ ค่าโดยประมาณของ กร ะแสเงินสดที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นจะพิจารณาถึงความน่าจะเป็นของการยึดทรัพย์และกระแส เงินสดที่เกิดขึ้น) ดังนั้น การคาดการณ์กระแสเงินสดจึงควรที่จะวิเคราะห์ถึงระยะเวลาในการ ขายหลักประกัน ซึ่งอาจจะยาวกว่าอายุของสัญญาด้วย หลักประกันใดๆ ที่ได้จากการยึดทรัพย์ นั้นจะไม่ ถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์แยกต่างหากจากเครื่องมือทางการเงินที่มีหลักประกัน เว้นแต่ หลักประกันนั้นเข้าเงื่อนไขการรับรู้เป็นสินทรัพย์ตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้หรือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับอื่นๆ ผลกาไรและขาดทุน ( หมวด ที่ 5 . 6 ) ข 5 . 6 . 1 ยกเว้นในกรณีที่นาย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 ไปถือปฏิบัติ สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ให้รับรู้สินทรัพย์ทางการเงินที่มีลักษณะดังกล่าวใน กาไรหรือขาดทุนราวกับว่าวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย ในขณะที่สินทรัพย์ทางการเงินนั้น วัดมูลค่าในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่ำยุติธรรม ผลกาไรหรือขาดทุน นอกเหนือจากที่รับรู้ ในกำไรหรือขาดทุนตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 ถึง 5 . 6 . 9 ให้รับรู้เป็นกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยเมื่อ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้น ให้โอนผลกาไรหรือขาดทุนสะสมที่เคย รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไปกา ไรหรือขาดทุน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลกาไรหรือขาดทุนซึ่ง จะถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อ เลิกรับรู้ รายการหากสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าววัดมูลค่า ด้วยราคาทุนตัดจำหน่าย ข 5 . 6 . 2 กิจการที่ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 กับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็น ตัวเงิน ตามที่กาหนด ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 และเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ โดยที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 159 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 กาหนดให้กาไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนของสินทรัพย์ และหนี้สินที่เป็นตัวเงิน รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ยกเว้นรายการที่เป็นตัวเงินที่เลือกกาหนดให้ เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงของการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 ) การป้องกันความเสี่ยงสาหรับการลงทุนสุทธิ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 12 ) ข 5 . 6 . 2 ก ตามวัตถุประสงค์ในการรับรู้กาไรหรือขาดทุนจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นนั้นถือว่าเป็นรายการที่เป็นตัวเงิน ดังนั้น สินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าวจะถูกถือเสมือนว่าเป็นสินทรัพย์ที่วั ดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายในสกุล เงินตราต่างประเทศ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของส่วนที่เป็นราคาทุนที่ ตัดจาหน่ายนั้นจะถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน และรับรู้ความเปลี่ยนแปลงอื่นของมูลค่าตาม บัญชีตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 ข 5 . 6 . 3 สาหรับตราสารทุนเผื่อขาย การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุนนั้น ไม่ใช่รายการที่เป็นตัวเงิน ดังนั้น ผลกำไรหรือขาดทุนที่แสดงในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมถึงองค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่ในกรณีที่เป็นรายการที่มีการ ป้องกันค วามเสี่ยง ให้รับรู้กาไรขาดทุนในการป้องกันความเสี่ยงในกาไรหรือขาดทุน ข 5 . 6 . 4 หากสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ มีความสัมพันธ์ กัน ในลักษณะของการป้องกันความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบส่วนที่เป็นเงินตรา ต่า งประเทศของเครื่องมือทางการเงินเหล่านั้นจะแสดงในกาไรหรือขาดทุน หนี้สินทางการเงินที่เลือกกาหนดให้ แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ข 5 . 6 . 5 เมื่อกิจการเลือกกาหนดให้หนี้สินทางการเงินแสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน จะต้องพิจารณาว่าผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน ต้องแสดงในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือไม่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดหรือเพิ่มการจับคู่อย่างไม่ เหมาะสมทางการบัญชี ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน การจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี จะเกิดหรือเพิ่มมากขึ้ น ถ้าการนาเสนอผลของความเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของ หนี้สินในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นนั้นไปส่งผลให้เกิดความไม่สอดคล้องกันมากขึ้นในกำไรหรือ ขาดทุน มากกว่าหากนาจานวนดังกล่าวแสดงในกาไรหรือขาดทุน ข 5 . 6 . 6 เพื่อกาหนดว่าหนี้สินทางการเงินที่กาหนดให้แสดงมูลค่าด้ วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน กิจการต้องประเมินถึงผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของ หนี้สินที่คาดว่าจะเกิดขึ้นว่ามีส่วนช่วยชดเชยกาไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงในส่วนของ มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินอื่นที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติ ธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน หรือไม่ การคาดการณ์ดังกล่าวต้องคานึงถึงความเกี่ยวข้องทางเศรษฐกิจต่อคุณลักษณะของ หนี้สิน และคุณลักษณะของเครื่องมือทางการเงินอื่นด้วย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 160 ข 5 . 6 . 7 การกาหนดให้หนี้สินทางการเงินแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน จะกาหนดเมื่อ มีการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกและไม่มีการประเมินใหม่ เพื่อวัตถุประสงค์ในทางปฏิบัติ กิจการ ไม่จำเป็นต้องระบุสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดที่ทำให้เกิดการจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชีว่าเกิด ณ เวลาเดียวกัน การเกิดรายการที่ช้ากว่าอย่างสมเหตุสม ผลนั้นอนุญาตที่ ทา หากธุรกรรมใดๆที่เหลืออยู่ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการต้องถือปฏิบัติอย่างสม่าเสมอในการ กาหนดว่า การแสดงผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินใน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นนั้นก่อให้เกิดหรือเพิ่มการจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญ ชี ในกาไร หรือขาดทุนหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตามกิจการอาจใช้วิธีการอื่นๆ ที่แตกต่างกันได้เมื่อมีความ แตกต่างของสภาวะเศรษฐกิจที่สัมพันธ์กับลักษณะของหนี้สินที่เลือกกาหนดให้แสดงมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ บทที่ 8 ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ นั้นกาหนดให้กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลในเชิงคุณภาพใน หมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกับวิธีการที่กิจการใช้ในการกาหนด ข 5 . 6 . 8 หากการไม่สามารถจับคู่ทางบัญชีนั้นเกิดขึ้นหรือเพิ่มมากขึ้น กิจการต้องแสดงการเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดในมูลค่ายุติธรรม (ซึ่งรวมถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิต ของหนี้สิน) ในกำไรหรือขาดทุน หากความไม่สอดคล้องนั้นไม่เกิดขึ้นหรือไม่เพิ่มมากขึ้น กิจการต้อง แสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้ สินใน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ข 5 . 6 . 9 จานวนที่แสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นต้องไม่ถูกโอนไปเป็นกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง อย่างไรก็ตาม กิจการอาจโอนผลสะสมของกำไรหรือขาดทุนภายในส่วนของเจ้าของ ข 5 . 6 . 10 ตัวอย่างต่อไปนี้อธิบายถึงสถานการณ์ของการจับคู่อย่างไม่ เหมาะสมทางการบัญชี ที่เกิดขึ้นใน กาไรหรือขาดทุน ถ้าผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินนั้น แสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ธนาคารแห่งหนึ่งปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้าและกองทุนต่างๆ ด้วยการขายพันธบัตรที่มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกัน (เช่น จานวนเงิ นคงค้าง ประวัติการชาระ เงินคืน ระยะเวลา และสกุลเงิน) ในตลาดเงื่อนไขตามสัญญาเงินกู้อนุญาตให้ผู้กู้ (ลูกค้าที่ทา การจานอง) สามารถจ่ายชาระเงินก่อนครบกาหนดได้ (ซึ่งเป็นการทาตามภาระผูกพันที่มีต่อ ธนาคาร) ด้วยการซื้อพันธบัตรตามมูลค่ายุติธรรมในตลาด และส่งมอบพันธบัต รนั้นให้กับ ธนาคาร จากการที่มีสิทธิในการชาระเงินคืนก่อนครบกาหนดตามสัญญา หากคุณภาพเครดิต ของพันธบัตรนั้นด้อยลงหรือแย่ลง (ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินของธนาคารจะลดลง) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ให้กู้ของธนาคารจะลดลงตามด้วย การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมขอ งสินทรัพย์นั้นจะสะท้อนให้เห็นถึงสิทธิตามสัญญาของลูกค้าในการจ่ายชาระคืน สินเชื่อจานองก่อนถึงกาหนดได้ด้วยการซื้อพันธบัตรตามมูลค่ายุติธรรม (ที่มีมูลค่าลดลงใน ตัวอย่างนี้) และส่งมอบพันธบัตรนั้นให้กับธนาคารที่รับจำนอง ดังนั้นผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงความเสี่ยงด้าน สินเครดิตของหนี้สิน (พันธบัตร) จะเป็นสิ่งชดเชยกาไรหรือ ขาดทุน ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิน (สินเชื่อ) โดยหากผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินนั้นแสดงในกาไร

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 1 61 ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจะทาให้เกิดการจับคู่อ ย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี ในกาไรหรือขาดทุน ดังนั้นธนาคารที่รับจานองจึงถูกกาหนดให้ต้องแสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ หนี้สินทางการเงิน (ซึ่งรวมถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของ หนี้สินด้วย) ในกาไรและขาดทุน ข 5 . 6 . 1 1 ตัวอย่างในย่อหน้า ที่ ข 5 . 6 . 10 นั้นมีความเกี่ยวเนื่องระหว่างผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงใน ความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินและการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทาง การเงิน (ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของสิทธิตามสัญญาของลูกค้าในการจ่ายชาระคืนสินเชื่อก่อนกาหนด ด้วยการซื้อพันธบัตรตามมูลค่ายุติธรรม และส่งมอบพันธบัตรนั้นให้กับธนาคาร) อย่างไรก็ตาม การจับคู่อย่างไม่เหมาะสมทางการบัญชี นั้นอาจเกิดกับขึ้นได้ในกรณีที่ไม่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ข 5 . 6 . 1 2 เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 มาปฏิบัติ การจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชีนั้นไม่ได้เกิดจากวิธีการวัดมูลค่าที่กิจการใช้ในการกำหนดผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินเท่านั้น การจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชี ในกาไรหรือขาดทุนนั้นจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ผลกระทบของการเปลี่ยนแป ลงใน ความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน (ตามที่ระบุไว้ในบทที่ 8 ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้) นั้น ถูกคาดการณ์เพื่อชดเชยการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินอื่น การไม่สามารถจับคู่ทางบัญชีอันเนื่องมาจากวิธีการวัดมูลค่าแต่เพียงอย่างเดียว (เช่น เกิดจาก การที่กิจการนั้นไม่แยกการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินออกจากการ เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมอื่นๆ) นั้นไม่ส่งผลกระทบต่อการกาหนดตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 เช่น กิจการนั้นอาจไม่แยกการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สิน ออกจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หากกิจการนั้นแสดงผลกระทบของทั้ง สองปัจจัยรวมกันในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การไม่สามารถจับคู่ได้นั้นอาจเกิดขึ้นเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงในความ เสี่ยงด้านสภาพคล่องนั้นอาจรวมอยู่ในการวัดมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ทางการเงินของกิจการและการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมทั้งหมดของสินทรัพย์ นั้นแสดงในกำไรและขาดทุน อย่างไรก็ตามการไม่สามารถจับคู่ทางบัญชีนั้นเกิดจากการ วัดมูลค่าที่ไม่ชัดเจน ไม่ใช่ความสั มพันธ์ที่ชดเชยกันตามที่อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 6 และ จะไม่ส่งผลกระทบต่อการพิจารณาตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 คาจากัดความของ “ ความเสี่ยงด้านเครดิต ” (ย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 6 ) ข 5 . 6 . 1 3 บทที่ 8 ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ระบุว่าความเสี่ยงด้านเครดิตเป็น “ ความเสี่ยงที่ ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีต่อเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งส่งผลให้อีกฝ่ายหนึ่งขาดทุนทางการเงินจากการ ไม่ปฏิบัติตามภาระผูกพัน ” ข้อกาหนดตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 นั้นเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงที่ ผู้ออกนั้นอาจไม่ปฏิบัติตามภาระผูก พันนั้น โดยไม่มีความจำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับความ น่าเชื่อถือด้านเครดิตของผู้ออก ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่กิจการออกหนี้สินที่เหมือนกันทั้งที่มี สินทรัพย์ค้าประกันและไม่มีสินทรัพย์ค้าประกัน ความเสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินทั้งสองนั้นจะ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 162 แตกต่างกัน แม้ว่ามีผู้ออกคนเดีย วกันก็ตาม หนี้สินที่มีสินทรัพย์ค้าประกันจะมีความเสี่ยง ด้านเครดิตของน้อยกว่าหนี้สินที่ไม่มี สินทรัพย์ค้าประกัน ความเสี่ยงด้านเครดิตสาหรับหนี้สิน ที่มีสินทรัพย์ค้าประกันอาจเข้าใกล้ศูนย์ก็ได้ ข 5 . 6 . 1 4 เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 มาปฏิบัติ ความเสี่ยงด้านเครดิตนั้นแตกต่างจาก ความเสี่ยงของผลการดาเนินงานจากสินทรัพย์ที่ระบุไว้ ความเสี่ยงของผลการดาเนินงานจาก สินทรัพย์ที่ระบุไว้ไม่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงที่กิจการไม่สามารถยกเลิกภาระผูกพันบางอย่างได้ แต่ว่าเกี่ยวกับความเสี่ยงที่รายการสินทรัพย์ใดๆ หรือ กลุ่มสินทรัพย์นั้นจะมีผลประกอบการ ขาดทุน (หรือขาดทุนอย่างมาก) ข 5 . 6 . 1 5 ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นความเสี่ยงจากผลการดาเนินการของสินทรัพย์ที่ระบุไว้ ข 5 . 6 . 1 5 . 1 หนี้สินที่มีลักษณะเชื่อมต่อหน่วย ( unit - linking feature ) โดยที่จานวนเงินจาก ผู้ลงทุนถูกกำหนดจากผลการดำเนินงานของสินทรัพย์ที่ระบุไว้ หนี้สินที่มี ลักษณะการเชื่อมต่อหน่วย ( unit - linking feature ) ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่า ยุติธรรมถือเป็นความเสี่ยงของผลการดาเนินงานจากสินทรัพย์ที่ระบุไว้ไม่ใช่ ความเสี่ยงด้านเครดิต ข 5 . 6 . 1 5 . 2 หนี้สินที่ออกโดยกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นกิจการที่เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายแยกต่างหากทาให้สินทรัพย์ของกิจการ มีการกันไว้เพื่อผลประโยชน์ของนักลงทุนโดยเฉพาะ ถึงแม้จะอยู่ในสภาวะที่ ล้มละลาย กิจการไม่สามารถทาธุรกรรมอื่นๆ และสินทรัพย์ ของกิจการนั้นไม่ สามารถนาไปจานอง จานวนเงินดังกล่าวจะเป็นของนักลงทุนในกรณีที่สินทรัพย์ ได้กันไว้สำหรับสินทรัพย์ที่สามารถสร้างกระแสเงินสดได้เท่านั้น ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินนั้นสะท้อนการเปลี่ยนแปลงมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ ผลอั นเนื่องมาจากผลการดาเนินงานของสินทรัพย์สาหรับ มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินจัดเป็นความเสี่ยงของผลการดาเนินงานจากสินทรัพย์ ที่ระบุไว้ ไม่ใช่ความเสี่ยงด้านเครดิต การประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิต ข 5 . 6 . 1 6 เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาย่อหน้า ที่ 5 . 6 . 5 . 1 มาปฏิบัติ กิจการสามารถประมาณจานวนเงิน ของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ความเสี่ยงด้านเครดิตด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ ข 5 . 6 . 1 6 . 1 เป็นจำนวนเงินของการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมที่ไม่ได้เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดที่ทาให้ความเสี่ยงด้านตลาดเพิ่มขึ้น (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 7 และ ข 5 . 6 . 1 8 ) หรือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 163 ข 5 . 6 . 1 6 . 2 ใช้วิธีการอื่นซึ่งกิจการเชื่อว่าวิธีนั้นสามารถแสดงจานวนเงินของการเปลี่ยนแปลง ในมู ลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่เกิดจากเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงด้านเครดิตได้ อย่างน่าเชื่อถือ ข 5 . 6 . 1 7 การเปลี่ยนแปลงในสภาวะตลาดที่ทาให้ความเสี่ยงด้านตลาดเพิ่มขึ้นรวมถึงการเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ราคาของเครื่องมือทางการเงินของกิจการอื่น ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยนต่างประเทศ หรือดัชนีราคาหรือดัชนีอัตรา ข 5 . 6 . 1 8 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดที่มีผลต่อหนี้สินอย่างมีนัยสำคัญเป็น การเ ปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยที่สังเกตได้ ( อัตราอ้างอิง ) จานวนเงินที่กล่าวตามย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 6 . 1 สามารถประมาณได้ ดังต่อไปนี้ ข 5 . 6 . 1 8 . 1 ขั้นที่หนึ่งกิจการต้องคำนวณอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของหนี้สิน ณ วันเริ่มรอบระยะเวลา โดยใช้มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินและกระแสเงินสดตาม สัญญาของหนี้สิน ณ วันเริ่มรอบระยะเวลา โดยหักจากอัตราผลตอบแทนของ อัตราดอกเบี้ยที่สังเกตได้ ( อัตราอ้างอิง ) ณ วันเริ่มรอบระยะเวลา เพื่อให้ตรงกับ องค์ประกอบเฉพาะของอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของเครื่องมือทางการเงินนั้น ข 5 . 6 . 1 8 . 2 ขั้นต่อไปกิจการต้องคานวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดของหนี้สินโดยใช้ กระแสเงินสดตามสัญญาของหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา และอัตรำคิดลด เท่ากับผลรวมของ ( 1 ) อัตราดอกเบี้ยที่สังเกตได้ (อัตราอ้างอิง) ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลา และ ( 2 ) ส่วนประกอบเฉพาะของอัตราตอบแทนที่แท้จริงของ เครื่องมือทางการเงินนั้น ตามที่พิจารณาในย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 8 . 1 ข 5 . 6 . 1 8 . 3 ความแตกต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของหนี้สิน ณ วันสิ้นระยะเวลาและ จานวนเงินที่ประมาณได้ตามย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 8 . 2 เป็นการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่ายุติธรรมที่ไม่ได้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยที่สังเกตได้ (อัตราอ้างอิง) กิจการต้องแสดงจานวนเงินดังกล่าวในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 ข 5 . 6 . 1 9 ตัวอย่างในย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 8 สมมติว่า การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมที่มาจากปัจจัย อื่นๆ นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตหรือการเปลี่ยนแปลงในอัตรา ดอกเบี้ยที่สังเกตได้ (อัตราอ้างอิง) มีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสาคัญ จะถือว่าวิธีการนี้ไม่ เหมาะสม ถ้าการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมมาจากปัจจัยอื่นๆอย่างมีนัยสาคัญ ในกรณี ดังกล่าว กิจการจาเป็นต้องใช้วิธีอื่นที่จะประเมินผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง ด้านเครดิตของหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 6 . 2 ) เช่น ในกรณีที่มีเครื่องมือ ทางการเงินที่มีอนุพันธ์แฝง การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์แฝงจะไม่รวมใน จานวนเงินที่แสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 . 1 ข 5 . 6 . 20 ในการวัดมูลค่ายุติธรรม วิธีการวัดมูลค่ายุติธรรมที่กิจการใช้ในการพิจารณาสัดส่วน กา ร เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 164 ด้านเครดิตนั้น กิจการต้องใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ที่มีความเกี่ยวข้องให้มากที่สุดและ ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ให้น้อยที่สุด การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง ( บทที่ 6 ) เครื่องมือ ที่ใช้ ป ้ องกันความเสี่ยง ( หมวดที่ 6 . 2 ) เครื่องมือที่เข้าเงื่อนไข ข 6 . 2 . 1 อนุพันธ์ซึ่งแฝงในสัญญาแบบผสมซึ่งไม่บันทึกบัญชีเป็นรายการแยกต่างหาก กิจการไม่สามารถ เลือกกาหนดให้อนุพันธ์แฝงดังกล่าวเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 2 . 2 ตราสารทุนที่กิจการเป็นผู้ออกนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินของกิจการ ดังนั้นกิจการจึงไม่สามารถเลือกกาหนดเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 2 . 3 สำหรับ การป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ องค์ประกอบของความเสี่ยงเงินตรา ต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ ต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 สัญญาสิทธิที่กิจการเป็นผู้ออก ข 6 . 2 . 4 แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ไม่ได้จากัดสถานการณ์ที่กิจการอาจเลือกกาหนดให้อนุพันธ์ซึ่ง วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ยกเว้น สัญญาสิทธิที่กิจการเป็นผู้ออก ( written options ) บางประเภท สัญญาสิทธิที่กิจการเป็นผู้ออก ( written options ) นั้น ไม่เข้าเงื่อนไขเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง เว้นแต่เลือกกาหนดให้ สัญญาสิทธิดังกล่าวหักกลบกับสัญญาสิทธิที่กิจการได้ซื้อมา ( purchased options ) รวมถึงสัญญา สิทธิที่แฝงในเครื่องมือทางการเงินอื่น ( ตัวอย่างเช่น การออกสัญญาสิทธิที่จะซื้อเพื่อป้องกัน ความเสี่ ยงในหนี้สินที่อาจถูกเรียกชาระคืนก่อนครบกาหนด ) การเลือกกาหนดเครื่องมือที่ใช้ป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 2 . 5 สำหรับการป้องกันความเสี่ยงนอกเหนือจาก การป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ เมื่อกิจการ เลือก กาหนดสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง กิจการอาจ เลือก

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 165 กาหนดให้ทั้งหมดของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงทั้งหมด หรือกาหนดเ ป็นสัดส่วนก็ได้ ข 6 . 2 . 6 เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงรายการใดรายการหนึ่งอาจ เลือก กาหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงสาหรับความเสี่ยงมากกว่าหนึ่งความเสี่ยงก็ได้ โดยต้องเป็นไปตามเงื่อนไข ที่ว่ามีการ เลือก กาหนดเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่เฉพาะเจาะจง กับฐานะความเสี่ยงที่ แตกต่าง กันของรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง ซึ่งรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว สามารถมีความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่แตกต่างกันได้ รายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง ( หมวดที่ 6 . 3 ) รายการที่เข้าเงื่อนไข ข 6 . 3 . 1 กิจการไม่สามารถกำหนดให้สัญญาผูกมัดเพื่อซื้อธุรกิจในการรวมธุรกิจ เป็นรายการที่ มีการป้องกันความเสี่ยง ยกเว้นความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากความเสี่ยงอื่นๆ ไม่สามารถระบุและวัดมูลค่าได้อย่างเฉพาะเจาะจง ซึ่งความเสี่ยงอื่ นๆ เหล่านั้นถือเป็นความ เสี่ยงทั่วไปในการดาเนินธุรกิจ ข 6 . 3 . 2 เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียไม่สามารถถือเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงใน มูลค่ายุติธรรม เนื่องจากวิธีส่วนได้เสียนั้นจะรับรู้กาไรหรือขาดทุนของกิจการที่ไปลงทุนตาม สัดส่วนการลงทุนในกาไรหรือขาดทุน แทนที่จะเป็นการรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน ด้วยเหตุผลเดียวกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่นามาจัดทางบการเงินรวมก็ไม่ สามารถถือเป็นรายการ ที่ มี การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมเช่นกัน เนื่องจากในการ จัดทางบการเงินรวมนั้นกิจการรับรู้กาไรหรือขาดทุนของบริษัทย่อยในกาไรหรือขาดทุน แทนที่ จะเป็นการรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ซึ่งจะแตกต่างจากการป้องกัน ความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิ ในหน่วยงานต่างประเทศ ซึ่งเป็นการป้องกันความเสี่ยงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ไม่ใช่เป็นการป้องกันความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของเงินลงทุน ข 6 . 3 . 3 ย่อหน้าที่ 6 . 3 . 4 อนุญาตให้กิจการเลือกกาหนดรายการซึ่งเป็นการรวมกันของฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงและอนุพันธ์ ให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงสาหรับฐานะเปิดต่อความเสี่ยง โดยรวม ( hedged items aggregated exposures ) เมื่อมีการเลือกกาหนดรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงดังกล่าว กิจกำรต้องประเมินว่าฐานะเปิดต่อความเสี่ยงโดยรวมนั้นได้รวมฐานะเปิด ต่อความเสี่ยงและอนุพันธ์ที่ก่อให้เกิดฐานะเปิดต่อความเสี่ยงรวมที่แตกต่าง โดยมีการจัดการ ราวกับเป็นฐานะเปิดต่อความเสี่ยงใดความเสี่ยงหนึ่ง (หรือกลุ่มความเสี่ยง) เป็นการเฉพาะ หรือไม่ กรณีดังกล่าว กิจกา รอาจเลือกกาหนดรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็นแบบฐานะ เปิดต่อความเสี่ยงโดยรวม ( aggregated exposures ) ก็ได้ ตัวอย่างเช่น ข 6 . 3 . 3 . 1 กิจการอาจป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา (ราคาซื้อเป็นสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ) สาหรับการซื้อกาแฟที่มีความเป็นไปได้ค่ อนข้างแน่ในระดับสูง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 166 มากในระยะเวลา 15 เดือนโดยใช้สัญญา ฟอร์เวิร์ด สาหรับกาแฟที่มีระยะเวลาของ สัญญา 15 เดือน กิจการสามารถพิจารณาว่าการซื้อกาแฟที่มีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากและสัญญา ฟอร์เวิร์ด สาหรับกาแฟดังกล่าว เป็นความ เสี่ยงเงินตราต่างประเทศสกุลดอลลาร์ สหรัฐจานวนคงที่ในอีก 15 เดือนข้างหน้า เพื่อกำหนดเป็นวัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง ( กล่าวคือ เป็นเหมือน กระแสเงินสดจ่ายในสกุลดอลลาร์สหรัฐฯจานวนคงที่ในระยะเวลาอีก 15 เดือน ข้างหน้านั่นเอง) ข 6 . 3 . 3 . 2 กิจการอาจป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศตลอดอายุสัญญาของหนี้สินสกุล เงินตราต่างประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ 10 ปี อย่างไรก็ตาม กิจการยอมรับ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยคงที่ในสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานสาหรับระยะสั้น ถึงกลางเท่านั้น ( กล่าวคือ สองปี) และควา มเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในสกุล เงินที่ใช้ในการดาเนินงานสาหรับระยะเวลาที่เหลือจนครบกาหนด ทุกสองปี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาตามสัญญา ( กล่าวคือ มีการต่ออายุทุกสองปี ) กิจการจะ ดาเนินการเพื่อปรับให้เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ในอีกสองปีข้างหน้า (ถ้าระดับของ ดอกเบี้ยส่ง ผลให้กิจการพิจารณาว่าควรกำหนดให้เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ) ในสถานการณ์ดังกล่าว กิจการอาจเข้าทาสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยจาก อัตราดอกเบี้ยคงที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวและแลกเปลี่ยนสกุลเงินโดยมีอายุ สัญญา 10 ปี ( 10 - year fixed - to - floating cross - currency in terest rate swap ) โดยเปลี่ยนจากหนี้สินสกุลเงินต่างประเทศอัตราดอกเบี้ยคงที่เป็นหนี้สินในสกุล เงินที่ใช้ในการดาเนินงานอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งสัญญาดังกล่าวทับซ้อนกับ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยในระยะเวลา 2 ปี ในระยะเวลา 2 ปีนั้นจึงเกิด เป็นหนี้สินสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานจากหนี้สินอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็น อัตราดอกเบี้ยคงที่ ในแง่ของวัตถุประสงค์เพื่อการบริหารความเสี่ยง ผลลัพธ์สุทธิ ของหนี้สินในสกุลเงินตราต่างประเทศอัตราดอกเบี้ยคงที่และสัญญา การแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยจากอัตราดอกเบี้ยคงที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว แล ะแลกเปลี่ยนสกุลเงินอายุสัญญา 10 ปี จะเท่ากับการมีหนี้สินในสกุลเงินที่ใช้ใน การดาเนินงานอัตราดอกเบี้ยลอยตัวระยะเวลา 10 ปี ข 6 . 3 . 4 เมื่อเลือกกาหนดรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงสาหรับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงโดยรวม ( aggregated exposures ) กิจการต้องพิจารณาผลกระทบรวมจากรายการซึ่งประกอบกันเป็น ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงโดยรวมเพื่อวัตถุประสงค์ในการประเมิน ประสิทธิผลในการป้องกัน ความเสี่ยงและวัดมูลค่าความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว อย่างไรก็ตาม รายการซึ่งประกอบกันเป็นฐานะเปิดต่อความเสี่ ยงโดยรวมยังคงต้องบันทึกบัญชีแยกจากกัน ตัวอย่างเช่น ข 6 . 3 . 4 . 1 รับรู้ อนุพันธ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความเสี่ยงโดยรวม เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินแยก ต่างหากโดยวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม และ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 167 ข 6 . 3 . 4 . 2 ถ้าความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงถูก เลือก กาหนดขึ้นระหว่างรา ยการ ซึ่ง ประกอบกันเป็นฐานะเปิดต่อความเสี่ยงโดยรวม วิธีซึ่งรวม อนุพันธ์เป็นส่วนหนึ่ง ของ ฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงโดยรวมต้องสอดคล้องกับการ เลือก กาหนดอนุพันธ์ ดังกล่าวเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ณ ระดับของ ฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยง โดยรวม ตัวอย่างเช่น ถ้ากิจการแยก องค์ประกอบราคา ฟอร์เวิร์ด ของอนุพันธ์จาก ส่วนที่ เลือก กาหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงสาหรับความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงระหว่างรายการ ซึ่งประกอบกันเป็นฐานะเปิดต่อความ เสี่ยงโดยรวม กิจการก็ต้องแยก องค์ประกอบราคา ฟอร์เวิร์ด เมื่อจะต้อง รวม อนุพันธ์ดังกล่าวเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงอันเป็นส่วนหนึ่งของ ฐานะ เปิดต่อ ความเสี่ยงโดยรวม มิฉะนั้น ความเสี่ยงโดยรวมจะต้องรวมเอาอนุพันธ์เข้า ไว้ทั้งหมดหรือตามสัดส่วนของอนุพันธ์ ข 6 . 3 . 5 ย่อหน้าที่ 6 . 3 . 6 กาหนดว่า ในงบการเงินรวม ความเสี่ยงเงินตราต่างประเ ทศของรายการที่ คาดการณ์ซึ่งเป็นรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมาก อาจเข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดได้ โดยมีเงื่อนไขว่า รายการดังกล่าวต้องอยู่ในรูปของสกุลเงินใดๆ ที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของกิจการ ที่เข้าทารายการดังกล่าว และความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศนั้นต้องส่งผลกระทบต่อกาไรหรือ ขาดทุนรวม สาหรับวัตถุประสงค์ดังกล่าว กิจการที่กล่าวถึงอาจเป็นบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม การร่วมการงาน หรือสาขา ก็ได้ หากค วามเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของรายการ ระหว่างกันที่คาดการณ์ไว้ไม่มีผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุนรวม รายการระหว่างกันดังกล่าว ไม่ถือว่าเข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง ซึ่งโดยปกติ ได้แก่ การจ่ายค่าสิทธิ การจ่ายดอกเบี้ย หรือการจ่ายค่าบริหารจัดการ ซึ่งมี การคิดค่าบริการระหว่างบริษัทในกลุ่ม เว้นแต่รายการดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก แต่หากความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ ของรายการระหว่างกันที่คาดการณ์ไว้มีผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุนรวม รายการระหว่างกัน ดังกล่าวจะถือว่าเข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่ มี การป้องกันความเ สี่ยง ตัวอย่างเช่น การซื้อหรือขาย สินค้าที่คาดการณ์ไว้ระหว่างบริษัทในกลุ่ม โดยที่สินค้าดังกล่าวจะมีการขายต่อบุคคลภายนอก ในทานองเดียวกัน รายการระหว่างกันที่คาดการณ์ไว้ที่เป็นการขายอาคารและอุปกรณ์ระหว่าง บริษัทในกลุ่มซึ่งเป็นผู้ผลิตให้แก่อีกบริษัทหนึ่งในกลุ่มซึ่ งจะใช้ประโยชน์จากอาคารและอุปกรณ์ นั้นในการดาเนินธุรกิจ รายการดังกล่าวอาจมีผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุนรวมได้ ซึ่งอาจเกิด จากการคิดค่าเสื่อมราคาที่เกิดขึ้นจากการใช้สินทรัพย์นั้น และจานวนที่รับรู้เมื่อเริ่มแรกของ สินทรัพย์ถาวรอาจเปลี่ยนแปลงไปหากรายการระหว่างกันที่ คาดการณ์ไว้นั้นเป็นสกุลเงินใดๆ ที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของกิจการที่ซื้ออาคารและอุปกรณ์ ข 6 . 3 . 6 หากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดการณ์ซึ่งเป็นรายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิดขึ้นเข้าเงื่อนไขของการบั ญชีป้องกันความเสี่ยง ผลกาไร หรือขาดทุนใดๆ ต้องรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือตัดออกจากกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 0 ในรอบระยะเวลาที่เกี่ยวข้องหรือในรอบระยะเวลาที่ความ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 168 เสี่ยงเงินตราต่างประเทศของรายการที่ ได้รับ การป้องกันความเสี่ยงมี ผลกระทบต่อกาไรหรือ ขาดทุนรวม การเลือกกาหนดรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 3 . 7 การกาหนดส่วนประกอบของรายการเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ทั้งนี้ส่วนประกอบ ของรายการนั้นเป็นส่วนหนึ่งของรายการทั้งหมด ดังนั้นส่วนประกอบของรายการจึงสะท้อน เพียงความเสี่ยงบางส่วนของรายการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความเสี่ยงหรือสะท้อนความเสี่ยง เพียงบางกรณี ( ตัวอย่างเช่น เมื่อเลือกกาหนดเพียงสัดส่วนหนึ่งของรายการ เป็นต้น) ส่วนประกอบความเสี่ยง ข 6 . 3 . 8 เพื่อเข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ส่วนประกอบความเสี่ยงต้องเป็น องค์ประกอบของรายการทางการเงินหรือหรือรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินที่สามารถระบุ องค์ประกอบได้แยกต่างหาก และการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมของ รายการอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบความเสี่ยงต้องสามารถวัดมู ลค่า ได้ อย่างน่าเชื่อถือ ข 6 . 3 . 9 เมื่อระบุส่วนประกอบความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง ประเมินส่วนประกอบความเสี่ยงดังกล่าวในบริบทของโครงสร้างตลาดที่เฉพาะเจาะจงต่อความ เสี่ยงหรือกลุ่มความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องและในที่ซึ่งกิจกรร มป้องกันความเสี่ยงเกิดขึ้น การตัดสินใจ ดังกล่าวจาเป็นต้องมีการประเมินข้อเท็จจริงและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องซึ่งจะแตกต่างกันไป ตามความเสี่ยงและตลาด ข 6 . 3 . 1 0 เมื่อเลือกกาหนดส่วนประกอบความเสี่ยงเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง พิจารณาว่าส่วนประกอบควา มเสี่ยงได้ถูกระบุอย่างชัดเจนในสัญญา ( ส่วนประกอบความเสี่ยงที่ ระบุตามสัญญา) หรือบอกเป็นนัยโดยเป็นส่วนหนึ่งของมูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดของ รายการ ( ส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้ระบุตามสัญญา ) ส่วนประกอบความเสี่ยงที่ไม่ได้ระบุ ตามสัญญาสามารถเกี่ยวข้องกับรายการ ที่ไม่เป็นสัญญา ( ตัวอย่างเช่น รายการที่คาดการณ์) หรือสัญญาที่ไม่ระบุองค์ประกอบอย่างชัดเจน ( ตัวอย่างเช่น สัญญาผูกมัดที่กาหนดราคาเพียง ราคาเดียวแทนที่จะกาหนดเป็นสูตรการคานวณราคาซึ่งอ้างอิงข้อมูลที่หลากหลาย) ตัวอย่างเช่น ข 6 . 3 . 1 0 . 1 กิจการ ก มีสัญญาระยะยาวเพื่อซื้ อแก๊สธรรมชาติซึ่งใช้สูตรคานวณราคาที่ระบุตาม สัญญาโดยอ้างอิงจากสินค้าโภคภัณฑ์และปัจจัยอื่น ( ตัวอย่างเช่น น้ามัน น้ามันเตา และองค์ประกอบอื่น เช่น ค่าขนส่ง) กิจการ ก ป้องกันความเสี่ยงองค์ประกอบ ของน้ามันในสัญญาซื้อดังกล่าวโดยใช้สัญญาฟอร์เวิร์ดน้ามัน เนื่องจาก องค์ประกอบของน้ามันถูกระบุในข้อกาหนดและเงื่อนไขตามสัญญาซื้อ ดังนั้น ส่วนประกอบความเสี่ยงจึงเป็นสิ่งที่ถูกระบุตามสัญญา อย่างไรก็ตามจากสูตรการ คานวณราคา กิจการ ก สรุปได้ว่าความเสี่ยงของราคาน้ามันสามารถระบุแยกได้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 169 ต่างหาก โดยมีราคาตลาดของสัญญาฟอร์เวิร์ดน้ามันในเว ลาเดียวกัน กิจการ ก จึงสรุปได้ว่าความเสี่ยงของราคาน้ามันสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ดังนั้น ความเสี่ยงของราคาน้ามันในสัญญาซื้อจึงสามารถเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ เข้าเงื่อนไขในการเลือกกาหนดเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 3 . 1 0 . 2 กิจการ ข ทาการป้องกันความเสี่ยงในการซื้อกาแฟล่วงหน้าโดยพิจารณาจากการ คาดการณ์การผลิตของกิจการ การป้องกันความเสี่ยงจะเริ่มและดาเนินการเป็น ระยะเวลาไม่เกิน 15 เดือน ก่อนการส่งมอบสินค้าที่คาดการณ์ไว้ กิจการ ข ได้เพิ่ม ปริมาณกาแฟที่ป้องกันความเสี่ยงตามกาลเวลา ( ตา มวันที่ส่งมอบ) โดยกิจการ ข ใช้สัญญา 2 ประเภท ในการจัดการความเสี่ยงในราคากาแฟ ข 6 . 3 . 10 . 2 . 1 สัญญาซื้อขายกาแฟในตลาดล่วงหน้า และ ข 6 . 3 . 10 . 2 . 2 สัญญาซื้อกาแฟอาราบิก้าจากโคลัมเบียโดยส่งมอบมายังโรงงานที่ ระบุไว้ สัญญานี้กาหนดราคากาแฟต่อตันโดยใช้สูตรการคานวณ ราคา ซึ่งคำ นวณจากราคาตามสัญญาซื้อขายกาแฟในตลาด ล่วงหน้ารวมกับราคาส่วนแตกต่างคงที่และค่าบริการขนส่งผัน แปร สัญญาซื้อกาแฟเป็นสัญญาที่มีภาระโดยกิจการ ข ที่จะต้อง รับภาระให้มีการส่งมอบกาแฟเกิดขึ้นจริง การเข้าทำสัญญาสั่งซื้อกาแฟสำหรับการส่งมอบที่เกี่ยวข้องกับฤดูเก็บเกี่ยว ในปัจจุบันอนุญาตให้กิจการ ข กาหนดราคาส่วนต่างระหว่างคุณภาพจริงของ กาแฟที่ซื้อ (กาแฟอาราบิก้าจากโคลัมเบีย) กับคุณภาพมาตรฐานที่เป็นเกณฑ์ อ้างอิงของสัญญาซื้อขายในตลาดล่วงหน้าเป็นราคาคงที่ อย่างไรก็ตาม สาหรับการ ส่งมอบที่เกี่ยวข้องกับฤดูเก็บเกี่ยวถัดไป ตลา ดยังไม่เปิดให้ทาสัญญาการสั่งซื้อ กาแฟ ดังนั้นราคาส่วนต่างดังกล่าวจึงไม่สามารถกาหนดได้ กิจการ ข ใช้สัญญา การซื้อขายกาแฟในตลาดล่วงหน้าในการป้องกันความเสี่ยงในราคากาแฟที่มี เกณฑ์อ้างอิงคุณภาพเป็นองค์ประกอบสาหรับความเสี่ยงในราคากาแฟของฤดูเก็บ เกี่ยวปัจจุบันเช่นเดี ยวกับฤดูเก็บเกี่ยวถัดไป กิจการ ข ได้พิจารณาว่ากิจการมี ความเสี่ยง 3 ด้าน ความเสี่ยงในราคากาแฟที่สะท้อนเกณฑ์อ้างอิงคุณภาพ ความเสี่ยงจากราคากาแฟที่สะท้อนความแตกต่างระหว่างราคากาแฟที่มีเกณฑ์ อ้างอิงคุณภาพมาตรฐานกับราคากาแฟที่เป็นกาแฟอาราบิก้าจากโคลัมเบียที่ได้ รับส่งมอบจริงและราคาค่าขนส่งที่ผันแปร หลังจากที่กิจการ ข เข้าทาสัญญาสั่งซื้อ กาแฟสาหรับการส่งมอบที่เกี่ยวข้องกับฤดูเก็บเกี่ ยวปัจจุบัน ความเสี่ยงในราคา กาแฟที่สะท้อนเกณฑ์อ้างอิงคุณภาพเป็นส่วนประกอบความเสี่ยงที่ระบุไว้ตาม สัญญาเนื่องจากสูตรการคานวณราคาได้รวมการปรับราคาตามดัชนีราคาสัญญาซื้อ ขายกาแฟในตลาดล่วงหน้า กิจการ ข สรุปได้ว่าส่วนประกอบความเสี่ยงสามารถ ระบุองค์ประกอบแยกได้ต่างหำกและสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ สาหรับการส่งมอบที่เกี่ยวข้องกับฤดูเก็บเกี่ยวถัดไป กิจการ ข ยังไม่สามารถ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 170 เข้าทาสัญญาซื้อกาแฟ (กล่าวคือ การส่งมอบดังกล่าวเป็นรายการที่คาดการณ์) ดังนั้นความเสี่ยงในราคากาแฟที่สะท้อนเกณฑ์อ้ำงอิงคุณภาพถือเป็นส่วนประกอบ ความเสี่ยงที่ไม่มีสัญญา การวิเคราะห์ของกิจการ ข เรื่องโครงสร้างตลาดได้ คานึงถึงวิธีตีราคากาแฟเฉพาะเจาะจงที่ท้ายสุดกิจการ ข ได้รับ ดังนั้นตามเกณฑ์ ที่มีการวิเคราะห์โครงสร้างตลาดนี้ กิจการ ข สรุปได้ว่ารายการที่คาดการณ์ได้รวม ควา มเสี่ยงในราคากาแฟที่สะท้อนเกณฑ์อ้างอิงคุณภาพตามส่วนประกอบ ความเสี่ยงที่สามารถระบุองค์ประกอบได้แยกต่างหากและสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่าเชื่อถือถึงแม้จะไม่มีการกาหนดเป็นสัญญา ดังนั้นกิจการ ข อาจเลือก กำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตามพื้นฐานส่วนประกอบ ความเสี่ยง (สาหรับความเสี่ยงในราคากาแฟที่สะท้อนเกณฑ์อ้างอิงคุณภาพ) สาหรับสัญญาซื้อกาแฟรวมถึงรายการซื้อที่คาดการณ์ไว้ ข 6 . 3 . 1 0 . 3 กิจการ ค ป้องกันความเสี่ยงส่วนหนึ่งของการซื้อน้ามันเครื่องบินตามการบริโภค ของกิจการที่คาดการณ์เป็นระยะเวลาไม่เกิน 24 เดือนก่อนการส่งมอบและเพิ่ม ปริมาณในการป้องกันความเสี่ยงตามกาลเวลา กิจการ ค ป้องกันความเสี่ยงโดยใช้ สัญญาหลากหลายประเภทขึ้นอยู่กับรอบระยะเวลาการป้องกันความเสี่ยงซึ่ง เป็น ผลมาจากสภาพคล่องของตลาดอนุพันธ์ สาหรับรอบระยะยาว ( 12 - 24 เดือน) กิจการ ค ใช้สัญญาน้ามันดิบเ นื่องจากมีสภาพคล่องเพียงพอ สำหรับรอบ ระยะเวลา 6 - 12 เดือน กิจการ ค ใช้อนุพันธ์น้ามันเนื่องจากมีสภาพคล่อง ที่ เพียงพอ สาหรับรอบระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน กิจการ ค ใช้สัญญาน้ามันเครื่องบิน การวิเคราะห์ของกิจการ ค เกี่ยวกับโครงสร้างตลาดน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน และกา รประเมินผลที่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ข 6 . 3 . 1 0 . 3 . 1 กิจการ ค ดาเนินธุรกิจในด้านภูมิศาสตร์โดยใช้น้ามันดิบเบรนท์ เป็นเกณฑ์อ้างอิง น้ามันดิบเป็นเกณฑ์อ้างอิงวัตถุดิบที่กระทบ ราคาผลิตภัณฑ์น้ามันกลั่นหลายชนิดเนื่องจากน้ามันดิบเป็น วั ตถุดิบพื้นฐาน น้ามันเป็นเกณฑ์อ้างอิงสาหรับผลิตภัณฑ์น้ามัน กลั่นซึ่งใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการกาหนดราคาน้ามันกลั่นทั่วไป ซึ่งราคานี้มีผลกระทบต่อตราสารอนุพันธ์ทางการเงินประเภท ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามันกลั่นที่ กิจการ ค ดาเนินธุรกิจอยู่ ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินดังกล่าว ได้แก่  สัญญาซื้อขายน้ามันดิบล่วงหน้าที่อ้างอิงกับน้ามันดิบเบรนท์  สัญญาซื้อขายน้ามันล่วงหน้าซึ่งใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการ กาหนดราคาน้ามันกลั่น ตัวอย่างเช่น อนุพันธ์ส่วนต่างของ น้ามันเครื่องบิน ( jet fuel spread derivative ) ซึ่งช่วย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 171 ชดเชยราคาส่วนต่างระหว่างราคาน้ามันเครื่องบินกับราคา น้ามันมาตรฐานและ  อนุพันธ์ส่วนต่างราคาน้ามันมาตรฐาน (อนุพันธ์สำหรับ ส่วนต่าง ราคาระหว่างน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามัน สาเร็จรูป (กาไรจากผลิตภัณฑ์น้ามันกลั่น)) ที่อ้างอิงจาก น้ามันดิบเบรนท์ ข 6 . 3 . 1 0 . 3 . 2 กา รกำหนดราคาผลิตภัณฑ์น้ามันกลั่นจะไม่ขึ้นกับน้ามันดิบ เฉพาะเจาะจงใดๆ ที่ถูกกลั่นมาจากโรงกลั่นน้ามันเฉพาะเจาะจง เนื่องจากผลิตภัณฑ์น้ามันกลั่น (เช่น น้ามันหรือน้ามันเครื่องบิน) เป็นผลิตภัณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นกิจการ ค สรุปว่าความเสี่ยงในราคาซื้อน้ามันเครื่องบินได้รว มส่วนประกอบ ความเสี่ยงในราคาของน้ามันดิบซึ่งมาจากความเสี่ยงในราคาน้ามันดิบเบรนท์และ ราคาน้ามัน แม้ว่าน้ามันดิบและน้ามันไม่ถูกระบุไว้ในข้อตกลงตามสัญญาใดๆ กิจการ ค สรุปว่าองค์ประกอบความเสี่ยงทั้งสองนี้สามารถระบุองค์ประกอบแยก ได้ต่างหากและสามารถวัดมูลค่าได้อย่าง น่าเชื่อถือแม้ว่าจะไม่ได้ระบุไว้ในสัญญา ดังนั้น กิจการ ค อาจเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงสาหรับ การซื้อน้ามันเครื่องบินที่คาดการณ์ไว้ ตามเกณฑ์ส่วนประกอบความเสี่ยง (สาหรับ น้ามันดิบและน้ามัน) การวิเคราะห์นี้ยังสามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ ตัวอย่าง เช่น หากกิจการ ค ใช้อนุพันธ์น้ามันดิบที่อ้างอิงกับน้ามันดิบดับบลิวทีไอ ( West Texas Intermediate ( WTI )) การเปลี่ยนแปลงของราคาส่วนต่างระหว่างน้ามันดิบเบรนท์ กับน้ามันดิบดับบลิวทีไออาจเป็นเหตุทาให้การป้องกันความเสี่ยงไม่มีประสิทธิผล ข 6 . 3 . 1 0 . 4 กิจการ ง ถือตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ ตราสารนี้ถูกออกในสภาพแวดล้อม ที่ตลาดมีตราสารหนี้ที่ลักษณะคล้ายคลึงกันส่วนมากมีการเปรียบเทียบอัตราส่วน ต่างของตราสารหนี้กับอัตราอ้างอิง (เช่น LIBOR ) และในสภาพแวดล้อมดังกล่าว ตราสารที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยปกติแล้วจะมีการอ้าง อิงกับอัตราอ้างอิง สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยโดยส่วนใหญ่จะใช้จัดการความเสี่ยงในอัตรา ดอกเบี้ยตามอัตราอ้างอิงโดยไม่คานึงถึงอัตราส่วนต่างของตราสารหนี้กับอัตรา อ้างอิง ราคาของตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่จะผันแปรโดยตรงตามการ เปลี่ยนแปลงของอัตราอ้างอิงที่เกิดขึ้ น กิจการ ง สรุปว่าอัตราอ้างอิงเป็น องค์ประกอบที่สามารถระบุได้แยกต่างหากและวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ดังนั้น กิจการ ง อาจเลือกกำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงสำหรับ ตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ตามพื้นฐานของส่วนประกอบความเสี่ยงที่เป็นความ เสี่ยง จากอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ข 6 . 3 . 11 เมื่อเลือกกำหนดส่วนประกอบความเสี่ยงเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงให้ถือ ปฏิบัติการบัญชีป้องกันความเสี่ยงกับส่วนประกอบความเสี่ยงนั้นเช่นเดียวกับที่ถือปฏิบัติกับ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 172 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งมิได้เป็นส่วนประกอ บความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น การ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์คุณสมบัติถูรวมถึงความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงต้องเป็นไป ตามข้อกาหนดของการมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง และมีการวัดมูลค่าและรับรู้การ ป้องกันความเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิผล ข 6 . 3 . 12 กิจการยังสามารถเลือก กาหนดให้การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดหรือมูลค่ายุติธรรมของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เป็นไปในทิศทางที่สูงกว่าหรือต่ากว่าราคาหรือตัวแปรอื่นที่ ระบุไว้ (ความเสี่ยงทางเดียว ( one - sided risk )) เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงมูลค่าที่ แท้จริง ( intrinsic v alue ) ของสัญญาสิทธิที่กิจการซื้อมาซึ่งเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง (สมมุติว่าตราสารนี้มีเงื่อนไขเกี่ยวกับเงินต้นเหมือนกับความเสี่ยงที่เลือกกาหนด) ซึ่งไม่ใช่ส่วน ของมูลค่าตามเวลา จะสะท้อนความเสี่ยงด้านเดียวในรายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่ำงเช่น กิจการสามารถเลือกกาหนดความแปรปรวนของกระแสเงินสดในอนาคตอันเป็น ผลกระทบมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาซื้อสินค้าโภคภัณฑ์ที่คาดการณ์ไว้ ในสถานการณ์เช่นนี้ กิจการเลือกกาหนดเฉพาะกระแสเงินสดที่ขาดทุนจากการเพิ่มขึ้นของราคาที่สูงกว่าระดับที่ระบุ ไว้เป็นรายการที่ได้รั บการป้องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงไม่รวมมูลค่าตามเวลาของ สัญญาสิทธิที่กิจการซื้อมา เนื่องจากมูลค่าตามเวลาไม่เป็นองค์ประกอบของรายการที่คาดการณ์ ที่ส่งผลกระทบต่อกาไรและขาดทุน ข 6 . 3 . 13 มีข้อสันนิษฐานที่สามารถโต้แย้งว่า หากไม่มีการระบุความเสี่ยงจากสภา วะเงินเฟ้อไว้ในสัญญา ความเสี่ยงนั้นจะไม่สามารถระบุเป็นส่วนประกอบที่ได้แยกต่างหากและไม่สามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่าเชื่อถือ ซึ่งทาให้ไม่สามารถเลือกกาหนดให้เป็นส่วนประกอบความเสี่ยงของเครื่องมือ ทางการเงิน อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ที่จากัด มีความเป็นไปได้ที่จะระบุ ส่วนประกอบความ เสี่ยงในความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อเป็นความเสี่ยงที่สามารถระบุองค์ประกอบได้แยกต่างหาก และสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ทั้งนี้เนื่องจากกรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่มีลักษณะเฉพาะ ของสภาพแวดล้อมในภาวะเงินเฟ้อและตลาดตราสารหนี้ที่เกี่ยวข้อง ข 6 . 3 . 14 ตัวอย่างเช่น กิจการออกตราสารหนี้ในสภาพแวดล้อมที่พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ ( inflation - linked bonds ) โดยมีปริมาณและโครงสร้างอัตราผลตอบแทนที่ส่งผลให้เกิดตลาดที่มีสภาพ คล่องเพียงพอที่อนุญาตให้มีหุ้นกู้ที่มีโครงสร้างอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง แบบที่ไม่มี การจ่ายดอกเบี้ย ซึ่งในแต่ละสกุลเงินนั้น สภาวะเงินเฟ้อเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่มีการ พิจารณาแยกต่างหากในแต่ละตลาดตราสารหนี้ ในสถานการณ์ดังกล่าวส่วนประกอบความ เสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อสามารถกาหนดได้ โดยการคิดลดกระแสเงินสดของตราสารหนี้ที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงโด ยใช้โครงสร้างอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่ไม่มีการจ่าย ดอกเบี้ย (กล่าวคือ กรณีคล้ายกับการกำหนดองค์ประกอบอัตราดอกเบี้ยที่ปราศจาก ความเสี่ยง) แต่โดยส่วนมากส่วนประกอบความเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อไม่สามารถระบุ องค์ประกอบได้แยกต่างหากและไม่สามารถวัดมูลค่ำได้อย่างน่าเชื่อถือ ตัวอย่างเช่น กิจการ ออกตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยปกติในสภาพแวดล้อมที่ตลาดสาหรับพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อที่ มีสภาพคล่องไม่เพียงพอที่จะอนุญาตให้มีโครงสร้างอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ยที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 173 แท้จริงแบบที่ไม่มีการจ่ายดอกเบี้ย ในกรณีนี้การวิเคราะห์โค รงสร้างตลาดรวมถึงปัจจัยและ สถานการณ์ต่างๆ ไม่เอื้อให้กิจการสรุปว่าสภาวะเงินเฟ้อเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องที่ตลาดตราสารหนี้ จะพิจารณาแยกต่างหาก ดังนั้นกิจการจึงไม่สามารถจัดการกับข้อสันนิษฐานที่ยังมีข้อโต้แย้ง เรื่องความเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อที่ไม่มีการระบุในสัญญา ไม่ สามารถระบุองค์ประกอบแยก ต่างหากและไม่สามารถวัดมูลค่าอย่างน่าเชื่อถือ ส่วนประกอบความเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อจึง ไม่เข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง กรณีนี้ถูกนามาถือปฏิบัติโดยไม่คานึงถึง เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อที่กิจการไ ด้เข้าทารายการจริงแล้ว กล่าว โดยเฉพาะ กิจการไม่สามารถกระทาเพียงคานวณระยะเวลาผลตอบแทนและเงื่อนไขของ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อจริงโดยการใช้ระยะเวลาผลตอบแทนและ เงื่อนไขดังกล่าวอ้างอิงกับตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยปกติได้ ข 6 . 3 . 15 ส่วนประกอบควำมเสี่ยงจากสภาวะเงินเฟ้อที่ระบุตามสัญญาของกระแสเงินสดของพันธบัตร ชดเชยเงินเฟ้อ (สมมุติว่าไม่มีข้อกาหนดให้บันทึกบัญชีอนุพันธ์แฝงเป็นรายการแยกต่างหาก) สามารถระบุองค์ประกอบได้แยกต่างหากและสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือได้ตราบใดที่ ส่วนประกอบความเสี่ยงจากสภา วะเงินเฟ้อไม่ส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดอื่นของพันธบัตรนั้น องค์ประกอบของจำนวนเงินที่กำหนดไว้ ข 6 . 3 . 16 องค์ประกอบของจานวนเงินที่กาหนดไว้ ที่สามารถเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงตามความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมีสองประเภท คือ องค์ประกอบนั้นเป็น สัดส่วนของรายการทั้งหมดหรือเป็นส่วนประกอบลาดับชั้น ( layer component ) ประเภทของ องค์ประกอบมีผลต่อผลลัพธ์ทางบัญชี ดังนั้น กิจการควรเลือกกาหนดองค์ประกอบ เพื่อให้ การจัดทาบัญชีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงของกิจการ ข 6 . 3 . 17 ตัวอ ย่างเช่น องค์ประกอบที่เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของกระแสเงินสดตามสัญญาเงินกู้ ข 6 . 3 . 18 ส่วนประกอบลาดับชั้นอาจถูกระบุได้จากกลุ่มประชากรเปิดที่เฉพาะเจาะจงหรือจากจานวนเงิน ที่กาหนดไว้ ตามที่ระบุ ตัวอย่างดังนี้ ข 6 . 3 . 18 . 1 ส่วนของปริมาณธุรกรรมที่เป็นตัวเงิน ตัวอย่าง เช่น กระแสเงินสดจากการขายที่ เป็น เงินตราต่างประเทศจานวน 10 ซึ่งถัดจาก 20 แรก สาหรับรายการของเดือน มีนาคม 255 X ข 6 . 3 . 18 . 2 ส่วนของปริมาณทางกายภาพ ตัวอย่างเช่น ชั้นล่างสุดของแก๊สธรรมชาติที่ วัดปริมาณได้ 5 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งถูกเก็บรักษาไว้ในสถานที่ กขค ข 6 . 3 . 18 . 3 ส่วนของปริมาณทางกายภาพหรือปริมาณธุรกรรมอื่น ตัวอย่างเช่น น้ามัน 100 บาร์เร็ลแรกที่ซื้อในเดือนมิถุนายน 255X หรือ ยอดขายของกระแสไฟฟ้า 100 เมกกะวัตต์แรกในเดือนมิถุนายน 255X หรือ ข 6 . 3 . 18 . 4 ลำดับชั้นจากจำนวนเงินที่กำหนดไว้ของรายการที่มีกำรป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น 80 ล้านสุดท้ายของสัญญาผูกมัดมูลค่า 100 ล้าน ระดับชั้นล่างสุด 20 ล้านของพันธบัตรอัตราดอกเบี้ยคงที่มูลค่า 100 ล้าน หรือระดับชั้นสูงสุด 30

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 174 ล้านจากตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ จานวนเงินรวม 100 ล้าน ที่สามารถจ่าย ล่วงหน้าได้ในรา คายุติธรรม (จานวนเงินที่กาหนดไว้ตามที่ระบุคือ 100 ล้าน) ข 6 . 3 . 19 หากส่วนประกอบลาดับชั้นถูกเลือกกาหนดในการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม กิจการ ต้องกาหนดส่วนประกอบนั้นจากจานวนเงินที่กาหนดไว้ตามที่ระบุ ในการปฏิบัติตามข้อกาหนด เกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงใน มูลค่ายุติธรรมที่เข้าเงื่อนไข กิจการต้องวัดมูลค่ารายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงใหม่สาหรับการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรม (กล่าวคือ วัดมูลค่า รายการใหม่ เพื่อหามูลค่ายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปตามความเสี่ยงที่มีการป้องกัน) การปรับปรุง รายการป้องกันความเสี่ยงในมู ลค่ายุติธรรมต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนก่อนที่จะถูก เลิกรับรู้ รายการ ดังนั้นกิจการจาเป็นต้องติดตามถึงรายการที่เกี่ยวข้องกับรายการปรับปรุงการป้องกัน ความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมดังกล่าว สาหรับส่วนประกอบลาดับชั้นในการป้องกันความเสี่ยงใน มูลค่ายุติธรรม กิจการต้องติดตามจานวนเงินที่กาหนดไว้ ตามที่ระบุ เช่น ในย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 18 . 4 จานวนเงินที่กาหนดไว้ ตามที่ระบุทั้งหมดของ 100 ล้านจะต้องมีการติดตามเพื่อที่จะกาหนด ระดับชั้นล่างสุด 20 ล้าน หรือระดับชั้นสูงสุด 30 ล้าน ข 6 . 3 . 2 0 ส่วนประกอบลาดับชั้นที่รวมสิทธิในการชาระเงินก่อนครบกาหนดไม่มีคุณสมบัติที่จะถูกเลือก กาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม หากมูลค่ายุติธรรมของสิทธิ ในการชาระเงินก่อนครบกาหนดนั้นได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงที่มีการ ป้องกัน ยก เว้นการเลือกกาหนดระดับชั้นได้รวมผลกระทบของสิทธิในการชาระเงินก่อนครบ กาหนดที่เกี่ยวข้อง เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและกระแสเงินสดทั้งหมดของรายการ ข 6 . 3 . 21 หากองค์ประกอบกระแสเงินสดของรายการทางการเงินและรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงิน ถูกเลือกกำหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง องค์ประกอบดังกล่าวจะต้อง มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากันกับกระแสเงินสดรวมของรายการทั้งรายการ อย่างไรก็ตามกระแสเงิน สดรวมของรายการดังกล่าวอาจถูกเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและมี การป้องกันความเสี่ยงเพียงความเสี่ยงเดียว (ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่เป็นไปตาม การเปลี่ยนแปลงใน LIBOR หรือเกณฑ์อ้างอิงราคาสินค้าโภคภัณฑ์) ข 6 . 3 . 22 ตัวอย่างเช่น กรณีหนี้สินทางการเงินที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงต่อปีต่ากว่า LIBOR กิจการไม่ สามารถเลือกกาหนด ข 6 . 3 . 22 . 1 องค์ประกอบหนี้สินให้เท่ากับดอกเบี้ย LIBOR (รวมกับเงินต้นในกรณีที่เป็น การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม) และ ข 6 . 3 . 22 . 2 องค์ประกอบคงเหลือติ ดลบ ข 6 . 3 . 23 อย่างไรก็ตามในกรณีที่หนี้สินทางการเงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ ที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงต่อปีมีค่า (ตัวอย่างเช่น) ต่ากว่า LIBOR ร้อยละ 1 กิจการสามารถเลือกกำหนดเป็นรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงที่มีการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าหนี้สินทั้งหมด (คือ เงินต้ นรวมกับดอกเบี้ยที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 175 LIBOR – 1 % ) ไปตามการเปลี่ยนแปลงของ LIBOR หากเครื่องมือทางการเงินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่มีการป้องกันความเสี่ยงในบางช่วงเวลาภายหลังจากวันเริ่มต้นและอัตราดอกเบี้ย มีการเปลี่ยนแปลงไปในเวลาเดียวกัน กิจการสามารถเลือกกาหนดส่วนประกอบความเสี่ยงให้มี ค่าเท่ากับอัตราอ้างอิงที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาของรำยการที่จ่ายไป กิจการสามารถ กระทาโดยมีเงื่อนไขว่าอัตราอ้างอิงต้องมีค่าน้อยกว่าอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงต่อปีที่ถูกคานวณ ตามสมมติฐานที่ว่ากิจการได้ทาการซื้อเครื่องมือทางการเงินนั้นในวันแรกที่เครื่องมือถูกเลือก กาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงทางการเงิ น ตัวอย่างเช่น สมมติว่ากิจการออก สินทรัพย์ทางการเงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ 100 ที่มีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงต่อปีเท่ากับร้อยละ 6 และขณะที่ LIBOR มีค่าเท่ากับร้อยละ 4 หลังจากนั้นกิจการได้ทาการป้องกันความเสี่ยงใน สินทรัพย์เมื่อ LIBOR มีค่าเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 8 และมู ลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์มีค่าลดลง เหลือ 90 กิจการคำนวณว่าหากซื้อสินทรัพย์ในวันที่กิจการได้เลือกกำหนดความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับอัตราดอกเบี้ย LIBOR ให้เป็นรายการที่มีการป้องกันทางการเงินเป็นครั้งแรก อัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของสินทรัพย์ที่พิจารณาจากมูลค่ายุติธ รรมของสินทรัพย์ล่าสุดจะ เท่ากับ 90 หรือคิดเป็นร้อยละ 9 . 5 เนื่องจาก LIBOR มีค่าน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนนั้น กิจการสามารถเลือกกำหนดองค์ประกอบ LIBOR ที่ร้อยละ 8 ซึ่งประกอบด้วยส่วนของกระแส เงินสดจากดอกเบี้ยตามสัญญาและส่วนของส่วนต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมปัจจุบัน (คื อ 90 ) และจานวนเงินชำระคืนในวันครบกำหนด (คือ 100 ) ข 6 . 3 . 24 หากหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยผันแปร ตัวอย่างเช่น อัตราดอกเบี้ย LIBOR 3 เดือน หักร้อยละ 0 . 2 (ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยขั้นต่าเท่ากับศูนย์) กิจการสามารถเลือกกาหนดให้ การเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดข องหนี้สินทั้งหมดเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (กล่าวคือ LIBOR 3 เดือน ลบ ร้อยละ 0 . 20 ที่รวมอัตราต่าสุด) ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม การเคลื่อนไหวของ LIBOR ดังนั้น ตราบเท่าที่เส้นผลตอบแทนล่วงหน้าของ LIBOR 3 เดือน ภายในช่วงระยะเวลาที่เหลือของอายุสัญญาหนี้สินดังกล่าว ไม่ต่าไปกว่าร้อยละ 0 . 2 รายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงก็ยังจะคงมีความแปรปรวนในกระแสเงินสดที่เท่ากับหนี้สินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยที่ LIBOR 3 เดือน ที่บวกส่วนต่างขั้นต่าที่ร้อยละศูนย์หรือส่วนต่างที่เป็นกำไร ( p ositive spread ) อย่างไรก็ตาม หากเส้นผลตอบแทนล่วงหน้าของ LIBOR 3 เดือนภายใน ช่วงระยะเวลาที่เหลือของอายุสัญญาหนี้สินดังกล่าว (หรือบางส่วนของหนี้สินดังกล่าว) มีระดับ ต่ากว่าร้อยละ 0 . 2 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงก็จะมีความแปรปรวนในกระแสเงินสดต่า กว่าหนี้สินที่ มีอัตราดอกเบี้ยที่ LIBOR 3 เดือน ที่บวกส่วนต่างขั้นต่าที่ร้อยละศูนย์หรือส่วนต่าง ที่เป็นกาไร ( positive spread ) ข 6 . 3 . 25 มีตัวอย่างที่คล้ายคลึงกันเกี่ยวกับรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงิน คือ น้ามันดิบประเภทหนึ่ง จากแหล่งน้ามันหนึ่งที่ราคาถูกกาหนดโดยเทียบกับ น้ามันดิบอ้างอิง หากกิจการขายน้ามันดิบ โดยกาหนดราคาตามสูตรคานวณที่กาหนดในสัญญาที่ราคาน้ามันดิบอ้างอิงต่อบาร์เรลลบ 100 โดยมีราคาขั้นต่าอยู่ที่ 15 กิจการสามารถเลือกกาหนดความแปรปรวนของกระแสเงินสด ทั้งหมดภายใต้สัญญาซื้อขายที่เปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ามันดิบอ้างอิงใ ห้เป็นรายการ ที่มีการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 176 ป้องกันความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม กิจการไม่สามารถเลือกกาหนดองค์ประกอบความเสี่ยง ที่มีค่า เท่ากับการเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดในราคาน้ามันดิบอ้างอิงได้ ดังนั้นตราบใดที่ราคา ฟอร์เวิร์ด (สาหรับแต่ละการส่งมอบ) ไม่ลดลงต่ากว่า 25 รายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงจะมีความ แปรปรวนในกระแสเงินสดเท่ากับน้ามันดิบที่ขายที่ราคาน้ามันดิบอ้างอิง (หรือ มีส่วนต่างราคา เป็นบวกร่วมด้วย) อย่างไรก็ตาม หากราคา ฟอร์เวิร์ด สาหรับการส่งมอบลดลงต่ากว่า 25 รายการ ที่ มี การป้องกันความเสี่ยงจะมีความแปรปรวนในกระแสเงินสดต่ากว่ำน้ามันดิบที่ขายที่ราคา น้ามันดิบอ้างอิง (หรือ มีส่วนต่างราคาเป็นบวกร่วมด้วย) การเข้าเงื่อนไขการบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง (หมวดที่ 6 . 4 ) ประสิทธิผล ใน การป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 4 . 1 ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงคือ เมื่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือในกระแส เงินสดของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหักกลบกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือ กระแสเงินสดของรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง (ตัวอย่างเช่น เมื่อรายการที่ มี การป้องกัน ความเสี่ยงเป็น ส่วน ประกอบความเสี่ยง การเ ปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดที่ เกี่ยวข้องของรายการจะถือว่าเป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกัน) การป้องกันความเสี่ยงที่ไม่มี ประสิทธิผลคือเมื่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือในกระแสเงินสดของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่ากำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือในกระแส เงินสดของรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 4 . 2 เมื่อ เลือก กำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ดำเนินต่อเนื่อง กิจการต้อง วิเคราะห์สาเหตุที่ก่อให้เกิดการป้องกันความเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิผลที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาของการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว การวิเคราะห์นี้ (รวมถึง ข้อมูลใหม่ตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 21 ที่เกิดจากการปรับสมดุลของความสัมพั นธ์ของ การป้องกันความเสี่ยง) ถือเป็นเกณฑ์สาหรับกิจการในการประเมินว่าเป็นไปตามข้อกาหนด ความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงที่กิจการจะต้องปฏิบัติตาม ข 6 . 4 . 3 เพื่อความชัดเจน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแทนคู่สัญญาเดิมด้วยการชาระให้คู่สัญญา รวมถึง การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลสืบเนื่องตามที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 5 จะต้องถูกสะท้อนใน การวัดมูลค่าเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและในการประเมินและวัดประสิทธิผลในการ ป้องกันความเสี่ยง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยงกับเครื่องมือ ที่ ใช้ ป ้ องกัน ความเสี่ยง ข 6 . 4 . 4 เงื่อนไขที่ทาให้เกิดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หมายถึงเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและ รายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงมีมูลค่าที่โดยทั่วไปแล้วจะเคลื่อนไหวไปในทิศทางตรงข้ามกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 177 เนื่องจากมีความเสี่ยงประเภทเดียวกัน นั่นคือเป็นความเสี่ยงที่มีการป้องกันแล้ว ดังนั้นจะต้อง มีการคาดการณ์ว่าเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและมูลค่าของรายการที่ มี การป้องกันความ เสี่ยงจะเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบตามการเคลื่อนไหวในรายการอ้างอิงเดียวกันหรือรายการ อ้างอิงที่มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ที่มีการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่มีการป้องกันแล้วใน รูปแบบเดียวกัน (ตัวอย่างเช่น น้ามันดิบเบรนท์และน้ามันดิบดับบลิวทีไอ) ข 6 . 4 . 5 ถึงแม้ รายการอ้างอิงต่างกันแต่ยังมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ มูลค่าของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงและรายการที่ มี การป้องกันความ เสี่ยงก็สามารถเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันได้ ตัวอย่างเช่น เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในราคาส่วนต่างระหว่างรายการป้องกันความเสี่ยง สอง รายการที่มีความสัมพันธ์กันขณะที่รายการอ้างอิงนั้นไม่มีการเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสาคัญ ในกรณีนี้เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง และรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงยังคงถือว่ามี ความสอดคล้องกับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หากมูลค่าของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง และรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงยังคงมีความเคลื่อนไหวปกติในทิศทางตรงกันข้ามเมื่อ รายการอ้างอิงมีการเปลี่ยนแปลง ข 6 . 4 . 6 การ ประเมินว่าความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นหรือไม่นั้นจะมีการวิเคราะห์พฤติกรรม ความสัมพันธ์การป้องกันความเสี่ยงเพื่อทาให้มั่นใจว่า ยังคงสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ บริหารความเสี่ยง ค่าสหสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างค่าผันแปร สอง ตัวแปรเพียงอย่างเดียวนั้น ไม่สามารถสนับสนุนข้อสรุปได้อย่างน่าเชื่อถือว่าความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจมีอยู่จริง ผลกระทบจากความเสี่ยงด้านเครดิต ข 6 . 4 . 7 เนื่องจากแบบจำลองการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมีพื้นฐานมาจากหลักการในการหักกลบ ระหว่างผลกาไรและขาดทุนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่ มี การป้องกัน ความเสี่ยง ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงไม่เพียงแต่ถูกกาหนดโดยความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจระหว่างรายการเหล่านั้นเท่านั้น (กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงในรายการอ้างอิง) แต่ยัง ถูกกาหนดโดยผลกระทบจากความเสี่ยงด้านเครดิตในมูลค่า ของทั้งเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความ เสี่ยงและรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง ผลกระทบจากความเสี่ยงด้านเครดิต หมายถึง แม้ว่าจะมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงก็ตาม แต่ไม่อาจหักกลบผลกาไรและขาดทุนของเครื่องมือดังกล่าวได้ ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงหรือรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยง โดยที่ความเสี่ยงด้านเครดิตมีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลงในมูลค่ามากกว่าที่จะ เป็นผลจากความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ (กล่าวคือ ผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงในรายการอ้างอิง) ระดับขนาดของการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลนั่นคือ ระดับที่ก่อให้เกิดผลขาดทุน (หรือ กาไร) จากความเสี่ยงด้านเครดิตที่มีผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงในรายการอ้างอิงของมูลค่าเครื่องมือ ที่ ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่ มี การ ป้องกันความเสี่ยง แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นจะมีนัยสาคัญ ในทางกลับกันหากในช่วงเวลา

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 178 ใดเวลาหนึ่ง รายการอ้างอิงมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย โดยที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงที่เป็นผลมาจาก ความเสี่ยงด้านเครดิตแม้เพียงเล็กน้อย ก็สามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อมูลค่ามากกว่า เมื่อเทียบกับที่รายการอ้างอิงไม่ได้ส่งผลกระทบแบบมีอิทธิพลแต่อย่างใด ข 6 . 4 . 8 ตัวอย่างความเสี่ยงด้านเครดิตที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ของการป้ องกันความเสี่ยงคือเมื่อ กิจการทาการป้องกันความเสี่ยงจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยใช้อนุพันธ์ที่ไม่มีหลักทรัพย์ค้า ประกัน หากคู่สัญญาของอนุพันธ์ดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือในการชาระหนี้ลดลงอย่างยิ่งยวด ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความน่าเชื่อถือของคู่สัญญาอาจ มีมากเกินก ว่าผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ตามมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความ เสี่ยง ขณะที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ารายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับการ เปลี่ยนแปลงในราคาสินค้าโภคภัณฑ์ อัตราส่วนการป ้ องกันความเสี่ยง ( Hedge ratio ) ข 6 . 4 . 9 ตามเกณฑ์ในการพิจารณาความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง อัตราส่วนการป้องกัน ความเสี่ยงของความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงจะต้องคานวณจากจานวนรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงที่กิจการป้องกันความเสี่ยงจริง และ ปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความ เสี่ยง ที่กิจการใช้เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากรายการดังกล่าว ดังนั้น หากกิจการป้องกันความเสี่ยง ต่ากว่าร้อยละ 100 ของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น ร้อยละ 85 กิจการต้องเลือกกาหนด ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่ให้ผลร้อยละ 85 ของฐานะเปิดต่อความเสี่ยงทั้งหมด ตามปริมาณที่ใช้เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงตาม จริงที่ร้อยละ 85 เป็นต้น ในทานองเดียวกัน ตัวอย่างเช่น กิจการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้ เครื่องมือทางการเงินมูลค่าตามสัญญา 40 กิจการต้องเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ ยง โดยใช้อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่เป็นผลมาจากการใช้เครื่องมือ ทางการเงินมูลค่า 40 (กล่าวคือ กิจการต้องไม่ใช้อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่คานวณมา จากปริมาณทั้งหมดของเครื่องมือทางการเงินที่ถืออยู่ซึ่งเป็นปริมาณที่สูงกว่าที่ใช้จริงหรือไม่ ควรใช้อั ตราส่วนที่คานวณจากปริมาณที่ต่ากว่าความเป็นจริง) กับ ปริมาณของรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงที่กิจการต้องการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือทางการเงินมูลค่า 40 ดังกล่าวนั้น ข 6 . 4 . 1 0 อย่างไรก็ตาม การเลือกกำหนดความสัมพันธ์การป้องกันความเสี่ยงโดยใช้อัตราส่ว น การป้องกันความเสี่ยงเดียวกันกับที่คานวณจากจานวนรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่กิจการใช้ตามจริง จะต้องไม่ทาให้เกิดความไม่สมดุลระหว่าง สัดส่วนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่ก่อ ให้เกิด ความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยง (โดยไม่เกี่ยวเนื่องกับการรับรู้หรือไม่รับรู้) ซึ่งอาจทาให้ผลทางบัญชีไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 179 ในการเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องมีการปรับอัต ราส่วน การป้องกันความเสี่ยงที่เป็นผลมาจากจานวนรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่กิจการใช้ตามจริง หากต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาความไม่สมดุลดังกล่าว ข 6 . 4 . 11 ตัวอย่างของการพิจารณาที่เกี่ยวเนื่องกับการประเมินว่าผลลัพธ์ทางบัญชีนั้ นไม่สอดคล้องกับ จุดประสงค์ของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงคือ ข 6 . 4 . 11 . 1 พิจารณาว่าอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงนั้นมีการกาหนดขึ้นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยง การรับรู้ความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด หรือ กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการปรับปรุงการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม หรือ สาหรับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการเพิ่ม การใช้บัญชีเพื่อบันทึกมูลค่ายุติธรรม แต่มิได้หักกลบการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันควำมเสี่ยงนั้น หรือไม่ และ ข 6 . 4 . 11 . 2 พิจารณาว่ามีเหตุผลเชิงพาณิชย์หรือไม่สาหรับการกาหนดสัดส่วนของจานวน รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ถึงแม้ว่า สัดส่วนดังกล่าวจะก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงก็ตา ม ตัวอย่างเช่น เมื่อกิจการเข้าทำสัญญาและเลือกกาหนดจำนวนเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงแต่มิได้เป็นจานวนที่เป็นการป้องกันความเสี่ยงที่ดีที่สุดสาหรับ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง เนื่องจาก ปริมาณมาตรฐานของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงไม่สามารถกาหนดให้พ อดีกับจานวนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงได้ (ประเด็นปัญหาจานวนมาตรฐาน ( a ‘ lot size issue ’) ) ดังเช่น เมื่อ กิจการต้องการป้องกันความเสี่ยงสาหรับการซื้อกาแฟ 100 ตัน ด้วยการทา สัญญา ซื้อกาแฟล่วงหน้ามาตรฐานที่มีมูลค่า 37,500 ปอนด์ กิจการสามารถเลือกที่จะซื้อ ได้เพียงห้าหรือหกสัญญาเท่านั้น (เทียบเท่า 85 . 0 และ 102 . 1 ตัน ตามลาดับ) เพื่อที่จะป้องกันความเสี่ยงของการซื้อกาแฟ 100 ตัน ในกรณีดั งกล่าว กิจการ เลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้อัตราส่วนการป้องกัน ความเสี่ยงที่คานวณจากจานวนสัญญาซื้อกาแฟล่วงหน้ามาตรฐานที่กิจการใช้จริง เนื่องจากการไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากการไม่สามารถ จับคู่กันได้ในสัดส่วนของจานวนรำยการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ ใช้ ป้องกันความเสี่ยง จะไม่ส่งผลลัพธ์ทางบัญชีไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของ การใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง ความถี่ในการประเมินว่าการป ้ องกันความเสี่ยงนั้นมีประสิทธิผลหรือไม่ ข 6 . 4 . 12 กิจการต้องประเมินความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงตั้งแต่วันที่เริ่มกำหนด ความสัมพันธ์ดังกล่าว และต้องประเมินอย่างต่อเนื่องว่าความสัมพันธ์ของการป้องกันความ เสี่ยงยังเป็นไปตามข้อกำหนดของความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงหรือไม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 180 อย่างน้อยที่สุดกิจกำรต้องประเมินทุกวันที่รายงาน หรือ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมี นัยสาคัญซึ่งกระทบต่อความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง แล้วแต่เหตุการณ์ใดจะ เกิดขึ้นก่อน การประเมินนี้เกี่ยวข้องกับความคาดหวังเกี่ยวกับความมีประสิทธิผล ใน การ ป้องกันความเสี่ยงและดังนั้นจึ งเป็นการคาดการณ์ไปข้างหน้าเท่านั้น วิธีที่ใช้ในการประเมินว่าการป ้ องกันความเสี่ยงนั้นมีประสิทธิผลหรือไม่ ข 6 . 4 . 13 แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ มิได้กาหนดวิธีใดวิธีหนึ่งเป็นการเฉพาะในการประเมินว่า ความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงนั้นเป็นไปตามข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลหรือไม่ อย่างไรก็ตาม กิจการควรใช้วิธีการที่สามารถบอกถึงลักษณะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ในการ ป้องกันความเสี่ยง รวมถึง สาเหตุที่ก่ อให้เกิดการไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง วิธีการที่ใช้อาจเป็นวิธีเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณก็ได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ข 6 . 4 . 14 ตัวอย่างเช่น เมื่อข้อกาหนดที่สาคัญ (เช่น จานวนเงินที่กาหนดไว้ ระยะเวลาครบกาหนด และ รายการอ้างอิง) ของทั้งเครื่องมื อ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง มีการจับคู่ หรือ มีลักษณะที่สอดคล้องกันอย่างมาก กิจการอาจสามารถสรุปได้จากเกณฑ์การ ประเมินเชิงคุณภาพของข้อกาหนดที่สาคัญของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงว่ามีมูลค่ำในทิศทางตรงข้ามเนื่องจากมีความเสี่ยงที่เหมือนกัน และ ด้วยเหตุนี้ จึงมีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 4 ถึง ข 6 . 4 . 6 ) ข 6 . 4 . 15 การที่อนุพันธ์อยู่ในสถานะกาไรหรือขาดทุน เมื่อถูกเลือกกาหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงนั้นมิได้หมายความในทันทีว่าการประเมินเชิงคุณภาพนั้นไม่เหมาะสม หากแต่ขึ้นอยู่ กับสถานการณ์ว่าการไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากข้อเท็จจริงดังกล่าว จะส่งผลให้เกิดผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญที่ การประเมินเชิงคุณภาพนั้นไม่สามารถอธิบายได้ หรือไม่ ข 6 . 4 . 16 ในทางกลับกัน หากข้อกำหนดที่สำคัญของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ก็จะก่อให้เกิดความไม่แน่นอนใน การที่จะหักกลบผลของตราสารทั้งสอง ผลที่ตามมาก็คือ ความมีประสิทธิผลในการป้องกัน ความเสี่ยง ในระหว่างระยะเวลาของการกำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงก็จะ คาดการณ์ยากขึ้น ในสถานการณ์ดังกล่าว กิจการอาจทาได้เพียงสรุปความโดยอิงจากการ ประเมินเชิงปริมาณว่ารายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงมี ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจต่อกัน (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 4 ถึง ข 6 . 4 . 6 ) ในบางสถานการณ์ อาจจะ ต้องใช้การประเมินเชิงปริมาณเพื่อประเมินว่า อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่ใช้เพื่อเลือก กำหนดความสัมพันธ์ในกา รป้องกันความเสี่ยงนั้นเป็นไปตามข้อกำหนดของความมี ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงหรือไม่ (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 9 ถึง ข 6 . 4 . 11 ) กิจการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 181 สามารถใช้วิธีการเดียวกันหรือแตกต่างกันก็ได้สำหรับวัตถุประสงค์ในการประเมิน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและประเมินความสัมพันธ์ในการป้องกั นความเสี่ยง ข 6 . 4 . 17 หากมีการเปลี่ยนแปลงในคุณลักษณะที่ส่งผลกระทบต่อความมีประสิทธิผลในการป้องกัน ความเสี่ยง กิจการอาจจะต้องเปลี่ยนวิธีการในการประเมินความสัมพันธ์ในการป้องกันความ เสี่ยงเพื่อประเมินว่ายังเป็นไปตามข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง หรือไม่ เพื่อให้มั่นใจว่าวิธีการดังกล่าวนั้นยังคงสามารถใช้อธิบายและติดตามคุณลักษณะ ที่เกี่ยวเนื่องกับความ สัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยง รวมถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดความไม่มี ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงได้ ข 6 . 4 . 18 การบริหารความเสี่ยงของกิจการเป็นแหล่งข้อมูลหลักในการประเมินผลว่าความสัมพันธ์ใน การป้องกันความเสี่ยงยังเป็นไปตามข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลในการป้ องกันความเสี่ยง หรือไม่ นั่นหมายความว่าข้อมูลจากฝ่ายบริหาร (หรือบทวิเคราะห์) ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการประเมินว่าความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงยังเป็นไปตาม ข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงอยู่หรือไม่ ข 6 . 4 . 19 เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการกาหนดความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงของกิจการ นั้น หมายรวมถึง แนวทางที่ใช้ในการประเมินความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง รวมถึงวิธีการต่างๆ ที่ใช้ประเมินด้วย เอกสารแสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวต้องได้รับการ ปรับปรุงให้เป็นปั จจุบันเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในวิธีการที่ใช้ (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 17 ) การบัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข (หมวดที่ 6 . 5 ) ข 6 . 5 . 1 ตัวอย่างของการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมก็คือการป้องกันความเสี่ยงต่อการ เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุ ติธรรมของตราสารหนี้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ออกตราสารหรือผู้ถือตราสารก็สามารถเข้าทาสัญญาเพื่อป้องกันความเสี่ยงได้ ข 6 . 5 . 2 จุดประสงค์ของการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด คือเพื่อชะลอการรับรู้กาไรหรือขาดทุน จากเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากกระแสเงินสดคาดการณ์ในอนาคตที่อาจส่งผล กระทบต่อกาไรหรือขาดทุนในระหว่างหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีหรือมากกว่านั้น ตัวอย่างของ การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด คือการใช้ สัญญาแลกเปลี่ยนในอนาคต ( swap ) ในการ เปลี่ยนตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ ยลอยตัว (ไม่ว่าจะวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่ายหรือมูลค่า ยุติธรรม) ให้เป็นตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ (กล่าวคือ การป้องกันความเสี่ยงของธุรกรรม ในอนาคตโดยที่กระแสเงินสดในอนาคตที่ถูกป้องกันความเสี่ยงคือดอกเบี้ยจ่ายในอนาคต) ในทางกลับกัน รายการซื้อตราสารทุนคา ดการณ์ที่เมื่อมีการถือครองแล้วจะบันทึกบัญชี ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนนั้น เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของรายการที่ไม่สามารถเป็น รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดได้ เนื่องจากผลกำไรหรือขาดทุนใน เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่จะชะลอการรั บรู้นั้น ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนประเภทเป็น กาไรหรือขาดทุนที่จะใช้หักกลบความเสี่ยงในช่วงระยะเวลาใดๆ ได้อย่างเหมาะสม ด้วยเหตุผล เดียวกันนี้ รายการซื้อตราสารทุนในอนาคต ที่เมื่อมีการถือครองแล้วจะบันทึกบัญชีการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 182 เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น นั้นไม่สามารถที่จะเป็นรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดเช่นเดียวกัน ข 6 . 5 . 3 การป้องกันความเสี่ยงของสัญญาผูกมัด (ตัวอย่างเช่น หน่วยงานผลิตไฟฟ้ามีสัญญาผูกมัดที่ ยังไม่รับรู้ในการซื้อเชื้อเพลิงที่ราคาคงที่เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของรา คา เชื้อเพลิงในอนาคต) คือ การป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ดังนั้น การป้องกันความเสี่ยงในลักษณะดังกล่าวถือเป็นการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 3 การป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของสัญญาผูกมัดสามารถ เลือกใช้ วิธีการบัญชีสาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดได้ การประเมินความไม่มีประสิทธิผลของการป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 4 ในการประเมินความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องพิจารณามูลค่าเงิน ตามเวลาด้วย ดังนั้น กิจการพิจารณามูลค่าของรายการที่ได้รับมีการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้ มูลค่าปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้รวม ผลกระทบจากมูลค่าเงินตามเวลาด้วย ข 6 . 5 . 5 ในการคานวณการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเพื่อวั ดความไม่มี ประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงนั้น กิจการอาจพิจารณาใช้อนุพันธ์ที่มีข้อกำหนด เหมือนกันกับข้อกาหนดที่สาคัญของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่คาดการณ์ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงก็ได้ (วิธีการนี้หมายถึง วิธีการอนุพันธ์เสมือน ( hypothetical derivative ) ) ตราสารนั้นจะถูกนามาปรับมาตรวัดโดยระดับของราคา (หรืออัตรา) ที่ป้องกัน ความเสี่ยงแล้ว ตัวอย่างเช่น หากการป้องกันความเสี่ยงทาขึ้นเพื่อป้องกันความเสี่ยงสองทางที่ ราคาตลาด อนุพันธ์เสมือน ( hypothetical derivative ) จะทาหน้าที่เป็นสัญญาฟอร์เวิร์ด สมมติ ที่ มีมูลค่าตลาดเท่ากับศูนย์ ณ เวลาที่เลือกกำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง หากการป้องกันความเสี่ยงทาขึ้นเพื่อป้องกันความเสี่ยงทางเดียว อนุพันธ์เสมือนจะแสดงมูล ค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือก ณ เวลาที่เลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมี สถาน ะเท่าทุน ( at the money ) หากระดับราคาที่ถูกป้องกันความเสี่ยงนั้นอยู่ที่ระดับเดียวกับ ราคาตลาด หรืออยู่ในสถานะขาดทุน หากระดับราคาที่ถูกป้องกันความเสี่ยงนั้นอยู่สูงกว่าระดับ ราคาตลาด (หากเป็นกรณีของการป้องกันความเสี่ยงของสถานะซื้อ จะหมายถึง หากระดับ ราคาที่ถูกป้ องกันความเสี่ยงอยู่ต่ากว่าระดับราคาตลาด) การใช้อนุพันธ์เสมือนเป็นอีกวิธี ที่สามารถคานวณการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง อนุพันธ์ เสมือนจะเลียนแบบรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง จึงส่งผลให้มีผลลัพธ์ประหนึ่งว่าการ เปลี่ยนแปลงมูลค่ำนั้นถูกคานวณโดยวิธีการที่แตกต่างออกไป ดังนั้น การใช้อนุพันธ์เสมือนจึง ไม่ใช่วิธีการหามูลค่าของอนุพันธ์เสมือน หากแต่เป็นเครื่องมือคานวณทางคณิตศาสตร์เพื่อหา มูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น อนุพันธ์เสมือนจึงไม่สามารถรวมลักษณะ ที่มีผลต่อการกาหน ดมูลค่าในเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่ปรากฏอยู่ในเฉพาะรายการที่มี

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 183 การป้องกันความเสี่ยงเท่านั้น (แต่ไม่รวมอยู่ในรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง) ตัวอย่างเช่น ตราสารหนี้ที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ (ไม่ว่าจะเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่หรือลอยตัว) เมื่อใช้ วิธี อนุพันธ์เสมือนในการคานวณหาการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าตราสารหนี้ดังกล่าว หรือ มูลค่า ปัจจุบันของส่วนเปลี่ยนแปลงสะสมในกระแสเงินสด อนุพันธ์เสมือนจะไม่สามารถเพียงแค่อ้าง เรื่องต้นทุนการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างสกุลเงินกันเท่านั้น ถึงแม้ว่าอนุพันธ์อ้างอิงนั้นจะมี ต้นทุนที่ เกิดจากการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างสกุลกาหนดไว้แล้วก็ตาม (ตัวอย่างเช่น สัญญา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยข้ามสกุลเงิน) ข 6 . 5 . 6 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงซึ่งถูกกาหนดโดยวิธีอนุพันธ์ เสมือน อาจสามารถนาไปใช้เพื่อการประเมินว่าความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงเป็นไป ตามข้อกาหนดของความมีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงหรือไม่ การปรับสมดุลความสัมพันธ์ของการป ้ องกันความเสี่ยงและการเปลี่ยนอัตราส่วนการ ป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 7 การปรับสมดุล หมายถึง การปรับเปลี่ยนปริมาณของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงที่ได้เลือกกาหนด มาก่อนหน้านี้แล้ว เพื่อเป็นการรักษาให้อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงยังคงเป็นการป้องกัน ความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล การเปลี่ยนแปลงในปริมาณรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงเพื่อจุดประสงค์อื่นนอกเหนือจากนี้จะไม่เข้าเงื่อนไขที่กาหนด ภายใต้ แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ข 6 . 5 . 8 การปรับสมดุลจะถูกบันทึกในฐานะที่เป็นการขยายความสัมพันธ์ของการป้องกั นความเสี่ยงให้ ต่อเนื่องตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 9 ถึง ข 6 . 5 . 21 ในการปรับสมดุล หากเกิดความไม่ มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงตามความสัมพันธ์ที่กาหนดจะถูกพิจารณาและรับรู้ทันที ที่มีการปรับปรุงความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 9 การปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงจะทำให้กิจการสามารถปรับตัวให้เข้ากับ ความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากรายการอ้างอิงหรือตัวแปรความเสี่ยงต่างๆ ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ของกำรป้องกันความเสี่ยงที่เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงมีรายการอ้างอิงที่ต่างกันแต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของรายการอ้างอิงทั้งสองนั้น (เช่น ดัชนี อัตรา หรือ ราคาใดๆ ที่ ต่างกันแต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน) ดังนั้น การปรับสมดุลจะทาให้ความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงยังคงมีดาเนินต่อไปได้ ในสถานการณ์ที่ความสัมพันธ์ระหว่าง เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไปใน ทิศทางที่ยังสามา รถหักกลบกันได้โดยการปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 184 ข 6 . 5 . 1 0 ตัวอย่างเช่น กิจการต้องการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสกุล ก โดยใช้อนุพันธ์ประเภทเงินตราต่างประเทศที่อ้างอิงกับเงินตราต่างประเทศสกุล ข และเงินตรา ต่างประเทศทั้งสองสกุล เป็นประเภทอัตราคงที่ ( กล่าวคือ อัตราแลกเปลี่ยนถูกกำหนดให้ เคลื่อนไหวภายในกรอบ หรือ ที่ระดับอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดโดยธนาคารกลางหรือ หน่วยงานที่มีอำนาจรับผิดชอบอื่นๆ ) หากอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุล ก และ ข มีการ เปลี่ยนแปลงไป (กล่าวคือ มีการกาหนดกรอบหรืออัตราแล กเปลี่ยนใหม่) การปรับสมดุลของ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงเพื่อสะท้อนอัตราแลกเปลี่ยนใหม่นั้น จะทาให้มั่นใจได้ ว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวยังคงเป็นไปตามข้อกาหนดของการประเมินประสิทธิผลในการป้องกัน ความเสี่ยงผ่านอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่ปรับให้เข้ากับส ถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ในทางกลับกัน หากอนุพันธ์ประเภทเงินตราต่างประเทศมีการปฏิบัติผิดสัญญา การปรับปรุง อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงอาจมิได้ทาให้ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงยังคงมี ประสิทธิผลตามข้อกาหนด ดังนั้น การปรับสมดุลจึงไม่ได้เป็นตัวกาหนดให้ควำมสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงยังคงดาเนินต่อไปในสถานการณ์ที่ถึงแม้จะปรับอัตราส่วนการป้องกัน ความเสี่ยงแล้ว ความสัมพันธ์ของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงก็ยังไม่สามารถหักกลบกันได้ ข 6 . 5 . 11 การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดการหั กกลบกันระหว่างส่วนเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและมูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสดของรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงบางประเภทเท่านั้นที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยงระหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องวิเคราะห์หาสาเหตุที่ก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงที่คาด ว่าจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงในช่วงระหว่างระยะเวลาสัญญา และประเมินว่าส่วนเปลี่ยนแปลงในการหักกลบ นั้นมีลักษณะดังต่อไปนี้หรือไม่ ข 6 . 5 . 11 . 1 อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงมีความผันผวนแต่ยังสามารถสะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้ อย่างเหมาะสม ข 6 . 5 . 11 . 2 มี สิ่งบ่งชี้ว่าอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ ยงนั้นไม่สามารถสะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้ อย่างเหมาะสม กิจการทาการประเมินผลตามข้อกาหนดของการประเมินประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง กล่าวคือ เพื่อให้มั่นใจว่าความสัมพันธ์ของการป้องกันความ เสี่ยงนั้นไม่ได้สะท้อนความไม่ สมดุลในสัดส่วนของปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง อันจะก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงขึ้น (ทั้งที่รับรู้แล้ว และยังไม่ได้รับรู้) ซึ่งทำให้ผลทางการบัญชีผิดไปจากวัตถุประสงค์ของการบัญชีป้องกัน ความเสี่ยง ดังนั้น การประเมินจึงต้องใช้ดุลยพินิจประกอบ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 185 ข 6 . 5 . 12 ความผันผวนของอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง (ซึ่งส่งผลให้เกิดวามไม่มีประสิทธิผลในการ ป้องกันความเสี่ยง) จะไม่สามารถทำให้ลดลงได้โดยกำรปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกัน ความ เสี่ยงเพื่อตอบสนองต่อผลลัพธ์ใดโดยเฉพาะ ดังนั้น ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว การเปลี่ยนแปลง ระดับของการหักกลบจึงเกี่ยวข้องกับประเด็นของการวัดมูลค่าและการรับรู้ ความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงแต่ไม่ต้อง มีการปรับสมดุล ข 6 . 5 . 13 ในทางกลับกัน หากการเปลี่ยนแปลงระดับของการหักกลบมีการบ่งชี้ว่าความผันผวนเกิดจาก อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่แตกต่างจากอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่ใช้ในการ กำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง หรือ มีสิ่งบ่งชี้ว่ามีแนวโน้มที่ จะทำให้มี ความแตกต่างจากอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงนั้นมากขึ้นแล้ว ความไม่มีประสิทธิผลของ การป้องกันความเสี่ยงในกรณีนี้สามารถปรับลดลงได้โดยการปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกัน ความเสี่ยง ซึ่งหากปล่อยให้อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงนั้นยังคงอยู่ในระดับเดิม จ ะยิ่ง ส่งผลให้ความไม่มีประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ในกรณีนี้ กิจการต้องทาการประเมินว่า ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นได้สะท้อนความไม่สมดุลระหว่างสัดส่วนของ ปริมาณรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงกับปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ซึ่งจะ ก่อให้ เกิดความไม่มีประสิทธิผลหรือไม่ (โดยรับรู้หรือไม่ก็ได้) ซึ่งอาจทาให้เกิดผลทางบัญชีที่ ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง หากอัตราส่วนการป้องกันความ เสี่ยงถูกปรับปรุง ก็จะส่งผลกระทบต่อการวัดมูลค่าและการรับรู้ความไม่มีประสิทธิผลได้ เนื่องจา กในการปรับสมดุล ความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์ที่ ถูกกาหนดขึ้นจะต้องได้รับการพิจารณาและรับรู้ทันที ก่อนที่จะมีการปรับปรุงความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 8 ข 6 . 5 . 14 สาหรับจุดประสงค์ของการบัญชีป้อง กันความเสี่ยง การปรับสมดุลนั้น หมายถึง หลังจากที่ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงได้ถูกกาหนดขึ้น กิจการได้ปรับเปลี่ยนจานวนของ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงไปตามสถานการณ์ที่ทา ให้เกิดผลกระทบต่ออัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง โดยปกติแล้ว การปรับปรุงนี้ควรสะท้อน ถึงจานวนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่กิจการ ใช้จริง อย่างไ รก็ตาม กิจการจะต้องปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่คานวณมาจาก จานวนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงหรือเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่ได้ใช้จริง หากเข้าลักษณะดังต่อไปนี้ ข 6 . 5 . 14 . 1 อัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่คานวณมาจากจานวนของเครื่องมือ ที่ ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงหรือรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปตามที่ได้ใช้จริง จะต้องสะท้อนถึงความไม่สมดุลอันก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลของการ ป้องกันความเสี่ยงซึ่งอาจก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ ของการบัญชีป้องกันความเสี่ย ง หรือ ข 6 . 5 . 14 . 2 กิจการได้คงจำนวนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงตามที่ใช้จริงเอาไว้ ซึ่งสัดส่วนของจานวนดังกล่าว ภายใต้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 186 สถานการณ์ใหม่ ได้ก่อให้เกิดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงที่สะท้อนถึงความ ไม่สมดุลอันก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงซึ่งอาจ ก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการบัญชีป้องกัน ความเสี่ยง (นั่นหมายถึงว่า กิจการจะต้องไม่ทาให้เกิดความไม่ สมดุลเกิดขึ้นเพียง เพราะละเลยการปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว) ข 6 . 5 . 15 การปรับสมดุลไม่สามารถนามาถือปฏิบัติหากวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงสาหรับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นได้เปลี่ยนแปลงไป แต่จะต้องยกเลิกการบัญชี ป้องกันความ เสี่ยงสาหรับความสัมพันธ์ดังกล่าว (ถึงแม้ว่ากิจการอาจเลือกกาหนด ความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงอันใหม่ที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง หรือรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์ที่มีมาก่อน ตามที่ได้อธิบายไว้ใน ย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 2 8 ) ข 6 . 5 . 16 หากความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมีการปรับสมดุล การปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกัน ความเสี่ยงอาจได้รับผลกระทบในหลายรูปแบบ ดังต่อไปนี้ ข 6 . 5 . 16 . 1 สัดส่วนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงสามารถปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ (ในขณะเดียวกัน ก็ลดสัดส่วนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงลง) โดย ข 6 . 5 . 16 . 1 . 1 เพิ่มปริมาณของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือ ข 6 . 5 . 16 . 1 . 2 ลดปริมาณของจานวนเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 16 . 2 สัดส่วนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงสามารถปรับเพิ่มขึ้น ได้ (ในขณะเดียวกันก็ลดสัดส่วนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงลง) โดย ข 6 . 5 . 16 . 2 . 1 เพิ่มปริมาณของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง หรือ ข 6 . 5 . 16 . 2 . 2 ลดปริมาณของจานวนรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงปริมาณหมำยถึงการเปลี่ยนแปลงจานวนที่เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ใน การป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น ปริมาณที่ลดลงไม่จาเป็นจะต้องหมายความว่ารายการนั้นหรือ ธุรกรรมนั้นจะไม่มีอยู่อีกต่อไป หรือ อาจจะไม่ได้ถูกคาดว่าจะเกิดขึ้น แต่หมายถึง รายการ เหล่านั้นไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของควำมสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น การลดปริมาณของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงสามารถส่งผลให้กิจการนั้นยังคงใช้อนุพันธ์ นั้นต่อไปได้ แต่มีเพียงแค่บางส่วนของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้นที่ยังคงถูกใช้ เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง เหตุการณ์ดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้ หากการปรับสมดุลยังสามารถใช้ได้โดยการลดเพียงปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงลง แต่กิจ การยังคงต้องถือตราสารนั้นถึงแม้จะ ไม่จาเป็นต้องใช้ตราสารนั้นอีกต่อไป ในกรณีนี้ส่วนของอนุพันธ์ที่ไม่ได้ถูกใช้ไปในการป้องกัน ความเสี่ยงต้องถูกบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน (ถ้าหากอนุพันธ์นั้นไม่ได้ถูก ใช้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในค วามสัมพันธ์อื่นๆ) ข 6 . 5 . 17 การปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงโดยการเพิ่มปริมาณรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงไม่กระทบกับวิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 187 ความเสี่ยง การวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันค วามเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง กับปริมาณที่ถูกกาหนดในครั้งก่อนหน้า ก็จะไม่ได้รับผลกระทบใดๆ เช่นกัน อย่างไรก็ตาม จากวันที่มีการปรับสมดุล ส่วนเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงต้อง นับรวมกับส่วนเปลี่ยนแปลงมูลค่าของปริมาณรายการที่มีการป้องกันความเสี่ ยงส่วนที่เพิ่มขึ้น เข้าไปด้วย การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะถูกวัดและใช้เป็นตัวอ้างอิง โดยเริ่มจากวันที่มีการปรับ สมดุล แทนที่วันกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้น ตัวอย่างเช่น หากแรกเริ่ม กิจการป้องกันความเสี่ยงในสินค้าโภคภัณฑ์ปริมาณ 100 ตัน ที่ราคาฟอร์ เวิร์ด 80 (ราคาฟอร์ เวิร์ดตั้งแต่เริ่มความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงนี้) และต่อมาเพิ่มจานวนเข้าไปอีก 10 ตัน ในการปรับสมดุล เมื่อราคาฟอร์เวิร์ดเปลี่ยนมาเป็น 90 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หลังจากปรับสมดุลแล้วประกอบไปด้วยสองกลุ่ม คือ 100 ตัน ที่ถูกป้องกันความเสี่ยง ณ ราคา 80 และ 10 ตัน ที่ถูกป้องกันความเสี่ยง ณ ราคา 90 ข 6 . 5 . 18 การปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงโดยการลดปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความ เสี่ยงลง จะไม่กระทบกับวิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่ มี การป้องกันความ เสี่ยง การวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่ยังใช้ใน การ เลือก กาหนดความสัมพันธ์ จะไม่ได้รับผลกระทบใดๆ อย่างไรก็ตาม จากวันที่มีการปรับ สมดุล ปริมาณที่ลดลงของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจะไม่ถูกนับเข้าเป็นส่วนหนึ่ งของ ความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป ตัวอย่างเช่น หากแรกเริ่ม กิจการป้องกัน ความเสี่ยงในราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยใช้อนุพันธ์ปริมาณ 100 ตัน เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยง และต่อมามีการปรับสมดุลโดยการลดปริมาณลง 10 ตัน ดังนั้นจะเหลือปริมาณ เค รื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงเพียง 90 ตัน (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 16 เกี่ยวกับแนวปฏิบัติสาหรับ ปริมาณของอนุพันธ์ (จานวน 10 ตัน) ที่ไม่ได้ใช้เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงอีกต่อไป) ข 6 . 5 . 19 การปรับอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงโดยการเพิ่มปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง จะไม่ส่งผลกระทบต่อวิธีที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง การวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่ เ กี่ยวข้องกับการกาหนดความสัมพันธ์ก็จะไม่ได้รับผลกระทบด้วย อย่างไรก็ตาม จากวันที่มีการ ปรับสมดุล การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจะต้องรวม ส่วนเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่ใช้เพิ่มเติมเ ข้า มาด้วย การเปลี่ยนแปลงจะถูกวัดโดยเริ่มตั้งแต่และอ้างอิงจากวันที่มีการปรับสมดุลแทนวันที่ เลือกกาหนดความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น หากแรกเริ่ม กิจการป้องกัน ความเสี่ยงในราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยใช้อนุพันธ์ปริมาณ 100 ตัน เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกั น ความเสี่ยง และต่อมามีการปรับสมดุลโดยการเพิ่มปริมาณอีก 10 ตัน ปริมาณเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจะเพิ่มเป็นทั้งหมด 110 ตัน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงก็คือส่วนเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์ทั้งหมดที่ รวมกั นทาให้ปริมาณรวมเท่ากับ 110 ตัน อนุพันธ์เหล่านี้สามารถมี (หรืออาจจะมี) ข้อกาหนด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 188 ที่สำคัญแตกต่างกันไปก็ได้ เช่น อัตราซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากการทำสัญญาเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาที่ต่างกัน (รวมถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเลือกกาหนดอนุพันธ์สาหรับความสัมพันธ์ ในการป้องกันค วามเสี่ยงหลังจากการรับรู้รายการเริ่มแรก) ข 6 . 5 . 2 0 การปรับอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงโดยการลดปริมาณรายการที่ได้รับการป้องกัน ความเสี่ยงถึงจะไม่ส่งผลกระทบต่อวิธีที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง การวัดการเปลี่ยนแ ปลงในมูลค่าของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับปริมาณซึ่งยังถูกกาหนดให้รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงต่อไปนั้น การเลือกกาหนดไม่ได้รับผลกระทบด้วยเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม นับจากวันที่มีการปรับสมดุล รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่เป็นปริมาณที่ถูกปรับลดลงนั้นไม่เป็นส่วนหนึ่งของ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป ตัวอย่างเช่น เมื่อแรกเริ่มกิจการป้องกัน ความเสี่ยงในสินค้าโภคภัณฑ์ในปริมาณ 100 ตัน ที่ราคาฟอร์เวิร์ด 80 และต่อมาลดปริมาณ สินค้ำโภคภัณฑ์ลง 10 ตันเพื่อปรับสมดุล รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงภายหลังการปรับ สมดุลจะเหลือเพียง 90 ตัน และมีการป้องกันความเสี่ยงที่ราคา 80 รายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงจานวน 10 ตัน ที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงอีก ต่อไปจะถูกบัน ทึกตามข้อกาหนดของการยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 5 ถึง 6 . 5 . 6 และย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 22 ถึง ข 6 . 5 . 28 ) ข 6 . 5 . 21 เมื่อมีการปรับสมดุลของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องปรับปรุงการ วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงที่คาดว่าจะส่งผล กระทบต่อความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง สาหรับระยะเวลาที่เหลือให้เป็นปัจจุบัน เสมอ (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 4 . 2 ) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของกา รป้องกันความเสี่ยงก็ ต้องปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันด้วยเช่นเดียวกัน การยกเลิกการใช้การบัญชีป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 22 การยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงจะไม่มีผลย้อนหลัง โดยจะมีผลนับจากวันที่ไม่เข้า เงื่อนไขของการใช้บัญชีป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 23 กิจการต้องไม่เลิกเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงและไม่ยุติความสัมพันธ์ ดังกล่าว หาก ข 6 . 5 . 23 . 1 ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้นยังคงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ การบริหารความเสี่ยงบนพื้นฐานที่ยังเข้าเงื่อนไขของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง (กล่า วคือ กิจการยังคงดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงนั้นอยู่) และ ข 6 . 5 . 23 . 2 ยังคงเข้าเงื่อนไขตามข้อกาหนดที่เหลืออยู่ทุกข้อ (หลังจากที่คานึงถึงการปรับสมดุล ของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงนั้น หากมีการปรับสมดุลเกิดขึ้น)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 189 ข 6 . 5 . 24 เพื่อให้เป็น ไปตามวัตถุประสงค์ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ กลยุทธ์การบริหาร ความเสี่ยงของกิจการนั้นแตกต่างจากวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง กลยุทธ์การ บริหารความเสี่ยงจะถูกกาหนดขึ้นจากระดับสูงสุด ซึ่งเป็นการกาหนดว่ากิจการจะบริหารความ เสี่ยงด้วยวิธีใด กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงโดยทั่วไปจะมีการบ่งชี้ถึงความเสี่ยงที่กิจการ จะต้องเผชิญและกาหนดวิธีการบริหารกับความเสี่ยงเหล่านั้น โดยปกติกลยุทธ์การบริหารความ เสี่ยงจะเป็นเครื่องมือในระยะยาวและมีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป (ตัว อย่างเช่น อัตราดอกเบี้ยหรือระดับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่แตกต่างกันซึ่ง นาไปสู่ระดับของการป้องกันความเสี่ยงที่แตกต่างออกไป) กลยุทธ์นั้นมีการกาหนดเป็นลาย ลักษณ์อักษรลงในเอกสารที่มีการจัดสรรให้กับฝ่ายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องผ่านทางนโยบายที่อาจ มีการกาหนดแนวทางที่ลงใน รายละเอียดมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม วัตถุประสงค์ของการ บริหารความเสี่ยงสาหรับแต่ละความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงมีผลบังคับใช้ในระดับ ของความสัมพันธ์นั้นๆ ซึ่งเกี่ยวกับวิธีการที่เลือกกาหนดเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงเพื่อ ป้องกันความเสี่ยงในฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงในรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น กล ยุทธ์การบริหารความเสี่ยงอาจเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงที่แตกต่างกัน ซึ่งวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงนั้นสัมพันธ์กับการนากลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงใน ภาพรวม ตัวอย่างเช่น ข 6 . 5 . 24 . 1 กิจการมีกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ยจากการจัดหาเงินทุนใน ภาพรวมของกิจการซึ่งกาหนดเป็นช่วง ( range ) โดยอาจเป็นการผสมผสานกัน ระหว่างอัตราดอกเบี้ยลอยตัวและอัตราดอกเบี้ยคงที่ กลยุทธ์ดังกล่าวอาจ กำหนดให้มีการคงสัดส่วนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ไว้ ที่ระดับร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 40 โดยกิจการมีการตัดสินใจในการปรับใช้สัดส่วนที่เหมาะสมตามแต่ ช่วงเวลาตามกลยุทธ์ดังกล่าว (กล่าวคือ จะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ยคงที่ให้อยู่ในช่วงอัตราร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 40 ) ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กั บทิศทางอัตราดอกเบี้ย หากอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่า กิจการอาจจะ ออกตราสารหนี้ที่มีดอกเบี้ยคงที่มากกว่าเมื่ออัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง หนี้สินของกิจการที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวมีจานวนเท่ากับ 100 โดยในจานวน นี้มี 30 ที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ กิจการอาศัยช่วงที่อัตราดอกเบี้ยต่า เพื่อความได้เปรียบจึงออกตราสารหนี้เพิ่มอีก 50 เพื่อจัดหาเงินทุนสาหรับการ ลงทุนสำคัญของกิจการ โดยเป็นการออกตราสารหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ด้วยเหตุที่อัตราดอกเบี้ยต่า กิจการตัดสินใจกา หนดสัดส่วนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ย คงที่ไว้ที่ร้อยละ 40 ของหนี้สินทั้งหมด โดยลดปริมาณที่กิจการเคยป้องกันความ เสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวลงไป 20 ทาให้เหลือหนี้สินอัตราดอกเบี้ยคงที่ เพียง 60 ในสถานการณ์ดังกล่าว กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงไม่ได้เปลี่ยนแปลง ไป อ ย่างไรก็ตาม ในทางกลับกัน การนากลยุทธ์ไปใช้จริงได้เปลี่ยนแปลงไปและ นั่นหมายถึงว่า สาหรับหนี้สินอัตราดอกเบี้ยลอยตัวจานวน 20 ที่เคยถูกป้องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 190 ความเสี่ยงโดยเปลี่ยนให้เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่นั้น ขณะนี้วัตถุประสงค์ของการ ป้องกันความเสี่ยงได้เปลี่ยนแปลงไป (กล่าวคือ ใ นระดับ ของความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยง) ผลที่ตามมาก็คือสาหรับเหตุการณ์นี้ กิจการต้องยกเลิกการบัญชี ป้องกันความเสี่ยงสาหรับจานวน 20 ที่เคยป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว โดยลดฐานะสัญญาแลกเปลี่ยนลง 20 ตาม จานวนเงินที่กาหนดไว้ แต่ ขึ้นอยู่กับสถานการ ณ์ กิจการอาจจะคงปริมาณสัญญาแลกเปลี่ยนนั้นโดยไม่ยกเลิกก็ ได้ ตัวอย่างเช่น กิจการอาจจะใช้เพื่อการป้องกันความเสี่ยงประเภทอื่นหรืออาจจะ เปลี่ยนให้มาอยู่ในบัญชีเพื่อการค้าก็ได้ ในทางกลับกัน หากกิจการเลือกที่จะเปลี่ยน หนี้สินอัตราดอกเบี้ยคงที่จานวนใหม่บางส่วนให้เป็ นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว การ บัญชีป้องกันความเสี่ยงยังคงต้องดาเนินต่อไปสาหรับในส่วนที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง อัตราดอกเบี้ยลอยตัวก่อนหน้านี้ ข 6 . 5 . 24 . 2 ความเสี่ยงบางประเภทเป็นผลมาจากสถานะที่มีการเปลี่ยนบ่อยครั้ง เช่น ความเสี่ยง อัตราดอกเบี้ยจากตราสารหนี้ที่มีสถานะเปิด ( open portfolio ) จานวนตราสารหนี้ที่ เพิ่มขึ้นและการ เลิกรับรู้ รายการตราสารหนี้บางตัวทาให้ความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป อยู่ตลอดเวลา (แตกต่างจากการที่สถานะลดลงเพราะตราสารหนี้นั้นครบกาหนด) เหล่านี้เป็นกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ( dynamic process ) ที่ความ เสี่ยงที่เกิดขึ้นและเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงไม่สามารถที่จะอยู่คงที่ได้ ตลอด เป็นระยะเวลายาวนาน ผลที่ตามมาก็คือ กิจการ ที่มีความเสี่ยงเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาดังกล่าวจะต้องมีการปรับปรุงเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงอัตรา ดอกเบี้ยอยู่บ่อยครั้งเมื่อสถานะความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างเช่น ตราสารหนี้ ที่มีอายุคงเหลือ 24 เดือนถูกกำหนดให้เป็นตราสารที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง สาหรับความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเป็นเวลา 24 เดือน สาหรับตราสารหนี้ อายุ คงเหลืออื่นๆ ก็จะใช้วิธีการเดียวกัน หลังจากนั้นไม่นานกิจการก็ยกเลิก ความสัมพันธ์การป้องกันความเสี่ยงที่เคยถูกกาหนดก่อนหน้าสาหรับอายุคงเหลือ ต่างๆ ทั้งหมด หรือบางส่วน แล้วกาหนดควา มสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยง ครั้งใหม่โดยอิงจากขนาดและประเภทของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงที่มีอยู่ใน ขณะนั้น การหยุดใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงในกรณีนี้สะท้อนให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงเหล่านั้นถูกกาหนดขึ้นมาจากวิธีที่กิจการ มองเค รื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและตราสารที่มีการป้องกันความเสี่ยงตัวใหม่ แทนที่จะคานึงถึงเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงและตราสารที่มีการป้องกันความ เสี่ยงที่ได้กาหนดความสัมพันธ์ไปก่อนหน้า สาหรับกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง ยังคงเหมือนเดิม แต่สำหรับความสัมพัน ธ์ที่เคยกำหนดก่อนหน้านั้นไม่มี จุดประสงค์ของการป้องกันความเสี่ยงคงอยู่อีกต่อไป ในสถานการณ์นี้ การหยุดใช้ การบัญชีป้องกันความเสี่ยงจะขึ้นอยู่กับขอบเขตของจุดประสงค์ของการป้องกัน ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละสถานการณ์ของกิจการและอาจกระทบกับ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 191 ความสัมพันธ์ของกา รป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดหรือเพียงบางความสัมพันธ์ใน แต่ละอายุคงเหลือ หรือ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ ของการป้องกัน ความเสี่ยงเท่านั้น ข 6 . 5 . 24 . 3 กิจการมีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่ใช้จัดการความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศจาก ประมาณการยอดขายและลูกหนี้การค้ำที่อาจมีเพิ่มขึ้น ภายใต้กลยุทธ์นี้ กิจการ จัดการกับความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศที่ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง รูปแบบหนึ่ง ณ จุดที่มีการรับรู้ลูกหนี้การค้านั้น หลังจากนั้น กิจการก็ไม่จัดการความ เสี่ยงเงินตราต่างประเทศในรูปแบบนั้นอีกต่อไป แต่หันมาใช้การ ป้องกันความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศจากลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้าและอนุพันธ์ที่เป็นเงินสกุล เดียวกันในลักษณะแบบองค์รวม (ซึ่งจะไม่ขึ้นกับรายการที่คาดการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้น จริง) ในแง่ของการบันทึกบัญชี วิธีการนี้เรียกว่า การป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ เนื่องจากผลกาไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากรายการดังกล่าวจะถูก รับรู้ทันทีในกำไรหรือขาดทุน ผลที่ตามมาก็คือ ในแง่ของการบันทึกบัญชี หากความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงได้ถูกเลือกกำหนดขึ้นในช่วงเวลา จนกระทั่งถึงวันครบกาหนดจ่ายเงิน ความสัมพันธ์ดัง กล่าวจะต้องถูกยกเลิกเมื่อมี การบันทึกบัญชีลูกหนี้การค้า นั้นเนื่องจากจุดประสงค์ของการป้องกันความเสี่ยงใน ความสัมพันธ์ที่ป้องกันความเสี่ยงนั้นไม่มีอีกต่อไป ความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศ ณ ขณะนี้ ได้ถูกจัดการภายใต้กลยุทธ์เดิมแต่ด้วยวิธีที่เปลี่ยนไป ในทางกลับกัน หำกกิจการมีจุดประสงค์ในการป้องกันความเสี่ยงที่แตกต่างไปแต่ยังคงใช้วิธีการ เดิมในการจัดการความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากการประมาณการ ยอดขายรวมถึงลูกหนี้การค้าที่อาจเกิดขึ้นตามมาตา ม ความสัมพันธ์ในรูปแบบเดิม ไปจนถึงวันจ่ายชาระ กิจการก็ยังสามารถใช้การบัญชีป้ องกันความเสี่ยงนั้นได้จนถึง วันดังกล่าว ข 6 . 5 . 25 การยกเลิกการบัญชีป้องกันความเสี่ยงสามารถส่งผลกระทบต่อ ข 6 . 5 . 25 . 1 ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยรวมทั้งหมด หรือ ข 6 . 5 . 25 . 2 บางส่วนของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง (ซึ่งหมายความว่าการบัญชี ป้องกันควำมเสี่ยงยังคงมีผลอยู่สาหรับส่วนอื่นของความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยง) ข 6 . 5 . 26 ให้ยุติความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงโดยรวมทั้งหมดเมื่อไม่เข้าเงื่อนไขที่กำหนด ตัวอย่างเช่น ข 6 . 5 . 26 . 1 ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการบริหาร ความเสี่ยงที่ทาให้เกิดการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (กล่าวคือ กิจการไม่ได้มี จุดประสงค์ในการบริหารความเสี่ยงนั้นอีกต่อไป)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 192 ข 6 . 5 . 26 . 2 มีการขายหรือยกเลิกของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ย งหรือเครื่องมือทาง การเงิน (โดยเกี่ยวข้องกับปริมาณทั้งหมดที่เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยง) หรือ ข 6 . 5 . 26 . 3 ไม่มีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงกับ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป หรือความเสี่ยงด้า นเครดิตเริ่มมี ผลกระทบต่อมูลค่ามากกว่าความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจนั้น ข 6 . 5 . 27 ให้ยุติความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงในบางส่วน (และยังคงถือปฏิบัติการบัญชี ป้องกันความเสี่ยงต่อไปสาหรับส่วนอื่นที่เหลือ) เมื่อเพียงบางส่วนของความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยงไม่ เข้าเงื่อนไขที่กาหนด ตัวอย่างเช่น ข 6 . 5 . 27 . 1 เมื่อมีการปรับสมดุลความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง อัตราส่วนการ ป้องกันความเสี่ยงอาจถูกปรับปรุงจนทาให้บางส่วนของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงนั้นไม่เป็นส่วนหนี่งของความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงอีก ต่อไ ป (ดูย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 20 ) ดังนั้น ให้ยกเลิกการบัญชีป้องกันความเสี่ยงสาหรับ ส่วนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป ข 6 . 5 . 27 . 2 เมื่อมีบางส่วนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เป็น (หรือเป็น ส่วนประกอบ ของ) รายการที่คาดการณ์นั้นไม่ได้ถูกจัดว่าเป็นรายการที่มีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมากอีกต่อไป ให้ ยกเลิก การบัญชีป้องกันความเสี่ยงเฉพาะใน ส่วนที่ไม่ถูกจัดว่ามีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมากดังกล่าวของรายการที่ มีการป้องกันความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม หากกิจการเคยเลือกกำหนดการป้องกันความ เสี่ยงของรายการที่คาดการณ์และต่อมาได้ประเมินว่ารายการที่คาดการณ์ดังกล่าวจะ ไม่เกิดขึ้นอีกต่อไป อาจก่อให้เกิดคาถามในความสามารถในการประเมินรายการที่ คาดการณ์ที่คล้ายคลึงกันของกิจการ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการประเมินรา ยการที่ คาดการณ์ที่คล้ายคลึงกันว่ามีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมากหรือไม่ (ดูย่อหน้าที่ 6 . 3 . 3 ) และถือว่าเข้าเงื่อนไขเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ได้หรือไม่ ข 6 . 5 . 28 กิจการสามารถเลือกกำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงขึ้นมาใหม่สำหรั บ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงหรือรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์เดิมที่ เคยมีการยกเลิกการใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงแล้ว (บางส่วน หรือทั้งหมด) โดยไม่ถือว่า เป็น การดำเนินความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงต่อจากเดิม แต่ให้ถือเป็นการเริ่ม ความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงขึ้นใหม่ ตัวอย่างเช่น ข 6 . 5 . 28 . 1 ความเสี่ยงด้านเครดิตของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก จนทำ ให้กิจการต้องเปลี่ยนเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงใหม่ ซึ่งทำให้ ความสัมพันธ์ ของการป้ องกันความเสี่ยงเดิมไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของการบริหาร ความเสี่ยงและต้องยุติความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดลงในที่สุด

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 193 เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงรายการใหม่ถูกเลือกกำหนดขึ้นเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงของความเสี่ยงเดิมและเกิดเป็นความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยง ใหม่ ดังนั้น การวัดมูลค่าของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมหรือกระแสเงินสด ของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงใหม่จะเริ่มและอ้างอิงจากวันที่มีการเลือก กำหนดความสัมพันธ์ในการป้องกันความเสี่ยงขึ้นใหม่แทนที่จะเป็นวันที่ ความสัมพันธ์ของการป้องกันควำมเสี่ยงเดิมถูกเลือกกาหนดขึ้น ข 6 . 5 . 28 . 2 ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงหยุดลงก่อนครบกำหนดอายุของ เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงของความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยงนี้จะสามารถถูกเลือกกำหนดขึ้นเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ ยงในอีกความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงได้ (ตัวอย่างเช่น เมื่อทา การปรับปรุงอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยงโดยเพิ่มจานวนเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยง หรือเมื่อเลือกกาหนดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงขึ้นใหม่ ทั้งหมด) การบัญชีสาหรับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือก ข 6 . 5 . 29 สิทธิเลือกเกี่ยวข้องกับช่วงเวลา เนื่องจากมูลค่าตามเวลาแสดงถึงสิ่งตอบแทนสาหรับการ ปกป้องผู้ถือสิทธิเลือกตลอดช่วงเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม มุมมองที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ ของการประเมินว่าสิทธิเลือกนั้นเป็นการป้องกันความเสี่ยงของรายการธุรกรรมใด หรือรายการ ที่มีกำรป้องกันความเสี่ยงตามช่วงเวลาที่เกี่ยวข้องหรือไม่ คือลักษณะโดยทั่วไปของรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยง รวมถึงวิธีการและช่วงเวลาที่จะมีผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุน ดังนั้น กิจการต้องประเมินประเภทของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 . 1 ) จาก ลัก ษณะโดยทั่วไปของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (โดยไม่คานึงถึงว่าความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยงจะเป็นการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดหรือการป้องกันความเสี่ยง ในมูลค่ายุติธรรม) ดังนี้ ข 6 . 5 . 29 . 1 มูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับธุรกรรม ถ้าลักษณะโดยทั่วไปของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง นั้นเป็นรายการที่มีมูลค่าตามเวลาเป็นต้นทุนของธุรกรรมดังกล่าว ตัวอย่างเช่น เมื่อมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงซึ่ง เป็นผลให้ในการวัดมู ลค่าเมื่อเริ่มแรกนั้นต้องรวมต้นทุนการทารายการเป็นส่วน หนึ่งของในการรับรู้รายการนั้น (ตัวอย่างเช่น กิจการทาการป้องกันความเสี่ยงด้าน ราคาในการซื้อสินค้าโภคภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นรายการที่คาดการณ์หรือสัญญาผูกมัด ก็ตาม และได้รวมต้นทุนการทารายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของต้น ทุนสินค้าคงเหลือ) ผลจากการรวมมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกในการวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรกของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงคือ มูลค่าตามเวลากระทบกาไรหรือขาดทุนใน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 194 เวลาเดียวกันกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ในทานองเดียวกัน กิจการที่ทา การป้องกันความเสี่ยงในรายการ ขายสินค้าโภคภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นรายการที่ คาดการณ์หรือสัญญาผูกมัดก็ตาม จะรวมมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับรายการขายดังกล่าว (ดังนั้น มูลค่าตามเวลาจะ ถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาเดียวกันกับรายได้ที่มาจากรายการ ขายที่ ถูกป้องกันความเสี่ยง) ข 6 . 5 . 29 . 2 มูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับช่วงเวลา ถ้าลักษณะโดยทั่วไปของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง นั้นมีมูลค่าตามเวลาเป็นต้นทุนในการได้มาซึ่งการป้องกันความเสี่ยงตลอดช่วง ระยะเว ลา (แต่รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่ได้ส่งผลให้เกิดธุรกรรมที่ต้อง รับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการทารายการตามกล่าวในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 29 . 1 ) ตัวอย่างเช่น ถ้าสินค้าโภคภัณฑ์คงเหลือมีการป้องกันความเสี่ยงจาก การลดลงของมูลค่ายุติธรรมในระยะเวลา 6 เดือนโดยใช้สิทธิเลือกสินค้าโภคภัณฑ์ ที่มีอายุสัญญาเท่ากัน มูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกจะถูกปันส่วน เข้ากาไรหรือ ขาดทุน (กล่าวคือโดยการตัดจาหน่ายอย่างมีระบบและสมเหตุสมผล) ตลอดช่วง ระยะเวลา 6 เดือน อีกตัวอย่าง เช่น การป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิใน หน่วยงานต่ำงประเทศเป็นระยะเวลา 18 เดือนโดยใช้สิทธิเลือกเงินตรา ต่างประเทศ ซึ่งเป็นผลให้มีการปันส่วนมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกตลอดช่วง ระยะเวลา 18 เดือน ข 6 . 5 . 3 0 ลักษณะของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง รวมถึงวิธีการและช่วงเวลาที่รายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงนั้นมีผล กระทบต่อกาไรหรือขาดทุน และรวมถึงผลกระทบของช่วงเวลาที่ มูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกนั้นป้องกันความเสี่ยงให้กับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับช่วงเวลาจะถูกตัดจาหน่าย ซึ่งสอดคล้องกันกับช่วงเวลาที่มูลค่าที่แท้จริงของสิทธิ เลือกมีผลกระทบต่อกำไรหรือขำดทุนตามที่กำหนดในการบัญชีการป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น ถ้ากิจการใช้สัญญาสิทธิที่จะซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) ในการป้องกัน ความเสี่ยงในการเพิ่มขึ้นของดอกเบี้ยจ่ายของพันธบัตรที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว มูลค่าตามเวลา ของสัญญาสิทธิที่จะซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) ดังกล่าวจะถูกตัดจาหน่ายเป็นกาไรหรือ ขาดทุนตลอดช่วงเวลาเช่นเดียวกับช่วงเวลาที่มูลค่าที่แท้จริงมีผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุน ข 6 . 5 . 3 0 . 1 ถ้าสัญญาสิทธิที่จะซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) ป้องกันความเสี่ยงจากการ เพิ่ มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยใน 3 ปีแรกของพันธบัตรที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 5 ปี มูลค่าตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) ดังกล่าวจะถูกตัดจำหน่ายตลอดอายุ 3 ปีแรก หรือ ข 6 . 5 . 3 0 . 2 ถ้าสัญญาสิทธิที่จะซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) เป็นสัญญาที่เริ่มใช้สิทธิใน อนาคต ซึ่งป้องกันความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยในปีที่ 2 และปีที่ 3 ของพันธบัตรที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 5 ปี มูลค่าตามเวลาของสัญญาสิทธิที่จะ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 195 ซื้อในอัตราดอกเบี้ยสูงสุด ( Cap ) ดังกล่าวจะถูกตัดจาหน่ายในระหว่างปีที่ 2 แล ะ ปีที่ 3 ข 6 . 5 . 31 การบัญชีสาหรับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 ยังบังคับใช้กับสัญญาสิทธิ ที่กิจการซื้อมา ( purchased option ) และสัญญาสิทธิที่กิจการเป็นผู้ออก ( written option ) และ ที่ถูกกำหนดให้รวมกัน (สัญญาหนึ่งเป็นสิทธิที่จะขายและอีกสัญญาหนึ่ งเป็นสิทธิที่จะซื้อ) ซึ่งมูลค่าตามเวลาสุทธิ ณ วันที่ถูกเลือกกำหนดให้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง มีค่าเท่ากับศูนย์ (โดยทั่วไปหมายถึง Zero - cost collar ) ในกรณีดังกล่าว กิจการต้องรับรู้การ เปลี่ยนแปลงของมูลค่าตามเวลาในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แม้ว่าผลสะสมของการ เปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามเวลาตลอดช่วงระยะเวลาของความสัมพันธ์ของการป้องกันความ เสี่ยงจะเท่ากับศูนย์ ดังนั้น ถ้ามูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกเกี่ยวข้องกับ ข 6 . 5 . 31 . 1 รายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม มูลค่าตามเวลา ณ จุดสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่ปรับปรุงรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง หรือจำนวนที่ถูกจัดประเภทใหม่เป็นกำไรหรือขาดทุน (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 4 . 2 ) จะเท่ากับศูนย์ ข 6 . 5 . 31 . 2 รำยการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับช่วงเวลา จานวนที่ตัดจาหน่ายที่ เกี่ยวข้องกับมูลค่าตามเวลาจะเท่ากับศูนย์ ข 6 . 5 . 32 การบัญชีสำหรับมูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 4 บังคับใช้เฉพาะกับ มูลค่าตามเวลาที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (มูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกัน) มูลค่าตามเวลาของสิทธิเลือกจะเกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงถ้าข้อกาหนดที่ สำคัญของสิทธิเลือก (เช่น จำนวนเงินที่กำหนดไว้ อายุของสัญญา และรายการอ้างอิง) สอ ดคล้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น หากข้อกาหนดที่สาคัญของสิทธิเลือก และรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่สอดคล้องกันทั้งหมด กิจการต้องกาหนดมูลค่าตาม เวลาที่สอดคล้องกัน ซึ่งก็คือมูลค่าตามเวลารวมถึงค่าใช้จ่ายในการทาสัญญา (มูลค่าตามเวลาที่ เกิดขึ้ นจริง) ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (และต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 ) กิจการกาหนดมูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกันโดยใช้มูลค่าของสิทธิเลือกที่มีข้อกาหนด ที่สาคัญที่สอดคล้องกันอย่างสมบูรณ์กับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 33 ถ้ามูลค่าตา มเวลาที่เกิดขึ้นจริง และมูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกันนั้นแตกต่างกัน กิจการต้อง ระบุจานวนเงินซึ่งถูกสะสมและแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 14 ดังต่อไปนี้ ข 6 . 5 . 33 . 1 ถ้ามูลค่าตามเวลาที่เกิดขึ้นจริงสูงกว่ามูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกัน ณ จุ ดที่รับรู้ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง ( 1 ) ระบุจานวนเงินซึ่งถูกสะสมและแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของ เจ้าของแยกตามเกณฑ์ของมูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกัน และ ( 2 ) รับรู้ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมระหว่างมูลค่าตามเวลาที่ เกิดขึ้ นจริงและมูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกันในกาไรหรือขาดทุน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 196 ข 6 . 5 . 33 . 2 ถ้ามูลค่าตามเวลาที่เกิดขึ้นจริงต่ากว่ามูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกัน ณ จุดที่รับรู้ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องระบุจานวนเงินซึ่งถูกสะสม และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของ โดยอ้างอิงกับจานวนเงิน ที่ต่ากว่าของการเปลี่ยนแปลงสะสมในมูลค่ายุติธรรมของ ( 1 ) มูลค่าตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง และ ( 2 ) มูลค่าตามเวลาที่สอดคล้องกัน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าตามเวลาที่เกิดขึ้นจริงที่เหลืออยู่จะถูกรับรู้ในกาไร หรือขาดทุน การบัญชีสำหรับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดและส่วนต่างอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงิน ข 6 . 5 . 34 สัญญาฟอร์เวิร์ดมีความเกี่ยวข้องกับระยะเวลาเนื่องจากองค์ประกอบราคาล่วงหน้าแสดงถึง ค่าตอบแทนของระยะเวลาดังกล่าว (ซึ่งหมายถึงระยะเ วลาครบกำหนดที่ได้พิจารณาไว้) อย่างไรก็ตาม แง่มุมที่เกี่ยวข้องสาหรับวัตถุประสงค์ของการประเมินว่าเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกัน ความเสี่ยงใช้ป้องกันความเสี่ยงของรายการที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือที่เกี่ยวข้องกับช่วงเวลา นั่นคือต้องประเมินลักษณะของรายการที่มีการป้องกั นความเสี่ยง รวมทั้งรูปแบบและช่วงเวลาที่ ส่งผลกระทบต่อกำไรหรือขาดทุน ดังนั้น กิจการต้องประเมินประเภทของรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 5 และ 6 . 5 . 1 4 . 1 ) โดยคานึงถึงลักษณะโดยทั่วไปของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (โดยไม่คานึงว่าความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงจะ เป็นการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดหรือการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม) ดังนี้ ข 6 . 5 . 34 . 1 องค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม ถ้ำลักษณะโดยทั่วไปของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงเป็นรายการที่มีองค์ประกอบราคาล่วงหน้าเป็นต้นทุนของรายการ ตัวอย่างเช่น เมื่อองค์ประกอบราคาล่วงหน้าสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่ทำให้การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกรวมต้นทุนการทำรายการ (เ ช่น กิจการป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศจากการซื้อสินค้าคงเหลือในรูป ของสกุลเงินตราต่างประเทศโดยที่ไม่ว่าจะเป็นรายการที่คาดการณ์หรือสัญญา ผูกมัด และได้รวมต้นทุนการทารายการเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าคงเหลือนั้นในการ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก) ผลของการรวมองค์ประ กอบราคาล่วงหน้าในการ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงคือการที่ องค์ประกอบราคาล่วงหน้ากระทบกำไรหรือขาดทุนพร้อมกับรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง ในทำนองเดียวกัน กิจการที่ป้องกันความเสี่ยงเงินตรา ต่างประเทศของการขายสินค้าโภคภัณฑ์ ที่ไม่ว่าจะเป็นรายการที่คาดการณ์หรือ สัญญาผูกมัด จะรวมองค์ประกอบราคาล่วงหน้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 197 เกี่ยวข้องกับการขาย (ดังนั้น องค์ประกอบราคาล่วงหน้าจะถูกรับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุนในรอบระยะเวลา เดียวกันกับรายได้จากการขายที่ถูกป้องกันความเสี่ยง) ข 6 . 5 . 34 . 2 องค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดสัมพันธ์กับรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับช่วงเวลา ถ้าลักษณะโดยทั่วไปของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงมีองค์ประกอบราคาล่วงหน้าเป็นต้นทุนในการได้มาซึ่งการป้องกันความ เสี่ยงต่อช่วงระยะเวลานั้น (แต่รายกา รที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่ได้ส่งผลให้เกิด ธุรกรรมที่ต้องรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการทารายการตามที่ กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 34 . 1 ) ตัวอย่างเช่น ถ้าสินค้าโภคภัณฑ์คงเหลือถูก ป้องกันความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมสาหรับช่วงระยะเวลำ 6 เดือนโดยใช้สัญญาฟอร์เวิร์ดสินค้าโภคภัณฑ์ที่มีระยะเวลาครบกาหนดสอดคล้อง กัน องค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดจะถูกปันส่วนไปยังกาไรหรือ ขาดทุน (กล่าวคือ ตัดจาหน่ายอย่างเป็นระบบและด้วยเกณฑ์ที่สมเหตุสมผล) ตลอดช่วงระยะเวลา 6 เดือน อีกตัวอย่างเช่น การป้อ งกันความเสี่ยงของเงินลงทุน สุทธิในหน่วยงานต่างประเทศเป็นระยะเวลา 18 เดือน โดยใช้สัญญาฟอร์เวิร์ด เงินตราต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปันส่วนขององค์ประกอบราคาล่วงหน้า ของสัญญาฟอร์เวิร์ดนี้ตลอดช่วงระยะเวลา 18 เดือน ข 6 . 5 . 35 ลักษณะของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง รวมถึงรูปแบบและช่วงเวลาที่รายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงส่งผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุน ได้ส่งผลกระทบตลอดช่วงเวลาต่อช่วงเวลา ที่องค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงให้กับรายการที่ เกี่ยวข้องกับ ช่วงเวลาที่มีการตัดจาหน่าย ซึ่งหมายถึงตลอดช่วงระยะเวลาที่เกี่ยวข้องกับส่วนของ อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้านั้น ตัวอย่างเช่น ถ้าสัญญาฟอร์เวิร์ดป้องกันความเสี่ยงต่อความผัน ผวนของอัตราดอกเบี้ยสาหรับระยะเวลา 3 เดือน โดยเริ่มในอีก 6 เดือนข้างหน้า องค์ประกอบ ราคาล่วงหน้ำจะถูกตัดจาหน่ายในช่วงเดือนที่ 7 ถึงเดือนที่ 9 ข 6 . 5 . 36 ให้ถือปฏิบัติตามการบัญชีสาหรับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 สาหรับกรณีที่องค์ประกอบราคาล่วงหน้า ณ วันที่สัญญาฟอร์เวิร์ดถูกเลือกกาหนดให้ เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ย ง และองค์ประกอบราคาล่วงหน้ามีค่าเท่ากับศูนย์ ในกรณี ดังกล่าว กิจการต้องรับรู้การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าใน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แม้ว่าผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ องค์ประกอบราคาล่วงหน้าจะเท่ากับศูนย์ตลอดช่วงระยะเว ลาความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยง ดังนั้น ถ้าองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดเกี่ยวข้องกับ ข 6 . 5 . 36 . 1 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม จำนวนเงินของ องค์ประกอบราคาล่วงหน้า ณ จุดสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง ที่ ปรับปรุงรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง หรือได้ถูกจัดประเภทใหม่ไปกาไรหรือ ขาดทุน (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 4 . 2 และ 6 . 5 . 1 5 ) เท่ากับศูนย์

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 198 ข 6 . 5 . 36 . 2 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับช่วงระยะเวลา จำนวนที่ตัด จาหน่ายที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบราคาล่วงหน้ำนั้นเท่ากับศูนย์ ข 6 . 5 . 37 ให้ถือปฏิบัติตามการบัญชีสาหรับองค์ประกอบราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ดตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 กับเฉพาะองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (องค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน) องค์ประกอบราคาล่วงหน้า ของสัญญาฟอร์เวิร์ด จะเกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงถ้าข้อกาหนดที่สาคัญของสัญญาฟอร์เวิร์ด (เช่น จานวนเงินที่กาหนดไว้ อายุของสัญญา และรายการอ้างอิง) สอดคล้องกับรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยง ดังนั้น ถ้าข้อกำหนดที่สาคัญของสัญญาฟอร์เวิร์ด และรายกำรที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงไม่สอดคล้องกันทั้งหมด กิจการต้องกาหนดองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่ เกี่ยวข้อง เช่น จานวนขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าในสัญญาฟอร์เวิร์ด (องค์ประกอบราคา ล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริง) ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (และต้องปฏิบัติ ตาม ย่อหน้าที่ 6 . 5 . 15 ) กิจการพิจารณากาหนดองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกันโดยใช้ การวัดมูลค่าของสัญญาฟอร์เวิร์ดที่มีข้อกำหนดที่สำคัญที่สอดคล้องกันอย่างสมบูรณ์กับ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ข 6 . 5 . 38 ถ้าองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริง และองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกันนั้น แตกต่างกัน กิจการต้องระบุจานวนเงินที่ถูกสะสมเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของ ตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 1 5 ดังต่อไปนี้ ข 6 . 5 . 38 . 1 ถ้าค่าสัมบูรณ์ขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้ นจริงสูงกว่าองค์ประกอบ ราคา ล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน ณ จุดที่รับรู้ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้อง ( 1 ) ระบุจานวนเงินที่ถูกสะสมเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของ ตามเกณฑ์ขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน และ ( 2 ) รับรู้ผลต่างจากการเปลี่ ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมระหว่างองค์ประกอบ ราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริงและองค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน ในกาไรหรือขาดทุน ข 6 . 5 . 38 . 2 ถ้าค่าสัมบูรณ์ขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริงต่ากว่าองค์ประกอบ ราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน ณ จุดที่รับรู้ความสัมพันธ์ ของการ ป้องกันความเสี่ยง กิจการจะต้องระบุจานวนเงินที่ถูกสะสมเป็นรายการแยกต่างหาก ในส่วนของเจ้าของ โดยอ้างอิงกับจานวนที่ต่ากว่าของการเปลี่ยนแปลงสะสมในมูลค่ายุติธรรมของ ( 1 ) ค่าสัมบูรณ์ขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริง และ ( 2 ) ค่าสัมบูรณ์ขององค์ประก อบราคาล่วงหน้าที่สอดคล้องกัน ส่วนของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมขององค์ประกอบราคาล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริงที่ เหลืออยู่จะถูกรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ข 6 . 5 . 39 เมื่อกิจการแยกส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศออกจากเครื่องมือทางการเงิน และไม่รวมในการเลือกกา หนดเครื่องมือทางการเงินนั้นเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 199 (ดูย่อหน้าที่ 6 . 2 . 4 . 2 ) แนวทางปฏิบัติในย่อหน้าที่ ข 6 . 5 . 34 ถึง ข 6 . 5 . 38 จะถือปฎิบัติกับส่วน ต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในลักษณะเดียวกันกับที่ถือปฎิบัติกับองค์ประกอบ ราคาล่วงหน้าของสัญญาฟอร์เวิร์ด การป ้ องกันความเสี่ยงของกลุ่มรายการ (หมวดที่ 6 . 6 ) การป ้ องกันความเสี่ยงของฐานะสุทธิ การใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงและการเลือกกาหนดฐานะสุทธิ ข 6 . 6 . 1 กิจการสามารถใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงกับฐานะสุทธิได้ถ้าวัตถุประสงค์ของการบริหาร ความเสี่ยงของกิจการอยู่บนเกณฑ์สุทธิในการป้องกันความเสี่ยง โดยที่กิจการต้องทาการ ป้องกันความเสี่ยงในลักษณะดังกล่าวจริง (ไม่ใช่พิจารณาเพียงแค่คารับรองหรือการระบุใน เอกสาร) ดังนั้น กิจการไม่สามารถใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงบนเกณฑ์สุทธิเพียงเพื่อ กำหนด ผลทางการบัญชีที่เฉพาะเจาะจงได้ ถ้าหากผลนั้นไม่สะท้อนวิธีการบริหารความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงของฐานะสุทธิต้องเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง โดยปกติ แล้วกลยุทธ์ดั งกล่าวจะได้รับการอนุมัติโดยผู้บริหารสาคัญตามที่กาหนดในมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 24 ข 6 . 6 . 2 ตัวอย่างเช่น กิจการ ก. ซึ่งมีสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินท้องถิ่น มีสัญญาผูกมัดที่จะต้องจ่ายด้วยสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 150,000 เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย ในการโฆษณาในอีก 9 เดือนข้างหน้า และมีสัญญาผูกมัดที่จะขายสินค้าสาเร็จรูปด้วยสกุล เงินตราต่างประเทศจานวน 150,000 ในอีก 15 เดือนข้างหน้า กิจการ ก. เข้าทาสัญญาอนุพันธ์ เงินตราต่างประเทศที่จะจ่ายชาระเงินในอีก 9 เดือนข้างหน้า โดยจะรับเงินที่เป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศจานวน 100 และจ่ายสกุลเงินท้องถิ่นจานวน 70 กิจการ ก ไม่มีความเสี่ยงอื่นต่อ สกุลเงินตราต่างประเทศ กิจการ ก ไม่ได้บริหารความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศบนเกณฑ์สุทธิ ดังนั้น กิจการ ก ไม่สามารถใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงสาหรับ ความสัมพันธ์ของการป้องกัน ความเสี่ยงระหว่างอนุพันธ์เงินตราต่างประเทศและฐานะสุทธิจานวน 100 ซึ่งเป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศ (ประกอบด้วยสัญญาผูกมัดที่จะซื้อ (ค่าโฆษณา) จานวน 150,000 และสัญญา ผูกมัดที่จะขายจานวน 149,900 ( จากจานวน 150,000 ) ) สาหรับระยะเวลา 9 เดือนข้ำงหน้า ข 6 . 6 . 3 ถ้ากิจการ ก บริหารความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศบนเกณฑ์สุทธิ และไม่ได้เข้าทาสัญญา อนุพันธ์เงินตราต่างประเทศ (เนื่องจากเป็นการเพิ่มความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศแทนที่จะ เป็นการลดความเสี่ยง) กิจการจะอยู่ในฐานะการป้องกันความเสี่ยงโดยธรรมชาติ ( Natural Hedge ) สาหรับช่วงระยะเวลา 9 เดือน โดยปกติแล้ว ฐานะการป้องความเสี่ยงแบบนี้จะไม่ สะท้อนในงบการเงิน เพราะรายการดังกล่าวถูกรับรู้ในรอบระยะเวลาที่รายงานที่แตกต่างกันใน อนาคต ฐานะสุทธิที่หักกลบกันหมดจะเกิดขึ้นในการบัญชีป้องกันความเสี่ยงหากเข้าเงื่อนไขใน ย่อหน้าที่ 6 . 6 . 6 เท่านั้น

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 200 ข 6 . 6 . 4 เมื่อกลุ่มของรายการที่รวมกันเป็นฐานะสุทธิถูกเลือกกาหนดให้เป็นรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง กิจการจะต้องเลือกกาหนดภาพรวมของกลุ่มรายการให้เป็นรายการที่สามารถทาให้ เป็นฐานะสุทธิได้ กิจการไม่สามารถที่จะเลือกกาหนดจานวนของฐานะสุทธิแบบไม่เฉ พาะเจาะจง ตัวอย่างเช่น กิจการมีกลุ่มรายการของสัญญาผูกมัดการขายในอีก 9 เดือนข้างหน้าเป็นสกุล เงินตรา ต่างประเทศจานวน 100 และกลุ่มของรายการสัญญาผูกมัดการซื้อในอีก 18 เดือน ข้างหน้าเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 120 กิจการไม่สามารถเลือกกาหนดจานวนของ ฐานะสุทธิเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศเท่ากับ 20 แต่จะต้องเลือกกาหนดจำนวนเงินทั้งสิ้นของ รายการซื้อและขายที่ร่วมกันก่อให้เกิดฐานะสุทธิของการป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องเลือก กาหนดฐานะทั้งสิ้นที่ก่อให้เกิดฐานะสุทธิเพื่อที่กิจการจะ สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดของการ บัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่เข้าเงื่อนไข การประยุกต์ใช้ข้อกำหนดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงกับการป้องกัน ความเสี่ยงของฐานะสุทธิ ข 6 . 6 . 5 เมื่อกิจการพิจารณาว่าข้อกาหนดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการป้ องกันความเสี่ยงตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 . 3 นั้นบรรลุหรือไม่เมื่อมีการป้องกันความเสี่ยงบนฐานะสุทธิ กิจการต้องพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการในฐานะสุทธิที่มีผลกระทบที่คล้ายคลึงกันกับเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง โดยพิจารณาร่วมกันกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น กิจการมีกลุ่มของรายการสัญญาผูกมัดการขายในอีก 9 เดือน ข้างหน้า เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 100 และกลุ่มของรายการสัญญาผูกมัดการซื้อใน อีก 18 เดือนข้างหน้า เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 120 กิจการป้องกันความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศของฐานะสุทธิ เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 20 โดยใช้สัญญาซื้อ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจำนวน 20 เมื่อมีการตัดสินใจว่า เข้าเงื่อนไขของข้อกาหนดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงตามย่อ หน้าที่ 6 . 4 . 1 . 3 หรือไม่ กิจการจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง ข 6 . 6 . 5 . 1 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศร่วมกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสัญญาผูกมัดการขาย อันเนื่องมาจากความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ และ ข 6 . 6 . 5 . 2 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสัญญาผูกมัดการซื้ออันเนื่องมาจากความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศ ข 6 . 6 . 6 ในทานองเดียวกัน ถ้าในตัวอย่างตามย่อหน้าที่ ข 6 . 6 . 5 กิจการมีฐานะสุทธิเป็นศูนย์จะพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสัญญาผูกมัดการขายอันเนื่องมาจากค วาม เสี่ยงเงินตราต่างประเทศและการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสัญญาผูกมัดการซื้ออันเนื่องมาจาก ความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ เมื่อมีการพิจารณาว่าเข้าเงื่อนไขข้อกาหนดเกี่ยวกับประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 . 3 หรือไม่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 201 การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดที่ก่อให้เกิดฐานะสุทธิ ข 6 . 6 . 7 เมื่อกิจการป้องกันความเสี่ยงในกลุ่มของรายการโดยการหักกลบฐานะความเสี่ยง (กล่าวคือ ฐานะสุทธิ) การเข้าเงื่อนไขที่จะใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงนั้นขึ้นอยู่กับประเภทของการ ป้องกันความเสี่ยง ถ้าเป็น การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม ฐานะสุทธิอาจจะสามารถ เป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้ อย่างไรก็ตาม ถ้าเป็นการป้องกันความเสี่ยงใน กระแสเงินสด ฐานะสุทธิจะเป็นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงได้ถ้าเป็นการป้องกัน ความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ และกำรเลือกกาหนดฐานะสุทธิเป็นการระบุรอบระยะเวลาที่ รายงานที่รายการที่คาดการณ์ถูกคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อกาไรหรือขาดทุน และเป็นการระบุ ลักษณะโดยทั่วไปและปริมาณของรายการด้วยเช่นกัน ข 6 . 6 . 8 ตัวอย่างเช่น กิจการมีฐานะสุทธิที่ประกอบไปด้วยส่วนท้ายสุดของรายการขายเป็นสกุลเงิ นตรา ต่างประเทศจานวน 100 และส่วนท้ายสุดของรายการซื้อเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 50 ทั้งรายการขายและซื้อเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศสกุลเดียวกัน ในการที่จะระบุฐานะสุทธิ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงอย่างครอบคลุมนั้น กิจการต้องกาหนดในเอกสารแสดงความสัมพันธ์ ของการป้ องกันความเสี่ยงเริ่มแรกว่ารายการขายเป็นของผลิตภัณฑ์ ก. หรือผลิตภัณฑ์ ข. และ รายการซื้อเป็นของเครื่องจักรชนิด ก เครื่องจักรชนิด ข และวัตถุดิบ ก กิจการยังต้องระบุ ปริมาณของรายการค้าแยกตามลักษณะโดยทั่วไปของรายการด้วย กิจการระบุในเอกสารว่า ส่วนท้ายสุดของรายการขาย ที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ (ที่สกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 100 ) มาจากรายการขายที่คาดการณ์ไว้เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจำนวน 70 แรกของ ผลิตภัณฑ์ ก. และเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 30 แรกของผลิตภัณฑ์ ข. ถ้ารายการ ขายดังกล่าวถูกคาดการณ์ว่าจะกระทบกาไรหรือขาดทุ นในรอบระยะเวลาที่รายงานที่แตกต่างกัน กิจการต้องระบุรอบระยะเวลาที่รายงานดังกล่าวไว้ในเอกสาร ตัวอย่างเช่น เป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศจานวน 70 แรกของรายการขายผลิตภัณฑ์ ก. ที่ถูกคาดการณ์ว่าจะกระทบกาไร หรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่รายงานแรก และเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 30 แรก ของรายการขายผลิตภัณฑ์ ข. ที่ถูกคาดการณ์ว่าจะกระทบกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่ รายงานถัดมา นอกจากนี้ กิจการยังต้องระบุในเอกสำรว่าส่วนท้ายสุดของรายการซื้อ (เป็นสกุล เงินตราต่างประเทศ จานวน 150 ) มาจากรายการซื้อเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 60 แรกของเครื่องจักรชนิด ก เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 40 แรกของเครื่องจักรชนิด ข และเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 50 แรกของวัตถุดิบ ก ถ้า รายการซื้อดังกล่าวถูกคาด ว่าจะกระทบกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่รายงานที่แตกต่างกัน กิจการต้องระบุรอบ ระยะเวลาที่รายงานดังกล่าวไว้ในเอกสารแสดงการแยกรายการซื้อตามรอบระยะเวลาที่รายงาน ที่ถูกคาดว่าจะกระทบต่อกำไรหรือขาดทุน (ในทานองเดียวกันกับการระบุในเอกสารของ รา ยการขาย) ตัวอย่างเช่น รายการที่คาดการณ์อาจถูกระบุว่า

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 202 ข 6 . 6 . 8 . 1 เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 60 แรกของรายการซื้อเครื่องจักรชนิด ก ที่ถูกคาดว่าจะกระทบกำไรหรือขาดทุนตั้งแต่ในรอบระยะเวลาที่รายงานที่ 3 เป็นต้นไปอีก 10 รอบระยะเวลาที่รายงาน ข 6 . 6 . 8 . 2 เป็นสกุ ลเงินตราต่างประเทศจานวน 40 แรกของรายการซื้อเครื่องจักรชนิด ข ที่ถูกคาดว่าจะกระทบกำไรหรือขาดทุนตั้งแต่ในรอบระยะเวลาที่รายงานที่ 4 เป็นต้นไปอีก 20 รอบระยะเวลาที่รายงาน และ ข 6 . 6 . 8 . 3 เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 50 แรกของรายการซื้อวัตถุดิบ ก ที่คาดว่าจะ ได้รับของในรอบระยะเวลาที่รายงานที่ 3 และจะถูกขาย ซึ่งทาให้กระทบกาไรหรือ ขาดทุน ในรอบระยะเวลาที่รายงานถัดไป การระบุลักษณะโดยทั่วไปของปริมาณของรายการที่คาดการณ์จะรวมถึงมุมมองต่างๆ เช่น รูปแบบการเสื่อมราคาของที่ดิน อาคาร แ ละอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายกัน ถ้าลักษณะโดยทั่วไป ของรายการดังกล่าวมีรูปแบบการเสื่อมราคาที่แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้สินทรัพย์ของ กิจการ ตัวอย่างเช่น ถ้ากิจการใช้เครื่องจักรชนิด ก ในสองกระบวนการผลิตที่ต่างกันที่เป็นผล ให้เกิดการเสื่อมราคาแบบเส้นตรงและตามจำนวนห น่วยของการผลิต ตลอดระยะเวลา 10 รอบระยะเวลาที่รายงาน ตามลาดับ การจัดทาเอกสารรายการซื้อคาดการณ์ของเครื่องจักร ชนิด ก จะถูกแยกปริมาณรายการตามรูปแบบการเสื่อมราคาที่กาหนด ข 6 . 6 . 9 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดของฐานะสุทธิ จานวนที่กาหนดตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 ต้องรวมการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการในฐานะสุทธิที่มีผลกระทบคล้ายคลึงกัน กับเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง พร้อมกันกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ เครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการในฐานะ สุทธิที่มี ผลกระทบคล้ายคลึงกันกับเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจะถูกรับรู้เมื่อรายการ ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องถูกรับรู้ เช่น เมื่อรายการขายที่คาดการณ์ไว้ถูกรับรู้เป็นรายได้ ตัวอย่างเช่น กิจการมีกลุ่มของรายการขายที่คาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากในอี ก 9 เดือนข้างหน้าเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจำนวน 100 และกลุ่มของรายการซื้อที่คาดการณ์ ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากในอีก 18 เดือนข้างหน้าเป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศจานวน 120 กิจการทาการป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของฐานะสุทธิ เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 20 โดยใช้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็น สกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 20 เมื่อมีการกาหนดจานวนที่จะถูกรับรู้ในสารองการป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสดตามย่อหน้าที่ 6 . 5 . 10 . 1 ถึง 6 . 5 . 10 . 2 กิจการต้องเปรียบเทียบ ข 6 . 6 . 9 . 1 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการขายคาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากอันเนื่องมาจากความเสี่ยงเงินตราต่างประ เทศ ข 6 . 6 . 9 . 2 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการซื้อคาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมากอันเนื่องมาจากความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 203 อย่างไรก็ตาม กิจการรับรู้เพียงจานวนที่เกี่ยวข้องกับสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า จนกระทั่งรายการขายคาดการณ์ที่ มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ในระดับสูงมาก ถูกรับรู้ใน งบการเงินในช่วงเวลาที่ผลกาไรหรือขาดทุนจากรายการที่คาดการณ์ดังกล่าวถูกรับรู้ (กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศระหว่าง การ เลือก กำหนดความสัมพันธ์ของการป้องกั นความเสี่ยงและการรับรู้รายได้) ข 6 . 6 . 1 0 ในทำนองเดียวกัน ถ้าในตัวอย่างที่กิจการมีฐานะสุทธิเป็นศูนย์ กิจการต้องเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของรายการขายคาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูง มากอันเนื่องมาจากความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ กับการเปลี่ ยนแปลงในมูลค่าของรายการซื้อ คาดการณ์ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมากอันเนื่องมาจากความเสี่ยงเงินตรา ต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม จานวนดังกล่าวจะถูกรับรู้เมื่อรายการที่คาดการณ์ที่เกี่ยวข้องมีการ รับรู้ในงบการเงิน ส่วนของกลุ่มของรายการที่ถูกเลือกกาหนดเป็นรายการที่มีการป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 6 . 11 ในลักษณะเดียวกันกับที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ ข 6 . 3 . 19 ในการเลือกกาหนดส่วนประกอบลาดับ ชั้นของกลุ่มของรายการที่ยังคงอยู่นั้น จาเป็นต้องระบุจานวนเงินที่กาหนดไว้ที่เฉพาะเจาะจง ของกลุ่ม ของรายการที่ส่วนของส่วนประกอบลาดับชั้นในการป้องกันความเสี่ยงถูกกาหนด ข 6 . 6 . 12 ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงสามารถประกอบด้วยลาดับชั้นจากกลุ่มรายการที่ แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ในการป้องกันความเสี่ยงของฐานะสุทธิของกลุ่มของสินทรัพย์และ กลุ่มของหนี้สิน ความสั มพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงสามารถประกอบด้วยส่วนประกอบ ลาดับชั้นของกลุ่มของสินทรัพย์และส่วนของกลุ่มของหนี้สินรวมกัน การแสดงรายการผลกำไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือ ที่ใช้ ป ้ องกันความเสี่ยง ข 6 . 6 . 13 ถ้ารายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงรวมกันเป็นกลุ่มในการป้องกันความเสี่ยงใน กระแส เงินสด กรณีดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อรายการในงบกาไรขาดทุนและกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ที่แตกต่างกัน การแสดงรายการผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงใน งบการเงินดังกล่าวขึ้ นอยู่กับกลุ่มของรายการ ข 6 . 6 . 14 ถ้ากลุ่มของรายการไม่มีฐานะความเสี่ยงที่หักกลบกันได้ (ตัวอย่างเช่น กลุ่มของค่าใช้จ่ายใน สกุลเงินต่างประเทศที่กระทบรายการที่แตกต่างกันในงบกาไรขาดทุนและกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นที่มีการป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศไว้) การจัด ประเภทใหม่ของผลกาไรหรือ ขาดทุนจากเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงจะถูกปันส่วนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรายการที่ถูก กระทบโดยรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง การปันส่วนนี้จะมีการปันส่วนอย่างมีระบบและ สมเหตุสมผล และต้องไม่เป็นผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นในผลกาไรหรือขาดทุนสุ ทธิจากเครื่องมือ ที่ ใช้ ป้องกันความเสี่ยงรายการใดรายการหนึ่ง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 204 ข 6 . 6 . 15 ถ้ากลุ่มของรายการมีฐานะความเสี่ยงที่หักกลบกันได้ (ตัวอย่างเช่น กลุ่มของรายการขายและ ค่าใช้จ่ายในสกุลเงินตราต่างประเทศถูกป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศร่วมกัน) กิจการ ต้องแสดงผลกาไรหรือขาด ทุนจากการป้องกันความเสี่ยงเป็นรายการแยกจากกันในงบกาไร ขาดทุนและกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตัวอย่างเช่น การป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ ของฐานะความเสี่ยงสุทธิจากรายการขายในสกุลเงินตราต่างประเทศเป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศจานวน 100 และค่าใช้จ่ายในรูปเงินตราต่า งประเทศเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ จานวน 80 โดยการใช้สัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ จานวน 20 ผลกาไรหรือขาดทุนจากสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าที่ถูกจัดประเภท ใหม่จากสารองการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดไปเป็นกาไรหรือขาดทุน (เมื่อฐานะสุทธิ กระทบกาไรหรือขาดทุน) จะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากจากรายการขายและค่าใช้จ่ายที่มี การป้องกันความเสี่ยง นอกจากนี้ ถ้ารายการขายเกิดขึ้นในงวดก่อนที่ค่าใช้จ่ายจะเกิดขึ้น รายได้จากการขายจะยังคงวัดมูลค่าด้วยอัตราแลกเปลี่ยนทันทีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 เมื่อผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องจะแสดงเป็นรายการ แยกต่างหาก เพื่อให้กาไรหรือขาดทุนสะท้ อนถึงผลกระทบของฐานะสุทธิที่ถูกป้องกันความ เสี่ยง และปรับปรุงเข้าเป็นรายการสารองการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด เมื่อค่าใช้จ่าย ที่ถูกป้องกันความเสี่ยงกระทบกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาถัดมา ผลกาไรหรือขาดทุน จากการป้องกันความเสี่ยงที่เคยรับรู้ในสารองการป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสดจากการ ขายจะถูกจัดประเภทใหม่เป็นกำไรหรือขาดทุน และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากจากรายการ ที่อยู่ในค่าใช้จ่ายที่ถูกป้องกันความเสี่ยง โดยจะวัดมูลค่าด้วยอัตราแลกเปลี่ยนทันทีตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ข 6 . 6 . 16 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงในมูล ค่ายุติธรรมบางประเภทนั้น วัตถุประสงค์ของการป้องกัน ความเสี่ยงไม่ใช่เพื่อการหักกลบการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยง แต่เป็นการแปลงกระแสเงินสดของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่างเช่น กิจการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรร มของความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของตราสารหนี้ที่มี อัตราดอกเบี้ยคงที่โดยการใช้สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย วัตถุประสงค์ของการป้องกัน ความเสี่ยงของกิจการคือการแปลงกระแสเงินสดจากอัตราดอกเบี้ยคงที่ไปเป็นกระแสเงินสด จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัว วัตถุประสงค์นี้ถูกสะท้อนใน การบัญชีสาหรับความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยงโดยการรับรู้ดอกเบี้ยสุทธิจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยในกาไรหรือ ขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง ในกรณีของการป้องกันความเสี่ยงของฐานะสุทธิ (ตัวอย่างเช่น ฐานะ สุทธิของสินทรัพย์ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ และหนี้สินที่มีอัตรำดอกเบี้ยคงที่) ดอกเบี้ยคงค้าง สุทธินี้ต้องถูกแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกาไรขาดทุนและกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงการเพิ่มขึ้นของผลกาไรหรือขาดทุนสุทธิของตราสารหนึ่งโดยการหักกลบใน จานวนขั้นต้นของรายการนั้น และรับรู้เป็นรายการแยกต่างหาก (ตัวอย่ำงเช่น เพื่อหลีกเลี่ยง การเพิ่มขึ้นของดอกเบี้ยรับสุทธิจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยสัญญาหนึ่งโดยการรับรู้ รายการดอกเบี้ยรับขั้นต้นและดอกเบี้ยจ่ายขั้นต้น)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 205 วันถือปฏิบัติ และการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน (บทที่ 7 ) การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน (หมวดที่ 7 . 2 ) สินทรัพย์ทางการเงินถือไว้เพื่อค้า ข 7 . 2 . 1 ณ วันที่เริ่มต้นใช้แนวปฏิบัติทางการบัญชีครั้งแรกตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ กิจการ ต้องจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 1 เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ นั้น กิจการต้องกำหนดว่าสินทรัพย์ทางการเงินเข้าคำนิยามของการถือไว้เพื่อค้าหรือไม่ เมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินนั้น ณ วันแรกที่มีการปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ การด้อยค่า ข 7 . 2 . 2 สาหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่าน กิจการต้องหาความเสี่ยงด้านเครดิตโดยประมาณเมื่อมี การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกโดยพิจารณาข้อมูลที่สมเหตุสมผลและสนับสนุนได้ทั้งหมดที่มีอยู่ โดยปราศจากต้นทุนหรือความพยายามที่สูงเกินไป กิจการไม่จาเป็นต้องหาข้อมูลอย่างละเอียด ถี่ถ้วนในการกำหนดว่า ณ วันที่เปลี่ยน ผ่ำน นั้นมีการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านเครดิตมี นัยสาคัญตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือไม่ ถ้ากิจการไม่สามารถทาการกาหนดการ เพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านเครดิตดังกล่าวได้โดยปราศจากต้นทุนหรือความพยายามที่สูง เกินไปตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 7 . 2 . 15 ข 7 . 2 . 3 เพื่ อที่จะกาหนดค่าเผื่อผลขาดทุนของเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้เมื่อเริ่มแรก (หรือ ภาระ ผูกพันวงเงินสินเชื่อ หรือ สัญญาค้าประกันทางการเงินที่กิจการเข้าไปเป็นคู่สัญญา) ก่อนวันแรก ที่มีการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทั้งสาหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยน ผ่ำน และจนกระทั่งการ เลิกรับรู้ รายการของรายการเหล่านั้น กิจการต้องพิจารณาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องในการกาหนดหรือประมาณความเสี่ยงด้านเครดิต ณ การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก ในการกำหนดหรือประมาณความเสี่ยงด้านเครดิตเมื่อเริ่มแรก กิจการอาจพิจารณาข้อมูล ภายในและข้อมูลภายนอก รวมถึงกลุ่มข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 1 ถึงย่อหน้าที่ ข 5 . 5 . 6 ข 7 . 2 . 4 กิจการที่มีข้อมูลในอดีตน้อยอาจใช้ข้อมูลจากรายงานภายนอกและข้อมูลสถิติ (ที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อมีการตัดสินใจที่จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่หรือไม่) ข้อมูลเกี่ยวกับผลิ ตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกัน หรือกลุ่มธุรกิจเดียวกันสาหรับเครื่องมือทางการเงินที่เปรียบเทียบกันได้ ถ้ามีความเกี่ยวข้องกัน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 206 คานิยาม (ภาคผนวก ก) อนุพันธ์ ขก. 1 ตัวอย่างทางปฏิบัติของอนุพันธ์ คือ สัญญาฟิวเจอร์และสัญญาฟอร์เวิร์ด สัญญาแลกเปลี่ยน และสัญญาสิทธิเลือก โดยปกติอนุพันธ์มีจานวนเงินตามสัญญาที่เป็นจานวนเงินหน่วยสกุลเงิน จานวนหุ้น จานวนหน่วยของน้าหนักหรือปริมาณหรือหน่วยอื่นที่ระบุไว้ในสัญญา อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ ทางการเงิน ไม่ได้กาหนดให้ผู้ถือหรือผู้ออกที่จะลงทุนหรือได้รับจานวนเงินตาม สัญ ญา ณ วันเริ่มต้นของสัญญา ในอีกลักษณะหนึ่งอนุพันธ์สามารถกาหนดการจ่ายชาระคงที่ หรือการจ่ายชาระจานวนเงินที่สามารถเปลี่ยนแปลง (แต่ไม่ได้เป็นสัดส่วนตามการเปลี่ยนแปลง ของรายการที่อ้างอิง) ตามผลลัพธ์ของเหตุการณ์ในอนาคตบางอย่างที่ไม่เกี่ยวข้องกับ จานวนเงินตามสัญ ญา ตัวอย่างเช่น สัญญาอาจกาหนดการจ่ายชาระคงที่เป็นจานวนเงิน 1,000 หน่วย ถ้าอัตราดอกเบี้ย LIBOR สาหรับระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 สัญญาดังกล่าว คืออนุพันธ์ แม้ว่าจานวนเงินตามสัญญาไม่ได้ระบุไว้ ขก. 2 คานิยามของอนุพันธ์ในมาตรฐานการรรายงานทางการเงินฉบับนี้รวมถึงสัญญาที่จ่ายชำระ ด้วย ยอดขั้นต้น ( gross ) โดยส่งมอบรายการที่อ้างอิง (เช่น สัญญาฟอร์เวิร์ดที่ซื้อตราสารหนี้อัตรา คงที่) กิจการอาจมีสัญญาที่จะซื้อหรือขายรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงินที่สามารถจ่ายชา ระ สุทธิเป็นเงินสดหรือเครื่องมือทางการเงินอื่น หรือโดยการแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงิน (เช่น สัญญาที่จะซื้อหรือขายสินค้าโภคภัณฑ์ด้วยราคาคงที่ ณ วันที่ในอนาคต) สัญญาดังกล่าว อยู่ในขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ยกเว้นสัญญาดังกล่าวซึ่งทาขึ้นและ ถือ ไว้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับหรือส่งมอบรายการที่ไม่ใช่รายการทางการเงิน ตามที่กิจการ คาดว่าจะซื้อ ขาย หรือใช้ประโยชน์ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ให้ถือปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวตามที่กิจการคาดว่าจะซื้อ ขาย หรือใช้ประโยชน์ ถ้ากิจการได้ ทาตามข้อ กาหนดในย่อหน้าที่ 2 . 5 (ดูย่อหน้าที่ 2 . 4 ถึงย่อหน้าที่ 2 . 7 ) ขก. 3 ลักษณะหนึ่งในหลายลักษณะของการนิยามของอนุพันธ์คือ อนุพันธ์มีการจ่ายเงินลงทุนสุทธิ เมื่อเริ่มแรกด้วยจานวนที่เล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัญญาประเภทอื่นซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่าในลักษณะเดียวกันต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยตลาด สัญญาสิทธิเลือกเข้าคานิยามนั้น เนื่องจากส่วนเกินมีจานวนน้อยกว่าเงินลงทุนเพื่อให้ได้เครื่ องมือทางการเงินที่อ้างอิงสาหรับ เชื่อมโยงกับสิทธิเลือก การแลกเปลี่ยนสกุลเงินที่กาหนดให้มีการแลกเปลี่ยนเมื่อเริ่มแรกของ สกุลเงินที่แตกต่างด้วยมูลค่ายุติธรรมที่เท่ากันเข้าคานิยามนั้น เนื่องจากการแลกเปลี่ยนนั้นมี การจ่ายเงินลงทุนสุทธิเมื่อเริ่มแรกด้วยจำนวนศูนย์

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 207 ขก. 4 การซื้อหรือการขายตามวิธีปกติก่อให้เกิดภาระผูกพันในราคาคงที่ระหว่างวันซื้อขายและ วันจ่ายชาระซึ่งเข้าคานิยามของอนุพันธ์ อย่างไรก็ตาม ภาระผูกพันนั้นไม่ได้รับรู้เป็นตราสาร อนุพันธ์ทางการเงิน เนื่องจากมีระยะเวลาสั้น ในการนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ได้ให้วิธีทางบัญชีพิเศษสาหรับสัญญาตามวิธีปฏิบัติดังกล่าว (ดูย่อหน้าที่ 3 . 1 . 2 และ ข 3 . 1 . 3 ถึง ข 3 . 1 . 6 ) ขก. 5 คานิยามของอนุพันธ์อ้างอิงตัวแปรที่ไม่ใช่ทางการเงินซึ่งไม่เฉพาะเจาะจงกับคู่สัญญา ตัวแปร เหล่านี้รวมถึงดัชนีของผลขาดทุนจากแผ่นดินไหวในเขตประเทศเฉพาะ และดั ชนีของอุณหภูมิ ในเขตเมืองหลวงเฉพาะ ตัวแปรที่ไม่ใช่ทางการเงินเฉพาะเจาะจงกับคู่สัญญารวมถึงการเกิดขึ้น หรือไม่เกิดขึ้นของไฟไหม้ที่ทำให้เกิดความเสียหายหรือทำลายสินทรัพย์ของคู่สัญญานั้น การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ทางการเงินเป็นเฉพาะ เจาะจงกับ เจ้าของ ถ้ามูลค่ายุติธรรมนั้นสะท้อนไม่เพียงแค่การเปลี่ยนแปลงในราคาตลาดสำหรับ สินทรัพย์ดังกล่าว (ตัวแปรทางการเงิน) แต่ยังสะท้อนเงื่อนไขของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ทางการเงิน ที่ถือไว้โดยเฉพาะเจาะจง (ตัวแปรที่ไม่ใช่ทางการเงิน) ตัวอย่างเช่น ถ้าการค้าประกันของ มูลค่า คงเหลือของรถยนต์ที่เฉพาะเจาะจงมีฐานะเปิด จากผู้ค้าประกันต่อความเสี่ยงของ การเปลี่ยนแปลง ในเงื่อนไขทางกายภาพของรถยนต์ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าคงเหลือเป็นเฉพาะเจาะจงกับ เจ้าของรถยนต์ สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ถือไว้เพื่อค้า ขก. 6 โดยทั่วไป การค้าสะท้อนถึงการซื้อและขายที่มีสภาพคล่องและบ่อย และเครื่องมือทางการเงิน ที่ถือไว้เพื่อค้าโดยทั่วไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ก่อให้เกิดกาไรจากความผันผวนระยะสั้นในราคา หรือกาไรของตัวแทนจาหน่าย ขก. 7 หนี้สินทางการเงินที่ถือไว้เพื่อค้า รวมถึง ขก. 7 . 1 หนี้สินอนุพันธ์ที่ ไม่ได้สาหรับเครื่องมือ ที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยง ขก. 7 . 2 ภาระผูกพันในการส่งมอบสินทรัพย์ทางการเงินที่กู้ยืมโดยผู้ขายระยะเวลาสั้น (กล่าวคือ กิจการที่ขายสินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการกู้ยืมมา และยังไม่ได้เป็น เจ้าของ) ขก. 7 . 3 หนี้สินทางการเงินที่เกิดขึ้นด้วยความตั้งใจที่จะซื้อกลับคืนในระยะเวลาอันใกล้ (เช่น ตราสารหนี้ที่มีการเสนอซึ่งผู้ออกอาจซื้อกลับคืนในระยะเวลาอันใกล้ขึ้นอยู่ กับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม) และ ขก. 7 . 4 หนี้สินทางการเงินที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มของเครื่องมือทาง การเงินที่ระบุได้ซึ่งมี การจัดการร่วมกัน และมีหลักฐานของรูปแบบล่าสุดในลักษณะการทำกำไร ในระยะเวลาสั้น ขก. 8 ข้อเท็จจริงที่ว่าหนี้สินใช้เป็นเงินทุนในกิจกรรมเพื่อค้าไม่เป็นหนี้สินที่ถือไว้เพื่อค้าในตัวเอง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 208 ภาคผนวก ค แนวปฏิบัติ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูล ภาคผนวกนี้ถือเป็นส่วน เสริมที่จำเป็น ของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ประเภทของเครื่องมือทางการเงินและระดับของการเปิดเผยข้อมูล (ย่อหน้าที่ 8 . 1 ) ค 1 ย่อหน้าที่ 8 . 1 กาหนดให้กิจการจัดกลุ่มเครื่องมือทางการเงินเป็นประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับ ลักษณะ ของข้อมูลที่เปิดเผย และคานึงถึงลักษณะของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวด้วย ประเภท ของเครื่องมือทางการเงินที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 1 ถูกกำหนดขึ้นโดยกิจการ ดังนั้นจึง แตกต่าง จาก ประเภทของเครื่องมือทางการเงินตามที่กาหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (ซึ่งกาหนด วิธีกา รวัดมูลค่าของเครื่องมือทางการเงินและวิธีการรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม) ค 2 ในการกำหนดประเภทของเครื่องมือทางการเงิน กิจการต้องดาเนินการต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย ค 2 . 1 แยกเครื่องมือที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจำหน่ายออกจากเครื่องมือที่วัดมูลค่า ด้วยมู ลค่ายุติธรรม ค 2 . 2 แยกเครื่องมือทางการเงินที่อยู่นอกเหนือจากขอบเขตของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้เป็นเครื่องมือทางการเงินอีกประเภทหนึ่ง ค 3 ภายใต้สถานการณ์หนึ่งๆ กิจการจะเป็นผู้ตัดสินใจถึงความละเอียดของข้อมูลที่ให้ เพื่อให้เป็นไป ตามข้อกำหนดของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ และการให้ความสาคัญในข้อกาหนดแต่ละเรื่อง รวมทั้งวิธีการจัดกลุ่มข้อมูลทั้งหมดในการนาเสนอ ภาพรวมของข้อมูลนั้น เพี่อไม่ให้มีการรวม ข้อมูลที่มีลักษณะแตกต่างกันไว้ด้วยกัน ดังนั้น จึง จาเป็นต้องหาจุดสมดุลระหว่างงบการเงินที่อาจ นาเสนอข้อมู ลละเอียดเกินความจาเป็นซึ่งไม่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินกับงบการเงินที่อาจ นาเสนอข้อมูลไม่ชัดเจนเพราะสรุปรวมข้อมูลมากเกินไป เช่น กิจการต้องไม่ทาให้ข้อมูลสาคัญมี ความคลุมเครือ โดยการนาข้อมูลดังกล่าวไปรวมไว้กับข้อมูลอื่นๆ ที่ไม่มีนัยสาคัญ ในทานอง เดียวกันกิจกา รต้องไม่เปิดเผยข้อมูลที่สรุปภาพรวมมากเกินไป ที่จะปิดบังความแตกต่างที่สาคัญ ระหว่างรายการแต่ละรายการหรือระหว่างความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การเปิดเผยข้อมูลอื่น - นโยบายการบัญชี (ย่อหน้าที่ 8 . 16 ) ค 4 ย่อหน้าที่ 8 . 16 กาหนดให้เปิดเผยเกณฑ์ในการวัดมูลค่าเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง (หรือหลายเกณฑ์) ที่ใช้ในการจัดทางบการเงิน และนโยบายการบัญชีอื่นที่เกี่ยวข้องต่อความเข้าใจในงบการเงิน ข้อมูลที่ควรเปิดเผยสาหรับเครื่องมือทางการเงินอาจรวมถึงรายการต่อไปนี้ ค 4 . 1 สำหรับหนี้สินทางการเงินที่กำ หนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุน ให้เปิดเผย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 209 ค 4 . 1 . 1 ลักษณะของหนี้สินทางการเงิน ซึ่งกิจการกำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ค 4 . 1 . 2 เกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดหนี้สินทางการเงินดังกล่าวในการรับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรก และ ค 4 . 1 . 3 วิธีที่กิจการได้ปฏิบัติอย่างไรเพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 2 . 2 ค 4 . 1 ก สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่กำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุน ให้ เปิดเผย ค 4 . 1 ก. 1 ลักษณะของสินทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งกิจการกาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน และ ค 4 . 1 ก. 2 วิธี ที่กิจการได้ปฏิบัติอย่างไรเพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 ค 4 . 2 ในการซื้อหรือการขายสินทรัพย์ทางการเงินตามวิธีปกติ กิจการรับรู้หรือตัดรายการ ในวันซื้อขาย ( trade date ) หรือวันชาระ ( settlement date ) ( ดูย่อหน้าที่ 3 . 1 . 2 ) ค 4 . 3 วิธีการกาหนดผลกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิของเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท (ดูย่อหน้าที่ 8 . 15 . 1 ) เช่น ผลกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากรายการที่แสดงด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน ได้รวมดอกเบี้ยรับหรือรายได้เงินปันผล ด้วยหรื อไม่ นอกจากนี้ ย่อหน้าที่ 122 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 กาหนดให้กิจการเปิดเผยไว้ในหัวข้อ นโยบายการบัญชีที่สาคัญหรือในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อื่นเกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจของฝ่าย บริหารซึ่งแตกต่างไปจากประมาณการที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทาขึ้นตามกระบวนการในการนา นโยบายการบัญชีของกิจการไปถือปฏิบัติและมีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนเงินของ รายการที่รับรู้ในงบการเงิน ลักษณะและระดับของความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงิน (ย่อหน้าที่ 8 . 25 ถึง 8 . 35 ) ค 5 การเปิดเผยข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 25 ถึง 8 . 35 ต้องเปิดเผยในงบการเงินหรือ มีการอ้างอิงไปยังข้อมูลดังกล่าวในรายงานอื่น เช่น การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ายจัดการ หรือรายงานความเสี่ยงซึ่งผู้ใช้งบการเงินสามารถเข้าถึงได้ภายใต้เงื่อนไขและช่วงเวลาเดียวกับ งบการเงิน งบการเงินที่ไม่มีการอ้างอิงไปยังข้อมูลดังกล่าวถือเป็นงบการเงินที่ไม่สมบูรณ์ การเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณ (ย่อหน้าที่ 8 . 28 ) ค 6 ย่อหน้าที่ 8 . 28 . 1 กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลสรุปเชิงปริมาณเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงของ กิจการ โดยจัดทาขึ้นจากข้อมูลที่เสนอเป็นการภายในแก่ผู้บริหารสาคัญของกิจการ หากกิจการใช้ วิธีในการบริหารฐานะเปิดต่อความเสี่ยงหลายวิธี กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลโดยใช้วิธีใ ดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีร่วมกันซึ่งให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและข้อมูลที่น่าเชื่อถือที่สุด มาตรฐาน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 210 การบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และ ข้อผิดพลาด ได้อธิบายความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ค 7 ย่อหน้าที่ 8 . 28 . 3 กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกระจุกตัวของความเสี่ยง การกระจุกตัว ของความเสี่ยงเกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันและได้รับผลกระทบที่ คล้ายคลึงกันจาก การเปลี่ยนแปลงในสภาวะทางเศรษฐกิจหรือสถานการณ์อื่นๆ การระบุถึงการ กระจุกตัวของความเสี่ยงต้องอาศัยการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ โดยพิจารณาจากสถานการณ์ ต่างๆ ของกิจการ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกระจุกตัวของความเสี่ยงต้องรวมถึงรายการ ต่อไปนี้ ค 7 . 1 คาอธิบายเกี่ยว กับวิธีการที่ฝ่ายบริหารใช้กาหนดการกระจุกตัวของความเสี่ยง ค 7 . 2 คำอธิบายเกี่ยวกับลักษณะร่วมซึ่งเป็นตัวกำหนดการกระจุกตัวแต่ละประเภท (เช่น คู่สัญญา เขตทางภูมิศาสตร์ สกุลเงิน หรือตลาด) และ ค 7 . 3 จานวนเงินของฐานะเปิดต่อความเสี่ยง ซึ่งเกี่ยวข้องกับเครื่องมื อทางการเงินทั้งหมดที่มี ลักษณะดังกล่าวร่วมกัน แนวปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต (ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ ถึง 8 . 29 ช) ค 7 ก ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ. 2 กำหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวิธีให้คานิยามของการผิดสัญญา สาหรับ เครื่องมือทางการเงินที่แตกต่างกันของกิจการ และเหตุผลในการเลือกใช้คานิยามเหล่านั้น การพิจารณาผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่ควรรับรู้ซึ่งขึ้นอยู่กับความเสี่ยง ของการผิดสัญญาที่เกิดขึ้นตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกที่เพิ่มขึ้นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 10 หรือไม่ ข้อมูลเกี่ยวกับคานิยามของการผิดสัญญาของกิจการจะช่วยให้ ผู้ใช้งบการเงิน เข้าใจวิธีที่กิจการ ถือปฏิบัติเกี่ยวกับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตามที่กำหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ อย่างไร ซึ่งอาจรวมถึง ค 7 ก. 1 ปัจจัยเชิงคุณภาพและปัจจัยเชิงปริมาณที่ใช้พิจารณาคานิยามของการผิดสัญญา ค 7 ก. 2 การใช้คานิยามที่ แตกต่างกันกับประเภทของเครื่องมือทางการเงินที่แตกต่างกัน และ ค 7 ก. 3 ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตราการแก้ไขปัญหา (กล่าวคือ จานวนของสินทรัพย์ทางการเงิน ที่จะกลับสู่สถานะปกติ) หลังจากการผิดสัญญาสาหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ค 7 ข เพื่อช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินนโยบายการปรับโครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของ นโยบายของกิจการ ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ. 6 . 2 กำหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกิจการติดตาม อย่างไรว่าค่าเผื่อผลขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงินที่เปิดเผยในอดีตตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ. 6 . 1 มีการวัดมูลค่าในภายหลังให้มีจำนวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตลอดอายุ ตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 5 . 5 . 4 ข้อมูลเชิงปริมาณจะช่วยให้ผู้ใช้ข้อมูล เข้าใจความเสี่ยงด้านเครดิตของสินทรัพย์ทางการเงินที่เพิ่มขึ้นในภายหลัง ซึ่งอาจรวมถึงข้อมู ล เกี่ยวกับสินทรัพย์ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฉ. 6 . 1 ที่กลับไป วัดมูลค่าค่าเผื่อผลขาดทุนด้วยจานวนเงินเท่ากับผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอด อายุ (กล่าวคือ อัตราการเสื่อมค่า)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 211 ค 7 ค ย่อหน้าที่ 8 . 29 ช. 1 กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเกณฑ์พื้นฐานของปัจจัยนาเข้าและข้อสมมติ และเทคนิคการประมาณการที่ใช้ที่ถือปฏิบัติตามข้อกำหนด แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ข้อสมมติและปัจจัยนาเข้าของกิจการที่ใช้วัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหรือ พิจารณาระดับกา รเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านเครดิตตั้งแต่การรับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรก อาจรวมถึงข้อมูลที่ภายในในอดีตหรือรายงานการจัด อันดับและข้อสมมติเกี่ยวกับอายุที่คาดการณ์ ของเครื่องมือทางการเงินและจังหวะเวลาในการจำหน่ายหลักประกัน การเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อผลขาดทุน (ย่อหน้าที่ 8 . 29 ซ) ค 7 ง กิจการต้องอธิบายเหตุผลสาหรับการเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อผลขาดทุนในระหว่างรอบระยะเวลา รายงานตามที่ กำหนด ในย่อหน้าที่ 8 . 29 ซ นอกจากนี้ กิจการต้องกระทบยอดค่าเผื่อผลขาดทุนจาก ยอดคงเหลือต้นงวดไป ยังยอดคงเหลือปลายงวด ซึ่งอาจจาเป็นต้องอธิบายการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวด้วย คำอธิบายนั้นอาจรวมถึงการวิเคราะห์เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อ ผลขาดทุนในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน รวมถึง ข 7 ง. 1 องค์ประกอบของกลุ่ม ข 7 ง. 2 ปริมาณของเครื่องมือทางการเงินที่ซื้อหรือได้มา และ ข 7 ง. 3 ความรุนแรงของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ค 7 จ สาหรับภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงิน ค่าเผื่อผลขาดทุนรับรู้เป็น ประมาณการหนี้สิน กิจการควรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในค่าเผื่อผลขาดทุน สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินแ ยกจากภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทางการเงิน เหล่านั้น อย่างไรก็ตาม หากเครื่องมือทางการเงินรวมทั้งเงินให้สินเชื่อ (กล่าวคือ สินทรัพย์ ทางการเงิน) และภาระผูกพันที่ยังไม่ได้เบิกใช้ (กล่าวคือ ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ) และกิจการ ไม่สามารถระบุแ ยกผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นขององค์ประกอบของภาระผูกพัน วงเงินสินเชื่อจากองค์ประกอบของสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้น ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า จะเกิดขึ้นของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อควรรับรู้พร้อมกับค่าเผื่อผลขาดทุนสาหรับสินทรัพย์ ทางการเงิน ผลขาด ทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงิน ควรรับรู้เป็นประมาณการหนี้สิน หลักประกัน (ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฎ) ค 7 ฉ ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฎ กำหนดให้เปิดเผยข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผลกระทบของ หลักประกันและการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ที่มีต่อจานวนเงินของผลขาดทุนด้านเครดิตที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจการไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของหลักประกันและ การปรับเครดิตให้ดี ขึ้นด้านอื่นๆ และไม่ต้องแสดงมูลค่าที่แท้จริงของหลักประกันซึ่งรวมอยู่ ในการคานวณผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (กล่าวคือ ผลขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อผิดสัญญา)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 212 ค 7 ช คาอธิบายเชิงพรรณนาเกี่ยวกับหลักประกันและผลกระทบของหลักประกันที่มีต่อจานวนเงิน ของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งรวมถึงข้อมูลต่อไปนี้ ค 7 ช. 1 ประเภทหลักของหลักประกันที่ถือครองไว้และการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ (ตัวอย่างเช่น การค้าประกันในภายหลัง อนุพันธ์ด้าน เครดิต และข้อตกลงหักกลบ ซึ่งไม่ เข้าเงื่อนไขของการหักกลบตามที่กาหน ดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ) ค 7 ช. 2 ปริมาณของหลักประกันที่ถือครองไว้และการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ และ ความสาคัญของหลักประกันในแง่ของค่าเผื่อผลขาดทุน ค 7 ช. 3 นโยบายและกระบวนการในการประเมินมูลค่าและการบริหารหลักประกัน และ การปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ค 7 ช. 4 ประเภทหลักของคู่สัญญาที่มีต่อหลักประกันและการปรับเครดิตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ และ มีต่อความน่าเชื่อถือทางเครดิตของคู่สัญญาเหล่านั้น และ ค 7 ช. 5 ข้อมูลเกี่ยวกับการกระจุกตัวของความเสี่ยงภายในขอบเขตของหลักประกันและ การปรับเครดิ ตให้ดีขึ้นด้านอื่นๆ ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต (ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฐ ถึง 8 . 29 ฑ) ค 7 ซ ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฐ กำหนดให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตและ การกระจุกตัวของความเสี่ยงด้านเครดิตที่มีนัยสาคัญของกิจการ ณ วันที่รายงาน การกระจุกตัว ของความเสี่ยงด้านเครดิตจะเกิดเมื่อคู่สัญญาจานวนมากตั้งอยู่ในเขตทางภูมิศาสตร์ที่คล้ายคลึงกัน หรือมีความเกี่ยวข้องในกิจกรรมที่ คล้ายคลึงกันและมีลักษณะเชิงเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็น สาเหตุให้ความสามารถ ในการบรรลุภาระผูกพันตามสัญญา ของ คู่สัญญาถูกกระทบจากการ เป ลี่ยนแปลงในสภาพเศรษฐกิจหรือเงื่อนไขอื่นที่คล้ายคลึงกัน กิจการควรให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ งบการเงินสามารถเข้าใจว่ากลุ่มของเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงอาจส่งผล กระทบต่อกลุ่มของเครื่องมือทางการเงินนั้นในสัดส่วนที่มากหรือไม่ เช่น การกระจุกตัวต่อ ค วามเสี่ยงใดความเสี่ยงหนึ่งเป็นพิเศษ ตัวอย่างนี้รวมถึง การกระจุกตัวของกลุ่มสินเชื่อต่อมูลค่า หลักประกัน การกระจุกตัวตามลักษณะภูมิศาสตร์ การกระจุกตัวตามอุตสาหกรรม หรือการ กระจุกตัวตามประเภทผู้ออกตราสาร ค 7 ฌ จานวนของระดับการจัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตที่ใช้เปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฐ ต้องสอดคล้องกับจานวนที่กิจการรายงานต่อผู้บริหารสาคัญสาหรับวัตถุประสงค์ในการ บริหารความเสี่ยงด้านเครดิต กิจการต้องให้ข้อมูลการวิเคราะห์สถานะของสินทรัพย์ทางการเงิน ค้ำงชาระ หากข้อมูลเกี่ยวกับการค้างชาระเป็นข้อมูลของผู้กู้ เฉพาะรายเท่านั้นและกิจการใช้ข้อมูล ดังกล่าวในการประเมิน การเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ของความ เสี่ยงด้านเครดิตตั้งแต่การรับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรกตามที่กาหนดในย่อ หน้าที่ 5 . 5 . 1 2 ค 7 ญ เมื่อกิจการวัดผลขาดทุนด้าน เครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแบบเป็นกลุ่ม กิจการอาจไม่สามารถ ปัน ส่วนมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของสินทรัพย์ทางการเงินหรือฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้าน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 213 เครดิตของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อและสัญญาค้าประกันทาง การเงินแต่ละรายการไปยังระดับ การ จัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตที่รับรู้ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ ในกรณีดังกล่าวกิจการควรถือปฏิบัติตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 29 ฐ สาหรับเครื่องมือทาง การเงินเหล่านั้นที่สามารถปันส่วนตามระดับการจัดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตได้โดยตรงและ เปิดเผ ยแยกต่างหากถึงมูลค่าตามบัญชี ก่อนรายการหัก ของเครื่องมือทางการเงินที่วัดผลขาดทุน ด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุแบบเป็นกลุ่ม ฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต (ย่อหน้าที่ 8 . 30 . 1 ) ค 8 ย่อหน้าที่ 8 . 29 ฎ. 1 และ 8 . 30 . 1 กาหนดให้เปิดเผยจานวนเงินซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของฐานะ เปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการ สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินให้เปิดเผยมูลค่า ตามบัญชี ก่อนรายการหัก ซึ่งเป็นมูลค่าสุทธิจากรายการต่อไปนี้ ค 8 . 1 จานวนที่หักกลบตามที่กาหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 และ ค 8 . 2 ค่าเผื่อผลขาดทุนที่รับรู้ตามที่กาหนดใน แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ค 9 ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของกิจกรรมซึ่งทำให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิต และฐานะเปิดสูงสุด ต่อความเสี่ยงด้านเครดิตที่เกี่ยวข้อง แต่ไม่จำกัดเพียงกรณีต่อไปนี้ ค 9 . 1 การให้สินเชื่อแก่ลูกค้า และการฝากเงินกับกิจการอื่น ในกรณีนี้ฐานะเปิดสูงสุดต่อ ความเสี่ยงด้านเครดิตคือมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ค 9 . 2 การทาสัญญาอนุพันธ์ เช่น สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สัญญาแลกเป ลี่ยน อัตราดอกเบี้ยและอนุพันธ์ด้านเครดิต หากสินทรัพย์ที่เกิดขึ้นวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม ฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเค รดิต ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน จะ เท่ากับมูลค่าตามบัญชี ค 9 . 3 การให้ค้าประกันทางการเงิน ในกรณีนี้ฐานะเปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต คือมูลค่าสูงสุดที่กิจการอาจต้องจ่ายหากการค้าประกั นดังกล่าวมีผลให้กิจการต้องชาระ ซึ่งอาจจะมีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าที่กิจการรับรู้เป็นหนี้สินอย่างมีนัยสาคัญ) ค 9 . 4 การมีภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อซึ่งไม่สามารถยกเลิกได้ตลอดอายุของสัญญาหรือ สามารถยกเลิกได้เฉพาะกรณีที่เกิดการเปลี่ยน แปลงในทางลบอย่างมีสาระสำคัญ หากผู้ออกสัญญาดังกล่าวไม่สามารถชาระยอดสุทธิตามภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อเป็น เงินสดหรือเครื่องมือทางการเงินอื่น ฐานะ เปิดสูงสุดต่อความเสี่ยงด้านเครดิต คือ มูลค่าเต็มตามภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ เนื่องจากมีความไม่แน่นอนว่าวงเงิน สินเชื่ อ ที่ยังไม่ได้ใช้ จะถูกนามาใช้ในอนาคตหรือไม่ ดังนั้น มูลค่าที่เปิดเผยดังกล่าว อาจสูงกว่ามูลค่าที่ได้รับรู้เป็นหนี้สินอย่างมีนัยสาคัญ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 214 การเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณของความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (ย่อหน้าที่ 8 . 28 . 1 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 ) ค 9 ก ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 28 . 1 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลสรุปเชิงปริมาณเกี่ยวกับฐานะเปิด ต่อความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของกิจการ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่เสนอเป็นการภายในให้แก่ ผู้บริหาร สาคัญของกิจการ กิจการต้องอธิบายวิธีในการกาหนดข้อมูลดังกล่าว ในกรณีที่กระแส เงิน สดออก (หรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่น) ให้เปิดเผยข้อมูลอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ค 9 ก. 1 เหตุการณ์ที่มีนัยสาคัญที่เกิดขึ้นก่อนที่ระบุไว้ในข้อมูล หรือ ค 9 ข. 2 เกิดผลต่างอย่างมีนัยสาคัญจากที่ระบุไว้ในข้อมูล (เช่น อนุพันธ์ที่ รวมอยู่ในข้อมูลของ การชาระแบบยอดสุทธิ ในขณะที่คู่สัญญามีสิทธิจะเลือกชาระทั้งจานวน) กิจการต้องแสดงข้อเท็จจริงและให้ข้อมูลเชิงปริมาณที่ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินของกิจการ สามารถ ประเมินระดับของความเสี่ยงได้ เว้นแต่ข้อมูลดังกล่าวจะรวมอยู่ในการวิเคราะห์ระยะเวลาครบ กาหนดตามสัญญาตามย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 หรือ 8 . 32 . 2 ค 1 0 ในการจัดทาการวิเคราะห์ระยะเวลาครบกา หนดตามย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 กิจการใช้ ดุลยพินิจในการกาหนดช่วงเวลาของการวิเคราะห์ที่เหมาะสม เช่น กิจการอาจ กาหนดให้ช่วงเวลา ต่อไปนี้เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสม ค 10 . 1 ไม่เกิน 1 เดือน ค 10 . 2 มากกว่า 1 เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน ค 10 . 3 มากกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี และ ค 10 ก ในการปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 กิจการต้องไม่แยกอนุพันธ์แฝงออกจาก เครื่องมือทางการเงินแบบผสม (แบบรวม) สาหรับเครื่องมือดังกล่าวกิจการต้องปฏิบัติตาม ข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 ค 10 ข ย่อหน้าที่ 8 . 32 . 2 กาหนดให้กิจการต้องเปิดเผยการวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดเชิงปริมาณ สาหรับหนี้สินทางการเงินที่เป็นอนุพันธ์โดยให้แสดงระยะเวลาครบกาหนดคงเหลือตามสัญญา หากมีความจาเป็นในการทาความเข้าใจจังหวะเวลาของกระแสเงินสด เช่นกรณีดังต่อไปนี้ ค 10 ข. 1 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ที่มีระยะเวลาครบกาหนดคงเหลือ 5 ปี ในการป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสดของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่มีอัตรา ผันแปร ค 10 ข. 2 ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อทั้งหมด ค 10 ค ย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 กาหนดให้กิจการเปิดเผยข้อมูลการวิเคราะห์ระยะเวลาครบ กำหน ดสาหรับหนี้สินทางการเงิน ซึ่งต้องแสดงระยะเวลาครบกำหนดคงเหลือตามสัญญาสาหรับ หนี้สินทางการเงินบางประเภท โดยเปิดเผยข้อมูลดังนี้ ค 10 ค. 1 หากคู่สัญญามีทางเลือกว่าจะชาระเงินเมื่อใด หนี้สินทางการเงินจะถูกปันส่วนไปยัง ช่วงเวลาที่เร็วที่สุดที่กิจการอาจถูกเรียกให้ชาระ ตัวอย่างเช่น หนี้สินทางการเงินซึ่ง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 215 กิจการอาจถูกเรียกให้ชาระเมื่อทวงถาม (เช่น เงินฝากกระแสรายวัน) ซึ่งเป็นช่วงเวลา ที่เร็วที่สุดที่กิจการอาจถูกเรียกให้ชาระ ค 10 ค. 2 หากกิจการตกลงที่จะชาระเงินเป็นรายงวด เงินรายงวดจะถูกปันส่วนไปยังช่วงเวลา ที่เร็วที่สุดที่กิจการอำจถูกเรียกให้ชาระ เช่น ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อที่ยังไม่ได้เบิกใช้ ซึ่งจะถือเป็นช่วงเวลาที่เร็วที่สุดที่เงินนั้นสามารถถูกเบิกใช้ได้ ค 10 ค. 3 สาหรับสัญญาค้าประกันทางการเงิน มูลค่าสูงสุดของการค้าประกันจะถูกปันส่วนไปยัง ช่วงเวลาที่เร็วที่สุดที่สามารถเรียกให้ชาระ ได้ ค 10 ง จำนวนเงินตามสัญญาที่ต้องเปิดเผยในการวิเคราะห์ระยะเวลาครบกำหนดตามที่กำหนด ในย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 ต้องเป็นกระแสเงินสดตามสัญญาที่ไม่คิดลด เช่น ค 10 ง. 1 ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าการเงินทั้งจำนวน (ก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน) ค 10 ง. 2 ราคาขั้นต้นซึ่งระบุในข้อตกลงฟอร์เวิร์ดที่จะซื้อสินทรัพย์ทางการเงินด้วยเงินสด ค 10 ง. 3 มูลค่าสุทธิของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ที่จ่ายด้วยอัตราดอกเบี้ยลอยตัว หรือ รับด้วยอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งจ่ายชาระด้วยกระแสเงินสดสุทธิ ค 10 ง. 4 จานวนเงินตามสัญญาที่จะต้อง ถูกแลกเปลี่ยนตามเครื่องมือทางการเงินที่เป็นอนุพันธ์ (เช่น สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน) ซึ่งจะต้องจ่ายชำระด้วยกระแสเงินสดขั้นต้น ทั้งจำนวน และ ค 10 ง. 5 มูลค่าขั้นต้นของภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ กระแสเงินสดที่ไม่คิดลดแตกต่างจากมูลค่าที่ปรากฏอยู่ในงบ แสดง ฐานะการเงิน เนื่องจากมูลค่า ที่นาเสนอในงบแสดงฐานะการเงินคานวณตามวิธีคิดลดกระแสเงิน สด กรณีที่มูลค่าที่ต้องชาระ ไม่คงที่ มูลค่าที่ต้องเปิดเผยจะถูกกาหนดโดยอ้างอิงจากเงื่อนไขที่มีอยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน เช่น ในกรณีที่มูลค่าที่ต้องชาระผันแปรตามการเปลี่ยนแปลงของดัช นีตัวใดตัวหนึ่ง กิจการต้องเปิดเผยมูลค่าดังกล่าวโดยอ้างอิงจากระดับของดัชนีนั้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน ค 10 จ ย่อหน้าที่ 8 . 32 . 3 กาหนดให้กิจการอธิบายวิธีการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องซึ่งมีอยู่ เป็นปกติวิสัยของรายการซึ่งเปิดเผยอยู่ในการเปิดเผยข้อมูลเชิงปริ มาณตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 32 . 1 และ 8 . 32 . 2 กิจการต้องเปิดเผยการวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดของสินทรัพย์ ทางการเงินที่ถือไว้เพื่อการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (เช่น สินทรัพย์ทางการเงินที่พร้อม ขายหรือคาดว่าจะก่อให้เกิดกระแสเงินสดเข้าที่เพียงพอกับกระแส เงินสดออกของหนี้สินทาง การเงิน) หากข้อมูลดังกล่าวเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินในการประเมินลักษณะและระดับ ของความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ค 10 ฉ ปัจจัยอื่นๆ ที่กิจการอาจใช้ในการพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดของย่อหน้าที่ 8 . 32 . 3 ซึ่งไม่จากัดเพียงกรณีต่อไปนี้ที่กิ จการ ค 10 ฉ. 1 มีวงเงินกู้ยืมซึ่งไม่สามารถยกเลิกได้ ( committed borrowing facilities ) หรือวงเงิน กู้ยืมสารอง (เช่น stand - by credit facilities ) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้เพื่อสนองต่อความ ต้องการสภาพคล่อง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 216 ค 10 ฉ. 2 มีเงินฝากที่ธนาคารกลาง สาหรับเมื่อต้องการสภาพคล่อง ค 10 ฉ. 3 มีแหล่งเงินทุนที่มีความหลากหลาย ค 10 ฉ. 4 มีการกระจุกตัวของความเสี่ยงด้านสภาพคล่องที่มีนัยสำคัญในสินทรัพย์หรือ แหล่งเงินทุนอย่างใดอย่างหนึ่ง ค 10 ฉ. 5 มีกระบวนการการควบคุมภายในและแผนฉุกเฉินสำหรับการบริหารความเสี่ยง ด้านสภาพคล่อง ค 10 ฉ. 6 มีเครื่องมือที่มีเงื่อนไขการเร่งระยะเวลาการจ่ายชำระคืน (เช่น การถูกลดอันดับ ความน่าเชื่อถือของกิจการ) ค 10 ฉ. 7 มีเครื่องมือที่อาจกาหนดให้กิจการต้องวางหลักประกัน (เช่น การเรียกส่วนต่างราคา สาหรับอนุพันธ์) ค 10 ฉ. 8 มีเครื่องมือที่อนุญาตให้กิจการสามารถเลือกที่จะชา ระหนี้สินทางการเงินโดยการส่ง มอบ เงินสด (หรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่น) หรือส่งมอบหุ้นสามัญของตนเอง หรือ ค 10 ฉ. 9 มีเครื่องมือที่อยู่ภายใต้ข้อตกลงหลักของการหักกลบ ความเสี่ยงด้านตลาด – การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (ย่อหน้าที่ 8 . 33 และ 8 . 34 ) ค 1 1 ย่อหน้าที่ 8 . 33 . 1 กาหนดให้วิเคราะห์ความอ่อนไหวสาหรับความเสี่ยงด้านตลาดแต่ละประเภท ที่กิจการมีอยู่ ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ ค 3 กิจการเป็นผู้ตัดสินใจวิธีจัดกลุ่ม ข้อมูลทั้งหมดเพื่อ นำเสนอในภาพรวม โดยไม่รวมข้อมูลที่เกี่ยวกับฐานะเปิด ต่อความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญไว้ด้วยกัน เช่น ค 11 . 1 กิจการที่ซื้อขายเครื่องมือทางการเงิน อาจเปิดเผยข้อมูลเครื่องมือทาง การเงินที่ถือไว้ เพื่อค้าแยกจากเครื่องมือทางการเงินที่ไม่ได้ถือไว้เพื่อค้า ค 11 . 2 กิจการต้องไม่รวมฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านตลาดในภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรงกับ ฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านตลาดประเภทเดียวกันแต่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อระดับต่า หากกิจการมีอยู่ของฐานะเปิดต่อความเสี่ยงด้านตลาดเพียงประเภทเดียวที่เกิดภายใต้ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจเดียวกัน กิ จการต้องไม่แสดงข้อมูลดังกล่าวแยกต่างหาก ค 1 2 ย่อหน้าที่ 8 . 33 . 1 กาหนดให้การวิเคราะห์ความอ่อนไหวต้องแสดงผลกระทบที่มีต่อกาไรหรือ ขาดทุนและส่วนของเจ้าของที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องซึ่งมี ความ เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผล (เช่น อัตราดอกเบี้ยตลาด อัตรา แลกเปลี่ยนสกุลเงิน ราคา ตราสารทุน หรือราคาสินค้าโภคภัณฑ์) เพื่อวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ ค 12 . 1 กิจการไม่ถูกกาหนดให้พิจารณาว่ากาไรหรือขาดทุนสาหรับงวดจะเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร หากตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องแตกต่างไปจากเดิม แต่ กิจการต้องเปิดเผ ย ผลกระทบที่มีต่อกาไรหรือขาดทุนและส่วนของเจ้าของ ณ วันสิ้น รอบระยะเวลารายงาน ตามสมมติฐานที่ว่า การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความ เป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผลได้เกิดขึ้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 217 เปลี่ยนแปลงนั้นได้ส่งผลต่อฐานะความเสี่ ยงที่ปรากฏอยู่ ณ วันที่รายงานนั้น เช่น หากกิจการมีหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ณ วันสิ้นงวดบัญชี กิจการต้องเปิดเผย ผลกระทบที่มีต่อกาไรหรือขาดทุน (กล่าวคือ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย) สาหรับรอบปีปัจจุบัน หากอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปด้วยมูลค่าที่เป็นไปได้อย่างส มเหตุสมผล ค 12 . 2 กิจการไม่ถูกกาหนดให้เปิดเผยผลกระทบที่มีต่อกาไรหรือขาดทุนและส่วนของ เจ้าของ สาหรับการเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้ง ซึ่งเกิดขึ้นภายในขอบเขตของการ เปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องที่มีความเป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผล การเปิดเผย ข้อมูล เกี่ยวกับผลกร ะทบของการเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผลถือว่าเพียงพอแล้ว ค 1 3 ในการพิจารณาว่าการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความเป็นไปได้อย่าง สมเหตุสมผลมีความหมายอย่างไร กิจการควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ ค 13 . 1 สภาวะทางเศรษฐกิจซึ่งกิจการดำเนินงานอยู่ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปได้อย่าง สมเหตุสมผลไม่ควรรวมถึงสถานการณ์ที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นหรือกรณีที่แย่ที่สุดที่อาจ เกิดขึ้นหรือการทดสอบในภาวะวิกฤต นอกจากนี้หากอัตราการเปลี่ยนแปลงในตัวแปร ความเสี่ยงที่อ้างอิงมีค่าคงที่ กิจการไ ม่จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนระดับการเปลี่ยนแปลงที่ เป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผลของตัวแปรความเสี่ยง ที่กิจการเลือกไว้ เช่น สมมติอัตรา ดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 5 และกิจการกาหนดว่า ความผันผวนในอัตราดอกเบี้ยที่ ± ร้อยละ 00 . 5 ( 50 basis points ) มีความเป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผล กิ จการต้องเปิดเผย ผลกระทบที่มีต่อกาไรหรือ ขาดทุนและส่วนของเจ้าของ หากอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนไปเป็น ร้อยละ 4 . 5 หรือร้อยละ 5 . 5 และสมมติว่าในงวดบัญชีถัดไป อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 5 . 5 โดยที่กิจการยังคงเชื่อว่าอัตราดอกเบี้ยจะผันผวนในระดับที่ ± ร้อยละ 00 . 5 ( 50 basis points ) (กล่าวคือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับ คงที่) กิจการจะเปิดเผยผลกระทบที่มีต่อกำไรหรือขาดทุนและส่วนของเจ้าของ หากอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนไปเป็นร้อยละ 5 หรือร้อยละ 6 กิจการไม่จำเป็นต้องทบทวน ความสมเหตุสมผลของความผันผวนในอัตรา ดอกเบี้ยที่ระดับ ± ร้อยละ 00 . 5 ( 50 basis points ) เว้นแต่จะมี หลักฐานแสดงว่าอัตราดอกเบี้ยจะมีการเปลี่ยนแปลงไป หรือผันผวนอย่างมี นัยสาคัญ ค 13 . 2 ในช่วงระยะเวลาที่กิจการทาการประเมินนั้น การวิเคราะห์ความอ่อนไหวต้องแสดงถึง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผล ตลอดช่วงเวลาจนกว่ากิจการจะนำเสนอการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในงวดต่อไป ซึ่งโดยปกติจะหมายถึงรอบระยะเวลารายงานปีถัดไ ป ค 14 ย่อหน้าที่ 8 . 34 อนุญาตให้กิจการใช้การวิเคราะห์ความอ่อนไหวซึ่งสะท้อนถึงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรความเสี่ยงต่างๆ เช่น วิธีมูลค่าความเสี่ยง ( value - at - risk ) หากกิจการใช้การ วิเคราะห์ดังกล่าวในการบริหารจัดการฐานะเปิดต่อความเสี่ยงทางการเงินของกิจการ การถือ ป ฏิบัตินั้นสามารถทาได้แม้ว่าวิธีการดังกล่าวจะวัดมูลค่าได้เพียงแค่ผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นและ ไม่สามารถวัดมูลค่าผลกาไรที่อาจเกิดขึ้น กิจการอาจปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 8 . 34 . 1 โดยเปิดเผย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 218 รูปแบบของแบบจำลองที่ใช้ (เช่น แบบจาลองนั้นใช้วิธีมอนติคาร์โล ( Monte Carlo Simulation ) หรือไม่) คาอธิบายเกี่ยวกับแบบจาลอง รวมถึงสมมติฐานหลักที่ใช้ (เช่น ระยะเวลาการถือครอง และระดับความเชื่อมั่น) กิจการอาจเปิดเผยช่วงเวลาของข้อมูลในอดีตที่นามาใช้และน้าหนัก ความสาคัญที่ให้กับข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีจัดการสิทธิที่จะ ซื้อหรือจะขาย ในการคำนวณ รวมทั้งค่าความผันผวนและค่าสหสัมพันธ์(หรือ Monte Carlo probability distribution simulations ) ที่นามาใช้ ค 15 กิจการต้องทาการวิเคราะห์ความอ่อนไหวสาหรับธุรกิจทั้งหมด แต่อาจวิเคราะห์ความอ่อนไหว ในรูปแบบที่แตกต่างกันสาหรับประเภทของเครื่อง มือทางการเงินที่แตกต่างกันได้ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ค 16 ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย เกิดจากเครื่องมือทางการเงินที่มีดอกเบี้ยซึ่งรับรู้ในงบแสดงฐานะ การเงิน (เช่น ตราสารหนี้ที่กิจการได้รับหรือที่กิจการออก) และจากเครื่องมือทางการเงิน บางประเภทซึ่งไม่ถูกรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน (เช่น ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อบางประเภท) ความเสี่ยงด้านสกุลเงิน ค 17 ความเสี่ยงด้านสกุลเงิน (หรือความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน) เกิดจากเครื่องมือทางการเงิน ที่ถูกกาหนดเป็นเงินตราต่างประเทศ กล่าวคือ กาหนดให้วั ดมูลค่าในสกุล เงินที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงาน สาหรับวัตถุประสงค์ของ แนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ ความเสี่ยงด้านสกุลเงิน จะไม่เกิดขึ้นจากเครื่องมือทางการเงินซึ่งเป็นรายการที่ไม่เป็นตัวเงินหรือจากเครื่องมือ ทางการเงินที่ถูกกาหนดด้วยสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงาน ค 18 กิจการต้องเปิดเผยการวิเคราะห์ความอ่อนไหวแยกตามแต่ละสกุลเงินที่กิจการมีฐานะเปิด ต่อความเสี่ยงด้านสกุลเงินที่มีนัยสาคัญ ความเสี่ยงด้านราคาอื่นๆ ค 19 ความเสี่ยงด้านราคาอื่นๆ ของเครื่องมือทางการเงิน ที่เป็นผล มาจากการเปลี่ยนแปลงราคา เช่น ราคาสินค้าโภคภัณฑ์หรือราคาตราสารทุน เพื่อให้ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 8 . 33 กิจการอาจเปิดเผย ผลกระทบของการลดลงในดัชนีราคาหุ้นที่เฉพาะเจาะจง ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ หรือตัวแปรความ เสี่ยงอื่นๆ เช่น หากกิจการค้าประกันมูลค่าคงเหลือข องเครื่องมือทางการเงิน กิจการต้องเปิดเผย มูลค่าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย์ที่มีการค้าประกันนั้น ค 20 ตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินซึ่งทำให้เกิดความเสี่ยงด้านราคาของตราสารทุน ได้แก่ 1 ) การถือครองตราสารทุนในกิจการอื่น และ 2 ) การลงทุนในกองทุนรวมซึ่งลงทุนใน ตราสารทุนอื่น หรือตัวอย่างอื่นๆ เช่น สัญญาฟอร์เวิร์ดและสิทธิที่จะซื้อหรือจะขายตราสารทุน ที่ฉพาะเจาะจงจำนวนหนึ่ง และสัญญาแลกเปลี่ยนซึ่งขึ้นอยู่กับดัชนีราคาตราสารทุนมูลค่า

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 219 ยุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในราคาตลาด ของตราสารทุนที่เป็นรายการอ้างอิง ค 21 ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 33 . 1 ความอ่อนไหวของกาไรหรือขาดทุน (เช่น ที่เกิดขึ้นจาก เครื่องมือ ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน) ต้องเปิดเผยเป็นรายการแยก จาก ความอ่อนไหวของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (เช่น ที่เกิดขึ้นจากเงินลงทุนในตราสาร ทุน ซึ่ง การ เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมถูกแสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ค 2 2 เครื่องมือทางการเงินซึ่งกิจการจัดประเภทเป็นตราสารทุนที่ไม่มีการวัด มูลค่าใหม่ ดังนั้น กาไรหรือขาดทุนหรือส่วนของเจ้าของจึงไม่ได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงด้านราคาของตราสาร ทุนจากเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว จึงไม่จำเป็นต้องทาการวิเคราะห์ความอ่อนไหว การ เลิกรับรู้ รายการ (ย่อหน้าที่ 8 . 35 ค ถึง 8 . 35 ซ) ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ (ย่อหน้าที่ 8 . 35 ค) ค 23 การประเมินความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนสาหรับวัตถุประสงค์ในการ เปิดเผยข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 จ ถึง 8 . 35 ซ จะประเมินที่ระดับของกิจการที่ รายงานข้อมูล เช่น หากบริษัทย่อยโอนสินทรัพย์ทางการเงินไปยังบริษัทอื่น ที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่ง บริษัทใหญ่ของบริษัทย่อยมีความเกี่ยว ที่คงอยู่ ด้วย บริษัทย่อยนั้นไม่ต้องรวมความเกี่ยวข้องของ บริษัทใหญ่ในการประเมินความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ที่โอนในงบการเงินเฉพาะกิจการ (กล่าวคือ เมื่อบริษัทย่อยเป็นกิจการที่รายงานข้อมูล) อย่าง ไรก็ตาม บริษัทใหญ่ควรรวมความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ (หรือของสมาชิกอื่นในกลุ่ม) ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน โดย บริษัทย่อยในการพิจารณาว่ามีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ที่โอนในงบ การเงินรวมของ กิจการ (กล่าวคือ เมื่อกลุ่มเป็นกิจการที่รายงานข้อมูล) ค 24 กิจการไม่มีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนหรือเป็นส่วนหนึ่งของการโอน หาก ไม่ได้คงไว้ซึ่งสิทธิหรือภาระผูกพันตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน หรือไม่ได้มาซึ่ง สิทธิหรือภาระผูกพันตามสัญญาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน กิ จการไม่มีความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนหากกิจการไม่มีส่วนได้เสียในผลการดาเนินงานใน อนาคตของสินทรัพย์นั้นหรือไม่มีความรับผิดชอบในการจ่ายชาระซึ่งคานึงถึงสินทรัพย์ทางการเงิน ที่จะโอนในอนาคต เงื่อนไขของการจ่ายชาระเงินในบริบทนี้ไม่รวมกระแสเงิน สดของสินทรัพย์ทาง การเงินที่โอนซึ่งกิจการได้รวบรวมและถูกกาหนดให้ส่งให้แก่ผู้รับโอน ค 24 ก เมื่อกิจการโอนสินทรัพย์ทางการเงิน กิจการอาจยังคงไว้ซึ่งสิทธิในการให้บริการสินทรัพย์ ทาง การเงินซึ่งได้รวมค่าธรรมเนียมแล้ว เช่น สัญญาการให้บริการ กิจการประเมินสัญญา กา ร ให้บริการตามที่กาหนดเป็นแนวทางในย่อหน้าที่ 8 . 35 ค และ ย่อหน้าที่ ค 24 เพื่อใ ห้ตัดสินใจ ได้ ว่ากิจการมีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ซึ่งเป็นผลของสั ญญาการให้บริการตามวัตถุประสงค์ ของการ เปิดเผยข้อมูลหรือไม่ เช่น ผู้ให้บริการจะมีความเกี่ ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ ทางการเงินที่โอน ตามวัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูล หากค่าธรรมเนียมการให้บริการขึ้นอยู่กับจานวนหรือ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 220 จังหวะเวลาของกระแสเงินสดที่ได้จากสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนในทานองเดียวกัน ผู้ให้บริการ มีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ตามวัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูล หากค่าธรรมเนี ยมคงที่ไม่ถูก จ่ายเต็มจานวนเนื่องจากการไม่ฎิบัติตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน ในตัวอย่างนี้ ผู้ ให้บริการมีส่วนได้เสียในผล การดาเนินงานในอนาคตของสินทรัพย์ ทางการเงินที่โอน การ ประเมินนี้จะเป็นอิสระหากค่าธรรมเนียมที่ได้รับคาดว่าจะชดเชยให้กิจการอย่างเพียง พอสาหรับ การให้บริการ ค 25 ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนอาจเป็นผลมาจากประมาณการหนี้สินตาม สัญญาจากข้อตกลงการโอนหรือข้อตกลงที่แยกต่างหากที่ทากับผู้รับโอนหรือบุคคลที่สามที่เข้าทา สัญญา ที่เกี่ยวข้องกับการโอนนั้น สินทรัพย์ทางการเงินที่โอนโดยไม่ เลิกรับรู้ ทั้งจานวน (ย่อหน้าที่ 8 . 35 ง) ค 26 ย่อหน้าที่ 8 . 35 ง กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์ทางการเงินที่โอนบางส่วนหรือที่โอนทั้งหมด ซึ่งไม่เข้าเงื่อนไขของการ เลิกรับรู้ รายการ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลเหล่านั้น ณ วันที่รายงานแต่ ละ วันที่กิจการยังคงรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินที่โอน โดยไม่คานึงว่าสินทรัพย์นั้นโอนเมื่อใด ประเภท ของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ (ย่อหน้าที่ 8 . 35 จ ถึง 8 . 35 ซ) ค 27 ย่อหน้าที่ 8 . 35 จ ถึง 8 . 35 ซ กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณสาหรับ ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ แต่ละประเภทในสินทรัพย์ทางการเงิน ที่ได้ เลิกรับรู้ กิจการต้อง รวมความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการและแยกตามประเภทที่เป็นตัวแทนของฐานะเปิดต่อ ความเสี่ยงของ กิจการ เช่น กิจการอาจรวมความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการตามประเภทของเครื่องมือ ทางการเงิน (เช่น กา รค้าประกัน หรือสัญญาสิทธิที่จะซื้อ) หรือตามประเภทของการโอน (เช่น การขายลดลูกหนี้การค้า การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ และการให้ยืมหลักทรัพย์) การวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดสาหรับกระแสเงินสดออกที่ไม่คิดลดสาหรับการซื้อคืน สินทรัพย์ที่โอน (ย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 5 ) ค 28 ย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 5 กาหนดให้กิจการเปิดเผยการวิเคราะห์ระยะเวลาครบกาหนดของกระแส เงินสดออกที่ไม่คิดลดสาหรับการซื้อคืนสินทรัพย์ทางการเงินที่ ได้ เลิกรับรู้ หรือจานวนค้างจ่ายอื่น ต่อผู้รับโอนอันเนื่องมาจากสินทรัพย์ทางการเงินที่ ได้ เลิกรับรู้ โดยแสดงระยะเวลาคงเหลือก่อน ครบกำหนดตามสัญญาของความ เกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ของกิจการ การวิเคราะห์นี้จะแยกกระแสเงินสด ที่กาหนดให้จ่ายชาระ (เช่น สัญญาฟอร์เวิร์ด) กระแสเงินสดที่กิจการอาจถูกกาหนดให้จ่ายชาระ (เช่น การขายสัญญาสิทธิที่จะขาย) และกระแสเงินสดที่กิจการอาจเลื อกจ่ายชาระ (เช่น การซื้อ สัญญาสิทธิที่จะซื้อ)

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 221 ค 29 กิจการต้องใช้ดุลยพินิจในการกาหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ระยะเวลา ครบกำหนด ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 5 เช่น กิจการอาจกาหนดให้ช่วงเวลา ต่อไปนี้เป็นช่วงเวลาที่ เหมาะสมได้ ค 29 . 1 ไม่เกิน 1 เดือน ค 29 . 2 มากกว่า 1 เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน ค 29 . 3 มากกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน ค 29 . 4 มากกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ค 29 . 5 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี ค 29 . 6 มากกว่า 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี และ ค 29 . 7 มากกว่า 5 ปี ค 30 หากสามารถระบุช่วงของระยะเวลาครบกาหนดที่เป็นไปได้ กระแสเงินสดจะถูกรวมตามเกณฑ์ ของวันที่เร็วที่สุดที่กาหนดให้กิจการจ่ายชาระหรือได้รับอนุญาตให้จ่ายชาระ ข้อมูลเชิงคุณภาพ (ย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 6 ) ค 31 ข้อมูลเชิงคุณภาพตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 จ. 6 รวมถึงรายละเอียดของสินทรัพย์ ทางการเงินที่ เลิกรับรู้ และลักษณะและวัตถุประสงค์ของความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ที่ยัง คงไว้หลังจาก การโอนสินทรัพย์เหล่านั้น ซึ่งรวมถึงรายละเอียดของความเสี่ยงที่กิจการได้เผชิญอยู่ รวมทั้งข้อมูล ดังต่อไปนี้ ค 31 . 1 รายละเอียดวิธีที่ กิจการได้บริหารความเสี่ยงที่มีอยู่ในความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในการ เลิก รับรู้ สินทรัพย์ทางการเงิน ค 31 . 2 กิจการต้องรับผลขาดทุนก่อนคู่สัญญาอื่น รวมทั้งอันดับและมูลค่าผล ขาดทุนที่รับ โดยคู่สัญญาอื่นซึ่งมีอันดับส่วนได้เสียต่ากว่าส่วนได้เสียในสินทรัพย์ของกิจการ (กล่าวคือ ความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ ในสินทรัพย์ของกิจการ) ค 31 . 3 รายละเอียดของข้อบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับภาระผูกพันในการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน หรือการซื้อคืนสินทรัพย์ทางการเงินที่โอน ผลกาไรหรือขาดทุนจากการ เลิกรับรู้ รายการ (ย่อหน้าที่ 8 . 35 ช. 1 ) ค 3 2 ย่อหน้าที่ 8 . 35 ช. 1 กาหนดให้กิจการเปิดเผยผลกาไรหรือผลขาดทุนจากการ เลิกรับรู้ รายการที่ เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการมีความเกี่ยวข้อง ที่คงอยู่ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล หากผลกำไรหรือผลขาดทุนจากการ เลิกรับรู้ รายการเกิดขึ้นเนื่องจากมูลค่ายุติธรรมของ องค์ประกอบของสินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อน (กล่าวคือ ส่วนได้เสียในสินทรัพย์ที่ถูก เลิกรับรู้ และ ส่วนได้เสียที่ยังคงไว้กับกิจการ) แตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อน ทั้งจานวน ซึ่งในสถานการณ์ดังกล่าว กิ จการต้องเปิดเผยการวัดมูลค่ายุติธรรมซึ่งรวม ข้อมูลที่มี นัยสาคัญที่ไม่ได้อ้างอิงกับข้อมูลตลาดที่สามารถสังเกตได้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 222 ข้อมูลเพิ่มเติม (ย่อหน้าที่ 8 . 35 ซ) ค 33 การเปิดเผยข้อมูลตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 35 ง ถึง 8 . 35 ช อาจไม่เพียงพอที่จะบรรลุ วัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 35 ข ในกรณีนี้ กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล เพิ่มเติมที่จาเป็นที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูลนั้น กิจการต้องพิจารณาว่า ต้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมมากน้อยเพียงใดเพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ข้อมูล และต้องให้ ความสาคัญกับข้อมูลเพิ่มเติมแต่ละประเด็นอย่างไร ดังนั้นจึงจาเป็นต้องหาจุดสมดุลระหว่าง งบการเงินที่นาเสนอข้อมูลละเอียดเกินความจาเป็นซึ่งไม่ได้ช่วยผู้ใช้งบการเงินและยังทาให้ข้อมูล ไม่ชัดเจนหากมีการสรุปข้อมูลมากเกินไป การหักกลบสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ก ถึง 8 . 8 ฉ) ขอบเขต (ย่อหน้ําที่ 8 . 8 ก) ค 34 การเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข ถึง 8 . 8 จ กาหนดสาหรับการรับรู้เครื่องมือทางการเงิน ทุกประเภทที่มีการหักกลบลบหนี้ตามย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 นอกจากนี้ เครื่องมือทางการเงินอยู่ภายใต้ขอบเขตของข้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข ถึง 8 . 8 จ หากเป็นไปตามสัญญาหลักของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้หรือข้อตกลงที่ คล้ายคลึงกัน ซึ่งครอบคลุมถึงเครื่องมือทางการเงินและรายการที่คล้ำยคลึงกัน โดยไม่คานึงว่า เครื่องมือทางการเงินนั้นมีการหักกลบลบหนี้ตามย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 หรือไม่ ค 35 ข้อตกลงที่คล้ายคลึงกันที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 8 . 8 ก และย่อหน้าที่ ค 34 รวมถึงข้อตกลงการชาระ ราคาอนุพันธ์ ข้อตกลงหลักในการซื้อคืนโดยรวม ข้อตกลงหลักในการให้ยืมหลักทรัพย์โดยรวม และสิทธิที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินและรายการที่คล้ายคลึงกัน ตามที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ ค 34 รวมถึงอนุพันธ์ ข้อตกลงการขายและซื้ อคืน ข้อตกลงการขายคืน และซื้อคืน การกู้ยืมหลักทรัพย์ และข้อตกลงการให้ยืมหลักทรัพย์ ตัวอย่างของเครื่องมือ ทางการเงินที่ไม่อยู่ภายใต้ขอบเขตของย่อหน้าที่ 8 . 8 ก คือ เงินให้กู้ยืมและเงินรับฝากของลูกค้าที่ สถาบันการเงินเดียวกัน (เว้นแต่กาหนดให้มีการหักกลบลบหนี้ ในงบแสดงฐานะการเงิน) และ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นไปตามข้อตกลงหลักประกัน การเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณสาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้และหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ ภายใต้ขอบเขตของย่อหน้าที่ 8 . 8 ก (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค) ค 36 เครื่องมือทางการเงินที่เปิดเผยตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค อาจอยู่ภายใต้ข้อกาหนดการ วัดมูลค่าที่แตกต่างกัน (เช่น หนี้สินที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงการซื้อคืนอาจถูกวัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจำหน่าย ในขณะที่อนุพันธ์จะถูกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม) กิจการต้องรวมมู ลค่าของ เครื่องมือที่กิจการรับรู้และอธิบายความแตกต่างของการวัดมูลค่าในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 223 การเปิดเผยมูลค่าขั้นต้นของสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้และหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ภายใต้ ขอบเขตของย่อหน้าที่ 8 . 8 ก (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ) ค 37 มูลค่าที่กาหนดตามย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้ซึ่งมีการหักกลบ ลบหนี้ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 มูลค่าที่กาหนดตามย่อ หน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้ภายใต้สัญญาหลักของกา รหักกลบที่มี ผลบังคับใช้หรือข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน โดยไม่คานึงว่าเครื่องมือทางการเงินนั้นเป็นไปตาม เงื่อนไขของการหักกลบหรือไม่ อย่างไรก็ตาม การเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ไม่เกี่ยวข้องกับมูลค่าที่รับรู้ซึ่งเป็นผลของข้อตกลงหลักประกันที่ไม่เป็น ไปตามเงื่อนไข การหักกลบในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 โดยมูลค่าดังกล่าวจะถูก กาหนดให้รายงานตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 แทน การเปิดเผยมูลค่าที่หักกลบลบหนี้ตามที่กำหนดตามหลักเกณฑ์ในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 32 (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 ) ค 38 ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 กำหนดให้กิจการเปิดเผยข้อมูลมูลค่าที่หักกลบลบหนี้ตามที่กำหนดใน ย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 หากกิจการกาหนดให้แสดงด้วยมูลค่าสุทธิใน งบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่รับรู้ซึ่งเป็นไปตามการ หักกลบภายใต้ข้อตกลงเดียวกันจะถูกเปิดเผยทั้งในการเปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์ทางการเงินและ การเปิดเผยข้อมูลหนี้สินทางการเงิน อย่างไรก็ตาม มูลค่าที่เปิดเผย (เช่น ในรูปแบบตาราง) จะถูกจากัดด้วยมูลค่าที่เป็นไปตามการหักกลบ เช่น กิจการอาจรับรู้สินทรัพย์อนุพันธ์และหนี้สิน อนุพันธ์ตามเงื่อนไขการหักกลบในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 หากมูลค่า ขั้นต้นของสินทรัพย์อนุพันธ์มากกว่ามูลค่าขั้น ต้นของหนี้สินอนุพันธ์ ตารางการเปิดเผยข้อมูล สินทรัพย์ทาง การเงินจะรวมมูลค่าของสินทรัพย์อนุพันธ์ (ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ) และ มูลค่าของหนี้สินอนุพันธ์ทั้งหมด (ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 ) อย่างไรก็ ตาม แม้ว่าตาราง การเปิดเผยข้อมูลหนี้สินทางการเงินจะรว มมูลค่าของหนี้สินอนุพันธ์ทั้งหมด (ตามที่กาหนดใน ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ) การเปิดเผยข้อมูลนี้จะรวมเฉพาะมูลค่าของสินทรัพย์อนุพันธ์ (ตามที่กาหนด ในย่อ หน้าที่ 8 . 8 ค. 2 ) ซึ่งเท่ากับมูลค่าของหนี้สินอนุพันธ์ การเปิดเผยมูลค่าสุทธิที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ) ค 39 หากกิจการมีเครื่องมือที่เป็นไปตามขอบเขตของการเปิดเผยข้อมูลเหล่านี้ (ตามที่ระบุใน ย่อหน้าที่ 8 . 8 ก) แต่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขการหักกลบในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 มูลค่าที่กาหนดให้เปิดเผยในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 จะเท่ากับมูลค่าที่กาหนดให้เปิดเผย ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 224 ค 40 มูลค่าที่ถูกกำหนดให้เปิดเผยตามย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ต้องถูกกระทบยอดกับรายการ ที่แสดง ในงบแสดงฐานะการเงิน เช่น หากกิจการเลือกที่จะรวมหรือไม่รวม มูลค่ารายการในงบการเงิน เพื่อการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องมากขึ้น กิจการต้องกระทบยอดมูลค่าที่ถูกรวมหรือไม่ถูกรวม ที่เปิดเผยในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ไปยังมูลค่ารายการที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน การเปิดเผยมูลค่าที่เป็นไปตามสัญญาหลักของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้หรือ ข้อตกลงที่ คล้ายคลึงกัน ซึ่งไม่รวมอยู่ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 ) ค 41 ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 กาหนดให้กิจการเปิดเผยมูลค่าที่เป็นไปตามสัญญาหลักในการหักกลบที่มี ผลบังคับใช้หรือข้อตกลงที่คล้ายคลึงกันซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 2 ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 . 1 ระบุถึงมูลค่าที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินที่รับรู้ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขการหักกลบใน ย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 บางส่วนหรือทั้งหมด (เช่น สิทธิปัจจุบันของการหัก กลบที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขในย่อหน้าที่ 42 . 2 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 หรือสิทธิตาม เงื่อนไขของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้และสามารถใช้สิทธิได้เฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณ์การไม่ สามารถปฏิบัติตามสัญญา หรือเฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณ์ขาดสภาพคล่องหรือล้มละลายของ คู่สัญญา) ค 4 2 ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 . 2 ระบุถึงมูลค่าที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันทางการเงิ น รวมถึงหลักประกันเงิน สด ทั้งที่ได้รับและที่วางเป็นประกัน กิจการต้องเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เหล่านั้นที่นาไปวางเป็นประกันหรือที่ได้รับเป็นหลักประกัน มูลค่าที่เปิดเผยตามที่กาหนดใน ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 . 2 ควรเกี่ยวข้องกับหลักประกันที่ได้รับหรือนาไปวางเป็นประกันจริง และ ไม่เกี่ยวข้องกับเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ที่เป็นผลจากการรับรู้รายการเพื่อส่งคืนหรือรับคืนหลักประกัน ดังกล่าว ข้อจากัดของมูลค่าที่เปิดเผยในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 (ย่อหน้าที่ 8 . 8 ง) ค 43 กิจการต้องคานึงถึงผลกระทบของหลักประกันจากเครื่องมือทางการเงินที่มากเกินไป หาก เปิดเผย มูลค่าตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 ซึ่งการกระทาเช่นนั้น กิจการต้องหักมูลค่าที่เปิดเผย ตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 . 1 จากมูลค่าที่เปิดเผยตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 เ ป็นอันดับแรก กิจการต้องจากัดมูลค่าที่เปิดเผยตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 . 2 ด้วยมูลค่าที่ คงเหลืออยู่ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 สาหรับเครื่องมือทางการเงินที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม หากสิทธิ ตาม หลักประกันสามารถใช้บังคับ กับ เครื่องมือทางการเงินต่างประเภท สิทธิดังกล่าว ควรรวมอยู่ใน การเปิดเผยข้อมูลตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ง ด้วย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 225 รายละเอียดของสิทธิการหักกลบที่เป็นไปตามสัญญาหลักของการหักกลบที่มีผล บังคับใช้และ ข้อตกลงที่คล้ายคลึงกัน (ย่อหน้าที่ 8 . 8 จ) ค 44 กิจการต้องอธิบายประเภทของสิทธิการหักกลบและข้อตกลงที่คล้ายคลึงกันที่เปิดเผยตาม ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 4 รวมถึงลักษณะของสิทธิดังกล่าว เช่น กิจการต้องอธิบายสิทธิ ที่มีเงื่อนไข สาหรับเครื่องมือ ที่เป็นไปตามสิทธิการหักกลบที่ไม่ใช่ภาระผูกพันของเหตุการณ์ในอนาคต แต่ไม่เป็นไ ปตาม เงื่อนไขที่ปรากฏอยู่ในย่อหน้าที่ 42 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 กิจการต้องอธิบายสาเหตุ ที่ทาให้ไม่ เป็นไปตาม เงื่อนไข ดังกล่าว สาหรับ หลักประกันทางการเงินที่ได้รับหรือวางเป็นประกัน ไว้ กิจการต้องอธิบายเงื่อนไขของข้อตกลงหลักประกัน (เช่น เมื่อหลักประกันมีข้อจากัด) การเปิดเผยข้อมูลตามประเภทของเครื่องมือทางการเงินหรือตามประเภทของคู่สัญญา ค 45 การเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ถึง 8 . 8 ค. 5 อาจจัดกลุ่มตาม ประเภทของเครื่องมือทางการเงินหรือรายการ (เช่น อนุพันธ์ ข้อตกลงการซื้อคืนและการซื้อที่มี สัญญาขายคืน หรือการกู้ยืมหลักทรัพย์ และข้อตกลงการให้ยืมหลักทรัพย์) ค 46 กิจการอาจจัดกลุ่มการเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 1 ถึง 8 . 8 ค. 3 ตามประเภทของเครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเ ผยข้อมูลเชิงปริมาณตามที่ กาหนดใน ย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ถึง 8 . 8 ค. 5 ตามคู่สัญญา หากกิจการแสดงข้อมูลที่กำหนดตามประเภท คู่สัญญา กิจการไม่ถูกกาหนดให้ระบุชื่อคู่สัญญา อย่างไรก็ตาม การกำหนดคู่สัญญา (คู่สัญญา ก , คู่สัญญา ข , คู่สัญญา ค เป็นต้น) ต้องกาหนดให้สอดคล้องกันในแต่ละปีที่แสดงข้อมู ลเพื่อให้ เปรียบเทียบข้อมูลได้ ในการเปิดเผยข้อมูลเชิงคุณภาพต้องพิจารณาการแสดงข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับประเภทของคู่สัญญา เมื่อคู่สัญญาให้ข้อมูลเพื่อเปิดเผยมูลค่าตามย่อหน้าที่ 8 . 8 ค. 3 ถึง 8 . 8 ค. 5 มูลค่าที่มีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับมูลค่าคู่สัญญาทั้งหมดต้องเปิดเผยเป็ น รายการแยก ต่างหากและมูลค่าคู่สัญญาที่ไม่มีนัยสาคัญที่เหลือต้องรวมแสดงเป็นรายการ เดียว อื่นๆ ค 47 การเปิดเผยข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงตามย่อหน้าที่ 8 . 8 ค ถึง 8 . 8 จ ถือเป็นข้อกาหนดขั้นต่า เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในย่อหน้าที่ 8 . 8 ข กิจการอาจจาเป็นต้องเปิดเผยข้อมูล (เชิงคุณภาพ) เพิ่มเติม ซึ่งขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของข้อกาหนดของสัญญาหลักของการหักกลบที่มีผลบังคับใช้และ ข้อตกลงที่ เกี่ยวข้อง รวมถึงลักษณะของสิทธิการหักกลบ และผลกระทบหรือผลกระทบที่คาดว่า จะเกิดขึ้นที่มีต่อฐานะการเงินของกิจการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 226 ตาราง สรุปความแตกต่างสำหรับแนวปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน * และเหตุผลของความแตกต่าง ตารางนี้ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ โดยตารางดังกล่าวข้างต้นจะเป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ( 1 ) แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ในบทที่ 1 ถึงบทที่ 7 ภาคผนวก ก และภาคผนวก ข กับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และ ( 2 ) แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ในบทที่ 8 และภาคผนวก ค กับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเ ผยข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 4 . 1 . 1 ในกรณีที่ไม่ได้นาย่อหน้าที่ 4 . 1 . 8 มาถือปฏิบัติ กิจการต้องจัด ประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่กิจการได้มาซึ่งเงินลงทุน ดังต่อไปนี้ 4 . 1 . 1 . 1 หลักทรัพย์เพื่อค้า 4 . 1 . 1 . 2 หลักทรัพย์เผื่อขาย 4 . 1 . 1 . 3 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด 4 . 1 . 1 . 4 ลูกหนี้และเงินให้กู้ยื ม 4 . 1 . 1 . 5 อนุพันธ์ 4 . 1 . 1 ในกรณีที่ไม่ได้นาย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 มาถือปฏิบัติ กิจการ ต้องจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินเป็นสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่าภายหลังด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือ ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไ รหรือขาดทุน ตามเกณฑ์ ทั้งสองข้อดังต่อไปนี้ 4 . 1 . 1 . 1 ตามโมเดลธุรกิจ ( business model ) ของ กิ จการ ในการจัดการสินทรัพย์ทางการเงิน และ 4 . 1 . 1 . 2 ตามลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญาของ สินทรัพย์ทางการเงิน เพื่อลดผลกระทบจาก การจับคู่อย่างไม่เหมาะสม ทางการบัญชี ระหว่างสินทรัพย์และหนี้สินโดย ให้ยังคงสามารถจัดประเภทสินทรัพย์ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่าง ประเทศอื่น ที่สอดคล้องกับการจับคู่ทาง การ บัญชีของหนี้สินจากสัญญาประกันภัยตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญำ ประกันภัย ไปจนกว่ามาตรฐาน การรายงานทำงการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย จะมีผลบังคับใช้ 4 . 1 . 3 ตามปกติการค้าหลักทรัพย์เป็นการที่กิจการเข้าทาการซื้อขาย หลักทรัพย์ที่มีสภาพซื้อง่ายขายคล่องและสามารถเปลี่ยนมือได้ บ่อย ดังนั้น หลักทรัพย์เพื่อค้าจึงหมายถึง หลักทรัพย์ที่กิจการ ถือไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการหากาไรจากการขึ้นลงของราคา ในช่วงเวลาสั้นๆ โดยจัดรวมเป็นกลุ่มหลักทรัพย์ซึ่งกิจการ เจาะจงถือไว้เพื่อค้า ทาให้หลักทรัพย์ในกลุ่มมีการหมุนเวียน อย่างต่อเนื่อง หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าหลักทรัพย์ที่กิจการ ได้มาเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า ได้แก่ การที่กิจการทาการซื้อขาย กลุ่มหลักทรัพย์อย่างสม่าเสมอจนมีรูปแบบที่ชัดเจนว่า ภาคผนวก ก คานิยาม การถื อไว้เพื่อค้า หมายถึง สินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินที่ ( ก ) ได้มาหรือก่อให้เกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขาย หรือซื้อกลับคืนในอนาคตอันใกล้ ( ข ) ถูกกาหนดให้เป็นส่วนหนึ่งขอ งกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งถูกบริหารเป็นกลุ่ม ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก และมีหลักฐานที่แสดงถึงรูปแบบของการทากาไรระยะสั้น ที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน หรือ กาหนดคำนิยามเพื่อให้สอดคล้องกับการ จัดประเภทตามย่อหน้า ที่ 4 . 1 . 1 อย่างไรก็ตาม โดยหลักการแล้วไม่มีความแตกต่างกับ นิยามตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 อย่างมีสาระสาคัญ การจัดประเภทเป็นสินทรัพย์เผื่อขาย โดย เทียบเคียงกับหลักการ เดียวกับ มาตรฐาน การรายงานทางการเงินระหว่างประเทศที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 227 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล หลักทรัพย์ในกลุ่มมีการหมุนเวียนเพื่อทากาไรช่วงสั้นอย่าง แน่นอน หลักทรัพย์ดังกล่าวแตกต่างจากหลักทรัพย์เผื่ อขาย ซึ่ง เป็นหลักทรัพย์ที่กิจการถือไว้เพื่อการอื่นโดยมิได้มีวัตถุประสงค์ หลักที่จะค้าหลักทรัพย์นั้น แม้ว่ากิจการจะเต็มใจขายหลักทรัพย์ ดังกล่าวทันทีที่โอกาสอานวย ดังนั้นหลักทรัพย์ที่กิจการได้มา โดยไม่มีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน ต้องจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายใ นทันที ทั้งนี้ในกรณีที่เป็น เงินลงทุนในตราสารทุน เผื่อขายที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ต้องไม่เป็นสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายซึ่งเกิดจากการรวม ธุรกิจตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การ รวมธุรกิจ ( ค ) เป็นอนุพันธ์ (ยกเว้นอนุพันธ์ที่เป็นสัญญาค ้าประกัน ทางการเงินหรือเลือกกำหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่มีประสิทธิผล) 4 . 1 . 2 ก สินทรัพย์ทางการเงินต้องวัดมูลค่าด้ วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเมื่อเข้าเงื่อนไขทั้งสองข้อ ดังต่อไปนี้ 4 . 1 . 2 ก . 1 กิจการถือครองสินทรัพย์ทางการเงินนั้นตาม โมเดลธุรกิจ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อรับกระแส เงินสดตามสัญญาและเพื่อขายสินทรัพย์ ทางการเงิน และ 4 . 1 . 2 ก . 2 ข้อกาหนดตามสัญญาของสินทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งทำให้เกิดกระแสเงินสดซึ่งเป็นการจ่าย เพียงเงินต้นและดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือ ของเงินต้นในวันที่กาหนดไว้ บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ใช้ ข้อยกเว้นการปฏิบัติตาม มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้ คือการให้สินทรัพย์ทางการเงินที่ ไม่เข้าเงื่อนไขการจัดประเภทอื่นๆ เป็น สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย 4 . 1 . 4 กิจการจะจัดประเภทตราสารหนี้เป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ กาหนดก็ต่อเมื่อกิจการมีความตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถ ที่จะถือตราสารดังกล่าวไปจนครบกาหนด โดยที่กิจการจะไม่ ขายตราสารดังกล่าวก่อนครบกำหนดหรือจะไม่โอนเปลี่ยน ประเภทตราสารดังกล่าวเว้นแต่จะเกิดสถานการณ์ตามที่ ระบุไว้ ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 กิจการจะต้องทบทวนความตั้งใจที่จะถือ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนดทุกรายการเพื่อโอนเปลี่ยน ประเภทหากกิจการขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ที่จะ ถือจนครบกาหนดรายการใดรายการหนึ่งทั้งที่สถานการณ์ใน ย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ไม่เกิดขึ้น 4 . 1 . 2 สินทรัพย์ทางการเงินต้องวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่ายเมื่อเข้าเงื่อนไขทั้งสองข้อดังต่อไปนี้ 4 . 1 . 2 . 1 กิจการถือครองสินทรัพย์ทางการเงินนั้นตาม โมเดลธุรกิจ ที่มีวัตถุประสงค์การถือครอง สินทรัพย์ทางการเงินเพื่อรับกระแสเงินสดตาม สัญญา และ 4 . 1 . 2 . 2 ข้อกาหนดตามสัญญาของสิ นทรัพย์ทางการเงิน ซึ่งทำให้เกิดกระแสเงินสดซึ่งเป็นการจ่าย เพียงเงินต้นและดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือ ของเงินต้นในวันที่กาหนดไว้ โ ดย เ ทียบเ คียง กับห ลั กกา รเ ดียว กั บ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน ระหว่าง ประเทศที่บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ ใช้ข้อยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 228 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 4 . 1 . 5 การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่อไปนี้อาจทำให้กิจการต้อง เปลี่ยนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้ไปจนครบกาหนดโดยที่ไม่ จาเป็นต้องทบทวนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้รายการอื่นไป จนครบกาหนด การจาหน่ายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสาร หนี้ดังกล่าวจะไม่ถือว่าเป็นการกระทำที่สม่าเสมอกับ การ จัดประเภทที่ทาไว้เดิม 4 . 1 . 5 . 1 มีหลักฐานที่แสดงว่าความน่าเชื่อถือของผู้ออกตรา สารลดลงอย่างเป็นสาระสาคัญ 4 . 1 . 5 . 2 มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายภาษีอากรซึ่งเป็นผลให้มี การยกเลิกหรือลดข้อลดหย่อนทางภาษีอากรเกี่ยวกับ ดอกเบี้ยที่จะได้รับตราสารหนี้ซึ่งกรณีนี้ไม่เกี่ยวกั บ การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีโดยทั่วไป 4 . 1 . 5 . 3 มีการรวมกิจการหรือจาหน่ายกิจการที่สาคัญซึ่งทาให้ กิจการต้องขายหรือโอนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ กาหนดเพื่อให้กิจการรักษาระดับความเสี่ยงในอัตรา ดอกเบี้ยหรือความเสี่ยงด้านเครดิตของกิจการไว้ ดังเดิม 4 . 1 . 5 . 4 มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ส่งผลให้กิจการไม่ สามารถถือเงินลงทุนบางชนิดไว้ในระดับที่กิจการเคย ถือไว้ได้ ทาให้กิจการจาเป็นต้องจาหน่ายตราสารหนี้ ดังกล่าว 4 . 1 . 5 . 5 มีการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนดหรือกฎหมายเกี่ยวกับ การรักษาระดับเงินทุนของกิจการทาให้กิจการต้องลด ขนาดลงโดยการ ขายเงินลงทุนดังกล่าว ข 4 . 1 . 2 ก โมเดลธุรกิจของกิจการแสดงถึงวิธีการจัดการ สินทรัพย์ ทางการเงินของกิจการเพื่อให้ได้กระแสเงินสด ซึ่ง หมายถึงโมเดลธุรกิจของกิจการที่ใช้ในการกำหนดว่า กระแสเงินสดจะมาจากการรับกระแสเงินสดตามสัญญา การขายสินทรัพย์ทางการเงิน หรือทั้งสองอย่าง ดังนั้น การประเมินนี้ไม่ได้จัดทาขึ้นจากข้อสมมติฐานที่กิจการ คาดว่าจะเ กิดขึ้นอย่างไม่สมเหตุสมผล เช่น สภาวะที่แย่ ที่สุด ( Wors case ) หรือสภาวะกดดัน ( Stress case ) เช่น ถ้ากิจการคาดว่าจะขายกลุ่มสินทรัพย์ทางการเงินเฉพาะ ในสภาวะกดดัน ( Stress case ) สถานการณ์นี้จะไม่กระทบ การประเมินโมเดลธุรกิจของกิจการสาหรับกลุ่มสินทรัพย์ เหล่านี้ ถ้ากิจการคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลว่า สถานการณ์นี้จะไม่เกิดขึ้น ถ้ากระแสเงินสดถูกรับรู้ใน แนวทางที่แตกต่างจากที่กิจการคาดการณ์ ณ วันที่กิจการ ประเมินโมเดลธุรกิจ (ตัวอย่างเช่น ถ้ากิ จการขาย สินทรัพย์ทางการเงินได้มากกว่า หรือ น้อยกว่าที่ คาดการณ์ไว้ เมื่อมีการจัดประเภทเป็นสินทรัพย์) ซึ่งไม่สะท้อนความผิดพลาดในงบการเงินงวดก่อน (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงการประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด) หรือ ไม่ได้เ ปลี่ยนแปลงการจัดประเภทใน สินทรัพย์ทางการเงินสาหรับส่วนที่เหลือที่อยู่ในโมเดล ธุรกิจเหล่านั้น (เช่น สินทรัพย์เหล่านั้นรับรู้ในงวดก่อน และยังคงถืออยู่) เป็นเวลานานเท่าที่กิจการพิจารณา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งสามารถหาได้ในเวลาที่มีการประเมิน ย่อหน้านี้กล่าวถึงข้อกาหนดในการประเมิน ความตั้งใจในการถือครองเพื่อจัดประเภท เป็นต ราสารหนี้ที่จะถือไปจนครบกาหนด ซึ่ง โดยหลักการแล้วไม่แตกต่างจากการ ประเมินโมเดลธุรกิจตามข้อกำหนดของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 229 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล นอกจากสถานการณ์ข้างต้น กิจการอาจไม่จาเป็นต้องทบทวนความ ตั้งใจหรือความสามารถที่จะถือตราสารหนี้รายการอื่นไปจนครบ กาหนด หากกิจการต้องขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ รายการหนึ่งเนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ ซึ่ง สถานการณ์นี้เกิดจา กเหตุการณ์ที่ไม่เป็นปกติสาหรับกิจการหรือ เกิดเหตุการณ์ที่เป็นเอกเทศและไม่คาดว่าจะเกิดขึ้นอีก กิจการต้อง เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทตราสารหนี้ ดังกล่าวตามข้อกาหนดที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 8 . 7 ง โมเดลธุรกิจ อย่างไรก็ตำม เมื่อกิจการประเมินโมเดล ธุรกิจที่มีการออกหรือซื้อสินทรัพย์ทางการเงินใหม่ กิจการต้องพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการที่รับรู้กระแส เงินสดในอดีตควบคู่กับข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง 4 . 1 . 6 กิจการต้องไม่จัดประเภทตราสารหนี้เป็นตราสารหนี้ที่จะถือจน ครบกาหนดหากกิจการเพียงแต่ตั้งใจว่าจะถือตราสารหนี้นั้น ไปอย่างไม่มีกาหนด หรือจะถือไว้เผื่อขายภายใต้สถานการณ์ ต่อไปนี้ 4 . 1 . 6 . 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดของตราสารหนี้นั้นเปลี่ยนไป ทาให้ความเสี่ยงในการชาระหนี้สูงขึ้น 4 . 1 . 6 . 2 กิ จ กำ ร มี ค วำ ม จำ เ ป็ น ต้ อ ง เ พิ่ ม ส ภำ พ ค ล่ อ ง ตัวอย่างเช่น มีผู้มาขอคืนเงินมัดจา มีผู้ต้องการกู้เงิน เป็นจานวนมาก หรือกิจการต้องจ่ายค่าเรียกร้องจาก กรมธรรม์ประกันภัย 4 . 1 . 6 . 3 เงินลงทุนที่สามารถใช้ทดแทนตราสารหนี้ดังกล่าวมี อัตราดอกเบี้ยที่จูงใจให้น่าลงทุนกว่า 4 . 1 . 6 . 4 มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขและแหล่งที่มาของเงินทุน 4 . 1 . 6 . 5 มีการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ข 4 . 1 . 2 ข ฃ โมเดลธุรกิจของกิจการในการจัดการสินทรัพย์ทางการ เงินเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง และไม่ใช่สมมติฐาน โดยปกติ สังเกตได้จากกิจกรรมที่กิจการปฏิบัติเพื่อบ รรลุ วัตถุประสงค์ของโมเดลธุรกิจของกิจการ กิจการต้องใช้ ดุลยพินิจเมื่อทำการประเมินโมเดลธุรกิจของกิจการ สาหรับการจัดการสินทรัพย์ทางการเงิน และการประเมิน นั้นไม่ได้ถูกตัดสินจากปัจจัยเดียว หรือกิจกรรมเดียว กิจการต้องพิจารณาหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่มีอยู่ ณ วั นที่ประเมิน หลักฐานที่เกี่ยวข้องรวมถึงข้อมูลต่อไปนี้ ข 4 . 1 . 2 ข. 1 ผลการดาเนินงานของโมเดลธุรกิจออกมาเป็น อย่างไรและการประเมินผลการถือสินทรัพย์ ทางการเงินตามโมเดลธุรกิจและรายงานให้ ผู้บริหารสาคัญของกิจการทราบ ข 4 . 1 . 2 ข. 2 ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อผลการดาเนินงาน ของโมเดลธุรกิจ (และสินทรัพย์ทางการเงินที่ ถือตามโมเดลธุรกิจ) และโดยเฉพาะวิธีการ บริหารความเสี่ยง และ การกาหนดเงื่อนไขการจัดประเภทเป็นตรา สารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดตามแนว ปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้มีขอบเขตที่แคบ กว่าข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9 ที่ให้พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ ในการบริหารธุรกิจ และการบริหารความ เสี่ ยง อย่างไรก็ตามหลักการที่ใช้ในแนว ปฏิบัติ ทางการบัญชี เป็นหลักการเดียวกับ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน ระหว่าง ประเทศที่บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ ใช้ข้อยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 230 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ข 4 . 1 . 2 ข. 3 วิธีการที่ใช้คานวณผลตอบแทนให้ผู้จัดการ (เช่น การชดเชยที่เกิดจากการบริหารจัดการ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หรื อการจัดเก็บ กระแสเงินสดตามสัญญา) 4 . 1 . 7 หากกิจการขายตราสารหนี้ในลักษณะตามข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ จะถือว่าการขายนั้นกระทาเมื่อครบกาหนด 4 . 1 . 7 . 1 กิจการขายตราสารหนี้เมื่อใกล้ถึงวันครบกาหนด หรือ ใกล้ถึงวันที่ผู้ออกตราสารสามารถใช้สิทธิไถ่ถอนก่อน ครบกาหนดหากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ผู้ออก ตราสารจะใช้ สิทธิไถ่ถอนนั้น ซึ่งระยะเวลาจากวันที่ ขายถึงวันครบกาหนดใกล้เคียงกันจนทาให้ความเสี่ยง จากอัตราดอกเบี้ยไม่เป็นตัวแปรที่สำคัญในการ กาหนดราคาของตราสารอีกต่อไป 4 . 1 . 7 . 2 กิจการขายตราสารหนี้หลังจากที่ได้รับชำระเงิน ส่วนใหญ่ของเงินต้นที่คงค้างอยู่ ณ วันที่ได้ตราสารมา ข 4 . 1 . 3 ถึงแม้ว่าโมเดลธุรกิจของกิจการอาจถือสินทรัพย์ ทางการเงินโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับกระแสเงินสด ตามสัญญา กิจการอาจไม่จาเป็นต้องถือตราสารทั้งหมด ไว้จนครบกาหนดก็ได้ ดังนั้น โมเดลธุรกิจของกิจการ ก็ยังคงจั ดเป็นการถือครองสินทรัพย์ทางการเงินเพื่อ รับกระแสเงินสดตามสัญญา แม้ว่าการขายสินทรัพย์ทาง การเงินเกิดขึ้นหรือคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ข้อกำหนดเกี่ยวกับการขายสินทรัพย์ทาง การเงินก่อนครบกาหนดของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 ผ่อนคลายกว่า แต่หลักการที่ใช้ใน แนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้เป็นหลักการเดียวกับมาตรฐานการ รายงานทางการ เงิน ระหว่างประเทศที่บริษัท ประกันภัยในต่างประเทศที่ใช้ข้อยกเว้นการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการชั่วคราวใช้ 4 . 3 . 2 อนุพันธ์แฝงในสัญญาแบบผสมต้องแยกออกจากสัญญาหลัก และถือเป็นอนุพันธ์ภายใต้แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 4 . 3 . 2 ถ้าสัญญาแบบผสมประกอบด้วยสัญญาหลักซึ่งเป็น สินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับนี้ กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดตามย่อ หน้าที่ 4 . 1 . 1 ถึง 4 . 1 . 5 สาหรับสัญญาแบบผสมทั้งสัญญา 4 . 3 . 3 หากสัญญาแบบผสมประกอบด้วยสัญญาหลักซึ่งไม่ใช่ สินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ อนุพันธ์แฝงต้องแยกออกจากสัญญา หลัก และถือเป็นอนุพันธ์ภายใต้มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ เนื่องจากแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ ไม่ได้ใช้หลักการประเมินโมเดลธุรกิจ และ กระแสเงินสดซึ่งเป็นการจ่ายเพียงเงินต้น และดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือของเงินต้นใน วันที่กำหนดไว้ ซึ่งอนุพันธ์แฝงมีผลทำให้ จานวนเงิน และจังหวะเวลาของกระแสเงิน สดเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น จึงใช้หลั กการ แยกอนุพันธ์แฝงจากมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศที่บริษัทประกันภัย ในต่างประเทศที่ใช้ข้อยกเว้นการปฏิบัติตาม

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 231 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการชั่วคราวใช้ 4 . 4 . 1 กิจการต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยนสินทรัพย์ทางการเงิน จากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 4 . 4 . 1 . 1 การโอนเปลี่ยนเงินลงทุนในตราสารทุนและตราสารหนี้ 4 . 4 . 1 . 1 . 1 สาหรับการโอนเปลี่ยนหลักทรัพย์เพื่อค้า ไปเป็นเงินลงทุนประเภทอื่น กิจการต้องใช้ มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนในการบันทึก บัญชีและรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าตาม บัญชีกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันนั้นในกาไร หรือขาดทุนทันที 4 . 4 . 1 . 1 . 2 สาหรับการโอนเปลี่ยนเงินลงทุนประเภท อื่นไปเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า กิจการต้องใช้ มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนในการบันทึก บัญชีและรับรู้ผลต่างระหว่างมูลค่าตาม บัญชีกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันนั้น พร้อมทั้ง กลับบัญชีทุกบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุน ที่โอนเปลี่ยนในกาไรหรือขาดทุนทันที 4 . 4 . 1 . 1 . 3 สำหรับตราสารหนี้ที่ โอนเปลี่ยนจาก หลักทรัพย์เผื่อขายไปเป็นตราสารหนี้ที่จะ ถือจนครบกำหนด กิจการต้องใช้มูลค่า ยุติธรรม ณ วันที่โอนในการบันทึกบัญชี และปรับปรุงส่วนเกินทุนหรือส่วนต่ากว่า ทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของ เงินลงทุนด้วยผลต่างระหว่างมูลค่าตาม 4 . 4 . 1 เฉพาะเมื่อกิจการเปลี่ยนแปลงโมเดลธุรกิจในการบริหาร สินทรัพย์ทางการเงิน กิจการต้องจัดประเภทรายการใหม่ สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ ได้รับผลกระทบทั้งหมดให้ เป็นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ถึง 4 . 1 . 4 ดูย่อหน้าที่ 5 . 6 . 1 ถึง 5 . 6 . 7 ย่อหน้าที่ ข 4 . 4 . 1 ถึง ข 4 . 4 . 3 และ ข 5 . 6 . 1 ถึง ข 5 . 6 . 2 สำหรับแนวปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัด ประเภทรายการใหม่ของสินทรัพย์ทาง กำรเงิน 5 . 6 . 1 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สำหรับสินทรัพย์ ทาง การเงินตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 กิจการต้องถือปฏิบัติการ จัดประเภทรายการใหม่โดยทันทีเป็นต้นไปนับจากวันที่จัด ประเภทรายการใหม่ กิจการต้องไม่ปรับย้อนหลังผลกาไร ผลขาดทุน (รวมถึงผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า) หรือดอกเบี้ย ที่เคยรับรู้ ข้อกาหนดเกี่ยวกับการจัดประเภท รายการใหม่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 2 ถึง 5 . 6 . 7 5 . 6 . 2 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทาง การเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย เป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน กิจการต้องวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่ ผลกาไรห รือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างระหว่าง ราคาทุนตัดจาหน่ายก่อนหน้าของสินทรัพย์ทางการเงิน และมูลค่ายุติธรรมให้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน แม้ว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 9 มีเงื่อนไขเรื่องการเปลี่ยนแปลงการจัด ป ร ะ เ ภ ท สำ มำ ร ถ ทำ ไ ด้ เ ฉ พำ ะ เ มื่ อ เปลี่ยนแปลงโมเดลธุ รกิจเท่านั้น แต่ใน หลักการการวัดมูลค่าเมื่อมีการจัดประเภท ใหม่ โดยรวมมีหลักการไม่แตกต่างกัน ส่วน ในการปฏิบัติที่มีข้อแตกต่าง ได้แก่ 1. การโอนสินทรัพย์เผื่อขายเป็นสินทรัพย์ที่ ถือจนครบกาหนดจะถือมูลค่ายุติธรรม เป็นราคาทุน และตัดจำหน่ายผลปรับ มูลค่ายุติธรรมสะสมในองค์ประกอบอื่น ของส่วนของเจ้าของด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง ในขณะที่มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 9 จะนาผลปรับมูลค่า ยุติธรรมปรับกลับทาให้มูลค่าตามบัญชี แสดงด้วยราคาทุนเสมือนวัดมูลค่าด้วย ราคาทุนตัดจาหน่ายตั้งแต่เริ่ มแรก 2. ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 กล่าวถึงการปรับปรุงว่ารายการ ปรับปรุงใดที่ถือเป็นการจัดประเภท รายการใหม่ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนำเสนองบการเงิน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 232 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล บัญชีกับมูลค่ายุติธรรม ณ วั นที่โอน ส่วนเกินทุนหรือส่วนต่ากว่าทุนดังกล่าว ยังคงแสดงเป็นรายการแยกต่างหากใน องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ และ ต้องตัดจาหน่ายตลอดอายุที่เหลืออยู่ของ ตราสารหนี้ ในลักษณะเดียวกันกับการ ตัดจาหน่ายส่วนเกินหรือส่วนลดของตรา สารหนี้โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง หรือวิธีอื่นที่ให้ผลไม่แตกต่างกัน 4 . 4 . 1 . 1 . 4 สาหรับการโอนเปลี่ยนตราสารหนี้ที่จะถือจน ครบกำหนดไปเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย กิจการต้องใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอน ในการบันทึกบัญชีและรับรู้ผลต่าง ระหว่าง มูลค่าตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ โ อ น เ ป็ น รำ ย กำ ร แ ย ก ต่ำ ง หำ ก ใ น องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ 4 . 4 . 1 . 2 ตามปกติ การโอนเปลี่ยนเงินลงทุนจากประเภทหนึ่ง ไปเป็นอีกประเภทหนึ่งจะไม่เกิดขึ้นบ่อย เนื่องจาก กิจการต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการถือเงินลงทุน นับตั้งแต่เริ่มแรกที่ได้เงินลงทุนมา หากกิจกา รไม่มี วัตถุประสงค์ที่ชัดเจนกิจการต้องจัดประเภทเงินลงทุน นั้นเป็นหลักทรัพย์เผื่อขายในทันที อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปอาจทำให้กิจการต้องโอน เปลี่ยนประเภทเงินลงทุน การโอนเปลี่ยนประเภทเงิน ลงทุนบางประเภทต้องมีหลักฐานสนับสนุนอย่าง 5 . 6 . 3 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สำหรับสินทรัพย์ ทางการเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็นประ เภทที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุน ตัดจาหน่าย มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ดังกล่าว ณ วันที่ จัดประเภทรายการใหม่จะกลายเป็นมูลค่าตามบัญชี ก่อน รายการหัก ใหม่ (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 2 สาหรับแนวปฏิบัติ ในการกำหนดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง และค่าเผื่อผล ขาดทุน ณ วันที่จัดประเภทรายการ ใหม่) 5 . 6 . 4 หากกิจกาจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทาง การเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย เป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ จัดประเภทรายการใหม่ ผลกาไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้ นจาก ความแตกต่างระหว่างราคาทุนตัดจาหน่ายก่อนหน้าของ สินทรัพย์ทางการเงินและมูลค่ายุติธรรมนั้นให้รับรู้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การจัดประเภทรายการใหม่นี้ ไม่ก่อให้เกิดการปรับปรุงอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงและการ วัดมูลค่าของผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 ) 5 . 6 . 5 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทาง การเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วยราคา ทุนตัดจำหน่าย สินทรัพย์ทางการเงินที่จะจัดประเภท รายการใหม่ด้วยมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่จัด ประเภทรายการใหม่ อย่างไรก็ตาม ผลสะสมของผลกาไร

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 233 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล เพียงพอ เช่น การโอนเปลี่ยน ระหว่างหลักทรัพย์เพื่อ ค้าและหลักทรัพย์เผื่อขายต้องมีหลักฐานสนับสนุนใน เวลาต่อมาว่ากิจการได้ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้ หรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ก่อนหน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จะโอนออกจากส่วนของเจ้าของและปรับปรุงกับมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงิ น ณ วันที่จัดประเภท รายการใหม่ ดังนั้นสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวจึง วัดมูลค่า ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่ เสมือนหนึ่งว่า วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจำหน่ายมาโดยตลอด การปรับปรุงนี้กระทบต่อกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นแต่ ไม่กระทบต่อกำไรหรือขาดทุน ดังนั้นการปรับปรุง ดังกล่าวจึงไม่ถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการ ใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนาเสนอ งบการเงิน) การจัดประเภทรายการใหม่นี้ไม่ก่อให้เกิด การปรับปรุงอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงและการวัดมูลค่าของ ผลขาดทุนด้า นเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 1 ) 5 . 6 . 6 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทาง การเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กำไรหรือขาดทุนเป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สินทรัพย์ทาง การเงินดั งกล่าวยังคงวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมต่อไป (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 2 สำหรับแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ กาหนดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงและค่าเผื่อผลขาดทุน ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่) 5 . 6 . 7 หากกิจการจัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทาง การเงิน จากประเภทที่วัดมูลค่าด้ว ยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเป็นประเภทที่วัดมูลค่าด้วย

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 234 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ทาง การเงินดังกล่าวยังคงวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมต่อไป และให้โอนผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ก่อน หน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นออกจากส่ว นของเจ้าของ ไปยังกำไรหรือขาดทุนซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการจัด ประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) ณ วันที่จัดประเภทรายการใหม่ 5 . 2 . 1 หลังจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่า สินทรัพย์ทางการเงิน ด้วยวิธี 5 . 2 . 1 . 1 หลักทรัพย์เพื่อค้า ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน 5 . 2 . 1 . 2 หลักทรัพย์เผื่อขาย ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 5 . 2 . 1 . 3 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด ด้วย วิธีราคาทุน ตัดจาหน่าย 5 . 2 . 1 . 4 ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืม ด้วย วิธีราคาทุนตัดจาหน่าย 5 . 2 . 1 . 5 ตราสารอนุพันธ์ ด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน 5 . 2 . 1 ภายหลังการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก กิจการต้องวัดมูลค่า สินทรัพย์ทางการเงินตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ถึง 4 . 1 . 5 ด้วย 5 . 2 . 1 . 1 ราคาทุนตัดจาหน่าย 5 . 2 . 1 . 2 มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือ 5 . 2 . 1 . 3 มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน จัดประเภทตามแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ แต่โดยหลักการการวัดมูลค่าไม่ แ ต ก ต่ำ ง จำ ก มำ ต ร ฐำ น กำ ร รำ ย งำ น ทางการเงิน ฉบับที่ 9 5 . 2 . 2 กิจการต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดเรื่องการด้อยค่าในบทที่ 5 . 5 สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขายตามที่กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 2 สินทรัพย์ทาง การเงินที่จัดประเภทเป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด ตามที่กำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 3 และลูกห นี้และเงินให้ กู้ยืมตามที่กาหนดไว้ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 4 5 . 2 . 2 กิจการต้องถือปฏิบัติตามข้อกาหนดเรื่องการด้อยค่าใน หมวดที่ 5 . 5 สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วย ราคาทุนตัดจาหน่ายตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 และสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก จัดประเภทตามแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ แต่โดยหลักการการวัดมูลค่าไม่ แตกต่างจากมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 235 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 5 . 5 . 1 กิจการต้องบันทึกการด้อยค่าของตราสารทุนซึ่งจัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เผื่อขายเข้ากำไรหรือขาดทุนทันทีที่มีหลักฐาน สนับสนุนว่าหลักทรัพย์นั้นด้อยค่า อย่างไรก็ดี กิจการต้องรับรู้ ค่าเผื่อผลขาดทุนในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและไม่ปรับลด มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงิ นตราสารทุนในงบแสดง ฐานะการเงิน ทั้งนี้หลักฐานสนับสนุนว่าหลักทรัพย์เผื่อขายเกิด การด้อยค่า มีดังต่อไปนี้ 5 . 5 . 1 . 1 กิจการที่ออกหลักทรัพย์กำลังประสบปัญหาทาง การเงินอย่างมีสาระสาคัญ 5 . 5 . 1 . 2 การผิดสัญญา เช่น การไม่จ่ายชาระ หรือการผิดนัด สัญญา ในการจ่ายชาระดอกเบี้ ยและเงินต้น 5 . 5 . 1 . 3 ผู้ให้กู้ยืมยอมผ่อนปรนเงื่อนไขการชำระหนี้ให้แก่ ผู้ออกหลักทรัพย์ เนื่องจากเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือ ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญญาทางการเงินของ ผู้ออกหลักทรัพย์ซึ่งหากเป็นกรณีอื่นผู้ให้กู้ยืมจะไม่ พิจารณาอนุมัติ 5 . 5 . 1 . 4 มีความเป็นไปได้สูงที่กิจการผู้ออกหลักทรัพย์จะ ล้มละลายหรือฟื้นฟูกิจการหรือปรับโครงสร้างทาง การเงิน 5 . 5 . 1 . 5 หลักทรัพย์นั้นไม่มีการซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่อง อีกต่อไปเนื่องจากปัญหาทางการเงิน 5 . 5 . 1 . 6 มีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีการลดลงในประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตจำกกลุ่มของสินทรัพย์ทาง การเงินตั้งแต่การรับรู้ดังกล่าวเมื่อเริ่มแรก ซึ่งถึงแม้ว่า - ไม่มี - จากความ แตกต่างในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 ที่จะ กล่าวต่อไป โดยแนวปฏิบัติทาง การ บัญชี ฉบับ นี้กาหนดให้รับรู้ผลกาไรขาดทุนในงบ กาไรขาดทุนสาหรับตราสารทุนที่จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย จึงต้องมีการ พิจารณาการด้อยค่า โดยการพิจารณาการด้อยค่าของตราสารทุน ใช้หลักการเดียวกับมาตรฐานกำรรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศที่บริษัท ประกันภัยในต่างประเทศที่ใช้ข้อยกเว้นการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการชั่วคราวใช้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 236 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล การลดลงจะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นของสินทรัพย์ รายการใดในกลุ่ม ซึ่งรวมถึงเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ 5 . 5 . 1 . 6 . 1 การเปลี่ยนแปลงในทางลบของความสามารถ ในการชำระเงินของผู้ออกหลักทรัพย์ (เช่นกา รเพิ่มขึ้นของจานวนของจานวน เงินกู้ยืมประเภทบัตรเครดิตซึ่งมีการใช้ สินเชื่อเต็มจานวนและจ่ายชาระรายเดือน ด้วยจานวนเงินขั้นต่า) หรือ 5 . 5 . 1 . 6 . 2 สภาพเศรษฐกิจในระดับประเทศหรือใน ระดับท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับการไม่ ปฏิบัติตามสัญญาของสินทรัพย์ในกลุ่ม (เช่นการเพิ่ม ขึ้นของอัตรา การว่างงานใน ภูมิภาคของผู้ออกหลักทรัพย์ การลดลง ของราคาอสังหาริมทรัพย์ในบริเวณที่ เดียวกันกับที่ใช้ในการจานอง การลดลง ของราคาน้ามันสาหรับเงินให้สินเชื่อแก่ ผู้ผลิตน้ามัน หรือการเปลี่ยนแปลงในทาง ลบของสภาพอุตสาหกรรมที่กระผู้ออก หลักทรัพย์ 5 . 5 . 1 . 7 นอกเหนือจากประเภทของเหตุการณ์ที่ระบุในย่อ หน้าที่ 5 . 5 . 1 . 1 ถึง 5 . 5 . 1 . 6 หลักฐานที่ชัดเจนของ การด้อยค่าสำหรับการลงทุนในตราสารทุนรวมถึง ข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญที่มี ในทางลบค่าสภาพแวดล้อมทางด้านเทคโนโลยี การตลาด เศรษฐกิจ และกฎหมาย ที่ผู้ออก หลักทรัพย์

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 237 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ประกอบกิจการอยู่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าต้นทุนการลงทุน ในตราสารทุนนั้นอาจไม่สามารถเรียกคืนกลับมาได้ การลดลงอย่างมีสาระสาคัญหรืออย่างต่อเนื่องของ มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุนจนต่ากว่า ราคาทุนถือเป็นหลักฐานที่ชัดเจนของการด้อยค่า 5 . 6 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทาง การเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมต้องรับรู้ในกำไรหรือ ขาดทุน เว้นแต่ 5 . 6 . 1 . 1 เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการป้องกันความ เสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 7 ถึง 6 . 5 . 13 และหากกิจการ มีการป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ำยุติธรรมของความ เสี่ยงอัตราดอกเบี้ยแบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิ จ กำ ร สามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป) หรือ 5 . 6 . 1 . 2 เป็นหนี้สินทางการเงินที่กิจการเลือกกาหนดให้แสดง ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน และกิจการ ต้องแสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในความ เสี่ยงด้านเครดิตของหนี้สินในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 . 4 5 . 6 . 1 . 3 เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย และกิจการต้องรับรู้การ เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 8 5 . 7 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สิน ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมต้องรับรู้ในกาไร หรือขาดทุน เว้นแต่ 5 . 7 . 1 . 1 เป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ของการ ป้องกันความเสี่ยง (ดูย่อหน้าที่ 6 . 5 . 8 ถึง 6 . 5 . 14 และหากกิจการมีการป้องกันความ เสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของความเสี่ยงอัตรา ดอกเบี้ยแบบเป็นกลุ่ม ( fair value hedge for a portfolio hedge of interest rate risk ) กิจการสามารถเลือกถือปฏิบัติตามแนว ปฏิบัติที่ใช้อยู่ต่อไป) 5 . 7 . 1 . 2 เป็นการลงทุนในตราสารทุนและกิจการเลือก ที่จะแสดงผลกาไรหรือขาดทุนจากเงินลงทุน ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 5 . 7 . 1 . 3 เ ป็ น ห นี้ สิน ทาง การ เงิ นที่กิจกา ร เลือก กาหนดให้แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน และกิจการต้องแสดงผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้าน เครดิตของหนี้สินในกาไรขา ดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 7 หรือ เป็นการปรับปรุงถ้อยคา เพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทในแนวปฏิบัติทางการ บัญชี ฉบับ นี้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 238 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 5 . 7 . 1 . 4 เป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก และกิจการต้องรับรู้ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 10 5 . 6 . 8 ผลกาไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ต้องรับรู้ในกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ยกเว้นผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า (ดูหมวดที่ 5 . 5 ) และผลกาไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศของตราสารหนี้ (ดูย่ อหน้าที่ ข 5 . 6 . 2 ถึง ข 5 . 6 . 2 ก ) จนกระทั่งมีการตัดรายการหรือจัดประเภทรายการ ใหม่สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินนั้น เมื่อมีการตัดรายการ สินทรัพย์ทางการเงิน ผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ ก่อนหน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นให้จัดประเภทรายการใหม่ จากส่วนของเจ้าของไ ปยังกำไรหรือขาดทุนซึ่งถือเป็นการ ปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง การนาเสนองบการเงิน ) หากมีการจัดประเภท รายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินออกจากประเภทที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กิจการ ต้องถือปฏิ บัติกับผลสะสมของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ก่อน หน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ดอกเบี้ยที่คานวณโดยใช้วิธี ดอกเบี้ยที่แท้จริงให้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน สาหรับแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศของตราสารทุน ให้ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 6 . 3 5 . 7 . 10 ผลกาไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อ หน้าที่ 4 . 1 . 2 ก ต้องรับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ยกเว้นผลกาไรหรือขาดทุนจากการด้อยค่า (ดูหมวดที่ 5 . 5 ) และผลกำไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน เงิน ตราต่างประเทศ (ดูย่อหน้าที่ ข 5 . 7 . 2 ถึง ข 5 . 7 . 2 ก) จนกระทั่งมีการ เลิกรับรู้ รายการหรือ จัดประเภทรายการ ใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินนั้น เมื่อมีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงิน ผลสะสมของผลกาไรหรือ ขาดทุนที่รับรู้ไว้ก่อนหน้าในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นให้ จัดปร ะเภทรายการใหม่จากส่วนของเจ้าของไปยังกาไร หรือขาดทุนซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภท รายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) หากมีการ จัดประเภทรายการใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินออก จากประเภทที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กิจการต้อ งถือปฏิบัติกับผลสะสม ของผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ไว้ ก่อนหน้าในกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 7 ดอกเบี้ยที่ คานวณโดยใช้วิธีดอกเบี้ยที่แท้จริงให้รับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 กาหนดให้เฉพาะการตัดรายการตราสารหนี้ ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเท่านั้นที่ให้รับรู้ผลสะสม กำไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นไปยังกาไรหรือขาดทุน ในแนว ปฏิบัติทาง การ บัญชีฉบับนี้ จึงปรับถ้อยคา เพื่อให้ทั้งตราสารหนี้และ ตราสารทุนยังคง รับรู้กาไรขำดทุน ในงบกาไรขาดทุนเมื่อมีการ ตัดรายการ รวมทั้งได้ตัดการอ้างอิงการจัด ประเภทรายการใหม่ตามย่อหน้า ที่ 5 . 6 . 5 และ 5 . 6 . 7 ของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 9 ออก ราย ละเอียด ตามที่กล่าวถึงในย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 ด้านบน โดยการรับรู้กาไรขาดทุนจากการตัดรายการ ของตราสารทุนเผื่อขาย ใช้หลักการเดียวกับ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน ระหว่าง ประเทศที่บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ ใช้ข้อยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 239 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้ 6 . 1 . 1 การบัญชีป้องกันความเ สี่ยงมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงผลกระทบ ในงบการเงิน ซึ่งเกิดจากกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงของ กิจการที่ใช้เครื่องมือทางการเงินในการจัดการฐานะเปิดที่ เกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกาไรหรือ ขาดทุน วิธีการดังกล่าวมีเป้าหมายในการแสดงถึงบริบทของ เครื่องมื อที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงภายใต้การบัญชีป้องกันความ เสี่ยงเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และผลกระทบที่ เกิดขึ้น 6 . 1 . 1 การบัญชีป้องกันความเสี่ยงมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดง ผลกระทบในงบการเงิน ซึ่งเกิดจากกิจกรรมการบริหาร ความเสี่ยงของกิจการที่ใช้เครื่องมือทางกา รเงินในการ จัดการฐานะเปิดที่เกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นๆ ซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่อกำไรหรือขาดทุน ( หรือกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ในกรณีของเงินลงทุนในตราสารทุนที่กิจการ เลือกแสดงการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมในกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ) วิธีการดังกล่าว มีเป้าหมายในการแสดงถึงบริบทของเครื่องมือที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงภายใต้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และผลกระทบที่ เกิดขึ้น ตัดการอ้างอิงการเลือกการกำหนดให้ ตราสารทุนแสดงการเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เนื่องจากในแนวปฏิบัติทาง การ บัญชี ฉบับ นี้ มีหลักการจัดประเภทตราสารทุนที่แตกต่าง จากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 6 . 2 . 2 กิจการอาจเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ หรือหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุ พันธ์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความ เสี่ยง ยกเว้นหนี้สินทางการเงินที่เลือกกาหนดให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้าน เคร ดิตของหนี้สินดังกล่าวแสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตาม ข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 6 . 5 สาหรับการป้องกันความเสี่ยง เงินตราต่างประเทศ องค์ประกอบของความเสี่ยงเงินตรา ต่างประเทศของสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์หรือหนี้สิน กิจการอาจเลือกกาหนดให้สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ หรือหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ยกเว้นหนี้สินทางการเงินที่เลือกกำหน ดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนที่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของ หนี้สินดังกล่าวแสดงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามข้อกาหนดใน ย่อหน้าที่ 5 . 7 . 7 สาหรับการป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศ องค์ ประกอบของความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศของสินทรัพย์ทาง การเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์หรือหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์อาจ เลือกกาหนดให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงถ้าไม่ใช่เงิน ตัดการอ้างอิงการเลือกการกาหนดให้ตรา สารทุนแสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เนื่องจากในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ ยังคงมีการรับรู้กำไรขาดทุนจากการตัด รายการตราสารทุนเผื่อขายในงบกำไร ขาดทุน ในย่อหน้า ที่ 6 . 5 . 7 . 2 ที่จะกล่าวถึง ต่อไป จะมีข้อกาหนดให้รับรู้ผลกาไรขาดทุน จากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงในกำไรขาดทุน กล่าวคือแม้ว่าตราสารทุนเผื่อขายจะรับรู้การ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 240 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ทางการเงินที่ไม่ใช่อนุพันธ์อาจเลือกกาหนดให้ เป็นเครื่องมือที่ ใช้ป้องกันความเสี่ยง ลงทุนในตราสารทุนซึ่งกิจการเลือกแสดงการเปลี่ยนแปลงมูลค่า ยุติธรรมในกาไรขาดทุนเ บ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 เปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก็ต้องนำผลกำไร ขาดทุนในส่วนที่ มีการป้องกันความเสี่ยงมา รับรู้ในกาไรขาดทุน (เช่น การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมในส่วนที่เกิดจากอัตรา แลกเปลี่ยน) - - ไม่มี - 6 . 5 . 3 หากรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็นตราสารทุนที่ กิจการเลือกที่จะแสดงการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมในกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ฐานะเปิดที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงตามที่อ้างอิงในย่อหน้าที่ 6 . 5 . 2 . 1 ต้องเป็นรายการที่ ส่งผลกระทบต่อกาไรขาดทุนเบ็ดเส ร็จอื่น เฉพาะในกรณีนี้เท่านั้น ให้แสดงความไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยงที่รับรู้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ยังคงมี การรับรู้กาไรขาดทุนจากการตัดรายการตรา สารทุนเผื่อขายในงบกำไรขาดทุน ดังนั้น ฐานะเปิดจะไม่ได้อยู่ในกำไรขาดทุน เ บ็ดเสร็จอื่นทั้งหมด 6 . 5 . 7 ตราบที่การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมยังคงเข้าเงื่อนไข ตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ให้กิจการถือปฏิบัติกับความสัมพันธ์ของ การป้องกันความเสี่ยง ดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 7 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความ เสี่ยงต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 7 . 2 ผลกำไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงของ รายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงต้องนาไปปรับปรุง กับมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ มี การป้องกันความ เสี่ยงนั้น (ถ้าสามารถปฏิบัติได้) และต้องรับรู้ในกาไร หรือขาดทุน ในกรณีที่รายการที่ มี การป้องกันความ เสี่ยงเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือเป็นส่วนประกอบ ของสินทรัพย์ทางการเงิน) ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า 6 . 5 . 8 ตราบที่การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมยังคงเข้า เงื่อนไขตามย่อหน้าที่ 6 . 4 . 1 ให้กิจการถื อปฏิบัติกับ ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง ดังต่อไปนี้ 6 . 5 . 8 . 1 ผลกาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน ความเสี่ยงต้องรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน (หรือ ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หากใช้เครื่องมือ ที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงในการป้องกันความ เสี่ยงตราสารทุนที่กิจการนั้นเลือกที่จะแสดง การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมในกาไร ขาดทุนเบ็ดเส ร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ) 6 . 5 . 8 . 2 ผลกำไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความ เสี่ยงของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ตัดการอ้างอิงการเลือกการกาหนดให้ตรา สารทุนแสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เนื่องจากในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ ยังคงมีการรับรู้กำไรขาด ทุนจากการตัด รายการตราสารทุนเผื่อขายในงบกำไร ขาดทุน จึงให้รับรู้ผลกาไรขาดทุนจากการ ป้องกันความเสี่ยงของรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงในกาไรขาดทุน หลักการนี้เป็นหลักการเดียวกับมาตรฐาน การรายงานทางการเงินระหว่างประเทศที่

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 241 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2 ให้รับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกัน ควำมเสี่ยงของรายการที่ มี การป้องกันความเสี่ยงใน กำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่รายการที่ มี การป้องกัน ความเสี่ยงนั้นเป็นสัญญาผูกมัดที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ (หรือส่วนประกอบของสัญญาผูกมัด) ผลสะสมของ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของรายการที่ มี การ ป้องกันความเสี่ยงนับตั้งแต่ การ เลือก กาหนดให้เป็น รายการที่การป้องกันความเสี่ยงให้รับรู้เป็นสินทรัพย์ หรือหนี้สิน พร้อมกับรับรู้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เป็นผลกาไรหรือขาดทุนในกาไรหรือขาดทุน ต้องนำไปปรับปรุงกับมูลค่าตามบัญชีของ รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงนั้น (ถ้า สามารถปฏิบัติได้) และต้องรับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุน ในกรณีที่รายการที่มีกำรป้องกัน ความเสี่ยงเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน (หรือ เป็นส่วนประกอบของสินทรัพย์ทางการเงิน) ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก ให้ รับรู้ผลกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกันความ เสี่ยงของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงใน กาไรหรือ ขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากรายการ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงเป็นตราสารทุนที่ กิจการเลือกที่จะแสดงการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่ายุติธรรมในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ผลกาไรหรือขาดทุนจาก การป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวต้องคงไว้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในกรณีที่ รายการที่ มีการป้องกันความเสี่ยงนั้นเป็นสัญญาผูกมัด ที่ยังไม่ได้รับรู้รายการ (หรือส่วนประกอบของ สัญญาผูกมัด) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของรายการที่มีการป้องกัน ความเสี่ยงนับตั้งแต่การเลือกกาหนดให้เป็น รายการที่การป้องกันความเสี่ยงให้รับรู้เป็น สินท รัพย์หรือหนี้สิน พร้อมกับรับรู้การ บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ใช้ ข้อยกเว้ นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 242 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นผลกาไรหรือขาดทุน ในกาไรหรือขาดทุน 6 . 5 . 14 . 3 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าตามเวลาของสิทธิ เลือกที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง แบบช่วงเวลาสัมพันธ์ต้องรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงนั้น และ ต้องสะสมในส่วนประกอบแยกต่างหำกของส่วนของเจ้าของ มูลค่าตามเวลา ณ วันที่มีการเลือกกำหนดให้สิทธิเลือกเป็น เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่กับรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงต้องตัดจำหน่ายอย่างเป็นระบบและ สมเหตุสมผลตลอดระยะเวลาที่การปรับปรุงการป้องกันความ เสี่ยงสาหรับมูลค่าที่แท้จริ งของสิทธิเลือกส่งผลกระทบต่อกาไร หรือขาดทุน ดังนั้น ในแต่ละรอบระยะเวลารายงาน จานวนเงินที่ ตัดจาหน่ายส่วนต้องจัดประเภทรายการใหม่จากส่วนประกอบ แยกต่างหากของส่วนของเจ้าของไปกาไรหรือขาดทุน โดยถือ เป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 1 ) อย่างไรก็ตาม หากมีการยกเลิกการบัญชี ป้องกันความเสี่ยงสาหรับความสัมพันธ์ของการป้องกันความ เสี่ยงที่มีการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือกเป็น เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง กิจการต้องจัดประเภทรายการ ใหม่ในทันทีสำหรับจำนวนเงินสุทธิ (กล่าวคือ รวมการตั ด จาหน่ายสะสม) ที่สะสมไว้ในส่วนประกอบแยกต่างหากของส่วน ของเจ้าของต้องไปยังกาไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรับปรุง การจัดประเภท รายการใหม่ ( ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) 6 . 5 . 15 . 3 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าตามเวลา ของสิทธิเลือกที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงรายกำรที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงแบบช่วงเวลาสัมพันธ์ต้องรับรู้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายการที่ มีการป้องกันความเสี่ยงนั้น และต้องสะสมใน ส่วนประกอบแยกต่างหากของส่วนของเจ้าของ มูลค่า ตามเวลา ณ วันที่มีการเลือกกาหนดให้สิทธิเลือกเป็น เครื่องมือที่ ใช้ป้องกันความเสี่ยงในส่วนที่กับรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงต้องตัดจาหน่ายอย่างเป็นระบบและ สมเหตุสมผลตลอดระยะเวลาที่การปรับปรุงการป้องกัน ความเสี่ยงสำหรับมูลค่าที่แท้จริงของสิทธิเลือกส่งผล กระทบต่อกาไรหรือขาดทุน (หรือกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น หากรายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงนั้นเป็นตราสาร ทุนที่กิจการเลือกที่จะแสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ) ดังนั้น ในแต่ละรอบ ร ะยะเวลารายงาน จานวนเงินที่ตัด จาหน่ายส่วนต้องจัดประเภทรายการใหม่จากส่วนประกอบ แยกต่างหากของส่วนของเจ้าข องไปกาไรหรือขาดทุน โดย ถือเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) อย่างไรก็ตาม หากมีการ ยกเลิกการบัญชีป้องกันความเสี่ยงสาหรับความสัมพันธ์ ของการป้องกันความเสี่ยงที่มีการ เ ปลี่ยนแปลงในมูลค่าที่ แท้จริงของสิทธิเลือกเป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ตัดการอ้างอิงการเลือกการกาหนดให้ตรา สารทุนแสดงการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เนื่องจากในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชี ฉบับ นี้ ยังคงมีการรับรู้กำไรขาดทุนจากการตัด รายการตราสารทุนเผื่อขำยในงบกำไร ขาดทุน จึงให้รับรู้ผลกาไรขาดทุนจากการ ป้องกันความเสี่ยงของรายการที่มีการ ป้องกันความเสี่ยงในกาไรขาดทุน หลักการนี้เป็นหลักการเดียวกับมาตรฐาน การรายงานทางการเงินระหว่างประเทศที่ บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ใช้ ข้อยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 243 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล กิจการต้องจัดประเภทรายการใหม่ในทันทีสาหรับจานวน เงินสุทธิ (กล่าวคือ รวมการตัดจาหน่ายสะสม) ที่สะสมไว้ ในส่วนประกอบแยกต่างหากของส่วนของเจ้าของต้องไป ยังกำไรหรือขาดทุน โดยถือเป็นการปรั บปรุงการจัด ประเภทรายการใหม่ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 ) 6 . 7 . 3 . 2 เครื่องมือทางการเงินที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิตไม่ได้ กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน หากไม่มีการเลือกกาหนดดังกล่าว 6 . 7 . 3 . 2 เครื่องมือทางการเงินที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิต ไม่ได้กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรื อขาดทุนหากไม่มีการเลือกกำหนดดังกล่าว (กล่าวคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโมเดลธุรกิจของกิจการ ในขณะนี้ ดังนั้นจึงต้องมีการจัดประเภทรายการใหม่ ตามย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 ) ตัดการอ้างอิงโมเดลธุรกิจ เนื่องจากไม่ได้ใช้ กับการจัดประเภทรายการตามแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ 8 . 3 กิจการต้องเปิดเผยมูลค่าตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินแต่ ละประเภทในงบแสดงฐานะการเงินหรือในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ตามที่กำหนดในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ดังต่อไปนี้ 8 . 3 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แยกแสดงร ะหว่าง ( 1 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการกาหนดให้วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนในการรับรู้ รายการเมื่อเริ่มแรกหรือในภายหลังตามที่กาหนดใน ย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และ ( 2 ) เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เพื่อค้าและสินทรัพย์ทางการเงินที่กาหนดให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุ ติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุนตามที่ กาหนดในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 8 กิจการต้องเปิดเผยมูลค่าตามบัญชีของเครื่องมือทาง การเงินแต่ละประเภทในงบแสดงฐานะการเงินหรือใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ตามที่กาหนดในมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 ดังต่อไปนี้ 8 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แ ยกแสดง ระหว่าง ( 1 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการ กำหนดให้ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรหรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือในภายหลังตามที่กำหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ ( 2 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่ มาตรฐานการราย งานทางการเงิน ฉบับที่ 9 กาหนดคานิยามเพื่อให้สอดคล้องกับการจัด ประเภทตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ อย่างไรก็ตามโดย หลักการแล้วไม่มีความแตกต่างกับนิยาม ตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 7 อย่างมีสาระสาคัญ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 244 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 8 . 3 . 2 หนี้สินทางการเงินที่วัด มูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน กาไรหรือขาดทุน โดยให้แยกแสดงระหว่าง ( 1 ) หนี้สิน ทางการเงินที่กิจการกำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่าน กำไรหรือขาดทุนในการรับรู้รายการเมื่อ เริ่มแรกหรือในภายหลังตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และ ( 2 ) หนี้สินทางการเงินที่เป็นไปตามคานิยามการ ถือไว้เพื่อ ค้าในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ 8 . 3 . 3 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่าย 8 . 3 . 4 หนี้สินทางกำรเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจาหน่าย 8 . 3 . 5 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยให้แยก แสดง ระหว่าง ( 1 ) เงินลงทุนในตราสารหนี้ และ ( 2 ) เงิน ลงทุนในตราสารทุน ตามที่กำหนดในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุน 8 . 2 - 8 . 4 ( ย่อหน้าเหล่านี้ไม่ใช้ ) 8 . 5 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือขาดทุน โดยให้แยกแสดงระหว่าง ( 1 ) หนี้สินทางการเงินที่กิจการกาหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน ในการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกหรือในภายหลัง ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 ของมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ ( 2 ) หนี้สินทางการเงินที่เป็นไปตามคานิยามการถือ ไว้เพื่อค้าในมำตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 8 . 6 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่าย 8 . 7 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่าย 8 . 8 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นโดยให้ แยกแสดงระหว่าง ( 1 ) สินทรัพย์ทางการเงินที่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ ( 2 ) เงินลงทุนในตราสารทุนที่กิจการ กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 245 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในการรับรู้ รายการเมื่อ เริ่มแรกตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 - - ไม่มี - เงินลงทุนในตราสารทุนที่กำหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 11 ก ในกรณีที่กิจการกำหนดให้เงินลงทุนในตราสารทุนวัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามที่อนุญาตในย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้ 11 ก . 1 เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งกิจการกาหนดให้วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น 11 ก . 2 เหตุผลของการใช้ทางเลือกในการแสดงรายการ ดังกล่าว 11 ก . 3 มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าวแต่ละ รายการ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 11 ก . 4 เงินปันผลที่รับรู้ในระหว่างรอบระยะเวลา รายงานโดยให้แยกแสดงเงินปันผลที่เกี่ยวข้อง กับเงินลงทุนที่ถูก เลิกรับรู้ ในระหว่างรอบ ระยะเวลารายงานออกจากเงินปันผลที่เกี่ยวข้อง กับเงินลงทุนที่ถือไว้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน กาหนดการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 24 6 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 11 ก . 5 การโอนผลสะสมของกาไรหรือขาดทุนภายใน ส่วนของเจ้าของในระหว่างรอบระยะเวลา รายงาน รวมทั้งเหตุผลของการโอนดังกล่าว 11 ข ในกรณีที่กิจการ เลิกรับรู้ เงินลงทุนใ นตราสารทุนที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน ระหว่างรอบระยะเวลารายงาน กิจการต้องเปิดเผยข้อมูล ต่อไปนี้ 11 ข . 1 เหตุผลของการจาหน่ายเงินลงทุนดังกล่าว 11 ข . 2 มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ณ วันที่ เลิกรับรู้ รายการ 11 ข . 3 ผลสะสมของกาไรหรือขาดทุนจากการจาหน่าย รายการดังกล่าว 8 . 7 ก. 2 คาอธิบายเชิงคุณภาพของผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ 12 ข. 2 คาอธิบาย อย่างละเอียดของการเปลี่ยนแปลงโมเดลธุรกิจ ( business model ) แ ล ะ คำ อ ธิ บำ ย เ ชิ ง คุ ณ ภำ พ ของ ผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ กาหนดการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 ซึ่ง ไม่ได้อ้างอิงหลักการของโมเดลธุรกิจในการ จัดประเภทตราสารการเงิน 8 . 7 ง กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลสาหรับการขายหรือการโอนเปลี่ยน ประเภทตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ดังต่อไปนี้ 8 . 7 ง. 1 จานวนต้นทุนตัดจาหน่ายของหลักทรัพย์ที่มีการขาย หรือการโอนเปลี่ยน 8 . 7 ง. 2 จานวนรวมของรายการกาไรหรือขาดทุนสุทธิที่ เ กิดขึ้น 8 . 7 ง. 3 จานวนรวมของรายการกาไรหรือขาดทุนสุทธิที่ยัง ไม่เกิดขึ้น - ไม่มี - กาหนดการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 247 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 8 . 7 ง. 4 สถานการณ์อาจทาให้กิจการต้องเปลี่ยนความตั้งใจที่ จะถือตราสารหนี้ไปจนครบกาหนดโดยที่ไม่ จา เป็นต้อง ทบทวนความตั้งใจที่จะถือตราสารหนี้รายการอื่นไปจน ครบกำหนด ตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ของแนวปฏิบัติ ทำงการบัญชีฉ บับนี้ ที่ทาให้กิจการขายหรือโอนเปลี่ยน ตราสารนั้น 8 . 15 . 1 ผลกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากรายการต่อไปนี้ 8 . 15 . 1 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่วัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน โดย ให้แยกแสดงระหว่างผลกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่ เกิดจากสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน ที่กาหนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไร หรือขาดทุนในการรับรู้รายกำรเมื่อเริ่มแรก หรือใน ภายหลังตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 และผล กาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากสินทรัพย์ทาง การเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ต้องวัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่กาหนด ในแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ (เช่น หนี้สินทาง การเงินที่ เป็นไปตามคานิยามถือไว้เพื่อค้าในแนว ปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้) สำหรับหนี้สินทาง การเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน กิจการต้องแยกแสดงระหว่างผลกาไรหรือ ขาดทุนที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและจานวน เงินที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 20 . 1 ผลกา ไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากรายการต่อไปนี้ 20 . 1 . 1 สินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุน โดยให้แยกแสดงระหว่างผลกาไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงินที่กำหนดให้วัดมู ลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนในการ รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก หรือในภายหลังตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 6 . 7 . 1 ของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และผลกาไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิที่เกิดจากสินทรัพย์ทางการเงิน หรือหนี้สินทางการเงินที่ต้องวัดมูลค่าด้วยมู ลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุนตามที่กาหนดใน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 ( เช่น หนี้สินทางการเงินที่เป็นไปตามคานิยาม ถือไว้เพื่อค้าในมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 9 ) สาหรับหนี้สินทางการเงินที่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือ ขาดทุนกิจการต้อ งแยกแสดงระหว่างผลกาไร กาหนดการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทตามย่อ หน้าที่ 4 . 1 . 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 248 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล 8 . 15 . 1 . 2 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่าย 8 . 15 . 1 . 3 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด 8 . 15 . 1 . 4 เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขาย 8 . 15 . 1 . 5 หลักทรัพย์เผื่อขายตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 3 โดยแยกแสดงระหว่างผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในระหว่างรอบระยะเวลา รายงานและผลกำไรหรือขาดทุนที่จัดประเภท รายการใหม่จากกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสะสมไป ยังกาไรหรือ ขาดทุนสาหรับรอบระยะเวลารายงานเมื่อ มีการตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงิน หรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และจานวนเงินที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 20 . 1 . 2 - 20 . 1 . 4 ( ย่อหน้าเหล่านี้ไม่ใช้ ) 20 . 1 . 5 หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่าย 20 . 1 . 6 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัด จาหน่ำย 20 . 1 . 7 เงินลงทุนในตราสารทุนที่กาหนดให้วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นตามที่กำหนดในย่อหน้ ำที่ 5 . 7 . 5 ของ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 20 . 1 . 8 สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก ของมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับที่ 9 โดยแยกแสดง ระหว่างผลกาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน และผลกาไรหรือขาดทุนที่จัดประเภทรายการ ใหม่จากกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสะสมไปยัง กาไรหรือขาดทุนสาหรับรอบระยะเวลารายงาน เมื่อมีการ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์ทางการเงิน คานิยาม กาหนดคานิยามเพิ่มเติมสาหรับคาว่า “ เงินลงทุน ” “ หลักทรัพย์ เพื่อค้า ” “ หลักทรัพย์เผื่อขาย ” “ ตราสารหนี้ที่ถือจนครบ กาหนด ” - ไม่มี - เพื่อกำหนดคำนิยามของคำที่ใช้ในแนว ปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ ในมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มีนิยามของ

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 249 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล “ การถือไว้เพื่อค้า ” ตามที่กล่าวไปแล้วใน ย่อหน้า ที่ 4 . 1 . 3 ข้างต้น ข 3 . 1 . 6 วันจ่ายชาระ คือ วันที่สินทรัพย์ถูกส่งมอบแก่หรือส่งมอบโดย กิจการ การบัญชีวันชำระ ณ วันจ่ายชำระจะเกี่ยวข้องกับ ( 1 ) การรับรู้สินทรัพย์ในวันที่กิจการได้รับสินทรัพย์นั้น และ ( 2 ) การตัดรายการสินทรัพย์และรับรู้กาไรหรือขาดทุนใดๆ จาก การขาย ในวันที่กิจการได้ส่งมอบสินทรัพย์ เมื่อการบัญชีวัน ชำระถูกนำมาถือปฏิบัติ ให้กิจการบันทึกบัญชีสำหรับการ เปลี่ยนแปลงใดๆ ในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่จะได้รับ ระหว่างวันซื้อขายและวันจ่ายชาระในลักษณะเดีย วกับการบันทึก บัญชีสำหรับสินทรัพย์ที่ได้มา กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่าจะไม่ถูกรับรู้สาหรับสินทรัพย์ที่ใช้ราคาทุนตัดจาหน่าย แต่ รับรู้ในกำไรหรือขาดทุนสำหรับสินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็น สินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือ ขาดทุน และรับรู้ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับสินทรัพย์ ทางการเงินที่วัดมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 2 . 1 . 2 วันจ่ายชำระ คือ วันที่สินทรัพย์ถูกส่งมอบแก่หรือส่งมอบโดย กิจการ การบัญชีวันชำระ ณ วันจ่ายชำระจะเกี่ยวข้องกับ ( 1 ) การรับรู้สินทรัพย์ในวันที่กิจการได้รับสินทรัพย์นั้น และ ( 2 ) การ เลิกรับรู้ รายการสินทรัพย์และรับรู้กาไรหรือขาดทุนใดๆ จาก การขาย ในวันที่กิจการได้ส่งมอบสินทรัพย์ เมื่อการบัญชีวันชาระ ถูกนามาถือปฏิบัติ ให้กิจการบันทึกบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลง ใดๆ ในมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่จะได้รับระหว่างวันซื้อขาย และวันจ่ายชำระในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสำหรับ สินทรัพย์ที่ได้มา กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะไม่ถูกรับรู้ สำหรับสินทรัพย์ที่ใช้ราคาทุนตัดจำหน่าย แต่รับรู้ในกำไรหรือ ขาดทุนสาหรับสินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นสินทรัพย์ ทางการเงินที่ แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรหรือขาดทุน และรับรู้ในกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่า ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก และสาหรับเงินลงทุนในตราสารทุนที่บันทึกบัญชีตามที่ กาหนดในย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 ปรับปรุงถ้อยคา โดยหลักการยังคงเหมือน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 คือทั้งตราสารหนี้และตราสารทุนที่วัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรขา ดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ให้รับรู้การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมระหว่างวันที่ซื้อขาย และวันที่ จ่ายชาระ ในกาไรขาด ทุนเบ็ดเสร็จอื่น ข 3 . 2 . 15 ในกรณีที่การโอนสินทรัพย์ทางการเงินไม่เข้าเงื่อนไขเป็นการตัด รายการผู้รับโอนไม่ต้องรับรู้สินทรัพย์ที่โอนเป็นสินทรัพย์ของตน ผู้รับโอนต้องตัดรายการเงินสดหรือสิ่งตอบแทนจ่ายอื่น และรับรู้ ลูกหนี้ที่เกิดจากผู้โอน หากผู้โอนมีทั้งสิทธิและภาระผูกพันในการ ซื้อการควบคุม ในสินทรัพย์ที่โอนทั้งจำนวนกลับคืนมาด้วย จานวนเงินที่แน่นอน (เช่น ภายใต้สัญญาซื้อคืน) ผู้รับโอนอาจวัด มูลค่าลูกหนี้โดยใช้ราคาทุนตัดจาหน่าย ในกรณีที่การโอนสินทรัพย์ทางการเงินไม่เข้าเงื่อนไขเป็นการ เลิกรับรู้ รายการผู้รับโอนไม่ต้องรับรู้สินทรัพย์ที่โอนเป็นสินทรั พย์ของตน ผู้รับโอนต้อง เลิกรับรู้ รายการเงินสดหรือสิ่งตอบแทนจ่ายอื่น และ รับรู้ลูกหนี้ที่เกิดจากผู้โอน หากผู้โอนมีทั้งสิทธิและภาระผูกพันใน การซื้อการควบคุมในสินทรัพย์ที่โอนทั้งจำนวนกลับคืนมาด้วย จานวนเงินที่แน่นอน (เช่น ภายใต้สัญญาซื้อคืน) ผู้รับโอนอาจวัด ตัดการอ้างอิงถึงย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 เนื่องจาก การจัดประเภทรายการในแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีฉบับนี้ไม่ได้ใช้หลักการ ประเมินโมเดลธุรกิจ และกระแสเงินสดซึ่ง เป็นการจ่ายเพียงเงินต้นและดอกเบี้ยจาก ยอดค งเหลือของเงินต้นในวันที่กาหนดไว้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 250 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล มูลค่า ลูกหนี้โดยใช้ราคาทุนตัดจาหน่าย ถ้าเข้าเงื่อนไขที่ระบุในย่อ หน้าที่ 4 . 1 . 2 - - ไม่มี - โมเดลธุรกิจของกิจการในการจัดการสินทรัพย์ทางการเงิน ข 4 . 1 . 1 ย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 1 กำหนดให้กิจการจัดประเภท สินทรัพย์ทางการเงินตามโมเดลธุรกิจของกิจการในการ จัดการสินทรัพย์ทางการเงิน เว้นแต่เป็นไปตามที่กาหนด ในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ในการประเมินว่าสินทรัพย์ทางการ เงินของกิจการมีลักษณะเป็นไปตามข้อกาหนดในย่อ หน้าที่ 4 . 1 . 2 . 1 หรือย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 ก. 1 หรือไม่ ให้กิจการพิจารณาจากโมเดลธุรกิจซึ่งกำหนดโดย ผู้บริหารสาคัญของกิจการ (ตามคานิยามในมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 24 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน) ข 4 . 1 . 2 - ข 4 . 1 . 6 ตัดออกเนื่องจากแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ไม่ได้ใช้หลักการประเมินโมเดลธุรกิจ - - ไม่มี - กระแสเงินสดตามสัญญาซึ่งเป็นการจ่ายเพียงเงินต้นและ ดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือของเงินต้น ข 4 . 1 . 7 ย่อหน้าที่ 4 . 1 . 1 . 2 กำหนดให้กิจการจัดประเภท สินทรัพย์ทางการเงินบนพื้นฐานของลักษณะของกระแส เงินสดตามสัญญา ถ้าสินทรัพย์ทางการเงินเกิดขึ้นภายใต้ โมเดลธุรกิจของกิจการที่มีวัตถุประสงค์ที่จะถือสินทรัพย์ เพื่อรับกระแสเงินสดตามสัญญา หรือภายใต้โมเดลธุรกิจ ของกิจการที่มีวัตถุประสงค์ทั้งที่ จะถือสินทรัพย์เพื่อรับ กระแสเงินสดตามสัญญาและขายสินทรัพย์ทางการเงิน ถ้าไม่ได้ถือปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 4 . 1 . 5 ในการกระทา เช่นนั้น เงื่อนไขในย่อหน้าที่ 4 . 1 . 2 . 2 และ 4 . 1 . 2 ก. 2 ตัดออกเนื่องจากแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้ไม่ได้ใช้หลักการประเมินกระแส เงินสดซึ่งเป็นการจ่ายเพียงเงินต้นและ ดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือของเงินต้นในวันที่ กาหนดไว้

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 251 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล กาหนดให้กิจการพิจารณาว่ากระแสเงินสดตามสัญญา ของสินทรัพย์เป็นการจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ยจากยอ ด คงเหลือของเงินต้น ข 4 . 1 . 7 ก – ข 4 . 1 . 26 ข 4 . 3 . 1 เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาของสัญญาแบบผสม ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 2 กำหนดให้กิจการต้องระบุอนุพันธ์แฝงนั้น และประเมินว่า จำเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลักหรือไม่ ในกรณีที่ จำเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลัก กิจการต้องวัดมูลค่า อนุพันธ์ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกและ วัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรห รือขาดทุน ข 4 . 3 . 1 เมื่อกิจการเข้าเป็นคู่สัญญาของสัญญาแบบผสมที่สัญญา หลักไม่ได้เป็นสินทรัพย์ที่อยู่ในขอบเขตของมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับนี้ ย่อหน้าที่ 4 . 3 . 3 กาหนดให้กิจการต้องระบุอนุพันธ์แฝงนั้น และประเมิน ว่าจาเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลักหรือไม่ ในกรณี ที่จาเป็นต้องแยกแสดงจากสัญญาหลัก กิจการต้องวัด มูลค่าอนุพันธ์ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รับรู้รายการ เมื่อเริ่มแรกและวัดมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่านกาไรหรือ ขาดทุน ตัดคาว่าสัญญาผสมที่สัญญาหลักไม่ได้เป็น สินทรัพย์ที่อยู่ในขอบเขตมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับนี้ออก เพราะแนว ปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ไม่ได้ใช้หลักการ ประเมินโมเดลธุรกิจและลักษณะกระแสเงิน สดทั้งสัญญาของสัญ ญำผสม แต่ใช้หลักการ แยกอนุพันธ์แฝง ซึ่งเป็นหลักกา รเดียวกับ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน ระหว่าง ประเทศที่บริษัทประกันภัยในต่างประเทศที่ ใช้ข้อยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เป็นการ ชั่วคราวใช้ - - ไม่มี - ข 4 . 4 . 1 ย่อหน้าที่ 4 . 4 . 1 กาหนดให้กิจการจัดประเภทรายการ ใหม่สาหรับสินทรัพย์ทางการเงิน หากโมเดลธุรกิจใน การจัดการสินทรัพย์ทางการเงินเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคาดว่าจะไม่เกิดขึ้นบ่อย ผู้บริหารระดับสูงของกิจการกาหนดการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวโดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทั้ งภายในและ ภายนอก ซึ่งมีนัยสาคัญต่อการดาเนินงานของกิจการ และสามารถพิสูจน์แก่บุคคลภายนอกได้ ดังนั้นการ เปลี่ยนแปลงในโมเดลธุรกิจของกิจการจะเกิดขึ้นได้ก็ ตัดออกเนื่องจากแนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับ นี้ไม่ได้ใช้หลักการประเมินโมเดลธุรกิจในการ จัดประเภทรายการสินทรัพย์ทางการเงิน

แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 50 / 25 65 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 252 ย่อหน้าที่ แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลสาหรับธุรกิจประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เหตุผล ต่อเมื่อกิจการเริ่มต้นหรือสิ้นสุดสภาพในการดำเนิน กิจกรรมที่มีนัยสาคัญต่อการดาเนินงานของกิจการ เช่น เมื่อกิจการซื้ อ จาหน่ายหรือยกเลิกกลุ่มธุรกิจ ตัวอย่าง ของการเปลี่ยนแปลงในโมเดลธุรกิจรวมถึงรายการ ต่อไปนี้ - - ไม่มี - ข 5 . 7 . 1 ย่อหน้าที่ 5 . 7 . 5 อนุญาตให้กิจการสามารถเลือกแสดง การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมของการลงทุนใน ตราสารทุนที่ไม่ได้ถือไว้เพื่อค้า ไว้ในกำไรขาดทุน เ บ็ดเ ส ร็จ อื่น โ ดยเ มื่อเ ลื อกแล้ วจ ะไม่สำมารถ เปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชีได้อีก และให้เลือกนี้วิธีการเป็น รายตราสาร (หรือรายหุ้น) ทั้งนี้ จาน วนเงินที่แสดงใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จะไม่สามารถโอนไปเป็นกาไร หรือขาดทุนในภายหลัง อย่างไรก็ดี กิจการอาจโอนผล สะสมของกาไรหรือขาดทุนภายในส่วนของเจ้าของได้ เงินปันผลจากการลงทุนดังกล่าว จะรับรู้ในกาไรหรือ ขาดทุน ตามย่อหน้าที่ 5 . 7 . 6 เว้นแต่เงินปันผลดังกล่าว จะแสด งอย่างชัดเจนว่าเป็นการได้รับคืนของต้นทุน การลงทุน ตัดออกเนื่องจากแนวปฏิบัติทางการบัญชี ฉบับนี้กาหนดให้ตราสารหนี้และตราสารทุน ที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการถือครอง แน่นอน ต้องจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์ เผื่อขาย