Mon Nov 28 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เรื่อง แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570


ประกาศคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เรื่อง แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570

ประกาศคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เรื่อง แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570 โดยที่พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 กาหนดให้มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจซึ่งมีระยะเวลาครั้งละห้าปี เพื่อกาหนดเป้าหมาย นโยบาย และ ทิศทางในการพัฒนารัฐวิสาหกิจให้สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ โดยอย่างน้อยให้คำนึงถึงหลักวินัยการเงินการคลังของประเทศ ภารกิจของรัฐวิสาหกิจในบริบท ที่เปลี่ยนแปลง และบทบาทหน้าที่ของรัฐวิสาหกิจที่มีต่อการพัฒนาประเทศ โดยให้คณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจจัดทาแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็ นชอบ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป อาศัยอานาจตามความในมาตรา 10 มาตรา 22 และมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติ การพัฒนาการกากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจจึงออก ประกาศ เรื่อง แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570 ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เรื่อง แผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570 ” ข้อ 2 แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570 มีสาระสำคัญตามที่แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 3 ให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจดำเนินการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 - 2570 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 6 5 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 277 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 – 2570 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ

สารบัญ หน้า 1 . บทนา 1 2 . พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 2 3 . ควำมสอดคล้องของ นโยบายและแผนของภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจ 3 3 . 1 ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ.ศ. 2561 – 2580 ) 3 3 . 2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 3 3 . 3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 4 3 . 4 แผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ 5 4 . หลักเกณฑ์ การเสนอ กรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 6 5 . วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายในภาพรวมข องแผน 7 6 . บทบาทของรัฐวิสาหกิจ 9 7 . ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ภายใต้ 13 หมุดหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 10 หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง 11 หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่ เน้นคุณภาพและความยั่งยืน 14 หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก 16 หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง 19 หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค 22 หมุดหมำยที่ 6 ไทยเป็น ศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและอุตสาหกรรม ดิจิทัลของอาเซียน 25 หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถ แข่งขันได้ 27 หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติ บโตได้อย่างยั่งยืน 30 หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม 32 หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ํา 35 หมุดหมายที่ 11 ไ ทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 39 หมุดหมายที่ 12 ไ ทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนา แห่งอนาคต 42 หมุดหมายที่ 13 ไท ยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน 45

หน้า 8 . ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ รายสาขา 8 .1 สาขาขนส่ง 8 .2 สาขาพลังงาน 8 .3 สาขาสาธารณูปการ 8 .4 สาขาสถาบันการเงิน 8 .5 สาขาสื่อสาร 8 .6 สาขาเกษตร 8 .7 สาขาทรัพยากรธรรมชาติ 8 .8 สาขาสังคมและเทคโนโลยี 8 .9 สาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม 49 49 53 57 62 66 70 74 77 81 9 . การกำกับและรายงาน ผลการดำเนินการตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ 85 10 . ปัจจัยสู่ความสำเร็จและประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินการตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ 86

รายชื่อรัฐวิสาหกิจจำนวน 52 แห่ง รัฐวิสาหกิจ ชื่อย่อ รัฐวิสาหกิจ ชื่อย่อ สาขาขนส่ง สาขาสื่อสาร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กทพ. บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จํากัด (มหาชน) บมจ. การรถไฟแห่งประเทศไทย รฟท. เอ็นที การรถไฟฟูาขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย รฟม. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด ปณท องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ขสมก. บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) บมจ. บริษัท ขนส่ง จํากัด บขส. อสมท การท่าเรือแห่งประเทศไทย กทท. สาขา เกษตร บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ทอท. องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ.ส.ค. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด บวท. องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร อ.ต.ก. สถาบันการบินพลเรือน สบพ. องค์การสะพานปลา อสป. สาขาพลังงาน การยางแห่งประเทศไทย กยท . บริษัท ปตท . จํากัด (มหาชน) ปตท. องค์การคลังสินค้า อคส. การไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทย กฟผ. สาขาทรัพยากรธรรมชาติ การไฟฟูานครหลวง กฟน. องค์การอุตสาหกรรมปุาไม้ อ.อ.ป. การไฟฟูาส่วนภูมิภาค กฟภ. องค์การสวนพฤ ก ษศาสตร์ อ.ส.พ. สาขาสาธารณูปการ องค์การสวนสั ตว์ แห่ งประเทศไทย อสส. การประปานครหลวง กปน. ในพระบรมราชูปถัมภ์ การประปาส่วนภูมิภาค กปภ. สาขาสังคมและเทคโนโลยี องค์การจัดการน้ําเสีย อจน. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ททท. การเคหะแห่งชาติ กคช. การกีฬาแห่งประเทศไทย กกท. บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จํา กัด ธพส. องค์การเภสัชกรรม อภ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กนอ. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ อพวช. สถาบันวิจัยวิทยาศำสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย วว.

รายชื่อรัฐวิสาหกิจจำนวน 52 แห่ง (ต่อ) รัฐวิสาหกิจ ชื่อย่อ รัฐวิสาหกิ จ ชื่อย่อ สาขาสถาบันการเงิน สาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ธนาคารออมสิน ออมสิน การยาสูบแห่งประเทศไทย ยสท. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธอส. โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต โรงงานไพ่ฯ ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร ธ.ก.ส. องค์การสุรา กรมสรรพสามิต องค์การ สุราฯ ธ นาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้า แห่งประเทศไทย ธสน. สํานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สํานักงาน สลากฯ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ธอท. โรงพิมพ์ตํารวจ สํานักงานตํารวจแห่งชาติ โรงพิมพ์ฯ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนำดกลาง ธพว. บริษัท อู่กรุงเทพ จํากัด บอท. และขนาดย่อมแห่งประเทศไท ย องค์การตลาด อต. บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม บสย. บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จํากัด สรท. สํานักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนา สังคมและสวัสดิการ สธค. บริษัทบริหารสินทรัพย์ ธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทย จํากัด บสอ.

1 . บทนำ พระราชบัญญัติการพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 (พ.ร.บ. พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ) มาตรา 22 กําหนดให้มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจซึ่งมีระยะเวลาครั้งละห้าปี เพื่อกําหนดเปูาหมาย นโยบาย และทิศทางในการพัฒนารัฐวิสาหกิจให้สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ โดยอย่างน้อย ให้คํานึงถึงหลักวินัยการเงินการคลังของประเทศ ภารกิจของรัฐวิสาหกิจในบริบทที่เปลี่ยนแปลง และบทบาท หน้าที่ของรัฐวิสาหกิจที่มีต่อการพัฒนาประเทศ และมาตรา 23 กําหนดให้คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (คนร.) กําหนดแนวทางให้กระทรวงเจ้าสังกัดของรัฐวิสาหกิจเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทาง การลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ คนร. กําหนดให้มีการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2566 – 2570 (แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ) เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานให้สามารถบรรลุเปูาหมายของประเทศได้ โดยให้สํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และกระทรวงเจ้าสังกัด หารือร่วมกัน เพื่อกําหนดทิศทางและเปูาหมายการพัฒนารัฐวิสาหกิจต่อไป ทั้งนี้ คนร. ได้เห็นชอบหลักเกณฑ์ การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ (หลักเกณฑ์ฯ) เพื่อให้กระทรวง เจ้าสังกัดกําหนดกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ (กรอบนโยบายฯ) ที่ชัดเจน คนร. ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2563 มีมติแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ (คณะอนุกรรมการจัดทําแผนฯ) โดยมีหน้าที่จัดทําร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ ระยะ 5 ปี เพื่อกําหนดเปูาหมาย นโยบาย และทิศทางในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการจัดทําแผนฯ ได้พิจารณากรอบนโยบายฯ พร้อมทั้งหารือกับกระทรวงเจ้าสังกัด และจัดทําร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ รวมถึง ได้มีการจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เพื่อให้สามารถมั่นใจได้ว่าแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจฯ จะสามารถผลักดันและสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และกระทรวง เจ้าสังกัด รวมถึงรัฐวิสาหกิจสามารถนําไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้ ต่อมา คนร. ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2565 ได้มีมติเห็นชอบ แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ และให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเพื่อให้รัฐวิสาหกิจนําแผนดังกล่าวไปใช้ในการจัดทําแผนวิสาหกิจและแผนปฏิบัติการประจําปีต่อไป

  • 2 - 2 . พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 พ.ร.บ. พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้ มาตรา 22 ให้มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจซึ่งมีระยะเวลาครั้งละห้าปี เพื่อกําหนดเปูาหมาย นโยบาย และทิศทางในการพัฒนารัฐวิสาหกิจให้สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ โดยอย่างน้อย ให้คํานึงถึงหลักวินัยการเงินการคลังของประเทศ ภารกิจของรัฐวิสาหกิจในบริบทที่เปลี่ยนแปลงและบทบาท หน้าที่ของรัฐวิสาหกิจที่มีต่อการพัฒนาประเทศ มาตรา 23 ในการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจตามมาตรา 22 ให้ คนร. กําหนดแนวทาง ให้กระทรวงเจ้าสังกัดของรัฐวิสาหกิจเสนอกรอบนโยบายฯ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ คนร. กําหนด มาตรา 24 ให้ คนร. เสนอแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจที่จัดทําต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป ในกรณีที่สภาพการณ์เปลี่ยนแปลงหรือมีความจําเป็นอย่างยิ่ง คนร. อาจพิจารณาปรับปรุงแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจก็ได้ ทั้งนี้ เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อได้มีการประกาศแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจดําเนินการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจนั้น มาตรา 25 ให้รัฐวิสาหกิจจัดทําแผนวิสาหกิจที่มีกรอบระยะเวลาห้าปี และแผนปฏิบัติการประจําปี โดยต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ เสนอต่อสํานักงานตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานกําหนด ให้สํานักงานรายงานผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจําปีของรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่ง เสนอต่อ คนร. มาตรา 26 ให้สํานักงานจัดทําผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ เสนอต่อ คนร. ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ คนร. กําหนด เมื่อครบกําหนดสามปีนับแต่วันประกาศใช้แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ ให้ คนร. จัดทํารายงานผล การดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ และเปิดเผยต่อสาธารณชนด้วย มาตรา 27 การกําหนดนโยบายต่อรัฐวิสาหกิจเป็นรายกรณีที่ไม่สอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจนั้นจะดําเนินการมิได้ เว้นแต่จะได้มีการแก้ไขหรือปรับปรุงแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจแล้ว

  • 3 - 3 . ความสอดคล้องของนโยบายและแผนของภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจ แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจ โดยในการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ได้มีการพิจารณาความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ รวมถึงนโยบายของรัฐมาประกอบการพิจารณา โดยสามารถสรุปแผนต่างๆ ข้างต้นได้ดังนี้ 3.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 กําหนดให้รัฐพึงจัดให้มี ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเปูาหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทํา แผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน ซึ่งเป็นที่มาของการจัดทํายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของรัฐบาล ซึ่งมีวิสัยทัศน์ คือ “ ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ คือ 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 3.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2680) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) เป็นแผนที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) มีการกําหนดประเด็นและเปูาหมายต่างๆ ที่มีการบูรณาการและเชื่อมโยงระหว่าง ยุทธศาสตร์ชาติในด้านที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ทั้งนี้ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) มีจํานวนทั้งสิ้น 23 ฉบับ ได้แก่ 1) ความมั่นคง 2) การต่างประเทศ 3) การเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) พื้นที่ และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) พลังทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาคและหลักประกัน ทางสังคม 18) การเติบโตอย่างยั่งยืน 19) การบริหารจัดการน้ําทั้งระบบ 20) การบริการประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐ 21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรม และ 23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม

  • 4 - 3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 เป็นแผนที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยมีองค์ประกอบที่สําคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม 2) สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค 3) วิถีที่ยั่งยืน และ 4) ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉม ประเทศ และมีประเด็นการพัฒนาที่มีความสําคัญต่อการพลิกโฉมประเทศ 13 หมุดหมาย ดังนี้ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและอุตสาหกรรมดิจิทัล ของอาเซียน หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถ แข่งขันได้ หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ํา หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนา แห่งอนาคต หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน

  • 5 - ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) กับ 13 หมุดหมายของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 3.4 แผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ นอกจากยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แล้ว ในการจัดทําแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจฯ ได้มีการนําแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เช่น แผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 – 2570 แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟูาของประเทศ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. 2561 – 2580 แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2566 – 2570 รวมถึง นโยบายภาครัฐในด้านต่างๆ และนโยบายของกระทรวงเจ้าสังกัดในการพัฒนาและทิศทางการลงทุน ของรัฐวิสาหกิจในกํากับมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ด้วย อนึ่ง แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ได้มีการกําหนดบทบาทหน้าที่ของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจ สําหรับรัฐวิสาหกิจ 52 แห่ง ภายใต้ พ.ร.บ. พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ซึ่งเมื่อพิจารณาความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 รวมถึงแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ พบว่า แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ มีความหลากหลายและสามารถนํามาใช้เชื่อมโยงกับแผนต่างๆ ข้างต้นเพื่อผลักดัน ให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการให้บรรลุเปูาหมายของประเทศได้ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ . ศ . 2561 - 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกัน ทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ ชาติ ระยะ 20 ป แผนพัฒน์ ฉบับ ที่ 13 หมุดหมายที่ 1 หมุดหมายที่ 2 หมุดหมายที่ 3 หมุดหมายที่ 4 หมุดหมายที่ 5 หมุดหมายที่ 6 หมุดหมายที่ 7 หมุดหมายที่ 8 หมุดหมายที่ 9 หมุดหมายที่ 10 หมุดหมายที่ 11 หมุดหมายที่ 12 หมุดหมายที่ 13 เกษตรและ เกษตร แปรรูป ท่องเที่ยว ยานยนต์ไฟฟ้า การแพทย์ และ บริการสุขภาพ การค้า การลงทุน และโลจิ สติกส์ อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะและ อุตสาหกรรม ดิจิทัล SMEs พื้นที่ และเมือง ความยากจน ข้ามรุ่นและ ความคุ้มครอง ทางสังคม เศรษฐกิจ หมุนเวียน และสังคม คาร์บอนต่า ลดความเสี่ยง จาก ภัยธรรมชาติ กาลังคน ภาครัฐ 5

  • 6 - 4 . หลักเกณฑ์การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ คนร. ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2564 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2564 ได้มีมติเห็นชอบหลักเกณฑ์ การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้กระทรวงเจ้าสังกัด เสนอนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับมาเพื่อประกอบการจัดทําแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจฯ โดยหลักเกณฑ์ดังกล่าวสรุปได้ 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 กรอบนโยบายการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับ ส่วนที่ 2 ทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ ขั้นตอนการเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุน การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ ให้ดําเนินการดังนี้ ทั้งนี้ ในการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ คนร. ได้นํากรอบนโยบายฯ ของรัฐวิสาหกิจเป็นรายแห่ง ที่กระทรวงเจ้าสังกัดจัดทําขึ้นมาประกอบการพิจารณา รวมถึงได้มีการหารือร่วมกับกระทรวงเจ้าสังกัด ในประเด็นด้านบทบาท ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ และการลงทุนด้วยแล้ว หลักเกณฑ์การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 1 ส่วนที่ กรอบนโยบายการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกากับ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ป แผนพัฒน์ ฯ แผนพัฒนา ประเทศ ด้านต่างๆ นโยบายการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกากับ เพื่อใช้เป็นทิศทางการพัฒนาและการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงการพิจารณา บทบาทรัฐวิสาหกิจที่สามารถตอบสนองต่อการดําเนินการเพื่อสนับสนุน ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) และแผนต่างๆ ให้บรรลุเปูาหมายได้ โครงการสำคัญ  เพื่อให้ทราบถึงโครงการสําคัญที่สามารถส่งผลให้รัฐวิสาหกิจดําเนินงาน ตามนโยบายการ พัฒนาและแนวทางการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจใน กํากับ ให้ บรรลุเปูาหมายได้  เพื่อใช้ประกอบการพิจารณากําหนดตัวชี้วัดเพื่อกํากับและติดตาม การดําเนินงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ แนวทางการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกากับ กระทรวง เจ้า สังกัดเสนอ แนวทางการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับ โดย มีการระบุวัตถุประสงค์และเปูาหมายของแนว ทางการพัฒนา เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสามารถนําไปสู่การบรรลุผลสัมฤทธิ์ของแผนได้ กระทรวงเจ้าสังกัด เสนอ แนวนโยบาย การพัฒนา ของรัฐวิสาหกิจใน กํากับ โดยสอดคล้องกับ แผนแม่บท ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวง เจ้าสังกัดเสนอโครงการ สําคัญที่ รัฐวิสาหกิจต้อง ดําเนินการ คนร . ในคราวประชุมครั้งที่ 3 / 2564 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2564 ได้มีมติเห็นชอบหลักเกณฑ์การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุน ของรัฐวิสาหกิจโดยสรุปดังนี้ หลักเกณฑ์การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ (ต่อ) ส่วนที่ ทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกากับ กระทรวงเจ้าสังกัดจัดทําทิศทางการลงทุน ของรัฐวิสาหกิจในกํากับเพื่อเสนอโครงการ ลงทุนสําคัญทั้งที่เป็นโครงการที่รัฐวิสาหกิจ ดําเนินการเองและโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐ และเอกชนโดยคํานึงถึงการร่วมกันระหว่าง รัฐวิสาหกิจเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน ด้วย ทั้งนี้ ให้สอดคล้องกับกรอบนโยบาย การพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับในส่วนที่ 1 โดยข้อมูลโครงการลงทุนแต่ละโครงการ อย่างน้อยควรประกอบด้วย  เพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ รวมถึงความจําเป็นของโครงการที่สอดคล้อง กับนโยบายการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับ  เพื่อให้ทราบว่า โครงการลงทุนเป็นโครงการที่รัฐวิสาหกิจดําเนินการเอง หรือเป็นการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โดยคํานึงถึงการลงทุนร่วมกัน ระหว่างรัฐวิสาหกิจเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน  เพื่อกําหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ เพื่อกํากับและติดตามการดําเนินงาน โครงการให้บรรลุผลสําเร็จ  เพื่อให้ทราบถึงมูลค่าและแหล่งเงิน และให้การดําเนินโครงการของรัฐวิสาหกิจ มีแหล่งเงินที่ชัดเจนและเพียงพอต่อการดําเนินโครงการให้บรรลุเปูาหมายได้ 3.2.2 ขั้นตอนการเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ (กรอบนโยบายฯ) จัดทําข้อมูล ตามแบบขอข้อมูล การเสนอกรอบนโยบายฯ แต่ละแห่ง นําส่งข้อมูลพร้อมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องที่ผ่าน ความเห็นชอบจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เจ้าสังกัดแล้วให้ คนร. รวบรวมข้อมูลการเสนอ กรอบนโยบายฯ จากกระทรวงเจ้าสังกัด ยกร่างแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจโดยนําทิศทาง ในลักษณะ Top – down direction และ Bottom – up policy มาประกอบการพิจารณา เสนอแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจ เพื่อ คนร. พิจารณาต่อไป 2 1 3 4 5 กระทรวงเจ้าสังกัด สคร. ในฐานะฝายเลขานุการ คนร. คณะอนุกรรมการจัดทำแผน วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ มูลค่าและแหล่งเงินของโครงการ รูปแบบการดาเนินโครงการ หลักเกณฑ์การเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ (ต่อ) ส่วนที่ ทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกากับ กระทรวงเจ้าสังกัดจัดทําทิศทางการลงทุน ของรัฐวิสาหกิจในกํากับเพื่อเสนอโครงการ ลงทุนสําคัญทั้งที่เป็นโครงการที่รัฐวิสาหกิจ ดําเนินการเองและโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐ และเอกชนโดยคํานึงถึงการร่วมกันระหว่าง รัฐวิสาหกิจเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน ด้วย ทั้งนี้ ให้สอดคล้องกับกรอบนโยบาย การพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับในส่วนที่ 1 โดยข้อมูลโครงการลงทุนแต่ละโครงการ อย่างน้อยควรประกอบด้วย  เพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ รวมถึงความจําเป็นของโครงการที่สอดคล้อง กับนโยบายการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาของรัฐวิสาหกิจในกํากับ  เพื่อให้ทราบว่า โครงการลงทุนเป็นโครงการที่รัฐวิสาหกิจดําเนินการเอง หรือเป็นการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โดยคํานึงถึงการลงทุนร่วมกัน ระหว่างรัฐวิสาหกิจเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน  เพื่อกําหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ เพื่อกํากับและติดตามการดําเนินงาน โครงการให้บรรลุผลสําเร็จ  เพื่อให้ทราบถึงมูลค่าและแหล่งเงิน และให้การดําเนินโครงการของรัฐวิสาหกิจ มีแหล่งเงินที่ชัดเจนและเพียงพอต่อการดําเนินโครงการให้บรรลุเปูาหมายได้ 3.2.2 ขั้นตอนการเสนอกรอบนโยบายการพัฒนาและทิศทางการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในกํากับ (กรอบนโยบายฯ) จัดทําข้อมูล ตามแบบขอข้อมูล การเสนอกรอบนโยบายฯ แต่ละแห่ง นําส่งข้อมูลพร้อมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องที่ผ่าน ความเห็นชอบจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เจ้าสังกัดแล้วให้ คนร. รวบรวมข้อมูลการเสนอ กรอบนโยบายฯ จากกระทรวงเจ้าสังกัด ยกร่างแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจโดยนําทิศทาง ในลักษณะ Top – down direction และ Bottom – up policy มาประกอบการพิจารณา เสนอแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจ เพื่อ คนร. พิจารณาต่อไป 2 1 3 4 5 กระทรวงเจ้าสังกัด สคร. ในฐานะฝายเลขานุการ คนร. คณะอนุกรรมการจัดทำแผน วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ มูลค่าและแหล่งเงินของโครงการ รูปแบบการดาเนินโครงการ

  • 7 - 5 . วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายในภาพรวมของแผน วิสัยทัศน์ รัฐวิสาหกิจถือเป็นหน่วยงานของรัฐที่มีความแตกต่างกันในการทําหน้าที่ตามบทบาทและภารกิจ ขององค์กร โดยรัฐวิสาหกิจมีส่วนสําคัญในการสนับสนุน ตอบสนอง และขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐเพื่อให้บรรลุ เปูาหมาย รวมถึงสร้างความมั่นคงของประเทศ ได้แก่ ด้านการดําเนินกิจการที่มีผลต่อความมั่นคงของประเทศ เช่น กิจการพลังงาน ไฟฟูา น้ําประปา และโทรคมนาคม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสําคัญ ต่อการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เช่น ท่าเรือ ถนน รางรถไฟ ท่อ สายส่งไฟฟูา ด้านการเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนประเทศผ่านการลงทุนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการนําส่งรายได้แผ่นดิน นอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจยังสามารถช่วยเติมเต็มช่องว่างในการเข้าถึงบริการสาธารณะหรือแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่องของกลไกตลาดในการให้บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตของประชาชน อย่างทั่วถึง จึงได้มีการกําหนดวิสัยทัศน์เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการขับเคลื่อนการดําเนินภารกิจ ของรัฐวิสาหกิจให้ครอบคลุมในระยะ 5 ปี คือ “ ยกระดับขีดความสามารถรัฐวิสาหกิจไทย มุ่งสู่เปูาหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ” การจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดเปูาหมาย นโยบาย ทิศทางการพัฒนา และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในภาพรวม รวมถึงให้รัฐวิสาหกิจสำมารถทําหน้าที่ในการดําเนินการ และสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ได้ โดยรัฐวิสาหกิจจะมีกรอบการดําเนินงานที่ชัดเจน ในการนําไปใช้ในการจัดทําแผนวิสาหกิจระยะ 5 ปี และแผนปฏิบัติการประจําปีที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ พันธกิจ 1 . กําหนดกรอบทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และแผนพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ รัฐวิสาหกิจใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจ รวมถึงดําเนินงานให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจในการสนับสนุนเปูาหมายในภาพรวมของประเทศ 2 . กําหนดให้รัฐวิสาหกิจมีการจัดทําแผนบูรณาการในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน ลดการลงทุน ที่ซ้ําซ้อน และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพิจารณาการดําเนินโครงการลงทุน ในรูปแบบและแหล่งเงินที่เหมาะสม 3 . กําหนดให้รัฐวิสาหกิจมีการนําโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( Bio – Circular – Green Economy : BCG Model) และแนวคิดการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน ( Environment Social and Governance : ESG) มาใช้ในการดําเนินการตามบทบาทภารกิจ รวมถึงโครงการลงทุนที่เกี่ยวข้อง

  • 8 - เป้าหมาย รัฐวิสาหกิจมีบทบาทและภารกิจที่หลากหลายในการดําเนินการเพื่อตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ประเทศในด้านต่างๆ ซึ่งในการจัดทําแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ได้พิจารณาความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 โดยได้กําหนดเปูาหมายการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 6 ด้าน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง รัฐวิสาหกิจมีการดําเนินงานและบริการสาธารณะให้มีความมั่นคงในด้านเศรษฐกิจและสังคม ตั้งแต่ ระดับชาติ สังคม ชุมชน และบุคคล และมีความจําเป็นต้องรับมือกับภัยคุกคาม ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะ ที่อยู่อาศัย อาหาร ยา และเวชภัณฑ์ รวมทั้งความมั่นคงเร่งด่วนในการรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน รัฐวิสาหกิจมีส่วนร่วมในการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน โลจิสติกส์ และดิจิทัล โดยคํานึงถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ( Synergy) การร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน ( Public – Private Partnership : PPP ) การขับเคลื่อนธุรกิจโดยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี การลดการสูญเสีย ในกระบวนการผลิต การเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ และการสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมุนษย์ รัฐวิสาหกิจมีการส่งเสริมพัฒนากําลังคนให้มีสมรรถนะสูง และมีทักษะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม รัฐวิสาหกิจมีการส่งเสริมโครงสร้างเศรษฐกิจฐานรากและการกระจายศูนย์กลางความเจริญที่สร้าง ความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ํา และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รัฐวิสาหกิจมีการส่งเสริมการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงนําโมเดล เศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนมาใช้ในการดําเนินงาน ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจมีการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ มีระบบธรรมาภิบาล มุ่งผลสัมฤทธิ์ ตอบสนองความต้องการของประชาชน

  • 9 - 6 . บทบาทของรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจที่อยู่ภายใต้แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ จํานวน 52 แห่ง มีหน้าที่ที่จะต้องดําเนินการ ตามบทบาทและภารกิจตามที่กําหนดไว้ในวัตถุประสงค์การจัดตั้ง รวมถึงต้องมีการดําเนินการให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจสามารถเป็นเครื่องมือของภาครัฐในการผลักดันการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และแผนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้สามารถบรรลุเปูาหมายหรือผลสัมฤทธิ์ที่ตั้งไว้ได้ จึงได้กําหนดบทบาทรัฐวิสาหกิจที่สําคัญ 5 ด้าน ดังนี้ 1) โครงสร้างพื้นฐาน ( Infrastructure ) หมายถึง โครงสร้างทางกายภาพหรือระบบพื้นฐานที่ส่งเสริม ความมั่นคงและการพัฒนาประเทศ เช่น โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เช่น ถนน ระบบราง ท่าเรือ และท่าอากาศยาน โครงสร้างพื้นฐานด้านโครงข่ายพลังงาน โครงข่ายโทรคมนาคม โครงข่ายประปา เป็นต้น 2) บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน หมายถึง บริการสาธารณะที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิตขั้นพื้นฐาน ของประชาชน เช่น ระบบการให้บริการขนส่งสาธารณะ ไฟฟูา น้ําประปา เป็นต้น 3) กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการได้อย่างเพียงพอ หมายถึง กิจการที่ภาครัฐจําเป็นต้องดําเนินการ เพื่อสร้างความสมดุลของตลาดหรือเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในฐานะผู้บริโภค เช่น การให้บริการทางการเงิน แก่ผู้มีรายได้น้อยให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อนําไปใช้เป็นทุนในการดําเนินธุรกิจ หรือเพื่อการอื่นได้ การจัดให้มีที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อย เป็นต้น 4) กิจการที่รัฐต้องควบคุม หมายถึง กิจการที่มีความจําเป็นต้องควบคุมโดยรัฐ เนื่องจากเป็นกิจการ ที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือความมั่นคงของประเทศ เช่น การผลิต/จําหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นต้น 5) ภารกิจเชิงส่งเสริม หมายถึง รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมธุรกิจหรือกิจกรรมบางประเภท เป็นการเฉพาะ เช่น การท่องเที่ยว การเกษตร การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นต้น ทั้งนี้ คนร. ได้พิจารณาวัตถุประสงค์การจัดตั้งของรัฐวิสาหกิจและการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ให้มีความสอดคล้องกับแผนต่างๆ ข้างต้นแล้ว จึงได้มีการกําหนดบทบาทของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง ดังนี้ สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ โครงสร้างพื้นฐาน รฟท . รฟม . บวท . กทพ . กทท . ทอท . กฟผ . ปตท . กฟน . กฟภ . กปน . กปภ . อจน . บมจ . เอ็นที บมจ . อสมท บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน รฟท . รฟม . ขสมก . บขส . กฟผ . กฟน . กฟภ . กปน . กปภ . อจน . ปณท . บมจ . เอ็นที กิจการที่ไม่มีเอกชน ดาเนินการได้อย่างเพียงพอ กนอ . กคช . ธพส . ออมสิน ธอส . บสย . ธสน . ธพว . สธค . ธกส . ธอท . โรงพิมพ์ * บอท . * สรท . * กิจการที่รัฐต้องควบคุม สานักงานสลาก องค์การ สุรา ยสท . โรงงาน ไพ่ ภารกิจเชิงส่งเสริม สบพ . บสอ . กยท . อ . ส . ค . อ . ต . ก . อคส . อสป . อสส . อ . ส . พ . อ . อ . ป . อภ . ททท . กกท . วว . อพวช . อต . บทบาท อุต พาณิชย์ พลังงาน ขนส่ง สาธารณูปการ สถาบันการเงิน เกษตร ทรัพยากร ธรรมชาติ สื่อสาร สังคม หมายเหตุ : * รัฐวิสาหกิจที่อาจมีการพิจารณาทบทวนบทบาท

  • 10 - 7 . ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ภายใต้ 13 หมุดหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ จัดทําขึ้นเพื่อเป็นทิศทางให้รัฐวิสาหกิจแต่ละสาขาสามารถดําเนินการสนับสนุน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 รวมถึงแผนพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ได้ จึงได้กําหนดทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจโดยเชื่อมโยงกับหมุดหมายต่างๆ ภายใต้ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ดังนี้ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาขา 1 สินค้า เกษตร มูลค่าสูง 2 การท่อง เที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การแพทย์ สุขภาพ 5 การค้า การ ลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความ ยากจนข้าม รุ่น 10 Carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 คน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย ขนส่ง หลัก ขส มก . บขส . รฟท . รฟม . กทพ . ทอท . กทท . รฟท . รฟ ม . ขส มก . บขส . สบพ . สนับสนุน รฟท . รฟท . รฟ ม . ขสมก . บขส . ทอท . บวท . รฟท . บวท . รฟท . รฟท . รฟม . ขส มก . รฟท . ขส มก . พลังงาน หลัก กฟผ . ปตท . กฟน . กฟภ . กฟผ . ปตท . กฟน . กฟภ . กฟผ . ปตท . กฟน . กฟภ . สนับสนุน กฟผ . ปตท . กฟภ . ปตท . กฟผ . กฟน . กฟภ . ปตท . กฟผ . กฟน . กฟภ . กฟน . กฟภ . ปตท . ร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ . ศ . - สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาขา สินค้า เกษตร มูลค่าสูง การท่อง เที่ยว ยานยนต์ ไฟฟ้า การแพทย์ สุขภาพ การค้า การ ลงทุน โลจิสติกส์ อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจริยะ SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ ความ ยากจน ข้ามรุ่น Carbon ต่า ภัย ธรรมชาติ คน สมรรถนะ สูง ภาครัฐ ทันสมัย สาธารณูปการ หลัก กนอ . กคช . กปน . กปภ . อจน . กนอ . กนอ . กปน . กปภ . อจน . กนอ . กปน . กปภ . กคช . อจน . ธพส . สนับสนุน กปน . กปภ . กปน . กปภ . อจน . สถาบันการเงิน หลัก ธ . ก . ส . ธสน . ออมสิน ธสน . ธ . ก . ส . ธพว . ธอท . บสย . ออมสิน ธ . ก . ส . ธอส . ธอท . สธค . ธ . ก . ส . ออมสิน ธอส . ธอท . ธพว . บสย . สนับสนุน สื่อสาร หลัก ปณท บมจ . เอ็นที บมจ . เอ็นที บมจ . เอ็นที บมจ . เอ็นที บมจ . อสมท ปณท บมจ . เอ็นที สนับสนุน ปณท บมจ . เอ็นที ปณท ปณท บมจ . เอ็นที ร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ . ศ . - สาขา สินค้า เกษตร มูลค่าสูง การท่อง เที่ยว ยานยนต์ ไฟฟ้า การแพทย์ สุขภาพ การค้า การ ลงทุน โลจิสติกส์ อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจริยะ SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ ความ ยากจน ข้ามรุ่น Carbon ต่า ภัย ธรรมชาติ คน สมรรถนะ สูง ภาครัฐ ทันสมัย เกษตร หลัก กยท . อสป . อ . ส . ค . อคส . อ . ต . ก . อต . สนับสนุน อสป . อ . ส . ค . ทรัพยากรธรรมชาติ หลัก สนับสนุน อสส . อ . ส . พ . อ . อ . ป . อสส . อ . ส . พ . สังคมและเทคโนโลยี หลัก ททท . กกท . อภ . กกท . วว . อพวช . สนับสนุน ททท . วว . ททท . วว . วว . ททท . อุตสาหกรรมและพาณิชยก รรม หลัก ยสท . องค์การสุราฯ สนับสนุน สํานักงาน สลากฯ ร่างแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ . ศ . -

  • 11 - หมุดหมายที่ 1 ไทยเป นประเทศชั้นนาด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง 1. เพิ่มมูลค่า ของสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป GDP สาขาเกษตรเติบโต 4.5 ต่อปี 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริหารจัดการ ของภาคเกษตร 3. เพิ่มศักยภาพและบทบาทของผู้ประกอบการ เกษตร จํานวนวิสาหกิจชุมชนในระดับดี เพิ่มขึ้น 35 เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเป นประเทศ ชั้นนาด้านสินค้า เกษตร และเกษตร แปรรูปมูลค่าสูง 1. ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแบบมุ่งเป้า เพื่อยกระดับการผลิต และเพิ่มมูลค่า 2. ส่งเสริมการขยายตัวของ ตลาดสินค้าเกษตรมูลค่าสูง 3. ขยายผลรูปแบบ เกษตรยั่งยืนและเป นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนา ระบบบริหารจัดการน้า 5. ส่งเสริม ตลาดกลางและตลาดออนไลน์ 6. สนับสนุน ระบบประกันภัยและมาตรฐานสินค้าเกษตร 7. พัฒนาประสิทธิภาพเพื่อ ลดต้นทุนและเพิ่มมูลค่าผลผลิต 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรมี ที่ดินทากินและรักษาพื้นที่เกษตรกรรม ที่เหมาะสม 9. พัฒนา ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล การเกษตร 10. พัฒนาระบบ การบริหารจัดการเพื่อความมั่นคงด้านอาหาร 11. ยกระดับ ขีดความสามารถเกษตรกร 12. พัฒนา กลไกเชื่อมโยงภาคีต่างๆ ของภาคเกษตร ความสามารถในการแข่งขัน โอกาสและความเสมอภาค เป นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2 4 5 หมุดหมายที่ 1 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การให้บริการทางการเงิน ที่สร้างความแข็งแกร่ง ของห่วงโซ่อุปทานการเกษตร ธ.ก.ส. ก. การคลัง การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรให้ตรงกับความต้องการของตลาด และการบริหารจัดการสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร อ.ส.ค. กยท. ก. เกษตรและสหกรณ์ อสป. ก. พาณิชย์ อคส. อ.ต.ก. ก. มหาดไทย อต. ก. การคลัง ยสท. องค์การสุรา การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 1 การผลิตไฟฟูาชีวมวล การวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับวัสดุชีวภาพ ( Biomaterial) และชีวเคมี ( Biochemical) การส่งเสริมการขายสินค้าด้านเกษตร ผ่านระบบบริหารจัดการค้าปลีก การสนับสนุนการเติบโตเศรษฐกิจฐานราก แบบมีส่วนร่วมและตอบสนองวิถีชีวิต ในอนาคต กฟผ. ก. พลังงาน ปตท. ก. พลังงาน ปณท ก. ดิจิทัล ก. อุดมศึกษา วว. การส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ก. ท่องเที่ยว ททท. กฟภ. ก. มหาดไทย รฟท. ก. คมนาคม การส่งเสริมและสนับสนุนสินค้าเกษตร รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง

  • 12 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 1 1 . การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรให้ตรงกับความต้องการของตลาด และการบริหารจัดการสินค้า เกษตรอย่างครบวงจร 1 . 1 วัตถุประสงค์ การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรให้ตรงกับความต้องการของตลาด โดยการวิจัยพัฒนาและนํานวัตกรรม มาใช้ในการเพิ่มผลิตภาพการผลิต ( Productivity) และการแปรรูปผลผลิต รวมทั้งการบริหารจัดการสินค้า เกษตรอย่างครบวงจร โดยสร้างความร่วมมือกับพันธมิตรภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนส่งเสริมศักยภาพ ของเกษตรกรและอุตสาหกรรมในภาพรวม 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1 . 2 . 1 การวิเคราะห์ความต้องการของตลาด เพื่อให้เกษตรกรผลิตสินค้า/บริการได้ตรงตามความต้องการ ของตลาด ( Demand Driven ) 1 . 2 . 2 การเพิ่มผลิตภาพการผลิต ( Productivity) ในด้านการเพิ่มปริมาณผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ 1 . 2 . 3 การส่งเสริมศักยภาพเกษตรกร โดยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาองค์ความรู้ ให้แก่เกษตรกร 1 . 2 . 4 การเพิ่มช่องทางการกระจายและจําหน่ายสินค้าโดยร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน 1 . 2 . 5 การบูรณาการของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตรเพื่อส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และการดําเนินงานร่วมกัน เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรอย่างครบวงจรและให้การบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ มีประสิทธิภาพและลดความทับซ้อนระหว่างกัน โดยปรับปรุงการดําเนินงานให้มีความเชื่อมต่อและส่งเสริม ซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น 1.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 รัฐวิสาหกิจมีการวิเคราะห์ความต้องการของตลาดอย่างเป็นระบบ โดยใช้เครื่องมือที่มีอยู่ หรือพัฒนาขึ้นใหม่ และสามารถนําข้อมูลไปใช้ส่งเสริมเกษตรกรในการผลิตสินค้าเกษตรให้ตรงตาม ความต้องการได้ภายในปี 2568 (อ.ส.ค. กยท. อสป. อ.ต.ก. อคส. อต. ยสท. และ องค์การสุรา) 1.3.2 กําไรของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น/ขาดทุนลดลง เฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี (อ.ส.ค. กยท. อสป. อ.ต.ก. อคส. และ อต.) 1.3.3 จํานวน Smart Farmer เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 15 ต่อปี (อ.ส.ค. และ กยท.) 1.3.4 รายได้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อปี (อ.ส.ค. กยท. อสป. อ.ต.ก. อคส. และ อต.) 1.3.5 การกระจายและจําหน่ายสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยจํานวน 3 รายต่อปี (อ.ส.ค. กยท. อสป. อ.ต.ก. อคส. และ อต.) 1.3.6 ความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนการส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และการดําเนินงานร่วมกัน (อ.ต.ก. อคส. และ อต.)

  • 13 - 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง อ.ส.ค. กยท. อสป. อ.ต.ก. อคส. อต. ยสท. และ องค์การสุรา 2 . การให้บริการทางการเงินที่สร้างความแข็งแกร่งของห่วงโซ่อุปทานการเกษตร 2.1 วัตถุประสงค์ การเพิ่มบทบาทการให้บริการทางการเงินที่สร้างความแข็งแกร่งของห่วงโซ่อุปทานการเกษตร รวมถึง การเชื่อมโยงธุรกิจตลอดห่วงโซ่อุปทาน และพัฒนาการจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตร ตลอดจนพัฒนา แพลตฟอร์มเชิงพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E – Commerce Platform) สําหรับการขายสินค้าเกษตรออนไลน์ 2.2 แนวทางการพัฒนา 2.2.1 การให้บริการทางการเงินที่สร้างความแข็งแกร่งของห่วงโซ่อุปทานการเกษตร 2.2.2 การพัฒนาแพลตฟอร์มเชิงพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E – Commerce Platform) สําหรับการขาย สินค้าเกษตรออนไลน์ 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 มีสินเชื่อสะสม จํานวน 50 , 000 ล้านบาท ภายในปี 2568 โดยกําหนดให้มีตัวชี้วัดที่ใช้ ในการวัดความสามารถในการวางแผน การควบคุมและติดตามหนี้ และการบริหารลูกหนี้ (ธ.ก.ส.) 2.3.2 มีแพลตฟอร์มเชิงพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E – Commerce Platform) สําหรับการขายสินค้า เกษตรออนไลน์ โดยมีจํานวนผู้ใช้งานหรือมูลค่าการซื้อผ่านแพลตฟอร์มดังกล่าวเป็นไปตามแผน (ธ.ก.ส.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ธ.ก.ส . 3 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจทุกแห่งควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนสินค้าเกษตร นอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงาน สนับสนุนหมุดหมายที่ 1 ได้ เช่น การผลิตไฟฟูาชีวมวล (กฟผ. และ กฟภ.) การวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ วัสดุชีวภาพ ( Biomaterial) และชีวเคมี ( Biochemical) (ปตท.) การส่งเสริมการขายสินค้าด้านเกษตรผ่านระบบ บริหารจัดการค้าปลีก (ปณท และ รฟท.) การสนับสนุนการเติบโตเศรษฐกิจฐานรากแบบมีส่วนร่วม และตอบสนองวิถีชีวิตในอนาคต (วว.) และการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (ททท.)

  • 14 - หมุดหมายที่ 2 ไทยเป นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน 1. เปลี่ยนการท่องเที่ยวไทยเป็น การท่องเที่ยวคุณภาพสูง ที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการที่มีศักยภาพอื่นๆ ค่าใช้จ่ายต่อวันของนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 10 ต่อปี 2 ปรับโครงสร้างการท่องเที่ยวให้ พึ่งพานักท่องเที่ยวในประเทศ และมีการ กระจายโอกาสทางเศรษฐกิจมากขึ้น รายได้จากการท่องเที่ยวเมืองรองเพิ่มขึ้น 10 ต่อปี 3. การท่องเที่ยวไทยมี การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน ในทุกมิติ ผู้ประกอบการและแหล่งท่องเที่ยวได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย เพิ่มขึ้น 10 % ต่อปี ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ปีละ 50 ชุมชน เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเป นจุดหมาย ของการท่องเที่ยว ที่เน้นคุณภาพ และความยั่งยืน 1. ส่งเสริม กิจกรรม สินค้า และบริการการท่องเที่ยวมูลค่าเพิ่มสูง 2. ส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับ การท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ 3. ยกระดับบริการและการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวให้ได้ มาตรฐานและเป นที่ยอมรับ ของตลาดสากล 4. สนับสนุนการพัฒนา ทักษะและศักยภาพของบุคลากร ในภาค การท่องเที่ยว 5. ปรับปรุง ก หมาย ก ระเบียบ และขั้นตอน ที่ล้าสมัยและเป็น อุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจและการขอใบอนุญาตของ ผู้ประกอบการรายย่อย 6. พัฒนา ระบบข้อมูลการท่องเที่ยวให้เป นระบบการท่องเที่ยว อัจฉริยะ ที่นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และภาครัฐ สามารถ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ง่าย และใช้ประโยชน์ได้ง่าย ความสามารถในการแข่งขัน 2 หมุดหมายที่ 2 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การพัฒนาและยกระดับการท่องเที่ยวและการกีำโดยมุ่งเน้นคุณภาพและความยั่งยืน ททท. ก. การท่องเที่ยวและกีำ การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 2 การสนับสนุนแหล่งท่องเที่ยวโดยการอํานวยความสะดวก ด้านคมนาคมขนส่ง กกท. ก. คมนาคม รฟม. ทอท. รฟท. บขส. ขสมก. บริการพื้นฐานด้านไฟฟูา ประปา โทรคมนาคมและดิจิทัล ก. มหาดไทย กฟน. กฟภ. กปภ. กปน. การสนับสนุนและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว บวท. ก. ทรัพยากรธรรมชาติ ก. พลังงาน กฟผ. อสส. อ.ส.พ. อ.อ.ป. ก. เกษตรและสหกรณ์ อ.ส.ค. อสป. บมจ. เอ็นที ก. ดิจิทัล ปตท.

  • 15 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 2 1 . การพัฒนาและยกระดับการท่องเที่ยวและการกีำโดยมุ่งเน้นคุณภาพและความยั่งยืน 1 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาและยกระดับการท่องเที่ยวและการกีฬาให้ได้มาตรฐานและมีศักยภาพเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวและกีฬาอีกทั้งเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการต่างๆ ที่เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวและปรับเปลี่ยนสู่การท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นคุณภาพ ความยั่งยืน และมีมูลค่า พร้อมทั้งมุ่งให้การท่องเที่ยวของประเทศไทยเติบโตได้อย่างยั่งยืน 1.2.2 การยกระดับศักยภาพและมาตรฐานด้านการกีฬาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดจาก การสนับสนุนการจัดกิจกรรมและการแข่งขันกีฬา 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี (ททท.) 1.3.2 ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ต่อปี (ททท.) 1.3.3 จัดการแข่งขันกีฬาที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี (กกท.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ททท. และ กกท. 2 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 2 ได้ เช่น การสนับสนุนแหล่งท่องเที่ยวโดยการอํานวย ความสะดวกด้านคมนาคมขนส่ง (รฟท. รฟม. ขสมก. บขส. บวท. และ ทอท.) บริการพื้นฐานด้านไฟฟูา ประปา โทรคมนาคมและดิจิทัล (กฟน. กฟภ. กปน. กปภ. และ บมจ. เอ็นที) และการสนับสนุนและพัฒนา แหล่งท่องเที่ยว (ปตท. กฟผ. อ.ส.ค. อสป. อสส. อ.ส.พ. และ อ.อ.ป.)

  • 16 - หมุดหมายที่ 3 ไทยเป นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สาคัญของโลก 1 . สร้างอุปสงค์ ของการใช้รถยนต์ไฟฟูา สัดส่วนการใช้ยานยนต์ไฟฟูาเพิ่มเป็น 26 % ภาย ในปี 2570 2 . สนับสนุนการลงทุนและการปรับตัว ของผู้ประกอบการเดิม ไทยเป็นฐานการผลิต อันดับ 1 ใน อาเซียน 3 . สร้างความพร้อมของปัจจัยสนับสนุน อย่างเป็นระบบ สถานี อัดประจุ เพิ่มขึ้น 5 , 000 หัว จ่าย ภายในปี 2570 แรงงาน ด้านยานยนต์ไฟฟูาไม่น้อยกว่า 30 , 000 คน ภายใน ปี 2570 เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเป นฐาน การผลิต ยานยนต์ไฟฟ้า ที่สาคัญของโลก ความสามารถในการ แข่งขัน ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เป น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1 . ส่งเสริมให้ผู้ใช้ในภาคส่วน ต่างๆ ปรับเปลี่ยน มา ใช้ยานยนต์ไฟฟ้า เพิ่มมากขึ้น 2 . สนับสนุนการขยายตัวของตลาด ส่งออก ยานยนต์ไฟฟูา 3 . กำหนดเป้าหมาย แผน และการดำเนินการเปลี่ยนผ่าน ไปสู่ ยาน ยนต์ ไฟฟูาอย่างเป็นระบบชัดเจนตลอดห่วง โซ่ อุปทาน 4 . ยกระดับขีดความสามารถของ ผู้ประกอบการ ในการลงทุน ผลิตยานยนต์ไฟฟูา แบตเตอรี่ และชิ้นส่วนสําคัญ 5 . มาตรการ สาหรับกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ 6 . วิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 7 . โครงสร้าง พื้นฐานด้าน พลังงานที่มีความพร้อม 8 . ปรับปรุงและจัดทาก ระเบียบ ให้เอื้อต่อการเติบโต ของ อุตสาหกรรม และให้ความสําคัญกับ การบูรณาการ การทํางาน ร่วมกัน ระหว่างรัฐและเอกชน 9 . ผลิตและพัฒนาทักษะแรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการ 10 . กำหนดมาตรฐานด้านคุณสมบัติและความปลอดภัย 11 . สนับสนุนเงินทุน ให้ผู้ประกอบการ 2 3 5 หมุดหมายที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การส่งเสริม การใช้ งานยาน ยนต์ ไฟฟ้า ทดแทนรถโดยสารเดิม ขสมก . บขส . ก . คมนาคม การ จัดเตรียมโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อรองรับ อุตสาหกรรมยาน ยนต์ ไฟฟ้า กฟน . กฟภ . ก . มหาดไทย กฟผ . ปตท . ก . พลังงาน การ จัดตั้งนิคม อุตสาหกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรรม ยาน ยนต์ ไฟฟ้า กนอ . ก . อุตสาหกรรม การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 3 การนํายานยนต์ไฟฟูามา ใช้ ใน ระบบงานไปรษณีย์ ปณท ก . ดิจิทัล การส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการ ใช้หัว รถจักร ดีเซลไฟฟูาเพื่อเพิ่มศักยภาพในด้านการขนส่ง รฟท . ก . คมนาคม รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟูา ภายในองค์กร รวมถึงการเตรียมสิ่งอํานวย ความสะดวกเกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟูา

  • 17 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 3 1 . การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า 1 . 1 วัตถุประสงค์ การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์เดิมไปสู่ยานยนต์ไฟฟูา อย่างเป็นระบบและเพียงพอต่อปริมาณความต้องการใช้งานยานยนต์ไฟฟูาในอนาคต 1 . 2 แนวทางการพัฒนา การบูรณาการเกี่ยวกับสถานีอัดประจุไฟฟูาสาธารณะ และหัวจ่ายชาร์จเร็วร่วมกัน 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด จํานวนสถานีอัดประจุไฟฟูาสาธารณะ/หัวจ่ายชาร์จเร็ว 1 , 376 หัวจ่าย (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ. 2 . การส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าทดแทนรถโดยสารเดิม 2 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟูาทดแทนรถโดยสารเดิมเพื่อลดการปล่อยมลพิษทางอากาศ ที่เกิดขึ้นจากระบบขนส่งสาธารณะ และการเตรียมความพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อรองรับการใช้ยานยนต์ไฟฟูา ในระบบขนส่งสาธารณะ 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การจัดหายานยนต์ไฟฟูาเพื่อให้บริการขนส่งสาธารณะ 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 การจัดทําแผนเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ยานยนต์ไฟฟูาในการให้บริการสาธารณะ (ขสมก. และ บขส.) 2.3.2 การจัดหายานยนต์ไฟฟูาเพื่อให้บริการขนส่งสาธารณะเป็นไปตามแผน (ขสมก. และ บขส.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ขสมก. และ บขส. 3 . การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า 3 . 1 วัตถุประสงค์ การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมที่สามารถรองรับการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟูา ตามนโยบายรัฐบาล 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของอาเซียน 3 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของอาเซียน เป็นไปตามแผน (กนอ.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กนอ.

  • 18 - 4. การใช้ยานยนต์ไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจ 4 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟูาภายในองค์กร รวมถึงการเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวก เกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟูา 4 . 2 แนวทางการพัฒนา รัฐวิสาหกิจมีแผนงานในการปรับเปลี่ยนไปใช้ยานยนต์ไฟฟูา รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ ยานยนต์ไฟฟูาภายในองค์กร 4 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การปรับเปลี่ยนไปใช้ยานยนต์ไฟฟูาของรัฐวิสาหกิจเป็นไปตามแผน 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 5 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 3 ได้ เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้หัวรถจักร ดีเซลไฟฟูาเพื่อเพิ่มศักยภาพในด้านการขนส่ง (รฟท.) การนํายานยนต์ไฟฟูามาใช้ในระบบงานไปรษณีย์ (ปณท)

  • 19 - หมุดหมายที่ 4 ไทยเป นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง 1. สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ จากสินค้าและบริการสุขภาพ สัดส่วนมูลค่าเพิ่มต่อ GDP เพิ่มเป็น 1.7 % 2. องค์ความรู้ ด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีศักยภาพ 3. ประชาชนได้รับ ความเป นธรรมในการเข้าถึง บริการสุขภาพ 4. ระบบบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพมีความพร้อม เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเป นศูนย์กลาง ทางการแพทย์ และสุขภาพ มูลค่าสูง 1. ส่งเสริมบริการทางการแพทย์ ที่มีศักยภาพในการสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจ 2. ผลักดันให้ประเทศ ไทยเป นศูนย์กลางบริการส่งเสริมสุขภาพ ระดับโลก 3 . สร้างมูลค่าเพิ่ม ให้อุตสาหกรรมทางการแพทย์และสุขภาพ 4. สร้างเสริมขีดความสามารถด้านการศึกษา วิจัย และเทคโนโลยี ทางการแพทย์ 5. บริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพพื้นฐานความสมดุล ทางเศรษฐกิจและสุขภาพของคนไทย 6. ยกระดับศักยภาพ ระบบบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข ความสามารถในการแข่งขัน โอกาสและความเสมอภาค 2 4 หมุดหมายที่ 4 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การพัฒนาที่อยู่อาศัย สำหรับผู้สูงวัย อย่างครบวงจร กคช. ก. พัฒนาสังคม การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 4 การวิจัยและพัฒนายา และเวชภัณฑ์ อภ. ก. สาธารณสุข การส่งเสริมสุขภาพ และปลูกฝังค่านิยม การออกกาลังกาย กกท. ก. การท่องเที่ยว การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางการแพทย์ วว. ก. อุดมศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ททท. ก. การท่องเที่ยว

  • 20 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 4 1 . การวิจัยและพัฒนายาและเวชภัณฑ์ 1 . 1 วัตถุประสงค์ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการผลิตยาและเวชภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อสนับสนุน ให้เกิดความมั่นคงของระบบสาธารณสุขและสามารถแข่งขันในภูมิภาคได้ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา การนําผลการวิจัยการผลิตยาและเวชภัณฑ์ไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การนําผลงานวิจัยการผลิตยาและเวชภัณฑ์ไปต่อยอดและจําหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างน้อย 35 ผลงาน (อภ.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง อภ. 2 . การส่งเสริมสุขภาพและปลูกฝังค่านิยมการออกกาลังกาย 2 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมสุขภาพและปลูกฝังค่านิยมการออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ เพื่อให้ประชาชนดูแลสุขภาพ ให้แข็งแรงมากยิ่งขึ้น และลดค่าใช้จ่ายทางด้านสาธารณสุขของประเทศ 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การจัดให้มีกิจกรรมและพื้นที่รองรับสําหรับการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัย 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด อัตราประชากรที่มีการออกกําลังกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 (กกท.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กกท. 3 . การพัฒนาที่อยู่อาศัยสาหรับผู้สูงวัยอย่างครบวงจร 3 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้สูงวัยอย่างครบวงจร เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และผู้สูงวัยให้สามารถพักอาศัยในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดํารงชีวิต และสามารถเข้าถึงการให้บริการ ทางการแพทย์ได้อย่างสะดวก 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้สูงวัยอย่างครบวงจร 3 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้สูงวัยอย่างครบวงจรเป็นไปตามแผน (กคช.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กคช.

  • 21 - 4. การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 4 ได้ เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (ททท.) และการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ (วว.)

  • 22 - หมุดหมายที่ 5 ไทยเป นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สาคัญของภูมิภาค 1 . ไทยเป็น ประตูการค้าการลงทุนในภูมิภาค อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจดีขึ้น 2 . ไทย เป็น ห่วงโซ่อุปทานของภูมิภาค มูลค่าการลงทุนรวมขยายตัวไม่น้อย กว่า 6 % ต่อปี 3 . ไทยเป็นประตูและทางเชื่อมโครงข่าย คมนาคม และโล จิ สติกส์ของ ภูมิภาค ดัชนีประสิทธิภาพโลจิสติกส์ระหว่างประเทศไม่ต่ํากว่า อันดับที่ 25 เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเป นประตู การค้าการลงทุน และยุทธศาสตร์ ทางโลจิสติกส์ ที่สาคัญ ของภูมิภาค 1 . สร้างจุดยืนของไทย ภายใต้บริบทโลกใหม่ 2 . พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน เพื่อ เป็น ประตู การค้า การ ลงทุนและฐานเศรษฐกิจสําคัญ ของภูมิภาค 3 . ผลักดันการลงทุน เพื่อปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม เปูาหมาย สู่ไทย แลนด์ 4 . 0 ความมั่นคง ความสามารถในการแข่งขัน เป น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1 2 5 หมุดหมายที่ 5 ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ทอท . รฟท . กทท . ปณท กทพ . บวท . การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน ด้านการคมนาคมและโลจิสติกส์ ด้านพลังงาน ด้านดิจิทัล กฟผ . กฟน . กฟภ . ปตท . ก . คมนาคม ก . ดิจิทัล ก . มหาดไทย ก . พลังงาน ก . ดิจิทัล ด้านสาธารณูปการ กปภ . กปน . กนอ . ก . มหาดไทย ก . อุตสาหกรรม อจน . การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 5 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ โดย การวิจัยทดสอบ ระบบราง วว . ก . อุดมศึกษา บมจ . เอ็นที รฟม . การบริการเดินอากาศ ก . คมนาคม การ สนับสนุนทางการเงินเพื่อการ ลงทุนที่สำคัญของ ภูมิภาค ก . การคลัง ธสน .

  • 23 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 5 1 . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและโลจิสติกส์ 1 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและโลจิสติกส์ที่มุ่งเน้นระบบรางในการเชื่อมต่อและบริหาร จัดการโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์ได้อย่างต่อเนื่องหลายรูปแบบ เพื่อสนับสนุนการค้าการลงทุน และส่งเสริมฐานเศรษฐกิจที่สําคัญของภูมิภาค 1 . 2 แนวทางการพัฒนา การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและโลจิสติกส์ 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและบริการโลจิสติกส์เป็นไปตามแผน (รฟท. กทพ. ทอท. กทท. รฟม. และ ปณท) 1.3.2 การปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลดต้นทุน การให้บริการต่อหน่วยลงไม่ต่ํากว่าร้อยละ 10 (ปณท) 1.3.3 การพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรม (กนอ.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รฟท. กทพ. ทอท. กทท. รฟม. ปณท และ กนอ. 2 . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน 2 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้น 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานเป็นไปตามแผน (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ. 3 . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปการ 3 . 1 วัตถุประสงค์ การขยายพื้นที่การจัดสรรน้ําเพื่ออุปโภคบริโภคอย่างมีคุณภาพทั่วถึงและเป็นระบบ รวมถึงจัดหา แหล่งน้ําดิบเพื่อผลิตและจําหน่ายให้เพียงพอและทั่วถึง มีระบบจัดการน้ําเสียครอบคลุมทุกพื้นที่ 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปการ

  • 24 - 3 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปการเป็นไปตามแผน (กปน. กปภ. และ อจน.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กปน. กปภ. และ อจน. 4 . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล 4 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการด้านดิจิทัล โดยเฉพาะการให้บริการและใช้ประโยชน์ 5 G เพื่อรองรับการค้าการลงทุน 4 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาและขยายระบบโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการด้านดิจิทัล 4 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 4.3.1 การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลเป็นไปตามแผน (บมจ. เอ็นที) 4.3.2 การให้บริการและใช้ประโยชน์ 5 G แล้วเสร็จตามแผนภายในปี 2568 (บมจ. เอ็นที) 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. เอ็นที 5. การสนับสนุนทางการเงินเพื่อการลงทุนที่สำคัญของภูมิภาค 5 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย ผู้ส่งออก และนักลงทุน โดยให้การสนับสนุนทางการเงินเพื่อการลงทุนที่สําคัญของภูมิภาค 5 . 2 แนวทางการพัฒนา การสนับสนุนสินเชื่อทางการเงินเพื่อการลงทุนที่สําคัญของภูมิภาคให้แก่ผู้ประกอบการไทย ผู้ส่งออก และนักลงทุน 5 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด มีสินเชื่อคงค้างที่สนับสนุนการค้าและการลงทุน จํานวน 161 , 000 ล้านบาท ภายในปี 2570 (ธสน.) 5.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ธสน. 5 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 5 ได้ เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ โดยการวิจัยทดสอบระบบราง (วว.) และการบริการการเดินอากาศ (บวท.)

  • 25 - หมุดหมายที่ 6 ไทยเป นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ และอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน 1 . เศรษฐกิจดิจิทัล ภายในประเทศมีการ ขยายตัว เพิ่มขึ้น สัดส่วนมูลค่าเพิ่มต่อ GDP เพิ่มเป็น 30 % ภายในปี 2570 2 . การส่งออก ของอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ของประเทศเพิ่มขึ้น สัดส่วนการส่งออกเพิ่มเป็น 60 % ของอุตสาหกรรมไฟฟูา และอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งหมด ภายในปี 2570 3 . อุตสาหกรรม ดิจิทัล และอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ของประเทศมีความเข้มแข็งขึ้น Startup ด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 6 000 แห่ง ภายใน ปี 2570 เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยเปนศูนย์กลาง อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะและ อุตสาหกรรม ดิจิทัลของอาเซียน 1 . ขับเคลื่อน สังคมและเศรษฐกิจไทย ด้วยดิจิทัล 2 . พัฒนา ต่อยอดฐานอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 3 . อุตสาหกรรมดิจิทัล ในประเทศที่สามารถแข่งขันได้ 4 . พัฒนาระบบนิเวศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมอัจฉริยะ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล หมุดหมายที่ 6 ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การให้บริการโครงข่ายเชื่อมโยงทั้งในและต่างประเทศ ก . ดิจิทัล การส่งเสริมการลงทุน ด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ก . อุตสาหกรรม กนอ . บมจ . เอ็นที ความมั่นคง ความสามารถในการแข่งขัน เปน มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1 2 5

  • 26 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 6 1 . การให้บริการโครงข่ายเชื่อมโยงทั้งในและต่างประเทศ 1 . 1 วัตถุประสงค์ การขยายบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ความเร็วสูงที่พร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง เท่าเทียมกันในทุกพื้นที่และการพัฒนาโครงข่ายเชื่อมโยงทั้งในและต่างประเทศ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การให้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ความเร็วสูงครอบคลุมพื้นที่ทุกหมู่บ้าน ชุมชน สถานที่ ท่องเที่ยว 1.2.2 การมีจุดเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลจราจรทางอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศที่เป็น ศูนย์กลางของภูมิภาค 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 การให้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ความเร็วสูงครอบคลุมพื้นที่ทุกหมู่บ้าน ชุมชน และสถานที่ ท่องเที่ยว ภายในปี 2570 (บมจ. เอ็นที) 1.3.2 การมีจุดเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลจราจรทางอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศที่เป็น ศูนย์กลางของภูมิภาค ภายในปี 2567 (บมจ. เอ็นที) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. เอ็นที 2 . การส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อัจริยะ 2 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมการลงทุน โดยจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมเกี่ยวกับ เครื่องใช้ไฟฟูาและอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายรัฐบาล 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การมีนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ของอาเซียน 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด มีนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เป็นไปตามแผน (กนอ.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กนอ.

  • 27 - หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้ 1. วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมี สภาพแวดล้อม ที่เอื้ออานวยต่อการเติบโตและแข่งขัน ได้ 2. วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มี ศักยภาพสูง ในการดําเนินธุรกิจ สามารถยกระดับและการปรับตัว เข้าสู่การแข่งขันใหม่ สัดส่วน GDP ของ SMEs เพิ่มเป็น 40 % 3. วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถ เข้าถึง และได้รับการส่งเสริม อย่างมีประสิทธิผล จากภาครัฐ เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยมีวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม ที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถ แข่งขันได้ 1. พัฒนาระบบนิเวศ ให้เอื้อต่อการทําธุรกิจและยกระดับ ความสามารถในการแข่งขันของ SMEs 2. พัฒนาแพลตฟอร์มเชื่อมโยงข้อมูล SMEs และส่งเสริม SMEs เข้าสู่ระบบ 3. จัดให้มีกลไกทางการเงิน ที่เหมาะสมกับลักษณะของ SMEs เพื่อให้ SMEs ทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างทั่วถึง 4 . ส่งเสริม การพัฒนา SMEs ให้เป็น ผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล 5. ยกระดับ ประสิทธิภาพกระบวนการส่งเสริม SMEs ของภาครัฐ 6. พัฒนาระบบนิเวศให้เอื้อต่อการ สร้างธุรกิจสตาร์ทอัพ และ ผู้ประกอบการ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม รวมทั้งให้ เข้าถึง แหล่งเงินทุน และเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายระดับโลก และ ยกระดับสู่ตลาดต่างประเทศ 7. ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม ให้มีศักยภาพการดําเนินการ ในเชิงธุรกิจ หมุดหมายที่ 7 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การพัฒนาการให้บริการ การเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ก. การคลัง ออมสิน ธ.ก.ส. ธสน. ธอท. บสย. ธพว. การส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิด การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนและ การกระจายรายได้สู่ชุมชน ก. การท่องเที่ยวและกีำ รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ของผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม และรายใหม่ที่เริ่มต้นธุรกิจ ภายใต้ภารกิจของรัฐวิสาหกิจ การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 7 ความสามารถในการแข่งขัน ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โอกาสและความเสมอภาค 2 3 4 การพัฒนาและส่งเสริมผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ก. อุดมศึกษา วว. ททท. ปณท ก. ดิจิทัล รฟท. ก. คมนาคม การส่งเสริมการขายสินค้า วิสาหกิจชุมชนผ่านระบบ บริหารจัดการค้าปลีก

  • 28 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 7 1 . การพัฒนาการให้บริการ / การเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1 . 1 วัตถุประสงค์ การเข้าถึงบริการทางการเงินสําหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs) และรายใหม่ที่เริ่มต้นธุรกิจ ( SMEs Startups) และยกระดับศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ( SMEs ) โดยการให้ความรู้ทางการเงินและทักษะในการดําเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ประกอบการ SMEs และบริบทของระบบเศรษฐกิจ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การเข้าถึงบริการทางการเงินสําหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs) และรายใหม่ที่เริ่มต้นธุรกิจ ( SMEs Startups) 1.2.2 การเพิ่มศักยภาพโดยการอบรมให้ความรู้ด้านการเงินและทักษะในการดําเนินธุรกิจ แก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs) 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 จํานวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs) และรายใหม่ที่เริ่มต้นธุรกิจ ( SMEs Startups) ที่เข้าถึงบริการทางการเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี (ธ.ก.ส. ออมสิน ธพว. ธสน. บสย. และ ธอท.) 1.3.2 จํานวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs ) ผู้ส่งออก เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี (ธสน.) 1.3.3 จํานวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs ) รายใหม่ที่เข้าถึงมาตรการ / โครงการของภาครัฐไม่น้อยกว่า 600 , 000 ราย (ธ.ก.ส. ออมสิน ธพว. ธสน. บสย. และ ธอท.) 1.3.4 จํานวนผู้เข้ารับการอบรมด้านการเงินและพัฒนาทักษะในการประกอบธุรกิจเป็นไปตามแผน รวมถึงกําหนดให้มีการติดตามและประเมินผลผู้เข้ารับการอบรม (ธ.ก.ส. ออมสิน ธพว. ธสน. บสย. และ ธอท.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ธ.ก.ส. ออมสิน ธพว. ธสน. บสย. และ ธอท. 2 . การพัฒนาและส่งเสริมผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาและส่งเสริมผลงานวิจัยด้านผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาและยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ( SMEs ) 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด จํานวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs ) รายใหม่ และผู้ประกอบการรายเดิม ที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับความสามารถในการแข่งขัน จํานวน 120 ราย (วว.)

  • 29 - 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง วว. 3 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจทุกแห่งควรให้การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ( SMEs) และรายใหม่ที่เริ่มต้นธุรกิจ ( SMEs Startups) ภายใต้ภารกิจของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 7 ได้ เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม การท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนและการกระจายรายได้สู่ชุมชน (ททท.) และการส่งเสริม การขายสินค้าวิสาหกิจชุมชนผ่านระบบบริหารจัดการค้าปลีก (ปณท และ รฟท.)

  • 30 - หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน 1 . การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภาค และการลงทุน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษขยายตัวเพิ่มขึ้น 2 . ความไม่เสมอภาคในการกระจายรายได้ ของภาค ลดลง 3 . พัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่ ยั่งยืน มีความพร้อม ในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างทั่วถึง เมือง อัจฉริยะมีจํานวนรวมทั้งสิ้นไม่ต่ํากว่า เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนมีจํานวนมากขึ้น เป้าหมาย กลยุทธ์ ไทยมีพื้นที่ และเมืองอัจฉริยะ ที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโต ได้อย่างยั่งยืน 1 . สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก 2 . ส่งเสริมกลไกความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ประชาชนและ ประชาสัมคม เพื่อการพัฒนาพื้นที่และเมือง 3 . สร้างความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน โลจิสติกส์ และดิจิทัล รองรับพื้นที่เศรษฐกิจและเมือง 4 . เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ พื้นที่และเมือง หมุดหมายที่ 8 ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ การจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานรวมถึงระบบประปาและระบบจัดการน้าเสียอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ ก . มหาดไทย กปน . กปภ . ก . อุตสาหกรรม กนอ . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม ก . ดิจิทัล บมจ . เอ็นที อจน . ความสามารถ ในการ แข่งขัน โอกาส และความเสมอ ภาค เป นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2 4 5 การส่งเสริมและสนับสนุนพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ในการสร้างและพัฒนาระบบราง ระบบรถไฟฟูา และให้บริการการขนส่งสาธารณะ รฟท . ก . คมนาคม การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 8 รฟม . ขสมก . การพัฒนาโครงข่ายสมาร์ทกริด ของรัฐวิสาหกิจ และอื่นๆ ปตท . ก . พลังงาน กฟผ . กฟน . ก . มหาดไทย กฟภ . การพัฒนาระบบประปาและจัดการน้ําเสีย กปน . ก . มหาดไทย กปภ . อจน .

  • 31 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 8 1 . การจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึงระบบประปาและระบบจัดการน้าเสียอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ 1 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและการจัดสรรน้ําเพื่ออุปโภคบริโภคอย่างมีคุณภาพ เพียงพอ และทั่วถึง รวมถึงการบริหารจัดการระบบจัดการน้ําเสียให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การผลิตจ่ายน้ําให้สามารถให้บริการได้อย่างเพียงพอและคุณภาพน้ําได้มาตรฐาน รวมถึงมีระบบ จัดการน้ําเสีย 1.2.2 การมีนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม Smart Park 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านประปาและระบบจัดการน้ําเสียเป็นไปตามแผน (กปน. กปภ. และ อจน.) 1.3.2 การมีนิคมอุตสาหกรรมต้นแบบสําหรับการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม Smart Park เป็นไปตามแผน (กนอ.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กปน. กปภ. อจน. และ กนอ. 2 . การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม 2 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการโทรคมนาคมและดิจิทัล เพื่อรองรับพื้นที่เศรษฐกิจหลัก และเมืองอัจฉริยะ 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การให้บริการในพื้นที่และเมืองอัจฉริยะ 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 การให้บริการครอบคลุมทุกพื้นที่เปูาหมายแล้วเสร็จตามแผนภายในปี 2570 (บมจ. เอ็นที) 2.3.2 การให้บริการ Infra Sharing ร่วมกับเจ้าของพื้นที่อย่างน้อย 10 โครงการแล้วเสร็จตามแผน ภายในปี 2569 (บมจ. เอ็นที) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. เอ็นที 3 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 8 ได้ เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนพื้นที่และเมือง อัจฉริยะที่น่าอยู่ ในการสร้างและพัฒนาระบบราง ระบบรถไฟฟูา และให้บริการการขนส่งสาธารณะ (รฟท. รฟม. และ ขสมก.) การพัฒนาโครงข่ายสมาร์ทกริดของรัฐวิสาหกิจและอื่นๆ (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) และการพัฒนาระบบประปาและระบบจัดการน้ําเสีย (กปน. กปภ. และ อจน.)

  • 32 - หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม เป้าหมาย กลยุทธ์ ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โอกาสและความเสมอภาค ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 3 4 ไทยมีความยากจน ข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคน มีความคุ้มครอง ทางสังคม ที่เพียงพอ เหมาะสม หมุดหมายที่ 9 1. ครัวเรือนที่มีแนวโน้มกลายเป็น ครัวเรือนยากจนข้ามรุ่น มีโอกาสในการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม จนสามารถหลุดพ้นความยากจนได้อย่างยั่งยืน ทุกครัวเรือนจนข้ามรุ่นหลุดพ้นความยากจนภายใน 2570 2 . คนทุกช่วงวัยได้รับความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ ต่อการดํารงชีวิต แรงงานอยู่ในระบบประกันสังคมไม่น้อยกว่า 60 % สัดส่วนผู้สูงอายุยากจนลดลงเหลือไม่เกิน 4 % การเข้าถึงน้าอุปโภคบริโภค อย่างทั่วถึง การเข้าถึงแหล่งทุนควบคู่กับ การส่งเสริมการออม สร้างวินัยทางการเงิน และให้ความรู้ทางการเงิน การขยายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง ก. ดิจิทัล การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 9 การให้บริการ ระบบขนส่งสาธารณะอย่างทั่วถึง ในราคาที่เป็นธรรม การขยายเขตไฟฟูาให้บ้านเรือนราษฎร รายใหม่ พื้นที่ทํากินทางการเกษตร และ พลังงานทดแทนสําหรับบ้านเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ การจัดสรรตัวแทนจําหน่ายสลาก ของผู้ค้ารายย่อยที่เป็นผู้ที่มีรายได้น้อย และผู้พิการ สํานักงาน สลากฯ ก. คลัง กปน. กปภ. ก. มหาดไทย ก. การคลัง ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. ธอส. สธค. ก. การพัฒนาสังคม ก. คมนาคม ขสมก. รฟท. กฟภ. ก. มหาดไทย การเข้าถึงที่อยู่อาศัย สำหรับผู้มีรายได้น้อย รายได้ปานกลาง ผู้พิการ และผู้สูงอายุ กคช. ก. การพัฒนาสังคม กฟน. บมจ. เอ็นที

  • 33 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 9 1 . การเข้าถึงน้าอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง 1 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาระบบประปาเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงน้ําอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง 1 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาและขยายระบบประปา 1 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด จํานวนครัวเรือนที่สามารถเข้าถึงระบบน้ําประปาเป็นไปตามแผน (กปน. และ กปภ.) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กปน. และ กปภ. 2 . การเข้าถึงที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย ผู้มีรายได้ปานกลาง ผู้พิการ และผู้สูงอายุ 2 . 1 วัตถุประสงค์ ผู้มีรายได้น้อย ผู้มีรายได้ปานกลาง ผู้พิการและผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงที่อยู่อาศัยในระดับราคา ที่สามารถตอบสนองต่อความจําเป็นขั้นพื้นฐาน และเสริมสร้างสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมต่อการดํารงชีวิต 2 . 2 แนวทางการพัฒนา ผู้มีรายได้น้อย ผู้มีรายได้ปานกลาง ผู้พิการ และผู้สูงอายุมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2 . 3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 การพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อย ผู้มีรายได้ปานกลาง ผู้พิการ และผู้สูงวัย เป็นไปตามแผน (กคช.) 2.3.2 การมีที่อยู่อาศัย ( Smart Community ) แบบครบวงจร ภายในปี 2570 (กคช.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กคช. 3 . การเข้าถึงแหล่งเงินทุนควบคู่กับการส่งเสริมการออม สร้างวินัยทางการเงิน และให้ความรู้ทางการเงิน 3.1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อสร้างการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่เป็นธรรม และยกระดับคุณภาพชีวิต ยกระดับความเข้มแข็งแก่เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน หรือประชาชนผู้มีรายได้น้อย ควบคู่กับการส่งเสริม การออม สร้างวินัยทางการเงิน และให้ความรู้ทางการเงินอย่างต่อเนื่อง 3.2 แนวทางการพัฒนา 3.2.1 เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน หรือประชาชนผู้มีรายได้น้อยมีความรู้ทางการเงินและสามารถ เข้าถึงบริการทางการเงินได้อย่างสะดวก 3.2.2 สถาบันการเงินเฉพาะกิจมีการบูรณาการฐานข้อมูลร่วมกัน เพื่อลดความซ้ําซ้อน ในการดําเนินการ และสามารถนําข้อมูลมาใช้ในการออกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผู้ใช้บริการกลุ่มเปูาหมาย 3.2.3 สถาบันการเงินเฉพาะกิจมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการออมเพื่อสร้างหลักประกันสําหรับ ประชาชนทุกช่วงวัย และเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนวัยเกษียณอายุ

  • 34 - 3.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 3.3.1 เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับการอบรมความรู้ทางการเงิน มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. ธอส. และ สธค.) 3.3.2 เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน หรือประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ต้องการบริการทางการเงินสามารถ เข้าถึงบริการทางการเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. ธอส. และ สธค.) 3.3.3 สถาบันการเงินเฉพาะกิจมีการบูรณาการในการจัดทําฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ( Big Data) เป็นไปตามแผน (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. และ ธอส.) 3.3.4 สถาบันการเงินเฉพาะกิจมีจํานวนเงินฝากหรือจํานวนการออกผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมการออม เป็นไปตามแผน (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. และ ธอส.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ออมสิน ธ.ก.ส. ธอท. ธอส. และ สธค. 4 . การขยายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง 4.1 วัตถุประสงค์ การขยายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่พร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน 4.2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่พร้อมใช้งานครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ชุมชน และสถานที่ท่องเที่ยว 4.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การพัฒนาอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่พร้อมใช้งานครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ชุมชน และสถานที่ท่องเที่ยว ภายในปี 2570 (บมจ. เอ็นที) 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. เอ็นที 5 . การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 9 ได้ เช่น การให้บริการระบบขนส่งสาธารณะอย่างทั่วถึง ในราคาที่เป็นธรรม (รฟท. และ ขสมก.) การขยายเขตไฟฟูาให้บ้านเรือนราษฎรรายใหม่ พื้นที่ทํากินทางการเกษตร และพลังงานทดแทนสําหรับบ้านเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ (กฟน. และ กฟภ.) และการจัดสรรตัวแทนจําหน่ายสลาก ของผู้ค้ารายย่อยที่เป็นผู้มีรายได้น้อยและผู้พิการ (สํานักงานสลากฯ)

  • 35 - หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต ่า เป้าหมาย กลยุทธ์ ความมั่นคง ความสามารถในการแข่งขัน เปนมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 1 2 5 ไทยมีเศรษฐกิจ หมุนเวียน และสังคม คาร์บอนต ่า หมุดหมายที่ 10 1. เพิ่มมูลค่าจากเศรษฐกิจหมุนเวียน และการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มูลค่า GDP จากเศรษฐกิจหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 % 2. อนุรักษ์ ฟนฟู และใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน ดัชนีสมรรถนะสิ่งแวดล้อมดีขึ้นติดอันดับ 1 ใน 3 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. สร้างสังคมคาร์บอนต่ำและยั่งยืน สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 24 % ปริมาณขยะต่อหัวลดลง 10 % 1. พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ ตามหลักเศรษฐกิจ หมุนเวียนและสังคมคาร์บอนตํ่า 2. สร้างรายได้ให้ชุมชน ท้องถิ่น และเกษตรกร จากเศรษฐกิจ หมุนเวียนและสังคมคาร์บอนตํ่า 3. ฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากร อย่างชาญฉลาดบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและกลไกสนับสนุน เศรษฐกิจ หมุนเวียนและสังคมคาร์บอนตํ่า 5. ปรับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและดำรงชีพ เข้าสู่วิถีชีวิตใหม่ อย่างยั่งยืน การส่งเสริมการเดินทาง ที่ใช้พลังงานสะอาด ในระบบขนส่งสาธารณะ การส่งเสริมการผลิต และใช้พลังงานทดแทน และพลังงานสะอาด ภายในประเทศ ก. คมนาคม ขสมก. รฟท. รฟม. บขส. กฟผ. ก. พลังงาน กฟน. ก. มหาดไทย กฟภ. การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการน้าเสียชุมชน อจน. ก. มหาดไทย รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การพัฒนาเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( BCG Model )

  • 36 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 10 1 . การพัฒนาเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ( BCG Model ) (พัฒนาเศรษฐกิจใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ ชีวภาพ ( Bio Economy ) เศรษฐกิจหมุนเวียน ( Circular Economy ) และเศรษฐกิจสีเขียว ( Green Economy ) 1.1 วัตถุประสงค์ การกําหนดและดําเนินโครงการ/แผนงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 – 2570 ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืน 1.2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การสร้างความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการอนุรักษ์ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม และสร้างความสามารถในการบริหารทรัพยากร และพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากร 1.2.2 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยการเพิ่มความมั่นคงด้านอาหาร สุขภาพ และพลังงาน พัฒนาพื้นที่ตามระเบียงเศรษฐกิจเพื่อการกระจายการเติบโตทางสังคม และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงและถ่ายทอด องค์ความรู้แก่ชุมชน 1.2.3 การยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้เศรษฐกิจ BCG ให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 1.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินโครงการ/แผนงานต่างๆ เป็นไปตามแผนปฏิบัติการด้าน การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 – 2570 (รัฐวิสาหกิจที่มีโครงการ/ แผนงานภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 – 2570) 1.3.2 รัฐวิสาหกิจสามารถบริหารจัดการทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนเป็นไปตามแผน รวมถึงมีการ นําวัสดุกลับมาใช้ใหม่ ( Recycle ) ในกระบวนการผลิต (รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 2 . การลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.1 วัตถุประสงค์ การให้ความสําคัญกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการปรับตัวอย่างสมดุลระหว่างการเติบโต ทางเศรษฐกิจควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร และการลดการปล่อยมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 2.2 แนวทางการพัฒนา 2.2.1 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดําเนินกิจกรรมของรัฐวิสาหกิจ 2.2.2 การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์เพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก 2.2.3 การบริหารจัดการพื้นที่สวนปุาเศรษฐกิจเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก

  • 37 - 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 รัฐวิสาหกิจสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ร้อยละ 20 – 25 ภายในปี 2573 เป็นไปตามแผน 2.3.2 ผลการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศน์เศรษฐกิจ ( Eco – efficiency ) ของรัฐวิสาหกิจ เป็นไปตามแผน 2.3.3 พื้นที่เปูาหมายการบริหารจัดการคาร์บอนเครดิตในพื้นที่สวนปุาเศรษฐกิจ จํานวน 715 , 133 ไร่ (อ.อ.ป.) 2.3.4 นิคม / ท่าเรือที่ กนอ . ดําเนินการสามารถดําเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 2 , 500 , 000 KgCO 2 eq (กนอ.) 2.3.5 รัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงินเฉพาะกิจมีการออกพันธบัตรเพื่อความยั่งยืน ( Sustainability Bond ) หรือพันธบัตรเพื่ออนุรักษสิ่งแวดล้อม ( Green Bond ) ในการส่งเสริมการให้สินเชื่อสําหรับการดําเนิน โครงการด้านสิ่งแวดล้อม (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธอท. ธสน. และ ธพว.) 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 3 . การส่งเสริมการเดินทางที่ใช้พลังงานสะอาดในระบบขนส่งสาธารณะ 3 . 1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมการเดินทางที่ใช้พลังงานสะอาดในระบบขนส่งสาธารณะและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะอย่างต่อเนื่องหลายรูปแบบให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ เพื่อสร้าง สังคมคาร์บอนต่ําอย่างยั่งยืน 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การส่งเสริมการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะตามแผนการเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทางทั้งในเมือง และระหว่างเมือง (ระบบ Feeder โดย ขสมก. และ บขส.) 3.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด จํานวนผู้โดยสารที่ใช้บริการสาธารณะเพิ่มขึ้นเป็นไปตามแผน (รฟท. รฟม. ขสมก และ บขส.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รฟท. รฟม. ขสมก และ บขส. 4 . การส่งเสริมการผลิตและใช้พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาดภายในประเทศ 4.1 วัตถุประสงค์ การส่งเสริมการผลิตและใช้พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาดภายในประเทศเพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่าน ไปสู่การใช้พลังงานสะอาดควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4.2 แนวทางการพัฒนา การเพิ่มกําลังการผลิตและติดตั้งพลังงานทดแทน

  • 38 - 4.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 4.3.1 ปริมาณกําลังการผลิตและติดตั้งพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น จํานวน 348 MW ในปี 2569 (กฟผ.) 4.3.2 การดําเนินโครงการเกี่ยวกับการใช้พลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนเป็นไปตามแผน (กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กฟผ. กฟน. และ กฟภ. 5 . การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้าเสียชุมชน 5.1 วัตถุประสงค์ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ําเสียชุมชน ทั้งในรูปแบบการจัดให้มีการฟื้นฟูและเข้าดําเนินการ บริหารจัดการน้ําเสียชุมชนให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่ ทั่วประเทศ 5.2 แนวทางการพัฒนา 5.2.1 การพัฒนาการจัดการน้ําเสียด้วยการประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และระบบสารสนเทศ เพื่อให้น้ําเสียที่ได้รับการบําบัดได้มาตรฐาน 5.2.2 การบูรณาการเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการน้ําเสีย 5.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 5.3.2 ปริมาณน้ําเสียได้รับการบําบัดได้ตามมาตรฐานน้ําทิ้งจากระบบจัดการน้ําเสียชุมชน รวม 460 ล้านลูกบาศก์เมตร 5.3.3 น้ําเสียหลังการบําบัดได้คุณภาพตามมาตรฐานน้ําทิ้งจากระบบจัดการน้ําเสียชุมชนที่กําหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 5.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง อจน.

  • 39 - หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป้าหมาย กลยุทธ์ ความมั่นคง ความสามารถในการแข่งขัน เปนมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 1 2 5 ไทย สามารถ ลด ความเสี่ยง และ ผลกระทบ จาก ภัยธรรมชาติ และ การเปลี่ยนแปลง สภาพ ภูมิอากาศ หมุดหมายที่ 11 1 . ความ เสียหายและผลกระทบ จากภัย ธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดลง 2 . ความ เสี่ยง จากภัยธรรมชาติและการ เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ลดลง 3 . สังคมไทยมีภูมิคุ้มกัน จากภัยธรรมชาติ และ การปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประชาชน สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ระบบประกันภัย พืชผล ทางการเกษตร และภัย ธรรมชาติ 1 . ป้องกัน และลด ผลกระทบ จาก ภัย ธรรมชาติและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใน พื้นที่สาคัญ 2 . พัฒนาและเพิ่มศักยภาพประชาชนและชุมชน ใน การ รับมือ กับ ภัยธรรมชาติ และการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 3 . ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการบริหารจัดการความเสี่ยง 4 . อนุรักษ์ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศ เพื่อปูองกัน และลดผลกระทบ 5 . ส่งเสริม ความร่วมมือกับ ต่างประเทศ เพื่อบริหาร จัดการ และลดความ เสี่ยง การมีแหล่งเงินทุนสาหรับผู้ประสบภัยธรรมชาติ ออมสิน ก . การคลัง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การบริหารความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิจ และการให้บริการประชาชน รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การอนุรักษ์ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ธ . ก . ส . ธอส . ธพว . ธอท . บสย . การบริหารความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเกษตรกร ก . การคลัง ธ . ก . ส .

  • 40 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 11 1 . การบริหารความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจและการให้บริการประชาชน 1 . 1 วัตถุประสงค์ ความพร้อมในการรับมือกับภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจ สามารถกลับมาให้บริการได้อย่างใกล้เคียงกับสถานการณ์ปกติมากที่สุดได้อย่างรวดเร็ว 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การสร้างเสถียรภาพของโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน 1.2.2 การบริหารความต่อเนื่องในการดําเนินธุรกิจของรัฐวิสาหกิจ 1.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ( Business Continuity Management Plan ) 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 2 . การอนุรักษ์ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 2 . 1 วัตถุประสงค์ การเสริมสร้างความมั่นคงทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน 2 . 2 แนวทางการพัฒนา การทํากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีการดําเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ที่รัฐวิสาหกิจกําหนด 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 3 . การมีแหล่งเงินทุนสำหรับผู้ประสบภัยธรรมชาติ 3 . 1 วัตถุประสงค์ การมีแหล่งเงินทุนสําหรับผู้ประสบภัยธรรมชาติ เพื่อให้ภาคธุรกิจและประชาชนสามารถฟื้นตัว กลับมาดําเนินธุรกิจหรือดํารงชีวิตได้อย่างรวดเร็ว 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การให้สินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ 3.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด ร้อยละความสําเร็จตามแผนการให้สินเชื่อภายหลังเกิดภัยธรรมชาติ 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธพว. ธอท. และ บสย.

  • 41 - 4 . การบริหารความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเกษตรกร 4 . 1 วัตถุประสงค์ การสนับสนุนให้เกษตรกรมีเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 4 . 2 แนวทางการพัฒนา การมีผลิตภัณฑ์ด้านประกันภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด สัดส่วนลูกค้าสินเชื่อ ธ.ก.ส. ที่เข้าถึงประกันภัยร้อยละ 94 ต่อปี (ปี 2566 - 2568) 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ธ.ก.ส.

  • 42 - หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต เป้าหมาย กลยุทธ์ ความสามารถในการแข่งขัน ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โอกาสและความเสมอภาค ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 2 3 4 1 . คนไทยได้รับการพัฒนา อย่างเต็มศักยภาพใน ทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่จําเป็น มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถดํารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุข ดัชนีพัฒนาการเด็กสมวัยเพิ่มขึ้นเป็น 88 % ผลิตภาพแรงงานไม่ต่ํากว่า 4 % ต่อปี 2 . กำลังคนมีสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความต้องการ ของภาคการผลิต เปูาหมายและสามารถสร้างงานอนาคต คะแนนความสามารถในการแข่งขันของสภาเศรษฐกิจโลก ด้านทักษะ เพิ่มขึ้น 20 % 3. ประชาชนทุกกลุ่มเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต การประเมินสมรรถนะผู้ใหญ่ในระดับนานาชาติของไทย ไม่ต่ํากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่เข้ารับการประเมิน 1. คนไทยทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ 2. พัฒนา กาลังคนสมรรถนะสูง 3 . ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต ไทยมีกำลังคน สมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์ การพัฒนา แห่งอนาคต หมุดหมายที่ 12 การพัฒนาและผลิตบุคลากร ในอุตสาหกรรมการบิน และอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง การให้ข้อมูลข่าวสาร และการเผยแพร่เนื้อหาสาระ เชิงสร้างสรรค์ การพัฒนาและยกระดับแหล่งเรียนรู้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สบพ. ก. คมนาคม บมจ. อสมท. ก. สำนักนายก ก. อุดมศึกษา อพวช. การดําเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมายที่ 12 โรงเรียนกําเนิดวิทย์ ( KVIS) และสถาบันวิทยสิริเมธี ( VISTEC) การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของประชาชน การร่วมมือกับหน่วยงานระดับ มหาวิทยาลัยในการสรรหานักวิชาการ รุ่นใหม่ และความร่วมมือด้านการฝึกอบรม ปตท. ก. พลังงาน ก. ดิจิทัล อสส. อ.ส.พ. ก. เกษตรและสหกรณ์ รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัดของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดรับกับทิศทางการพัฒนารัฐวิสาหกิจ บมจ. เอ็นที

  • 43 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 12 1 . การพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดรับกับทิศทางการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 1 . 1 วัตถุประสงค์ รัฐวิสาหกิจมีบุคลากรที่มีสมรรถนะ ความรู้ และความสามารถที่ตรงกับความต้องการขององค์กร เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานขององค์กร รวมถึงสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะการคิดวิเคราะห์และสามารถปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงโดยพัฒนาบุคลากรในทุกระดับให้มีความรู้และสมรรถนะ เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงในอนาคต 1.2.2 การเพิ่มความรู้ความสามารถด้านการใช้ Digital literacy พัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญทักษะเดิม ( Upskill) และเพิ่มทักษะความรู้ใหม่ๆ ( Reskill) 1.2.3 การเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อผลิตแรงงานที่มีความรู้/ ทักษะเฉพาะที่สอดคล้องกับความต้องการของรัฐวิสาหกิจ 1.2.4 การให้ความรู้ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องตามความเชี่ยวชาญของรัฐวิสาหกิจเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถแก่เอกชนและเพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไป 1.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีแผนการพัฒนาบุคลากรที่สามารถรองรับกับความต้องการขององค์กร และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยมีการบูรณาการกับแผนบริหารบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การวางแผน อัตรากําลัง การบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ เป็นต้น 1.3.2 ร้อยละความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนการพัฒนาบุคลากร 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 2. การให้ข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่เนื้อหาสาระเชิงสร้างสรรค์ 2 . 1 วัตถุประสงค์ การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันสถานการณ์แก่สังคม ตลอดจนจัดหาเนื้อหา ( content) หรือองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของประชาชน 2 . 2 แนวทางการพัฒนา 2.2.1 การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันสถานการณ์แก่สังคม 2.2.2 การผลิต จัดหา และเผยแพร่เนื้อหาสาระเชิงสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของประชาชน 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 2.3.1 การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องร้อยละ 100 (บมจ. อสมท) 2.3.2 การเผยแพร่เนื้อหาสาระเชิงสร้างสรรค์ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 50 ของเนื้อหาทั้งหมดในแต่ละปี (บมจ. อสมท)

  • 44 - 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. อสมท 3. การพัฒนาและยกระดับแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาและยกระดับแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มีมาตรฐานเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้และการศึกษาเพื่อให้คนไทยมีสมรรถนะเพิ่มสูงขึ้น 3 . 2 แนวทางการพัฒนา การยกระดับการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานในระดับสากล 3.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การยกระดับการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานในระดับสากล ภายในปี 2570 (อพวช.) 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง อพวช. 4. การพัฒนาและผลิตบุคลากรในอุตสาหกรรมการบินและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง 4 . 1 วัตถุประสงค์ การพัฒนาและผลิตบุคลากรในอุตสาหกรรมการบินและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง รวมถึงพัฒนาหลักสูตร ให้รองรับกับความต้องการของอุตสาหกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายและยกระดับมาตรฐาน ด้านการบินของไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 4 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาหลักสูตรให้รองรับกับความต้องการของอุตสาหกรรมการบินและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง 4.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด การพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบินในระยะยาวและเพิ่มรายได้ให้เป็นไปตามแผน (สบพ.) 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง สบพ. 5. การดำเนินการอื่นๆ ที่สนับสนุนหมุดหมาย รัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินงานสนับสนุนหมุดหมายที่ 12 ได้ เช่น โรงเรียนกําเนิดวิทย์ ( KVIS) และสถาบัน วิทยสิริเมธี ( VISTEC) (ปตท.) การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของประชาชน (บมจ. เอ็นที) การร่วมมือกับหน่วยงาน ระดับมหาวิทยาลัยในการสรรหานักวิชาการรุ่นใหม่ และความร่วมมือด้านการฝึกอบรม (อสส. และ อ.ส.พ.)

  • 45 - หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐ ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน เป้าหมาย กลยุทธ์ ความมั่นคง ความสามารถ ในการ แข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ . ศ . 2561 – 2580 ) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทิศทาง หลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ไทยมี ภาครัฐ ที่ ทันสมัย มี ประสิทธิภาพ และ ตอบโจทย์ ประชาชน หมุดหมายที่ 13 1 . การบริการภาครัฐมีคุณภาพ เข้าถึงได้ ความพึงพอใจในบริการภาครัฐ ไม่น้อยกว่า 90 % 2 . ภาครัฐที่มีขีดสมรรถนะสูง คล่องตัว ดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ต่ํากว่าอันดับที่ 40 ของโลก 1 . พัฒนา คุณภาพบริการภาครัฐ ให้ ตอบ โจทย์ สะดวก และ ประหยัด 2. ปรับเปลี่ยน การ บริหาร จัดการและโครงสร้างภาครัฐ ให้ ยืดหยุ่น เชื่อมโยง เปิดก ว้าง และ มี ประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ 3. ปรับเปลี่ยน เป นรัฐบาลดิจิทัล ที่ใช้ ข้อมูลในการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนาประเทศ 4. สร้างระบบบริหารภาครัฐที่ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนและ พัฒนาบุคลากร ให้มีทักษะที่จําเป็นในการ ให้บริการภาครัฐ ดิจิทัล และ ปรับปรุง ก หมาย ระเบียบ มาตรการ ภาครัฐ ให้เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ โอกาส และความเสมอ ภาค ปรับ สมดุลและพัฒนาระบบการจัดการ ภาครัฐ 1 2 4 6 การ บริหาร จัดการอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐ การ พัฒนาบริการเพื่อ รองรับ การ ปรับเปลี่ยนไปสู่รัฐบาลดิจิทัล ธพส . ก . การคลัง ก . ดิจิทัล การขับเคลื่อนรัฐวิสาหกิจไปสู่องค์กรดิจิทัล บมจ . เอ็นที รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การบริหารจัดการองค์กรให้ โปร่งใส รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การบูรณาการร่วมกันของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ปณท รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง การขับเคลื่อนองค์กรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง กระทรวงเจ้าสังกัด ของรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง

  • 46 - ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจภายใต้หมุดหมายที่ 13 1 . การขับเคลื่อนรัฐวิสาหกิจไปสู่องค์กรดิจิทัล 1 . 1 วัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยีในการขับเคลื่อนรัฐวิสาหกิจไปสู่องค์กรดิจิทัล ทั้งกระบวนผลิต การดําเนินธุรกิจ การทํางาน และการให้บริการ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสําหรับการบูรณาการการทํางานด้านดิจิทัลร่วมกัน 1 . 2 แนวทางการพัฒนา 1.2.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลระยะยาวและแผนปฏิบัติการประจําปี โดยแผนดังกล่าว ต้องมีความสอดคล้องกับทิศทางขององค์กรที่มีการพิจารณาเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมถึงความสามารถ ขององค์กรและบุคลากรในการนําเทคโนโลยีมาบริหารจัดการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 1.2.2 การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนทํางานให้รองรับการเป็นองค์กรดิจิทัล รวมถึงแนวทาง การให้บริการในรูปแบบดิจิทัล 1.2.3 การปูองกันและบริหารความเสี่ยงจากอาชญากรรมทางไซเบอร์เพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจ 1.2.4 การบูรณาการด้านดิจิทัลร่วมกัน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลบนดิจิทัล การจัดทําระบบ ฐานข้อมูล ( Big data ) และการพัฒนาการบริการบน Platform ร่วมกัน เป็นต้น 1.2.5 การสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับผู้มีส่วนได้เสีย 1.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 1.3.1 รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีการจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลระยะยาวและแผนปฏิบัติการประจําปี 1.3.2 ร้อยละความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการดิจิทัลระยะยาวและแผนปฏิบัติการ ประจําปี 1.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 2 . การขับเคลื่อนองค์กรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 2 . 1 วัตถุประสงค์ รัฐวิสาหกิจมีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร ทั้งในด้านกระบวนการทํางาน การผลิต และการให้บริการ 2 . 2 แนวทางการพัฒนา 2.2.1 การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการทํางานและกระบวนการผลิต ให้มีประสิทธิภาพ 2.2.2 การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนางานและการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ 2.2.3 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับ การนํามาใช้ในกระบวนการทํางานและการผลิตที่เหมาะสมกับรัฐวิสาหกิจ

  • 47 - 2.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีการศึกษาและนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้กับรัฐวิสาหกิจ 2.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 3 . การบริหารจัดการองค์กรให้โปร่งใส 3 . 1 วัตถุประสงค์ การมีระบบการบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาลและมีประสิทธิภาพ 3 . 2 แนวทางการพัฒนา 3.2.1 การทบทวนระบบการบริหารจัดการและโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับบทบาท และภารกิจ รวมถึงมีการบริหารจัดการองค์กรตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ( Corporate Governance : CG ) และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลสากล 3.2.2 การบูรณาการในเรื่องการกํากับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ( GRC : Governance Risk and Compliance) และการนําไปปฏิบัติ 3.2.3 การปรับปรุงการให้บริการ การจัดการข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีช่องทางในการสื่อสารสร้างสัมพันธ์ รวมทั้งนําระบบ Integrity and Transparency Assessment ( ITA ) มาปรับใช้ และมีการเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอแก่สาธารณะ 3.2.4 การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมทั้ง มีมาตรการทบทวนการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับให้มีความเหมาะสม 3.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 3.3.1 รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีโครงสร้างการบริหารจัดการองค์กรที่สอดรับกับบทบาทและภารกิจ 3.3.2 รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีข้อร้องเรียนลดลง 3.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 4 . การบูรณาการร่วมกันของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4 . 1 วัตถุประสงค์ การบูรณาการร่วมกันของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อผลักดันการดําเนินงานให้บรรลุ เปูาหมายของประเทศ รวมถึงการร่วมมือและการให้ความช่วยเหลือระหว่างกันเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน และการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ 4 . 2 แนวทางการพัฒนา การจัดทําแผน/กิจกรรมการบูรณาการ/ความร่วมมือของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และการกํากับการดําเนินงานตามแผน 4.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 4.3.1 รัฐวิสาหกิจทุกแห่งมีแผน/กิจกรรมการบูรณาการ/ความร่วมมือร่วมกับรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ภายในปี 2567

  • 48 - 4.3.2 รัฐวิสาหกิจดําเนินการบูรณาการร่วมกันเป็นไปตามแผน/กิจกรรมการบูรณาการ/ความร่วมมือ ร่วมกับรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง 5. การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐ 5 . 1 วัตถุประสงค์ การมีศูนย์ราชการและอาคารของรัฐเป็นต้นแบบอาคารประหยัดพลังงาน ( Smart Building) และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยมีระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัยเพื่อรองรับการให้บริการที่สะดวก รวดเร็วแก่ประชาชน โดยมีการนํานวัตกรรมมาใช้ 5 . 2 แนวทางการพัฒนา การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐให้มีความทันสมัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 5.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 5.3.1 การพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เป็นไปตามแผน (ธพส.) 5.3.2 การจัดทําแผนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐ และการวัดผลการดําเนินงานตามแผน (ธพส.) 5.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ธพส. 6. การพัฒนาบริการเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนไปสู่รัฐบาลดิจิทัล 6 . 1 วัตถุประสงค์ การสนับสนุนการนําระบบดิจิทัลมาใช้ในภาครัฐให้เกิดการบูรณาการการใช้ทรัพยากรการเชื่อมโยง ระบบงานและการใช้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของรัฐร่วมกัน 6 . 2 แนวทางการพัฒนา การพัฒนาบริการด้านดิจิทัลสําหรับหน่วยงานภาครัฐ 6.3 เปูาหมาย/ตัวชี้วัด 6.3.1 การพัฒนาบริการเพื่อสนับสนุนการนําระบบดิจิทัลมาใช้ในภาครัฐให้เกิดการบูรณาการการใช้ ทรัพยากร การเชื่อมโยงระบบงานและการใช้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของรัฐร่วมกัน (เช่น โครงการการให้บริการ ระบบคลาวด์กลางภาครัฐ ( GDCC) และการดูแลความปลอดภัยข้อมูลภาครัฐ โครงการพัฒนาระบบจัดการ ด้านอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร ( Total Document Handling : TDH )) 6.3.2 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน ( Virtual Machine) เพื่อใช้สําหรับคลาวด์กลางภาครัฐ 6.4 รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง บมจ. เอ็นที และ ปณท

  • 49 - 8 . ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ รายสาขา 8.1 สาขาขนส่ง กระทรวงคมนาคม : รฟท. รฟม. กทพ. ขสมก. บขส. ทอท. บวท. สบพ. กทท. 1) บทบาทของสาขาขนส่ง บทบาท รฟท. รฟม. กทพ. ขสมก. บขส. ทอท. บวท. สบพ . กทท. โครงสร้างพื้นฐาน       บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน     กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการ ได้อย่างเพียงพอ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม  2) กรอบภารกิจของสาขาขนส่ง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งและให้บริการสาธารณะที่มีคุณภาพและสวัสดิภาพ ของผู้ใช้บริการเพื่อส่งเสริมให้มีผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งบริหารจัดการโครงข่ายคมนาคม และโลจิสติกส์ที่มุ่งเน้นการขนส่งทางราง และให้มีการเชื่อมต่อได้หลายรูปแบบอย่างไร้รอยต่อเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมถึงการผลิตและพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการ อุตสาหกรรมการบิน และการส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟูาในระบบขนส่งสาธารณะ 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 1. ความมั่นคง 2. การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน 5. การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป 3. การพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 4. การสร้างโอกาส และความเสมอภาค ทางสังคม

  • 50 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาขนส่งมีความสําคัญในการผลักดันแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 4 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐาน การผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก (ขสมก. และ บขส.) หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุน และยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค (รฟท. รฟม. กทพ. กทท. และ ทอท.) หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ํา (รฟท. รฟม. ขสมก. และ บขส.) และหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต (สบพ.) และสามารถ สนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป มูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถแข่งขันได้ หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน และหมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจน ข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจ สาขาขนส่งกับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ 5 รส. 1 สินค้าเกษตร มูลค่าสูง 2 การ ท่องเที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การแพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่ำ 11 ภัยธรรมชาติ 12 กำลังคน สมรรถนะสูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย รฟท. สนับสนุน การขนส่ง รฟ ม. กทพ. ขสมก. บขส . ทอท . บวท. สบพ. กทท. สนับสนุน การขนส่ง หลัก สร้างและพัฒนา ระบบราง และให้บริการ การขนส่ง หลัก สร้างและพัฒนา ระบบราง และให้บริการ การขนส่ง สนับสนุน สร้างและพัฒนา ระบบราง และให้บริการ การขนส่ง สนับสนุน ให้บริการรถไฟ ในราคา ที่เป็นธรรม หลัก สร้างและพัฒนา ระบบรถไฟฟูาและ ให้บริการรถไฟฟูา สนับสนุน สร้างและพัฒนา ระบบรถไฟฟูา และให้บริการ รถไฟฟูา สนับสนุน ให้บริการ รถไฟฟูา หลัก สร้างและ ให้บริการ ทางพิเศษ หลัก จัดหารถ EV และพลังงาน สะอาด หลัก จัดหารถ EV และ พลังงานสะอาด สนับสนุน ให้บริการ รถโดยสาร สนับสนุน ให้บริการ รถโดยสาร สนับสนุน ให้บริการรถ โดยสารในราคา ที่เป็นธรรม สนับสนุน ให้บริการ รถโดยสาร หลัก จัดหารถ EV หลัก จัดหารถ EV หลัก สร้างและ ให้บริการ สนามบิน สนับสนุน สร้างหอบังคับ การบินและ ให้บริการ การเดินอากาศ หลัก สร้างและ ให้บริการท่าเรือ ขนส่งสินค้า หลัก พัฒนาคน/ พัฒนา หลักสูตร สนับสนุน สร้างและ ให้บริการ สนามบิน สนับสนุน ให้บริการ การเดินอากาศ สนับสนุน จัดหารถจักร ดีเซลไฟฟูา หลัก สร้างและพัฒนา ระบบรถไฟฟูา และให้บริการ รถไฟฟูา สนับสนุน ระบบขนส่ง สนับสนุน ระบบขนส่ง - 51 -

  • 52 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาขนส่ง เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาขนส่งสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาขนส่งดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินการ ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2 ) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มุ่งเน้นระบบรางในการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคม และโลจิสติกส์ควบคู่กับการลดการลงทุนก่อสร้างถนน/ทางด่วนระหว่างเมือง และเชื่อมต่อกับการพัฒนาพื้นที่ รอบสถานีรถไฟฟูาหรือระบบขนส่งมวลชน ( Transit - Oriented Development :TOD ) ซึ่งรวมถึงการปฏิรูป เส้นทางเดินรถโดยสารที่เชื่อมได้อย่างต่อเนื่องหลายรูปแบบภายในประเทศ ทั้งในเมืองและระหว่างเมือง และภูมิภาค 4.1.3 ) จัดทําพอร์ตการลงทุน ( Investment portfolio) โดยให้มีการพิจารณาเพิ่มสัดส่วนการใช้ แหล่งเงินลงทุนทางเลือกสําหรับโครงการต่างๆ เช่น การร่วมลงทุนกับเอกชน ( PPP) และกองทุนรวมโครงสร้าง พื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทย ( TFFIF) เป็นต้น รวมถึงเร่งรัดและติดตามการลงทุนให้เป็นไปตามแผน 4.1.4 ) มีนโยบายหรือแผนในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนให้มีการใช้ระบบ ขนส่งสาธารณะมากขึ้น รวมถึงการใช้ยานยนต์ไฟฟูาในการให้บริการขนส่งสาธารณะ เช่น ระบบตั๋วร่วมสําหรับ ระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่เมืองและระหว่างเมือง 4.1.5 ) เพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ โดยการเร่งรัดและติดตามการแก้ไข ปัญหาขององค์กร เช่น รฟท. และ ขสมก. เป็นต้น 4.1.6) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2 รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามหมุดหมายหลักและหมุดหมายสนับสนุน 4.2.2) ดําเนินการลงทุนโครงการต่างๆ ภายใต้แนวทางการพัฒนาให้เป็นไปตามแผน พร้อมทั้ง เพิ่มสัดส่วนการใช้แหล่งเงินทุนทางเลือกในการลงทุนโครงการต่างๆ 4.2.3) เร่งแก้ไขปัญหาขององค์กร พร้อมทั้งบริหารทรัพย์สินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน 4.2.4) ยกระดับการให้บริการและมาตรฐานความปลอดภัยในระบบสาธารณะและระบบโลจิสติกส์ 4.2.6) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือรัฐวิสาหกิจอื่น ที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดีควรเข้ามา มีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 53 - 8.2 สาขาพลังงาน กระทรวงพลังงาน : ปตท. และ กฟผ. กระทรวงมหาดไทย : กฟน. และ กฟภ. 1) บทบาทของสาขาพลังงาน บทบาท ปตท. กฟผ. กฟน. กฟภ. โครงสร้างพื้นฐาน     บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน    กิจการที่ไม่ มีเอกชนดําเนินการได้ อย่างเพียงพอ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม 2) กรอบภารกิจของสาขาพลังงาน สร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมผู้ใช้บริการและการใช้งาน ยานยนต์ไฟฟูา รวมถึงรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเปิดเสรีด้านพลังงาน ส่งเสริมการบูรณาการ ด้านพลังงานและการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสนับสนุนการจัดหาพลังงานแหล่งใหม่และการใช้พลังงาน ทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 1. ความมั่นคง 2. การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 5. การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป หมุดหมายตาม แผนพัฒน์ ฉบับที่ 13 3. ยานยนต์ไฟฟ้า 5. การค้า การลงทุน และโลจิสติกส์ 10. เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคม คาร์บอนต่า 3. การพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

  • 54 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาพลังงานมีความสําคัญในการผลักดันแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 3 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตู การค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) และหมุดหมาย ที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ํา (ปตท. กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) และสามารถสนับสนุน หมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่ และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอเหมาะสม และหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน กับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

  • 55 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ  กฟน. เสนอ หมุดหมาย 3, 8, 13 สคร. เสนอ 3 (หลัก) ( Synergy) เพิ่ม 5 10 (หลัก) 2, 9 (สนับสนุน)  กฟภ. เสนอ หมุดหมาย 2, 5, 8, 9, 10, 11, 12, 13 สคร. เสนอ 5 10 (หลัก) (Synergy) 2, 9 (สนับสนุน) เพิ่ม 3 (หลัก) 1 (สนับสนุน) ข้อเสนอ : แบ่งเป น 3 กลุ่ม คือ หมุดหมายหลัก หมุดหมายสนับสนุน และหมุดหมายที่ต้องบูรณาการความร่วมมือ (Synergy) รส. 1 สินค้า เกษตร มูลค่าสูง 2 การท่อง เที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การแพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความ ยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 กาลังคน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย ปตท. สนับสนุน Biofuel สนับสนุน การ ท่องเที่ยว หลัก ธุรกิจส่งเสริม EV หลัก ระบบท่อส่ง ก๊าซ สนับสนุน R&D ที่วังจันทร์ ใน EECi หลัก โครงการ R&D กระบวนการ ดักจับคาร์บอน สนับสนุน โรงเรียน KVIS, VISTEC กฟผ. สนับสนุน โรงไฟฟูา ชุมชน ชีวมวล สนับสนุน การท่องเที่ยว เข้าถึงไฟฟูา หลัก Smart Grid หลัก ระบบส่ง Synergy Smart Grid หลัก โครงการ Floating Solar กฟน. สนับสนุน เข้าถึงไฟฟูา 3 จังหวัด หลัก พัฒนา Smart Grid หลัก ระบบ จําหน่าย Synergy Smart Grid สนับสนุน เข้าถึงไฟฟูา 3 จังหวัด หลัก จําหน่ายไฟฟูา กฟภ. สนับสนุน โรงไฟฟูา ชุมชน ชีวมวล สนับสนุน เกาะ เข้าถึง ไฟฟูา ภูมิภาค หลัก พัฒนา Smart Grid หลัก ระบบ จําหน่าย Synergy Smart Grid สนับสนุน เข้าถึงไฟฟูา ภูมิภาค หลัก โรงไฟฟูา ชุมชน หมายเหตุ : การประชุม CEO Forum เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 CEO ปตท. แจ้งขอเพิ่มเติมหมุดหมายที่ 10 เป็นหมุดหมายหลัก - 55 -

  • 56 - 4 ) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงานสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงานดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินการ ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) ให้กระทรวงเจ้าสังกัดผลักดันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้พลังงานทดแทนหรือพลังงานหมุนเวียน ในการผลิตไฟฟูามากขึ้น โดยลดการใช้ก๊าซธรรมชาติ พร้อมทั้งพัฒนาและขยายโครงสร้างพื้นฐานที่จําเป็นเพื่อรองรับ การผลิตไฟฟูาจากพลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ (Carbon Emission) ตลอดจน ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการสามารถผลิตไฟฟูาจากพลังงานหมุนเวียนใช้เอง 4.1.3) ให้กระทรวงพลังงานเป็นหน่วยงานหลักร่วมกับกระทรวงมหาดไทยเร่งรัดและกํากับ การดําเนินงานและการลงทุนของรัฐวิสาหกิจให้เป็นไปตามแผนแม่บท แผนพัฒนาและแผนบูรณาการต่างๆ ด้านพลังงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและการเปิดเสรีด้านพลังงาน และลด การลงทุนซ้ําซ้อน เช่น ด้านโครงข่ายสมาร์ทกริด ด้านกําลังการผลิตไฟฟูา ด้านบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ด้านการอนุรักษ์พลังงาน ด้านพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ด้านการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน เป็นต้น รวมถึงติดตามความคืบหน้าและประเมินผลการดําเนินการอย่างต่อเนื่อง 4.1.4) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.2.2) ให้ดําเนินการลงทุนในโครงการต่างๆ ให้เป็นไปตามแผน รวมทั้งมีการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงาน และมีประสิทธิภาพ 4.2.3) ให้จัดทําแผนที่มีการบูรณาการต่างๆ ด้านพลังงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกันและลด การลงทุนซ้ําซ้อน พร้อมทั้งยกระดับการให้บริการประชาชนและสนับสนุนการดําเนินการที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การอํานวยความสะดวกในการติดตั้งมิเตอร์และติดตั้ง Solar cell ให้แก่ประชาชน รวมถึงการจัดทํา Energy Trading Platform ) และการสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนบริเวณโรงไฟฟูาชุมชนชีวมวล เป็นต้น 4.2.4) สําหรับการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 57 - 8.3 สาขาสาธารณูปการ กระทรวงมหาดไทย : กปน. กปภ. อจน. กระทรวงอุตสาหกรรม : กนอ. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : กคช. กระทรวงการคลัง : ธพส. 1) บทบาทของสาขาสาธารณูปการ บทบาท กปน. กปภ. อจน. กนอ. กคช. ธพส. 1 . โครงสร้างพื้นฐาน    2 . บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน    3 . กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการ ได้อย่างเพียงพอ    4 . กิจการที่รัฐต้องควบคุม 5 . ภารกิจเชิงส่งเสริม 2) กรอบภารกิจของสาขาสาธารณูปการ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านน้ําและน้ําเสีย และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชน รองรับการเจริญเติบโตของเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพควบคู่ไปกับการเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ) ธ ช ( 56 – 58 ) ช 1 . ความ มั่นคง 2 . การ สร้าง ความสามารถ ในการ แข่งขัน 4 . การ สร้าง โอกาสและ ความเสมอภาค ทางสังคม 5 . การสร้าง การเติบโต บน คุณภาพ ชีวิตที่ เปน มิตรกับสิ่งแวดล้อม 6 . การ ปรับ สมดุล และพัฒนา ระบบบริหาร ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป หมุด หมาย ตาม แผนพัฒน์ ฉบับ ที่ 13 3 . ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 . การแพทย์ สุขภาพ 6 . อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 3 . การพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ 5 . การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 8 . พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 . ความ ยากจนข้ามรุ่น 10 . เศรษฐกิจ หมุนเวียน คาร์บอนต่า 13 . ภาครัฐ ทันสมัย

  • 58 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการมีความสําคัญในการผลักดัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 8 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก (กนอ.) หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ และสุขภาพมูลค่าสูง (กคช.) หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญ ของภูมิภาค (กปน. กปภ. อจน. และ กนอ.) หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ และอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน (กนอ.) หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน (กปน. กปภ. อจน. และ กนอ.) หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม (กปน. กปภ. และ กคช.) หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจ หมุนเวียนและคาร์บอนต่ํา (อจน.) และหมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ ประชาชน (ธพส.) และสามารถสนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยว ที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการกับทิศทางหลัก ในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

  • 59 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ รส . 1 สินค้า เกษตร มูลค่าสูง 2 การท่องเที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การ แพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 กาลังคน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย กปน . สนับสนุน โครงสร้าง พื้นฐาน หลัก /Synergy จัดหา ผลิต และจําหน่าย น้ําประปา หลัก / Synergy จัดหา ผลิต และจําหน่าย น้ําประปา ) หลัก / Synergy จัดหา ผลิต และจําหน่าย น้ําประปา ) กปภ . อจน . หลัก / Synergy บริหารจัดการ ระบบจัดการ น้ําเสีย หลัก / Synergy บริหาร จัดการระบบ จัดการ น้ําเสีย หลัก การบริหาร จัดการน้ําเสีย ชุมชน เพื่อ แก้ไขปัญหา มลพิษทางน้ํา กนอ . หลัก จัดตั้งนิคม เพื่อการ ลงทุน ด้าน EV หลัก การพัฒนา ท่าเรือ หลัก การจัดตั้ง นิคม เพื่อการ ลงทุนด้าน อิเล็กทรอ นิกส์และ เครื่องใช้ ไฟฟูา หลัก การพัฒนา นิคม ในพื้นที่ EEC และรองรับ การลงุทน New S - Curve กคช หลัก การ พัฒนา ที่อยู่ อาศัย สําหรับ คนสูงวัย หลัก การพัฒนา ที่อยู่อาศัย สําหรับ ผู้มีรายได้น้อย - ปานกลาง ธพส . หลัก การพัฒนา อสังหา ริมทรัพย์ และ ศูนย์ ราชการ ที่ทันสมัย - 59 -

  • 60 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการ เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินการ ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) ให้กระทรวงมหาดไทยในฐานะที่กํากับดูแล กปน. กปภ. และ อจน. ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ ที่ดําเนินการด้านน้ําประปาและน้ําเสีย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กํากับให้มีการจัดทําแผนบูรณาการ ด้านระบบประปาและการบริหารจัดการบําบัดน้ําเสียเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดความซ้ําซ้อนในการลงทุน และพื้นที่การให้บริการ รวมถึงควรมีการพัฒนารูปแบบการให้บริการที่สอดคล้องและต่อเนื่องกัน รวมถึงกํากับ ติดตามการดําเนินงานให้เป็นไปตามแผน 4.1.3) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาตามทิศทางหลัก ในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.2.2) กปน. กปภ. และ อจน. ควรมีการจัดทําแผนบูรณาการร่วมกัน เพื่อให้ การดําเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจในกิจการประปาเป็นระบบและสอดคล้องกัน (ให้รวมถึงหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ ด้านน้ําประปาและน้ําเสียด้วย เช่น อปท.) 4.2.3) กปน. และ กปภ. ควรดําเนินการบริหารจัดการลดน้ําสูญเสียให้ได้ ร้อยละ 20 (กปภ.) และร้อยละ 23 (กปน.) ตามแผนภายในปี 2570 โดยมีการวิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยที่แท้จริงที่ส่งผลต่ออัตรา น้ําสูญเสียขององค์กร เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมและควรจัดสรรน้ําให้เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ํา ของประชาชน และในโรงงานอุตสาหกรรมให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ รวมทั้งมีน้ําประปาสะอาดได้มาตรฐานสากล 4.2.4) อจน. ควรจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ปริมาณน้ําเสียที่ต้องมีการบําบัด รวมถึงการนําน้ําเสีย ที่ผ่านการบําบัดมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยการติดตามปริมาณการใช้น้ําเสียที่ผ่านการบําบัดเพื่อนํามาจัดทําแผน การดําเนินงานขององค์กร 4.2.5) กปภ. ควรเร่งจัดทําแนวทางการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางเงินเพื่อให้องค์กรมีสภาพคล่อง เพียงพอต่อการลงทุน

  • 61 - 4.2.6) ธพส. ควรเร่งดําเนินการจัดหาและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐให้มีความทันสมัยรองรับ ความเป็นอัจฉริยะและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนจัดหาทรัพย์สินใหม่ๆ และบริหารทรัพย์สินของภาครัฐ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เป็นไปตามบทบาทภารกิจตามวัตถุประสงค์การจัดตั้ง 4.2.7) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 62 - 8.4 สาขาสถาบันการเงิน กระทรวงการคลัง : ออมสิน ธสน. ธ.ก.ส. ธอส. ธพว. ธอท. บสอ. บสย. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : สธค. 1) บทบาทของสาขาสถาบันการเงิน บทบาท ออมสิน ธสน. ธ.ก.ส. ธอส. ธพว. ธอท. บสอ. บสย. สธค. โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการ ได้อย่างเพียงพอ         กิจการที่รัฐต้องคว บคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม  2) กรอบภารกิจสาขาสถาบันการเงิน เป็นสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา และสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างทั่วถึง ควบคู่กับ การให้ความรู้ทางการเงิน รวมทั้งสนับสนุนความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ และลดความเหลื่อมล้ําในสังคม 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 13 1. ความมั่นคง 2. การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน 4. การสร้าง โอกาสและ ความเสมอภาค ทางสังคม 5. การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป 3. การพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 7 SMEs ธ ช 5

  • 63 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงินมีความสําคัญในการผลักดัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 5 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง (ธ.ก.ส.) หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตู การค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค (ธสน.) หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถแข่งขันได้ (ออมสิน ธสน. ธ.ก.ส. ธพว. ธอท. และ บสย.) หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม (ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธอท. และ สธค.) และหมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจาก ภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ธ.ก.ส. ออมสิน ธอส. ธอท. ธพว. และ บสย.) ทั้งนี้ สามารถสรุป ความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงินกับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

  • 64 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ประเด็นหารือของรัฐวิสาหกิจ สาขาสถาบันการเงิน ( ต่อ ) 1 2 3 4 / 5 6 7 SME 8 9 10 c arbon 11 ธ ช 12 13 ธ ธ ธ ธ ธ ประเด็นหารือของรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน (ต่อ) 1 2 3 4 / 5 6 7 SME 8 9 10 c arbon 11 ธ ช 12 13 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมา ยของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ - 64 -

  • 65 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงินสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) ควรกํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามขอบข่ายของวัตถุประสงค์การจัดตั้ง รวมถึงแผนงาน/โครงการสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ 4.1.2) ควรกํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินการ ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจเพื่อปิดช่องว่างของผู้เข้าถึงแหล่งเงินทุนและลดความเหลื่อมล้ํา ตลอดจนกําหนดนโยบายเพื่อให้รัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ( SFIs ) พิจารณาลดการดําเนินธุรกรรม ทางการเงินที่มีความซ้ําซ้อนกัน 4.1.3) ควรกําหนดให้รัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ( SFIs) มีการจัดทําแผนบูรณาการร่วมกัน และมีนโยบายที่ชัดเจนต่อบทบาทของรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ( SFIs ) ในอนาคต ซึ่งได้รับผลกระทบ จาก Disruptive Technology 4.1.4) ให้กระทรวงการคลังกํากับรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ( SFIs ) ให้มีการบูรณาการพัฒนา Digital Platform ในการให้บริการลูกค้าร่วมกัน เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวกและคล่องตัว รวมถึงกํากับและติดตามการดําเนินการดังกล่าว 4.1.5) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ควรมีการดําเนินงานให้เป็นตามแผนการ/โครงการ และบทบาทหน้าที่ของรัฐวิสาหกิจ สาขาสถาบันการเงิน ( SFIs) แต่ละแห่ง รวมถึงพัฒนา Digital Platform ในการให้บริการลูกค้า 4.2.2) ควรมีการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจในการพัฒนา Digital Platform และข้อมูลขนาดใหญ่ ( Big Data) รวมถึงการกําหนดกลุ่มเปูาหมายในการให้ความรู้ทางการเงิน เพื่อไม่ให้เกิดความทับซ้อนกัน ในการให้ความรู้ทางการเงิน 4.2.3) ควรมีการจัดทําแผนรองรับผลกระทบจาก Disruptive Technology ซึ่งจะส่งผลต่อ การดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน ( SFIs) ในอนาคต 4.2.4) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 66 - 8.5 สาขาสาขาสื่อสาร กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม : ปณท และ บมจ. เอ็นที สำนักนายกรัฐมนตรี : บมจ. อสมท 1) บทบาทของสาขาสื่อสาร บทบาท ปณท บมจ. เอ็นที บมจ. อสมท โครงสร้างพื้นฐาน   บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน   กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการได้อย่างเพียงพอ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม 2) กรอบภารกิจของสาขาสื่อสาร จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานและบริการโทรคมนาคมและสื่อสาร ในการสนับสนุนการพัฒนาและยกระดับดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและลดความเหลื่อมล้ําทางสังคมของประเทศ 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 13 จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารมีความสําคัญในการผลักดันแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 6 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค (ปณท. และ บมจ. เอ็นที) หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน (บมจ. เอ็นที) หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน (บมจ. เอ็นที) หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม (บมจ. เอ็นที) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต (บมจ. อสมท) และหมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน (บมจ. เอ็นที และ ปณท) สามารถสนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนํา ด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพ และความยั่งยืน หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟูาที่สําคัญของโลก และหมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถแข่งขันได้ทั้งนี้ สามารถสรุป ความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารกับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้ 1. ความมั่นคง 2. การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน 4. การสร้าง โอกาสและ ความเสมอภาค ทางสังคม 5. การสร้าง การเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เปน มิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. การปรับสมดุล และพัฒนา ระบบบริหาร ธ ช 3. การพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากร มนุษย์

  • 67 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ ประเด็นหารือของรัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสาร 2 1 2 3 4 / 5 6 7 SME 8 9 10 carbon 11 ธ ช 12 13 ปณท สนับสนุน จัดส่ง ผลผลิต จากผู้ผลิต จนถึงลูกค้า ปลายทาง สนับสนุน รถขนส่ง ไปรษณีย์ EV หลัก เป็นผู้ให้บริการ ไปรษณีย์พื้นฐาน และโลจิสติกส์ สนับสนุน จัดส่ง ผลผลิต จากผู้ผลิต จนถึง ลูกค้า ปลายทาง หลัก สนับสนุน ภาครัฐ ให้สามารถ เปลี่ยนผ่าน ไปสู่รัฐบาล ดิจิทัล บมจ. เอ็นที สนับสนุน บริการ พื้นฐาน โทรคมนาคม และดิจิทัล หลัก ลงทุนโครงสร้าง พื้นฐานด้าน โทรคมนาคม และดิจิทัล หลัก ให้บริการ โครงข่าย เชื่อมโยงทั้ง ในและ ระหว่าง ประเทศ หลัก ลงทุน โครงสร้าง พื้นฐาน ด้าน โทรคมนาค มและ ดิจิทัล หลัก ขยาย โครงข่าย อินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง ครอบคลุม ทุกหมู่บ้าน ทั่วไทย สนับสนุน พัฒนา กําลังคน ด้าน เทคโนโลยี ดิจิทัล หลัก สนับสนุน ภาครัฐ ให้สามารถ เปลี่ยนผ่าน ไปสู่รัฐบาล ดิจิทัล บมจ. อสมท หลัก ให้ข้อมูล ข่าวสาร และสร้าง Content หรือองค์ ความรู้ใหม่ แก่ประชาชน - 54 - - 67 -

  • 68 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสาร เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4 . 1 . 1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินการ ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) รัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารอยู่ในสภาวะอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันรุนแรง และมีการเปลี่ยนแปลง ความต้องการความคาดหวังของผู้บริโภคและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ( Technology Disruption ) ทําให้รัฐวิสาหกิจหลายแห่งยังไม่สามารถดําเนินการปรับเปลี่ยนองค์กรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ดังนั้น กระทรวงเจ้าสังกัดจึงต้องกําหนดนโยบายให้รัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสารเร่งดําเนินงานในการปรับรูปแบบ ธุรกิจ ( Business Model ) ให้ทันต่อสถานการณ์ในอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ควรให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากร กระบวนการทํางานภายใน และผลิตภัณฑ์และบริการ ให้ตอบสนอง กับแนวโน้มการดําเนินธุรกิจบริการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 4.1.3) กําหนดนโยบายในการเป็นเครื่องมือรัฐและการดําเนินงานเชิงพาณิชย์ของ บมจ. เอ็นที ให้ชัดเจน รวมถึงมุ่งให้เกิดการใช้ทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้ประโยชน์จากคลื่น 5 G การบริหารจัดการดาวเทียมที่ได้รับโอนสิทธิมาจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2563 ที่ได้มอบหมายให้กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมพิจารณาเรื่องดังกล่าวให้ชัดเจนภายหลังการควบรวมเป็น บมจ. เอ็นที 4.1.4) เร่งรัดให้รัฐวิสาหกิจที่ประสบปัญหาทางการเงินดําเนินการตามแผนแก้ไขปัญหาองค์กร และกําหนดตัวชี้วัดเชิงประสิทธิภาพ ( Performance) เพื่อให้มีการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานมากขึ้น 4.1.5) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ควรพิจารณากําหนดบทบาทของ ปณท ที่ยังต้องเป็นผู้ให้บริการไปรษณีย์และโลจิสติกส์ และควรพิจารณาการปรับโครงสร้างธุรกิจ ( Restructure Business ) ให้มีประสิทธิภาพในด้านการแข่งขัน โดยใช้จุดแข็งของ ปณท อาทิ การเข้าถึงผู้รับบริการในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้สามารถดําเนินการในเชิงพาณิชย์ รวมไปถึงการหาพันธมิตรที่เหมาะสมเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันต่อไป 4.2.2) บมจ. เอ็นที เป็นรัฐวิสาหกิจที่อยู่ระหว่างแก้ไขปัญหาองค์กร จึงควรเร่งกําหนดแนวทาง การบริหารจัดการทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการพัฒนาธุรกิจใหม่ที่สามารถให้บริการได้ก่อนปี 2568 เพื่อทดแทนรายได้จากพันธมิตรที่จะหมดไปในปี 2569 และจัดทํารายละเอียดของแผนงาน/โครงการที่สําคัญ รวมถึงงบประมาณให้ชัดเจน รวมถึงกําหนดผู้รับผิดชอบ เปูาหมาย งบประมาณ และผลลัพธ์ที่ได้รับ แต่ละแผนงาน/โครงการ ตลอดจนปรับปรุงประมาณการทางการเงินให้สอดคล้องกับแนวทางการดําเนินการ ข้างต้น

  • 69 - 4.2.3) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจ 4.2.4) บมจ. อสมท ควรพิจารณาความจําเป็นในการคงบทบาทและสถานะความเป็นรัฐวิสาหกิจ 4.2.5) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 70 - 8.6 สาขาเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : กยท. อ.ส.ค. อสป. อ.ต.ก. กระทรวงพาณิชย์ : อคส. กระทรวงมหาดไทย : อต. 1 ) บทบาทของสาขาเกษตร บทบาท กยท. อ.ส.ค. อสป. อ.ต.ก. อคส. อต. * โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการได้อย่างเพียงพ อ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม       หมายเหตุ : * เป็นรัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมแต่นํามาพิจารณาร่วมกับรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร 2) กรอบภารกิจของสาขาเกษตร การเพิ่มมูลค่าและขีดความสามารถการแข่งขันทางการเกษตร โดยเสริมสร้างศักยภาพด้านการผลิต และตลาดสินค้าเกษตร เพื่อยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตให้กับเกษตรกรและชุมชน รวมถึงสร้างความเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจฐานรากให้เกิดความยั่งยืน ) ธ ช ( - ) ช จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาเกษตรมีความสําคัญในการผลักดันแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 1 หมุดหมายหลักดังนี้ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง (กยท. อ.ส.ค. อสป. อ.ต.ก. อคส. และ อต.) สามารถสนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพ และความยั่งยืน ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตรกับทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจ ดังนี้ ช ธ ช

  • 71 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ 1 2 3 4 / 5 6 7 SME 8 9 10 carbon 11 ธ ช 12 13 /Synergy 13 - 71 -

  • 72 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตรสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตรดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินงาน ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) กําหนดบทบาทและภารกิจ และเปูาหมายการดําเนินงานที่กระทรวงเจ้าสังกัดคาดหวัง จากรัฐวิสาหกิจให้มีความชัดเจน เพื่อรัฐวิสาหกิจนําไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทําแผนงาน/โครงการให้เป็นไป ตามเปูาหมายต่อไป 4.1.3) กํากับให้รัฐวิสาหกิจนําโมเดลเศรษฐกิจ BCG มาใช้ในการส่งเสริมเกษตรกรและพัฒนาสินค้า เกษตร ตั้งแต่ต้นน้ําถึงปลายน้ํา โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการสร้างมูลค่าสินค้าเกษตร 4.1.4) เพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ โดยการเร่งรัดและติดตามการแก้ไขปัญหา ขององค์กร เช่น อ.ต.ก. และ อคส. เป็นต้น 4.1.5) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงมหาดไทยในฐานะกระทรวงเจ้าสังกัดของรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง ได้แก่ อ.ต.ก. อคส. และ อต. เข้ามามีส่วนร่วมและกํากับการจัดทําแผนส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและการดําเนินงานร่วมกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร และให้การบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพ และลดความทับซ้อนระหว่างกัน โดยปรับปรุงให้การดําเนินงานมีความเชื่อมต่อและส่งเสริมซึ่งกันและกัน มากยิ่งขึ้น ตลอดจนการกํากับติดตามการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจให้เป็นไปตามแผนดังกล่าว 4.1.6) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อาทิเช่น กระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม และกระทรวงการคลัง) ในการบริหารจัดการและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร 4.1.7) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2 รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) อตก. อคส. และ อต. ร่วมกันพิจารณาจัดทําแผนส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และการดําเนินงานร่วมกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร และให้การบริหารจัดการ ของรัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพและลดความทับซ้อนระหว่างกัน โดยปรับปรุงให้การดําเนินงานมีความเชื่อมต่อ และส่งเสริมซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น 4.2.2) นําโมเดลเศรษฐกิจ BCG มาใช้ในการส่งเสริมเกษตรกรและพัฒนาสินค้าเกษตร ตั้งแต่ต้นน้ํา ถึงปลายน้ํา โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการสร้างมูลค่าสินค้าเกษตร 4.2.3) เร่งแก้ไขปัญหาขององค์กร พร้อมทั้งบริหารทรัพย์สินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน และใช้ประโยชน์จากโครงการที่ลงทุนไปให้คุ้มค่า อาทิ โครงการปรับปรุงสุขอนามัยท่าเทียบเรือประมงระนอง ของ อสป. เป็นต้น

  • 73 - 4.2.4) ดําเนินการตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามหมุดหมายหลักและหมุดหมายสนับสนุน 4.2.5) ดําเนินการการลงทุนโครงการต่างๆ ภายใต้แนวทางการพัฒนาให้เป็นไปตามแผน พร้อมทั้ง เพิ่มสัดส่วนการใช้แหล่งเงินทุนทางเลือกในการลงทุนโครงการต่างๆ 4.2.6) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 74 - 8.7 สาขาทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : อสส. อ.ส.พ. และ อ.อ.ป. 1) บทบาทของสาขาทรัพยากรธรรมชาติ บทบาท อสส. อ.ส.พ. อ.อ.ป. โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการได้อย่างเพียงพอ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม    ) กรอบภารกิจของสาขาทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ ควบคู่กับการอนุรักษ์และสร้างความตระหนักในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ให้แก่ชุมชนและประชาชน รวมถึงบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ให้เกิดมูลค่าทางสังคมและเศรษฐกิจ ) ธ ช ( - ) ช จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญในการผลักดัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายในหมุดหมายสนับสนุน ได้แก่ หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน และหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ ของรัฐวิสาหกิจสาขาสาขาทรัพยากรธรรมชาติกับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้ 1. ความมั่นคง 2. การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 5. การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป carbon

  • 75 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ ประเด็นหารือของรัฐวิสาหกิจ สาขาทรัพยากรธรรมชาติ รส . 1 สินค้า เกษตร มูลค่า สูง 2 การ ท่อง เที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การ แพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความ ยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 กาลังคน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย อสส . สนับสนุน ( แหล่ง เรียนรู้ และ ท่องเที่ยว ) สนับสนุน ( พัฒนา ทักษะ ความรู้ ) อ . ส . พ . สนับสนุน ( ส่งเสริม การ ท่องเที่ยว ) สนับสนุน ( พัฒนา ทักษะ ความรู้ อ . อ . ป . สนับสนุน ( พัฒนา ธุรกิจ ท่องเที่ยว ) - 75 -

  • 76 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาทรัพยากรธรรมชาติสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาทรัพยากรธรรมชาติ ดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินงาน ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) ส่งเสริมให้ อ.อ.ป. ดําเนินการปลูกปุา โดยพิจารณาแนวทางในการร่วมมือกับภาครัฐ และภาคเอกชน และการจัดทําบัญชีคาร์บอนเครดิตเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย 4.1.3) การสนับสนุนให้รัฐวิสาหกิจสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์ เช่น ด้านการวิจัย ด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการบริหารจัดการพื้นที่ เป็นต้น 4.1.4) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.2.2) ควรมีการพัฒนาศักยภาพของสถานที่ในความรับผิดชอบในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เพิ่มขึ้น โดยกําหนดเปูาหมายของนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาเยี่ยมชมในเชิงอนุรักษ์ด้วย 4.2.3) ควรมีการตั้งเปูาหมายในการพัฒนาพื้นที่ปุาเศรษฐกิจของ อ.อ.ป. เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม ไม้เศรษฐกิจ และให้ อ.อ.ป. เป็นผู้บริหารจัดการพื้นที่ปลูกปุา โดยพิจารณาแนวทางในการร่วมมือกับภาครัฐ และภาคเอกชน 4.2.4) อ.ส.พ. ควรสนับสนุนการวิจัยที่เป็นประโยชน์และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ เช่น การนําพืช พฤกษศาสตร์ มาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์สปา ยา และสมุนไพร เป็นต้น 4.2.5) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 77 - 8.8 สาขาสังคมและเทคโนโลยี กระทรวงสาธารณสุข : อภ. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีำ : ททท. และ กกท. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม : วว. และ อพวช. 1) บทบาทของสาขาสังคมและเทคโนโลยี บทบาท อภ. ททท. กกท. วว. อพวช. โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน กิจการที่ไม่มีเอกชนดําเนินการได้ อย่างเพียงพอ กิจการที่รัฐต้องควบคุม ภารกิจเชิงส่งเสริม      2) กรอบภารกิจของสาขาสังคมและเทคโนโลยี ส่งเสริมการท่องเที่ยวและกีฬา สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจและสังคมรวมถึงให้มีการศึกษา วิจัย และสร้างเครือข่ายด้านยาและเวชภัณฑ์เพื่อเสริมสร้าง ความมั่นคงและการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ด้านสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 2. การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน 4. การสร้าง โอกาสและ ความเสมอภาค ทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป หมุดหมายตาม แผนพัฒน์ ฉบับที่ 13 2. การท่องเที่ยว 4. การแพทย์ สุขภาพ 12. กาลังคนและ สมรรถนะสูง 3. การพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 7. SME

  • 78 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาสังคมและเทคโนโลยีมีความสําคัญในการผลักดัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 4 หมุดหมายหลัก ดังนี้ หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน (ททท. และ กกท.) หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็น ศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง (อภ. และ กกท.) หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมที่เข้มแข็งมีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้ (วว.) และหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนา แห่งอนาคต (อพวช.) และสามารถสนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง และหมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สําคัญของภูมิภาค ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ ของรัฐวิสาหกิจสาขาสังคมและเทคโนโลยีกับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

  • 79 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ 5/20/2022 รส . 1 สินค้า เกษตร มูลค่าสูง 2 การ ท่อง เที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การ แพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความ ยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 กาลังคน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย อภ . ททท . กกท . วว . อพวช . หลัก การพัฒนา และยกระดับ การท่องเที่ยว สนับสนุน ส่งเสริม เศรษฐกิจ ฐานราก สนับสนุน พัฒนา การทดสอบ ชีวกลศาสตร์ สนับสนุน ทดสอบ ระบบรางรถไฟ ความเร็ว สูง หลัก ยกระดับและ เพิ่มศักยภาพ SMEs สนับสนุน การเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตร สนับสนุน การเพิ่มมูลค่า SMEs สนับสนุน การเพิ่มมูลค่า การแพทย์ และสุขภาพ หลัก การส่งเสริม การกีฬา หลัก พัฒนา วัคซีน โค วิด - 19 หลัก จัดการแข่งขัน กีฬาและพัฒนา เมืองกีฬา หลัก ก่อสร้าง พิพิธภัณฑ์ - 79 -

  • 80 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาสังคมและเทคโนโลยี เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาสังคมและเทคโนโลยีสามารถบรรลุทิศทางหลักในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาสังคมและเทคโนโลยี ดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินงาน ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทําแพลตฟอร์มด้านการท่องเที่ยวเพื่ออํานวยความสะดวก ด้านข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก และการเดินทางในทุกรูปแบบ โดยสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลของภาครัฐ และเอกชน 4.1.3) ส่งเสริม สนับสนุน และปลูกฝังค่านิยมของประชาชนในการออกกําลังกาย เล่นกีฬา และเข้าร่วม กิจกรรมกีฬาของประชาชนทุกกลุ่มและส่งเสริมสุขภาพรูปแบบใหม่ที่นําไปสู่การสร้างสังคมสูงวัยที่มีสุขภาวะ โดยมีพื้นที่ด้านกีฬาและการออกกําลังกายที่ดึงดูดผู้ใช้บริการ 4.1.4) ให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อาทิเช่น กระทรวงคมนาคม กระทรวงพลังงาน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม) ในการบริหารจัดการและอํานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว 4.1.5) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.2.2) ททท. ควรมีแผนด้านการประชาสัมพันธ์และการสนับสนุนแพลตฟอร์มด้านการท่องเที่ยว เพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทาง โดยสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลของภาครัฐและเอกชน ข้อมูล แหล่งท่องเที่ยว ที่พัก และการเดินทางในทุกรูปแบบ 4.2.3) กกท. ควรมีแผนดําเนินการที่ปลูกฝังค่านิยมในการออกกําลังกายของประชาชนทุกกลุ่ม โดยมีพื้นที่ด้านกีฬาและกิจกรรมออกกําลังกายที่ดึงดูดผู้ใช้บริการ 4.2.4) ททท. ควรบูรณาการด้านการท่องเที่ยว กับรัฐวิสาหกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (อาทิเช่น ด้านการศึกษา วิจัยและพัฒนา) 4.2.5) ในการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจอื่นที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดี ควรเข้ามามีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 81 - 9.9 สาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม กระทรวงการคลัง : สํานักงานสลากฯ ยสท. โรงงานไพ่ฯ องค์การสุราฯ สรท. กระทรวงกลาโหม : บอท. สำนักงานตารวจแห่งชาติ : โรงพิมพ์ฯ กระทรวงมหาดไทย : อต . (นําไปพิจารณาร่วมกับรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร) 1) บทบาทของสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม บทบาท สำนักงาน สลาก ยสท. โรงงาน ไพ่ องค์การ สุรา สรท. บอท. โรงพิมพ์ อต. โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน กิจกำรที่ไม่มีเอกชนดําเนินการ ได้อย่างเพียงพอ  *  *  * กิจการที่รัฐต้องควบคุม     ภารกิจเชิงส่งเสริม  หมายเหตุ : * เป็นบทบาทตามการจัดตั้ง แต่ปัจจุบันอาจมีการพิจารณาทบทวนบทบาท 2) กรอบภารกิจของสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม การพิจารณาภารกิจขององค์กรให้เหมาะสมกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ของประเทศ และบริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาลและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 2. การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 4. การสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม 5. การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป

  • 82 - จากบทบาทและกรอบภารกิจข้างต้นพบว่า รัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมมีความสําคัญ ในการผลักดันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ให้บรรลุเปูาหมายใน 1 หมุดหมายหลัก ดังนี้ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนําด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง (ยสท. องค์การสุราฯ และ อต.) และสามารถสนับสนุนหมุดหมายอื่นๆ ได้แก่ หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครอง ทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม ทั้งนี้ สามารถสรุปความสัมพันธ์ของรัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม กับทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนี้

  • 83 - หมุดหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 หมายเหตุ : * นําไปพิจารณาร่วมกับรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร การดําเนินการตามหมุดหมายของรัฐวิสาหกิจสามารถดูรายละเอียดได้ในข้อ 6 ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมถึงหมุดหมายที่ 1 3 7 10 11 12 และ 13 ที่รัฐวิสาหกิจทุกแห่งต้องดําเนินการ ประเด็นหารือของรัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม (ต่อ) รส. 1 สินค้า เกษตร มูลค่าสูง 2 การ ท่อง เที่ยว 3 ยานยนต์ ไฟฟ้า 4 การ แพทย์ / สุขภาพ 5 การค้า การลงทุน โลจิสติกส์ 6 อิเล็ก ทรอนิกส์ อัจฉริยะ 7 SME 8 พื้นที่ เมือง อัจฉริยะ 9 ความ ยากจน ข้ามรุ่น 10 เศรษฐกิจ หมุนเวียน carbon ต่า 11 ภัย ธรรมชาติ 12 กาลังคน สมรรถนะ สูง 13 ภาครัฐ ทันสมัย สานัก งานสลาก สนับสนุน ผู้ด้อย โอกาส/ผู้มี รายได้น้อย ยสท. หลัก นโยบาย ช่วยเหลือ เกษตรกร โรงงานไพ่ องค์การ สุรา หลัก ธุรกิจ เอทานอล สรท. บอท. โรงพิมพ์ อต. * หลัก การบริหาร จัดการสินค้า เกษตร - 83 -

  • 84 - 4) การดำเนินการภายใต้ทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อให้การดําเนินการของรัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมสามารถบรรลุทิศทางหลักในการ พัฒนารัฐวิสาหกิจตามหมุดหมายหลักและสนับสนุน จึงขอให้กระทรวงเจ้าสังกัดและรัฐวิสาหกิจสาขาอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรมดําเนินการ ดังนี้ 4.1) กระทรวงเจ้าสังกัด 4.1.1) กํากับและติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจ รวมถึงดําเนินงาน ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.1.2) กํากับให้รัฐวิสาหกิจมีการพัฒนารูปแบบธุรกิจ ( Business Model ) ของรัฐวิสาหกิจ ให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป เพื่อสร้างเสถียรภาพ และเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันให้องค์กร รวมถึงการทบทวนบทบาทของรัฐวิสาหกิจที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม เช่น บอท. โรงพิมพ์ฯ และ สรท. 4.1.3) ในการบูรณาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจในกํากับ กระทรวงเจ้าสังกัดควรให้ ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการดังกล่าว 4.2) รัฐวิสาหกิจ 4.2.1) ควรพิจารณารูปแบบธุรกิจ ( Business Model) ขององค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร ให้สามารถแข่งขันได้ โดยปรับรูปแบบการทํางาน เทคนิค และกําลังการผลิต เป็นต้น รวมถึงทบทวนบทบาท ขององค์กรสําหรับรัฐวิสาหกิจที่มีปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น บอท. โรงพิมพ์ฯ และ สรท. 4.2.2) ดําเนินงานตามบทบาทและภารกิจขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ 4.2.3) สําหรับการบูรณาการระหว่างรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งนั้น รัฐวิสาหกิจอาจพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระหว่างกันโดยอาจเป็นความร่วมมือในการผลักดันการดําเนินงานหรือการให้ความช่วยเหลือรัฐวิสาหกิจอื่น ที่ขาดความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจมีศักยภาพและมีผลประกอบการดีควรเข้ามา มีบทบาทในการร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้มากขึ้น

  • 85 - 9 . การกำกับและรายงานผลการดำเนินการตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เป็นแผนที่กําหนดทิศทางหลักในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ จํานวน 52 แห่ง ภายใต้ พ . ร . บ . พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ และเพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีการขับเคลื่อน แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ไปสู่ การปฏิบัติได้จริง พ . ร . บ . พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ จึงได้กําหนดให้รัฐวิสาหกิจต้องจัดทําแผนวิสาหกิจระยะ 5 ปี และ แผนปฏิบัติการประจําปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ตามหลักเกณฑ์ที่ สคร. กําหนด รวมถึงกําหนดให้ มีการรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปีของรัฐวิสาหกิจ และการรายงานผล การดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ ดังนั้น จึงเห็นควรกําหนดแนวทางในการกํากับและรายงานผล การปฏิบัติ รวมถึงการรายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ให้สอดคล้องกับ พ . ร . บ . พัฒนา รัฐวิสาหกิจฯ ดังนี้ 1 . การกํากับและรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปีของรัฐวิสาหกิจ 1 . 1 ให้รัฐวิสาหกิจทุกแห่งรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปีผ่านกระทรวง เจ้าสังกัด ก่อนจัดส่งให้ สคร . ตามระยะเวลาและรูปแบบที่ สคร. กําหนด 1 . 2 ให้ สคร . จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปีของรัฐวิสาหกิจภาพรวม เสนอต่อ คนร . เพื่อทราบ 2 . การกํากับและรายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ 2 . 1 ให้รัฐวิสาหกิจทุกแห่งรายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ผ่านกระทรวง เจ้าสังกัด ก่อนจัดส่งให้ สคร . ตามระยะเวลาและรูปแบบที่ สคร. กําหนด 2 . 2 ให้ สคร . จัดทํารายงานผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เสนอต่อ คนร . ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ คนร . กําหนด 2 . 3 เมื่อครบกําหนดสามปี ให้ คนร . รายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ อนึ่ง การกํากับและรายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ มีความสําคัญในการติดตาม และประเมินความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผน รวมถึงผลสัมฤทธิ์ และปัจจัยกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น ระหว่างช่วงเวลาของแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เพื่อใช้ในการทบทวนและปรับปรุงแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ให้มีความเหมาะสมและสอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย

  • 86 - 10 . ปัจจัยสู่ความสำเร็จและประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินการตามแผนพัฒนา รัฐวิสาหกิจ 10 . 1 ปัจจัยสู่ความสําเร็จ ( Critical Success Foctor) ในการดําเนินการตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ปัจจัยสู่ความสําเร็จได้กําหนดขึ้นจากวิสัยทัศน์และพันธกิจของแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ โดยมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการบรรลุวิสัยทัศน์ในการดําเนินงานตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ ดังนี้ 10.1.1 กระทรวงเจ้าสังกัดต้องกํากับติดตามให้รัฐวิสาหกิจดําเนินการตามแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ และผลักดันให้มีการดําเนินโครงการลงทุนภายใต้แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ รวมถึงรายงานความคืบหน้า ตามที่หลักเกณฑ์กําหนด 10 . 1 . 2 รัฐวิสาหกิจต้องดําเนินงานตามบทบาทขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามหมุดหมายหลักและหมุดหมายสนับสนุน รวมถึงมีการพิจารณาทบทวนบทบาทเป็นระยะๆ และปรับบทบาท ขององค์กรให้สะท้อนกับสภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสภาพการแข่งขันที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นตลอดเวลา 10 . 1 . 3 การดําเนินการลงทุนโครงการในด้านต่างๆ ของรัฐวิสาหกิจ ภายใต้แนวทางการพัฒนา ของแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ จําเป็นต้องมีการจัดลําดับความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่จะส่งผลต่อความสําเร็จ ตามตัวชี้วัดในช่วงระยะเวลาของแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมให้เกิดการบรรลุเปูาหมาย สําคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยมีการพิจารณาเลือกรูปแบบการลงทุนและแหล่งเงินที่เหมาะสม 10 . 1 . 4 รัฐวิสาหกิจต้องให้ความสําคัญในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน การลดปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) มีการนําโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG Model : Bio- Circular-Green Economy Model) มาใช้ในการดําเนินการตามบทบาท รวมถึงโครงการลงทุนที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งกําหนดแนวทางการดําเนินงานให้เป็นไปตามแนวคิดการพัฒนาองค์กร อย่างยั่งยืน (Environmental Social และ Governance : ESG) 10 . 1 . 5 มีการบูรณาการในด้านต่างๆ ระหว่างกระทรวงเจ้าสังกัด รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างกันในการผลักดันการดําเนินงาน ลดการลงทุนที่ซ้ําซ้อน รวมถึง มีการพิจารณาใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ การดําเนินการดังกล่าวควรให้ความสําคัญ กับข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินการต่างๆ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 10 . 2 ประโยชน์ที่จะได้รับ 10 . 2 . 1 รัฐวิสาหกิจมีกรอบทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ประเทศ โดยสามารถใช้ในการขับเคลื่อนภารกิจให้บรรลุผลสําเร็จได้ตามเปูาหมายในภาพรวมของประเทศ นอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจยังสามารถบูรณาการระหว่างกันมากขึ้น ทั้งในด้านการวางแผน การใช้ทรัพยากรร่วมกัน และการให้ความช่วยเหลือรัฐวิสาหกิจอื่นในด้านต่างๆ ตามความเชี่ยวชาญขององค์กร 10 . 2 . 2 การดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุนและลดการทับซ้อน ในการดําเนินงาน โดยจะเห็นถึงภาพรวมของการลงทุน และช่วยให้การบริหารจัดการโครงการลงทุนต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สอดคล้องกับระยะเวลาของแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ นอกจากนี้ ภาครัฐยังสามารถนําข้อมูลด้านการลงทุนไปใช้ในการกําหนดนโยบายการเงินการคลังของประเทศ ได้อีกด้วย

  • 87 - 10.2.3 รัฐวิสาหกิจมีบุคลากรที่มีศักยภาพ มีสมรรถนะสูง และมีทักษะที่จําเป็น สอดคล้อง กับความต้องการขององค์กร รวมถึงมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลง 10 . 2 . 4 ประชาชนผู้ใช้บริการจะได้รับสินค้า / บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ และสามารถเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน รวมถึงมีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุน และสร้างความมั่นคงให้แก่ประเทศ 10 . 2 . 5 รัฐวิสาหกิจมีการกําหนดแผนวิสาหกิจและแผนปฏิบัติการประจําปีที่มีความสอดคล้อง กับแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจฯ โดยภาครัฐสามารถใช้ในการกํากับติดตามการดําเนินงานผ่านการประเมินผล การดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจที่มีการกําหนดตัวชี้วัดในแต่ละปี

สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง 310 อาคารธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ชั้น 2 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 5880 – 7 ต่อ 3160 หรือ 3164 หรือ 3177