Mon Nov 28 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 23)


ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 23)

ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 23) อาศัยอานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 10 แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยว กับฐานะการเงินและผลการ ดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ ข้อ 10 การจัดทาและส่งรายงานตามข้อ 8 ให้เริ่มเมื่อแบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อ สำนักงานมีผลใช้บังคับแล้ว เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทที่เริ่มมีหน้าที่ตามวรรคหนึ่งดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กรณีงบการเงิน ให้จัดทาและส่งงบการเงินตั้งแต่งบการเงินรายไตรมาสหรืองบการเงิน ประจำรอบปีบัญชีที่ถัดจากงบการเงินที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลตามวรรคหนึ่ง แล้ วแต่กรณี ( 2 ) กรณีรายงานอัตราส่วนที่มีนัยสาคัญทางการเงินรายปี ( key financial ratio ) ให้จัดทำ และส่งรายงานดังกล่าวตั้งแต่รายงานที่ถัดจากรายงานที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลตามวรรคหนึ่ง ” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (2) ในข้อ 15 แห่งประกาศคณะกรรมการกากับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 70/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และให้ใช้ควา มต่อไปนี้แทน ้ หนา 12 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

“( ก) ในกรณีเป็นการเสนอขายพันธบัตร หุ้นกู้ หรือตั๋วเงิน ทั้งจานวนต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ โดยกรณีที่เป็นพันธบัตรหรือหุ้นกู้ต้องมีการจดข้อจากัด การโอนพันธบัตรหรือหุ้นกู้นั้นให้จำกัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนดั งกล่าวด้วย ” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 15 แห่งประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 20/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) ให้จัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย หรือมาตรฐาน การรายงานทางการเงินของต่างประเทศตามข้อ 25 (2) (ข) (ค) (ง) หรือ (จ) หรือมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินอื่นที่สานักงานยอมรับตามข้อ 25 (2) (ฉ) ได้ ในกรณีเป็นการเสนอขายพันธบัตรหรือหุ้นกู้ ที่ได้รับอนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอ ขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป หรือประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วย การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจำกัด และการเสนอขาย หุ้นกู้แปลงสภาพต่อบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะ แล้วแต่กรณี ซึ่งมีลักษณะและเป็นไปตามเงื่อนไขอย่างใด อย่างหนึ่งดังนี้ (ทั้งนี้ หากมีการเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ด้วย ให้ถือว่ายังอยู่ภายใต้ ข้อกาหนดในวงเล็บนี้) (ก) การเ สนอขายพันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่ออกใหม่กรณีดังนี้ โดยมีการชำระค่าพันธบัตรหรือหุ้นกู้ เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ และได้เสนอขายพันธบัตรหรือหุ้นกู้นั้นพร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ในประเทศอื่นด้วย 1 . การเสนอขายพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย 2 . การเสนอขายพันธบัตรหรือหุ้นกู้ของหน่วยงานภาครัฐไทย 3 . การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง 4 . การเสนอขายหุ้นกู้เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ข) การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสิ นทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ โดยผู้มีสิทธิเสนอ โครงการเป็นกิจการต่างประเทศ ” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความใน (1) ของวรรคหนึ่งในข้อ 24 แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับ ้ หนา 13 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 37/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) การเสนอขายหุ้นกู้หรือตั๋วเงินทั้งจำนวนต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ให้จัดทางบการเงินตามข้อกาหนดของหน่วยงานทางการซึ่งเป็นผู้กา กับดูแล การประกอบธุรกิจโดยตรง ” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 25 แห่งประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวัน ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 51/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “( 1 ) กรณีบริษัทต่างประเทศลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ ที่เสนอขายตราสารหนี้สกุลเงินตรา ต่างประเทศต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ในประเทศไทย ให้เป็นไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ กำหนดโดยหน่วยงานกำกับดูแลในต่างประเทศ (ก) หน่วยงานหรือองค์การของรัฐบาลต่างประเทศ (ข) องค์การระหว่างประเทศ (ค) นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความในข้อ 31 แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน และ ผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 55/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 20) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ ข้อ 31 แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปีของบริษัทไทยต้องมีข้อมูลอย่างน้อย ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ในกรณีเป็นบริษัทที่ออกหลักทรัพย์อื่นนอกจาก (2) และ (3) ต้องมีข้อมูลตามแบบ 56 - 1 One Report ท้ายประกาศนี้ ้ หนา 14 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

( 2 ) ในกรณีเป็นบริษัทที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ ต้องมีข้อมูลตามแบบ 56 - DW ท้ายประกาศนี้ ( 3 ) ในกรณีเป็นบริษัทที่ออกหุ้นกู้ตามโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ซึ่งได้รับอนุญาต ต้องมีข้อมูลตามแบบ 56 - 4 ท้ายประกาศนี้ ” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 39/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข แ ละวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ ข้อ 39/1 บริษัทต่างประเทศที่เสนอขายตราสารหนี้ทั้งจำนวนนั้นต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ หากได้เปิดเผยข้อมูลที่แสดงฐานะทางการเงินและ ผลการดาเนินงานของบริษัทบนเว็บไซต์ของบริษัท ให้ถือว่าบริษัทดังกล่าวได้จัดส่งรายงานต่อสานักงาน ตามข้อ 39 แล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมกรณีบริษัทนั้นมีหน้าที่ตามข้อ 7 เนื่องจากการ ออกหลักทรัพย์ประเภทอื่น หรือออกตราสารหนี้ในลักษณะอื่น ” ข้อ 8 ให้ยกเลิกตารางประเภทและระยะเวลาส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการ ดาเนินงานท้ายประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกั บฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 55/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 20) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2563 และให้ใช้ตารางประเภทและระยะเวลาส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการ ดาเนินงานท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 9 ให้ยกเลิกแบ บ key financial ratio ท้ายประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ้ หนา 15 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

(ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และให้ใช้แ บบ key financial ratio ท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 10 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 25 6 5 รื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกากับตลาดทุน ้ หนา 16 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ตารางประเภทและระยะเวลาสงรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน การจัดทําและสงรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามขอ 9 ของประกาศนี้ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑดังนี้ 1. บริษัทไทยที่มีหุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (บริษัท listed) ไม่วาเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใด 1.1 กรณีปกติ ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1. งบการเงิน กรณีทั่วไป - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* และไตรมาส 3 ฉบับสอบทาน ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาสดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบภายใน 2 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี กรณีสงงบการเงินไตรมาส 4 ฉบับสอบทาน กอนสงงบการเงิน ประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* ไตรมาส 3 และไตรมาส 4 ฉบับสอบทาน ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาสดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบภายใน 3 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี หมายเหตุ: *เลือกสงงบการเงินไตรมาส 2 หรืองบการเงินประจํา งวด 6 เดือน ที่ผานการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีก็ได้ หากเลือกสงงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ให้สงงบการเงินดังกลาว ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสุดทายของรอบระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปบัญชี 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําปและรายงาน ประจําป - ขอมูลตามแบบ 56-1 One Report ทั้งนี้ หากมีการออกหลักทรัพย์อื่น ต้องมีขอมูล ตามแบบสําหรับหลักทรัพย์นั้นด้วย ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี

2 1.2 กรณีบริษัทถูกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยขึ้นเครื่องหมาย SP เนื่องจากมีปญหาฐานะการเงิน หรืออยู่ในกระบวนการฟนฟูกิจการตามกฎหมายวาด้วยล้มละลาย หรือบริษัทอยู่ในกลุ่ม NPG ตามขอ 26 ของประกาศนี้ ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1 . รายงานทางการเงินสําหรับรอบระยะเวลา 6 เดือนแรกของปบัญชี และการวิเคราะหและ คําอธิบายระหวางกาลของฝ่ายจัดการ (Interim Management Discussion and Analysis) ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของรอบระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปบัญชี 2 . งบการเงินประจํารอบปบัญชีฉบับตรวจสอบ ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 3 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําปและรายงาน ประจําป - ขอมูลตามแบบ 56-1 One Report ทั้งนี้ หากมีการออกหลักทรัพย์อื่น ต้องมีขอมูล ตามแบบสําหรับหลักทรัพย์นั้นด้วย ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 1.3 กรณีบริษัทตามขอ 1.1 และ 1.2 ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) หรือผู้ ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญให้จัดทํารายงานต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1 . รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงิน รายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 2. บริษัทไทยที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุนต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) ซึ่งอยู่ระหวาง ดําเนินการนําหุนเขาเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้เป็นไปตามตารางที่กําหนดใน 1.1 ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับรายงานประจําป ให้มีหน้าที่เมื่อบริษัทมีการเสนอ ขายหุนต่อประชาชนแล้ว นอกจากนี้ หากบริษัทได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชนเป็นการ ทั่วไป หรือต่อผู้ ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือต่อผู้ลงทุนรายใหญ ให้เป็นไปตามตารางที่กําหนดใน 1.3 ด้วย 3. บริษัทไทยที่ไม่มีหุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (บริษัท non-listed) 3.1 กรณีมีการเสนอขายหุนหรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน และไม่มีหน้าที่เนื่องจากการเสนอขาย ตราสารหนี้หรือใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ ตาม 3.2.1 3.2.2 3.2.3 หรือ 3.2.4 ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้กระทรวงพาณิชย 2 . รายงานประจําป ตามรูปแบบเดียวกั บที ่ สง กระทรวงพาณิชย 1 ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้กระทรวงพาณิชย 1 ในกรณีมีการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน ให้บริษัทเริ่มมีหน้าที่เมื่อมีการออกหุนเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุน

3 ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน กรณียกเวน - ยกเวนศาลมีคําสั่งให้ฟนฟูกิจการตามกฎหมายวาด้วยล้มละลาย ไม่ต้องสงขอมูลนี้ต่อสํานักงาน 3.2 กรณีมีการเสนอขายตราสารหนี้หรือใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ 3.2.1 กรณีเสนอขายพันธบัตร หรือหุนกู ซึ่งไม่เขากรณีตาม 3.2.2 3.2.3 หรือ 3.2.4 ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1 . งบการเงิน กรณีทั่วไป - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* และไตรมาส 3 ฉบับสอบทาน ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาสดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 2 กรณีสงงบการเงินไตรมาส 4 ฉบับสอบทาน กอนสงงบการเงิน ประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* ไตรมาส 3 และไตรมาส 4 ฉบับสอบทาน ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาส ดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ภายใน 3 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี หมายเหตุ : *เลือกสงงบการเงินไตรมาส 2 หรืองบการเงินประจํางวด 6 เดือน ที่ผานการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีก็ได้ หากเลือกสงงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ให้สงงบการเงินดังกลาว ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสุดทายของรอบระยะเวลา 6 เดือนแรกของ ปบัญชี 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป - ขอมูลตามแบบ 56-1 One Report ทั้งนี้ หากมี การออกหลักทรัพย์อื่ น ต้องมีขอมูลตามแบบ สําหรับหลักทรัพย์นั้นด้วย - ขอมูลตามแบบ 56-4 สําหรับกรณีเสนอขายหุนกู เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 3. รายงานประจําปตามรูปแบบเดียวกับที่ สง กระทรวงพาณิชย เมื่อมีผู้ถือหุนกูแปลงสภาพใชสิทธิตามหุนกูแปลงสภาพโดยให้สง รายงานประจําปภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้กระทรวงพาณิชย 4 . รายงานอัตราสวนที่ มีนัยสําคัญทางการเงิน รายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 2 ในกรณีที่ผู้ออกหลักทรัพย์เป็นหนวยงานภาครัฐไทย “วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี” ให้หมายความถึง วันสิ้นสุดปงบประมาณ

4 3.2.2 (ก) กรณีบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เป็นสถาบันการเงินและเสนอขายเฉพาะหุนกูระยะสั้นต่อ ประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) หรือกรณีบริษัทที่ มีการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ และบริษัทดังกลาวไม่มีการเสนอขายหลักทรัพย์ในลักษณะอื่น ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ และงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ฉบับสอบทาน ในกรณีที่มีงบการเงินรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย แล้วแต่ ระยะเวลาใดจะถึ งกอน 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป - ข อมู ลตามแบ บ 56-1 One Report กรณี เสนอขายหุนกูระยะสั้น ทั้งนี้ หากมีการออกหลักทรัพย์อื่น ต้องมีขอมูลตาม แบบสําหรับหลักทรัพย์นั้นด้วย - ขอมูลตามแบบ 56-DW กรณีเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิอนุพันธ ภายในระยะเวลาเดี ยวกั บที ่ ส งงบการเงิ นประจํารอบป บั ญชี ต่อสํานักงาน 3 . รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงินรายป (key financial ratio) (เฉพาะกรณีเสนอขายตราสารหนี้) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี (ข) กรณีมีการเสนอขายหุนกูตามโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ต่อผู้ลงทุนสถาบัน 3 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ในกรณี ที ่ มี งบการเงิ นประจํางวด 6 เดื อน ฉบั บตรวจสอบ หรื องบการเงิ นรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย แล้วแต่ ระยะเวลาใดจะถึงกอน 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (ขอมูลตามแบบ 56-4) ภายในระยะเวลาเ ดี ยวกั บที ่ ส งงบการเงิ นประจํารอบป บั ญชี ต่อสํานักงาน 3 ในกรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนสถาบันด้วย

5 (ค) กรณีมีการเสนอขายหุนกูตามโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ต่อผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ 4 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ และงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ฉบับสอบทาน ในกรณีที่มีงบการเงินรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (ขอมูลตามแบบ 56-4) ภายในระยะเวลาเดี ยวกั บที ่ ส งงบการเงิ นประจํารอบป บั ญชี ต่อสํานักงาน 3.2.3 กรณีมีการเสนอขายพันธบัตร หุนกู หรือตั๋วเงิน ทั้งจํานวนต่อผู้ลงทุนสถาบันเทานั้น 5 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ในกรณี ที ่ มี งบการเงิ นประจํางวด 6 เดื อน ฉบั บตรวจสอบ หรื องบการเงิ นรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย แล้วแต่ ระยะเวลาใดจะถึงกอน 3.2.4 กรณีมีการเสนอขายพันธบัตร หุนกู หรือตั๋วเงิน ทั้งจํานวนต่อผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุน รายใหญ และผู้ลงทุนสถาบัน แล้วแต่กรณี 6 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ และงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ฉบับสอบทาน 7 ในกรณีที่มีงบการเงินรายไตรมาสฉบับสอบทาน ให้สงด้วย 1.1 กรณีบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เป็น สถาบันการเงิน ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง 1.2 กรณี อื่นอกจากข อ 1.1 ภายใน 3 เดื อนนั บแต่ วันสิ ้ นสุด รอบระยะเวลาบัญชี 2. รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงินรายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียว กั บที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 4 ในกรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญด้วย (หากในการเสนอขายครั้งนั้น มี การเสนอขายให้กับผู้ลงทุนสถาบัน หมายถึงการจดขอจํากัดการโอนที่ ครอบคลุมถึงผู้ลงทุนสถาบันด้วย) 5 ในกรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ ต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนสถาบันด้วย 6 ในกรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ ด้วย (หากในการเสนอขายครั้งนั้น มีการเสนอขายให้กับผู้ลงทุนสถาบันหมายถึงการจดขอจํากัดการโอนที่ครอบคลุมถึงผู้ลงทุนสถาบันด้วย) 7 ให้มีผลใชบังคับวันที่ 1 มกราคม 2564 โดยสงครั้งแรกคืองบประจํางวด 6 เดือนของป 2564 (เชน งบประจํางวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ให้นําสงภายในวันที่ 30 กันยายน 2564) เวนแต่ได้รับการผอนผันจากสํานักงานเป็นรายกรณีกอนวันสิ้ นสุด รอบระยะเวลาบัญชี อยำงนอย 15 วัน

6 4. สาขาธนาคารตางประเทศที่ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทย ให้จัดสงงบการเงินของสาขา ธนาคารตางประเทศหรือเอกสารที่กําหนดตามหลักเกณฑดังนี้ 4.1 กรณีเสนอขายหุนกูหรือตั๋วเงินทั้งจํานวนต่อผู้ลงทุนสถาบัน 8 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ (ในกรณีที่มีการสงงบการเงินประจํางวดเพิ่มเติม ตามที ่ หน วยงานทางการซึ ่ งเป นผู  กํากั บดู แล การประกอบธุรกิจกําหนด ให้สงด้วย) ภายในระยะเวลาเดียวกั บที ่ ส งให้ หน วยงานทางการซึ ่ งเป็น ผู้กํากับดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง 4.2 กรณีเสนอขายหุนกูหรือตั๋วเงินทั้งจํานวนต่อผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ และ ผู้ลงทุนสถาบัน แล้วแต่กรณี 9 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ และงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ฉบับสอบทาน 10 ในกรณีที่มีงบการเงินรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง 2 . รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงินรายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 4.3 กรณีเสนอขายหุนกูต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) 4.3.1 หุนกูระยะสั้น ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ และงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ฉบับสอบทาน ในกรณีที่มีงบการเงินรายไตรมาส ฉบับสอบทาน ให้สงด้วย ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงให้หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (ให้มีขอมูลสอดคลองกับแบบแสดงรายการขอมูล (แบบ filing) โดยปรับปรุงขอมูลให้เป็นปจจุบัน) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่ สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี ต่อสํานักงาน 8 ในกรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนสถาบันด้วย 9 ในกรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต้องมีการจดขอจํากัดการโอนหุนกูนั้นให้จํากัดอยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญด้วย (หากในการเสนอขายครั้งนั้น มีการเสนอขายให้กับผู้ลงทุนสถาบันหมายถึงการจดขอจํากัดการโอนที่ครอบคลุมถึงผู้ลงทุนสถาบันด้วย) 10 ให้มีผลใชบังคับวันที่ 1 มกราคม 2564 โดยสงครั้งแรกคืองบประจํางวด 6 เดือนของป 2564 (เชน งบประจํางวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ให้นําสงภายในวันที่ 30 กันยายน 2564) เวนแต่ได้รับการผอนผันจากสํานักงานเป็นรายกรณีกอนวันสิ้นสุดรอบ ระยะเวลาบัญชี อยางนอย 15 วัน

7 ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 3 . รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงินรายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 4.3.2 หุนกู (ที่มิใชหุนกูระยะสั้นตาม 4.3.1) ประเภทรายงาน ระยะเวลาและเงื่อนไขการสงรายงาน 1 . งบการเงิน กรณีทั่วไป - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* และไตรมาส 3 ฉบับสอบทาน ภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาสดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ภายใน 2 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี กรณีสงงบการเงินไตรมาส 4 ฉบับสอบทาน กอนสงงบการเงินประจํา รอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ - งบการเงินไตรมาส 1 ไตรมาส 2* ไตรมาส 3 และไตรมาส 4 ฉบับสอบทานภายใน 45 วันนับแต่วันสุดทายของแต่ละไตรมาส ดังกลาว - งบการเงินประจํารอบปบัญชี ฉบับตรวจสอบ ภายใน 3 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี หมายเหตุ : *เลื อกส งงบการเงิ นไตรมาส 2 หรื องบการเงิน ประจํางวด 6 เดือน ที่ ผานการตรวจสอบโดยผู้ สอบบัญชีก็ได้ หากเลือกสงงบการเงินประจํางวด 6 เดือน ให้สงงบการเงินดังกลาว ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสุดทายของรอบระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปบัญชี 2 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (ให้มีขอมูลสอดคลองกับแบบแสดงรายการขอมูล (แบบ filing) โดยปรับปรุงขอมูลให้เป็นปจจุบัน) ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 3 . รายงานอัตราสวนที่มีนัยสําคัญทางการเงินรายป (key financial ratio) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี 5. รัฐบาลตางประเทศ ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1 . แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (เฉพาะกรณีเสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชนเป็น การทั่วไป (public offering)) (ขอมูลสอดคลองกับแบบแสดงรายการข อมูล (แบบ filing) โดยปรับปรุงขอมูลให้เป็นปจจุบัน) ให้จัดสงภายใน 180 วันนับแต่วันสิ้นสุดปงบประมาณ

8 6. บริษัทตางประเทศ (ที่มิใชกรณีสาขาธนาคารตางประเทศตาม 4. และรัฐบาลตางประเทศตาม 5.) ประเภทรายงาน ระยะเวลาสงรายงาน 1. งบการเงินที่สงต่อตลาดหลักทรัพย์ตางประเทศ หรือหนวยงานทางการในตางประเทศ 1.1 งบการเงิ นประจํารอบป บั ญชี ฉบับ ตรวจสอบ 1.2 งบการเงิ นรายไตรมาส ฉบั บสอบทาน (ถามี) 2. แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (เฉพาะกรณี (1) เสนอขายตราสารหนี ้ หรือ ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธต่อประชาชนเป็นการ ทั ่ วไป (public offering) หรื อ (2) เสนอขาย หลักทรัพย์ต่อผู้ลงทุนสถาบัน หรือผู้ ลงทุนราย ใหญพิเศษ หรือ ผู้ ลงทุนรายใหญโดยไม่มีการ จดขอจํากัดการโอนหรือเงื่อนไขการโอนให้จํากัดอยู่ ในกลุ่มผู้ลงทุนดังกลาว) - กรณีเสนอขายตราสารหนี้ (ขอมูลสอดคลองกับ แบบแสดงรายการข อมู ล (แบบ filing) โดย ปรับปรุงขอมูลให้เป็นปจจุบัน) - กรณี เสนอขายใบสําคั ญแสดงสิ ทธิอนุ พั นธ (ขอมูลตามแบบ 56-DW) ภายในระยะเวลา ดังต่อไปนี้ (1) ภายในระยะเวลาเดียวกับที่บริษัทมีหน้าที่สงต่อตลาดหลักทรัพย์ ตางประเทศ หรือหนวยงานทางการในตางประเทศ แล้วแต่ระยะเวลาใด จะถึงกอน แต่ไม่เกิน 180 วันนับแต่วันสิ้นสุดปงบประมาณหรือ วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท (2) ในกรณีที่บริษัทไม่มีหน้าที่ต้องจัดสงขอมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ ตางประเทศ หรือหนวยงานทางการในตางประเทศ ให้บริษัทสง ภายใน 180 วั นนั บแต่ วั นสิ ้ นสุ ดป งบประมาณหรื อวั นสิ ้ นสุด รอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท (ใชเฉพาะการสงงบการเงินประจํา รอบปบัญชี และแบบแสดงรายการขอมู ลประจําป) 3. รายงานอัตราสวนที่ มีนัยสําคัญทางการเงิน รายป (key financial ratio) เฉพาะกรณี (1) เสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชน เป็นการทั่ วไป (public offering) (2) เสนอขาย หลั กทรั พย ต อผู  ลงทุ นรายใหญ พิ เศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ ภายในระยะเวลาเดียวกับที่สงงบการเงินประจํารอบปบัญชี

วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง (current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภา ระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสด ไหลออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพ คลองที่มีความรุนแรง)

2 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) อัตราส วนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ.

3 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม (เฉลี่ย) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ). คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดก อน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย

4 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้ สินเชื่อรวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย )

5 หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริ ษั ทที ่ ประกอบธุ รกิ จโดยการถื อหุ  นในบริ ษั ทอื ่ น (holding company) ให้ พิ จารณาเป ดเผยอั ตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงินประเภท เดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึง ไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูล ยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทาง การเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตามตาราง ขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้