Mon Nov 28 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2565 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้


ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2565 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้

ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2565 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 67 มาตรา 69 และมาตรา 70 (9) แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการ กำกับตลาดทุน ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิก ( 1 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2556 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 ( 2 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 3/2557 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557 ( 3 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 17/2557 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ( 4 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2557 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 ( 5 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2558 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ( 6 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 41/2558 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ( 7 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 69/2558 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ( 8 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 83/2558 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ( 9 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2559 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ( 10 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 42/2559 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ( 11 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 59/2559 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 11) ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ้ หนา 1 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

( 12 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 22/2560 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 ( 13 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2561 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 13) ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 ( 14 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 58/2561 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 14) ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ( 15 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 66/2561 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายต ราสารหนี้ (ฉบับที่ 15) ลงวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ( 16 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 76/2561 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 16) ลงวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ( 17 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 18/2562 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 17) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562 ( 18 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 27/2562 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 18) ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2562 ( 19 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2563 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2563 ( 20 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 43/2563 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 20) ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ( 21 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 2/2564 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 21) ลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2564 ( 22 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 33/2564 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ฉบับที่ 22) ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 ( 23 ) ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 56/2564 เรื่อง การยื่นแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ (ฉบับที่ 23) ลงวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2564 ข้อ 3 เว้นแต่ประกาศนี้ได้กำหนดไว้เป็นประการอื่น ให้นำบทนิยามที่กำหนดไว้ในประกาศ คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกาหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับ การออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภ ท มาใช้กับประกาศนี้ แบบท้ายประกาศ และภาคผนวก ท้ายประกาศ และให้มีบทนิยามเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ “ กองทรัสต์ ” หมายความว่า ทรัสต์ดังต่อไปนี้ แล้วแต่กรณี ( 1 ) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หมายความว่า ทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ้ หนา 2 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

( 2 ) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน หมายความว่า ทรัสต์เพื่อการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “ ผู้จัดการกองทรัสต์ ” หมายความว่า บุคคลที่ทาหน้าที่เป็นผู้จัดการกองทรัสต์ตามสัญญา ก่อตั้งทรัสต์ “ กิจการต่างประเทศ ” หมายความว่า กิจ การที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) หน่วยงานหรือองค์การของรัฐบาลต่างประเทศ ( 2 ) องค์การระหว่างประเทศ ( 3 ) นิติบุคคลต่างประเทศ “ ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ ” หมายความว่า ข้อมูลดังนี้ ( 1 ) จำนวนและราคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย ( 2 ) ระยะเวลาของการเสนอขาย ( 3 ) อัตราผลประโยชน์ตอบแทน ( 4 ) รายละเอียดเกี่ยวกับการจอง การจัดจำหน่าย และการจัดสรร ( 5 ) ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (ถ้ามี) ( 6 ) ข้อมูลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายตราสารหนี้ หรือที่มีลักษณะทานองเดียวกันหรือ เกี่ยวกับข้อมูลตาม (1) (2) (3) (4) และ (5) หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 4 การเสนอขายตราสารหนี้ที่ไม่ได้รับยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล และ ร่างหนังสือชี้ชวนตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการยกเว้น การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ให้อยู่ภายใต้บังคับของประกาศนี้ เว้นแต่ จะมีประกาศฉบับอื่นกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนไว้ โดยเฉพาะแล้ว ข้อ 5 การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนสำหรับการเสน อขายหลักทรัพย์ แปลงสภาพที่ออกใหม่ ให้หมายความรวมถึงการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน สำหรับหุ้นที่ออกใหม่ซึ่งรองรับการใช้สิทธิตามหลักทรัพย์แปลงสภาพดังกล่าวด้วย หมวด 2 วิธีการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล และร่างหนังสือชี้ชวน ้ หนา 3 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ข้อ 6 ก่อนการเสนอขา ยตราสารหนี้ ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล ตามแบบที่กำหนดไว้ในหมวด 3 และร่างหนังสือชี้ชวนตามแบบที่กำหนดตามมาตรา 72 ต่อสำนักงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กำหนดไว้บนเว็บไซต์ของสำนักงาน ข้อ 7 การเสนอขายตราสารหนี้ที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ผู้เสนอขายตราสารหนี้จะยื่นแบบ แสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ( 1 ) การเสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปพร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ในประเทศอื่น ( 2 ) การเสนอขายตรา สารหนี้ในวงจากัดต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ ( 3 ) การเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกโดยกิจการต่างประเทศ ข้อ 8 ในกรณีที่ข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนตามข้อ 7 แปลมาจากข้อมูลภาษาอื่นนอกจากภาษาไทย ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) รับรองว่าสาระของข้อมูลที่แปลนั้น เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่จริง และไม่ได้มี การปกปิดข้อเท็จจริงที่พึงเปิดเผย ( 2 ) ดาเนินการให้ผู้แปลรับรองความถูกต้องว่า สาระการแปลถูกต้องตรงตามสาระของข้อมูล ที่เป็นต้ นฉบับ ข้อ 9 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ถือตราสารหนี้ ให้ผู้ถือตราสารหนี้จัดส่ง เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงว่าผู้ออกตราสารหนี้นั้นทราบถึงการเสนอขายตราสารหนี้ของผู้ถือตราสารหนี้ ต่อสานักงานด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ออกตราสารหนี้ดังกล่าวได้ทราบถึงหน้าที่ที่จะต้องจัดทาและส่งงบ การเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของผู้ออกตราสารหนี้ตามมาตรา 56 ข้อ 10 แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นต่อสานักงานต้องมีที่ปรึกษา ทางการเงินที่อยู่ใน บัญชีที่สานักงานให้ความเห็นชอบเป็นผู้ร่วมจัดทาและรับรองความถูกต้องครบถ้วน ของข้อมูล เว้นแต่เป็นการเสนอขายตราสารหนี้ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ( 1 ) หุ้นกู้ที่ยื่นคาขออนุญาตกรณีเร่งด่วนตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วย การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสน อขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ( 2 ) หุ้นกู้ที่ออกโดยกองทรัสต์ที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ (ก) กองทรัสต์ที่มีหน่วยทรัสต์เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ข) กองทรัสต์ที่จัดตั้งขึ้นใหม่และประสงค์จะระดมทุนครั้งแรกโดยการเสนอขาย หน่วยทรัสต์ที่ออกใหม่และหุ้นกู้ที่ออกใหม่ในช่วงเวลาเดียวกัน ( concurrent offering ) และมีผู้จัดการ กองทรัสต์ที่มีลักษณะครบถ้วน ดังนี้ 1 . เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภท การจัดการกองทุนรวม และเริ่มประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทดังกล่าวแล้ว ้ หนา 4 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

2 . มิได้เป็นหรือมีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียกับผู้ที่จะจาหน่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แก่ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ในลักษณะที่อาจเป็นเหตุให้ ผู้จัดกำรของกองทรัสต์ดังกล่าวไม่สามารถทำหน้าที่อย่างเป็นอิสระในการตรวจสอบและสอบทาน (การทำ due diligence ) อสังหาริมทรัพย์ที่ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์จะลงทุน ตลอดจน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยทรัสต์ ( 3 ) หุ้นกู้หรือพันธบัตรที่ออกใหม่ซึ่งเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ ( 4 ) ตั๋วเงินระยะสั้น ข้อ 11 ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ชำระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกาหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคาขอต่าง ๆ หมวด 3 แบบแสดงรายการข้อมูล ข้อ 12 ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลที่มีรายการครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ต่อสำนักงานซึ่งมีรายการ อย่างน้อย ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สรุปข้อมูลสำคัญของตราสาร ( factsheet ) ( 2 ) ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ( 3 ) ข้อมูลเกี่ยวกับการจอง การจำหน่าย และการจัดสรร ( 4 ) ข้อมูลอื่นใดที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน สรุปข้อมูลสาคัญของตราสารตามวรรคหนึ่ง (1) อย่างน้อยต้องแสดงถึงสาระสาคัญของตราสาร รวมทั้งลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สาคัญของตราสาร โดยสานักงานอาจประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำสรุปข้อมูลสำคัญของตราสารด้วยก็ได้ ข้อ 13 ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ใน ภาคผนวก 1 และแบบแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 14 งบการเงินและงบการเงินรวมของผู้ออกตราสารหนี้ที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการ ข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย์ ข้อ 15 ก่อนปิดการเสนอขายตราสารหนี้ที่ได้รับอนุญาต หากผู้เสนอขายตราสารหนี้ ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญที่ไม่ได้แสดงอยู่ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนั งสือชี้ชวน ้ หนา 5 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ให้แก่บุคคลใดเป็นการเฉพาะรายเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการลงทุนในตราสารหนี้ ที่เสนอขาย หรือการตัดสินใจลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องดาเนินการ ให้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ ชวนโดยพลัน ทั้งนี้ ต้องไม่ช้ากว่า วันที่แบบแสดงรายการข้อมูลมีผลใช้บังคับ หรือในกรณีที่แบบแสดงรายการข้อมูลมีผลใช้บังคับแล้ว ต้องไม่ช้ากว่าวันทำการถัดจากวันที่ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงต่อบุคคลนั้น การปิดการเสนอขายตราสารหนี้ที่ได้รับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง กรณีเป็นหลักทรัพย์แปลงสภาพ ให้หมายถึงการปิดการเสนอขายหลักทรัพย์แปลงสภาพนั้น ข้อ 16 ในกรณีที่ผู้เสนอขายตราสารหนี้ได้เสนอขายตราสารหนี้ประเภทใดในต่างประเทศ โดยมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ตามกฎหมายต่างประเทศนั้น เมื่อมีการเสนอ ขายตราสารหนี้ป ระเภทเดียวกันในประเทศไทย ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ดังกล่าวเปิดเผยรายละเอียด ของข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนไม่น้อยกว่า รายละเอียดของข้อมูลที่ได้เปิดเผยในการเสนอขายตราสารหนี้นั้นในต่างประเทศ ข้อ 17 ในกรณีที่เป็นกำรเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศทั้งจานวนต่อ ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ หากผู้เสนอขายประสงค์จะเปิดเผยข้อมูล ที่แสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วย หลักเกณฑ์ เงื่อนไข แ ละวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท ให้ผู้เสนอขายระบุวิธีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ ในแบบแสดงรายการข้อมูลด้วย หมวด 4 อำนาจของสำนักงานเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล ข้อ 18 ให้สานักงานมีอานาจผ่อนผันการเปิดเผยรายละเอียดของข้อมูลที่กาหนดเพิ่มเติม ตามประกาศนี้ หากผู้เสนอขายตราสารหนี้แสดงได้ว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ใช่ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อ การตัดสินใจของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสำคัญ และมีเหตุอันควรที่จะไม่แสดงรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าวไว้ ในแบบแสดงรายการข้อมูลหรือได้ดาเนินการประการอื่นเพื่อทดแทนอย่างเพียงพอแล้ว ข้อ 19 ในการพิจารณาข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน หากสานักงาน เห็นว่ามีเหตุจำเป็นและสมควรเพื่อให้ผู้ลงทุนมีข้อมูลที่มีนัยสำคัญเพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน ให้สานั กงานมีอานาจกาหนดให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ดาเนินการดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลาที่สานักงาน กำหนด ( 1 ) ชี้แจง หรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล หรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม ( 2 ) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เป็นอิสระจัดทาความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน หรือความน่ำเชื่อถือของข้อมูลที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน ้ หนา 6 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

หากผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่ดาเนินการตามที่สำนักงานกำหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้เสนอ ขายตราสารหนี้ไม่ประสงค์จะยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสำนักงานอีกต่อไป ในการกาหนดให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ดาเนินการตามวรรคหนึ่ง สานักงานอาจกาหนดให้ ผู้เสนอขายตราสารหนี้เปิดเผยการสั่งการ การดาเนินการ ข้อสังเกตของสานักงานหรือคาชี้แจงของ ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักงาน ตามแนวทางที่สำนักงานกำหนดด้วยก็ได้ หมวด 5 การรับรองข้อมูล ข้อ 20 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในแบบแสดงรายการ ข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามภาคผนวก 2 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 21 ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นและสมควรทาให้บุคคลใดที่ต้องลงนามตามภาคผนวก 2 ท้ายประกาศนี้ ไม่ สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้รับผ่อนผันจากสำนักงาน ( 1 ) หากเหตุที่ทาให้บุคคลดังกล่าวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าว อยู่ในภาวะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่วยทางร่างกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จำต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลและ ร่างหนังสือชี้ชวน ( 2 ) หากเหตุที่ทาให้บุคคลดังกล่าวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากกรณีอื่นนอกจากเหตุ ตาม (1) เมื่อเหตุดังกล่าวหมดสิ้ นไป ให้ผู้เสนอขายตราสารหนี้จัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อทันที เพื่อให้แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับตามหมวด 6 หมวด 6 วันมีผลใช้บังคับของแบบแสดงรายการข้อมูล และร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ 22 ภายใต้บังคับมาตรา 75 ให้แบบแสดงรายการ ข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน มีผล ใช้บังคับเมื่อได้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ในกรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตตามมาตรา 33 ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่นั้นแล้ว ( 2 ) ผู้เสนอขายตราสารหนี้ได้ชำระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล ( 3 ) เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขและเงื่อนเวลาที่ระบุในภาคผนวก 1 ท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการกาหนดเงื่อนเวลาไว้ในลักษณะของระยะเวลา การเริ่มนับระยะเวลาให้เริ่มต้นในวันที่ ้ หนา 7 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

สานักงานได้รั บแบบแสดงรายการข้อมูลที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุด (ไม่รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอ ขายตราสารหนี้หรือข้อมูลอื่นที่มิใช่ข้อมูลสำคัญซึ่งสำนักงานผ่อนผันให้แก้ไขเพิ่มเติมได้) ( 4 ) ผู้เสนอขายตราสารหนี้ได้แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและได้เปิดเผย ข้อมูลตามข้อ 19 วรรคสาม (ถ้ามี) ( 5 ) ผู้เสนอขายตราสารหนี้ได้ระบุข้อมูลตามรายการครบถ้วน และลงลายมือชื่อถูกต้อง ตามภาคผนวก 2 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 23 แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุดซึ่งยื่นต่อ สานักงานภายหลังเวลา 10.00 น. ของวันทาการใด หากไม่ใช่แบบดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าสานักงาน ได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวในวันทำการถัดไป ( 1 ) แบบ 69 - PO - MTN (ส่วนที่ 2 : 69 - PO - PRICING ) ( 2 ) แบบ 69 - PP - MTN (ส่วนที่ 2 : 69 - PP - PRICING ) ( 3 ) แบบ 69 - FD - MTN (ส่วนที่ 2 : 69 - FD - PRICING ) บทเฉพาะกาล ข้อ 24 ในกรณีที่สำนักงานได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนสาหรับ การเสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งได้ยื่นไว้ตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2556 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวยังคงอยู่ ภายใต้บังคับประกาศฉบับดังกล่าวต่อไป ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและ ร่างหนังสือชี้ชวนในลักษณะโครงการ ให้อยู่ภายใต้บังคับประกาศฉบับดังกล่าวเฉพาะส่วนที่ได้ยื่นต่อ สานักงานไว้แล้ว โดยในการพิจารณาลักษณะของผู้ลงทุนให้เป็นไปตามบทเฉพาะกาลของประกาศ คณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2565 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย ตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจากัด และการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพต่อบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะ ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565 ข้อ 25 ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2556 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ข้อ 26 ให้บรรดาประกาศสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คำสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2556 เรื่อง การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ลงวันที่ 11 มีนาคม พ. ศ. 2556 หรือที่ใช้บังคับอยู่ตามบทเฉพาะกาลของประกาศดังกล่าว ซึ่งใช้บังคับอยู่ ้ หนา 8 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกำหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คำสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตาม ประกาศนี้ใช้บังคับ ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 25 6 5 รื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกากับตลาดทุน ้ หนา 9 (เล่มที่ 2) ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 276 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2565

ภาคผนวก 1 ตารางการยื่นแบบและระยะเวลามีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ 1. แบบสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ ในลักษณะรายครั้ง - ให้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลทุกครั้งกอนการเสนอขาย ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) 69 - PO - รายครั้ง 69 - FD 1 69 - PP - รายครั้ง 1.1 ตราสารหนี้กรณีทั่วไป ( ที่ไม่ใชกรณี 1.2 - 1. 7 ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   10 วันทําการ 2 หรือ 5 วันทําการ 3 กรณี (1) หรือ 1 วันทําการ 4 กรณี (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 1.2 ตราสารหนี้ ที่ออก โดยกิจการตางประเทศ เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   10 วันทําการ หรือ 1 วันทําการ กรณี (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 1. 3 หุนกู ที่ออกโดย ทรัสตเพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือ ทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 1. 4 หุนกูที่ออก โดยทรัสตเพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ที่ เสนอขายในชวงเวลาเดียวกันกับการเสนอขายหนวยทรัสตครั้งแรก ( concurrent offer ing ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   5 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 1 กรณีเป็นการเสนอขายพรอมกันหรือในระยะเวลาใกลเคียงกันในประเทศอื่น หรือเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศ 2 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 11 3 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 6 4 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 2

2 ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) 69-PO- รายครั้ง 69-FD 1 69-PP- รายครั้ง 1. 5 ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย และบริษัทประกันภัย เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป  10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  10 วันทําการ 1. 6 หุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป  10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) 1. 7 หุนกูที่มีอนุพันธแฝง เสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป 69 - SN (สวนที่ 1 : 69 - SN - 1 ) 10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญ พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ 69-SN (สวนที่ 1 : 69-SN-1) 1 วันทําการ - เงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับการมีผลบังคับใชของแบบแสดงรายการขอมูลในลักษณะรายครั้ง กรณี (1) กรณี (2) ผู้ออกตราสารหนี้ มีหน้าที่เปดเผยฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามมาตรา 56 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อยู่แล้วในขณะยื่นแบบ และไม่ถูกสั่งให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตาม ขอ 19 ของประกาศนี้   จัดให้มีขอกําหนดสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ (1) ขอกําหนดสิทธิตามตัวอยางที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน (2) ขอกําหนดสิทธิที่ยื่นในครั้งนี้ไม่แตกตางจากขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นต่อสํานักงาน มาแล้วไม่เกิน 1 ป นับแต่วันที่ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นนั้นได้เปดเผยต่อสาธารณชน เวนแต่เป็นความแตกตางในผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ แต่ไม่รวมถึงความแตกตาง ของสูตรหรือวิธีการที่ใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทน  

3 2. แบบสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ ในลักษณะโครงการ - แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ในลักษณะโครงการ ให้ยื่นได้ภายใน 2 ป นับแต่วันที่ผู้เสนอขายได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายตราสารหนี้ - การเสนอขายครั้งแรกในโครงการ ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : 69-PO-BASE และ สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) 69-FD-MTN 5 (สวนที่ 1 : 69-FD-BASE และ สวนที่ 2 : 69 - FD - PRICING ) 69-PP-MTN (สวนที่ 1 : 69-PP-BASE และ สวนที่ 2 : 69 - PP - PRICING) 2.1 ตราสารหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้กรณีทั่วไป ( ที่ไม่ใชกรณี 2.2 - 2. 4 ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   10 วันทําการ หรือ 5 วันทําการ กรณี (1) หรือ 1 วันทําการ กรณี (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ แบบแสดงรายการขอมูลที่มีรายละเอียดของรายการตาม มาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) หากเป็นไป ตามเงื่อนไขในขอ 7 และขอ8 การลงนามรับรองความถูกต้อง ให้เป็นไปตามขอกําหนดในการรับรองความถูกต้องของขอมูล ตามสวนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของขอมูลของ แบบ 69 - PP - รายครั้ง โดยอนุโลม 2.2 ตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศ เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป   10 วันทําการ หรือ 1 วันทําการ กรณี (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 5 กรณีเป็นการเสนอขายพรอมกันหรือในระยะเวลาใกลเคียงกันในประเทศอื่น หรือเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศ

4 ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : 69-PO-BASE และ สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) 69-FD-MTN 5 (สวนที่ 1 : 69-FD-BASE และ สวนที่ 2 : 69 - FD - PRICING ) 69-PP-MTN (สวนที่ 1 : 69-PP-BASE และ สวนที่ 2 : 69 - PP - PRICING) 2 . 3 หุนกูของทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน เสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป   10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ 2.4 หุนกูที่ออกโดยทรัสตเพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ที่เสนอขายในชวงเวลาเดียวกันกับการเสนอขายหนวยทรัสตครั้งแรก ( concurrent offering ) เสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป   5 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ  1 วันทําการ - เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญ ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ 69 - FD - MTN 1 (สวนที่ 3 : 69 - FD - SUPPLEMENT ) 5 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ 69-PP-MTN (สวนที่ 3 : 69-PP-SUPPLEMENT) 1 วันทําการ

5 - การเสนอขายครั้งถัดไป กรณี เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ลักษณะการยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงานได้รับแบบ ) 1. ยื่นแบบดังต่อไปนี้พรอมกัน - 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) พรอมกับ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ - 69-FD-MTN (สวนที่ 2 : 69-FD-PRICING) พรอมกับ 69 - FD - MTN (สวนที่ 3 : 69 - FD - SUPPLEMENT) 5 วันทําการ 6 2. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ หางกัน < 5 วันทําการ - 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) ภายหลัง 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ - 69-FD-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-FD-PRICING) ภายหลัง 69 - FD - MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69 - FD - SUPPLEMENT) 5 วันทําการ 7 นับแต่วันที่สํานักงานได้รับ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ 69-FD-MTN (สวนที่ 3 : 69-FD-SUPPLEMENT) 3. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ หางกัน ≥ 5 วันทําการ - 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) ภายหลัง 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ - 69-FD-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-FD-PRICING) ภายหลัง 69 - FD - MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69 - FD - SUPPLEMENT) วันที่ได้รับแบบ 8 4. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ โดยไม่มีเหตุยื่น 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : 69-PO-SUPPLEMENT) หรือ 69-FD-MTN (สวนที่ 3 : 69-FD-SUPPLEMENT) - 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : 69- PO-PRICING) หรือ - 69 - FD - MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69 - FD - PRICING) วันที่ได้รับแบบ 6 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 6 7 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 6 8 เสนอขายได้ทันทีเมื่อสํานักงานได้รับแบบ

6 กรณี เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ 9 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 2 10 เสนอขายได้ในวันทําการที่ 2 ลักษณะการยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงานได้รับแบบ ) 1. ยื่นแบบดังต่อไปนี้พรอมกัน - 69-PP-MTN (สวนที่ 2 : 69-PP-PRICING) พรอมกับ 69 - PP - MTN (สวนที่ 3 : 69 - PP - SUPPLEMENT) 1 วันทําการ 9 2. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ หางกัน < 1 วันทําการ - 69-PP-MTN (สวนที่ 2 : 69- PP-PRICING) ภายหลัง 69 - PP - MTN (สวนที่ 3 : 69 - PP - SUPPLEMENT) 1 วันทําการ 10 นับแต่วันที่สํานักงานได้รับ 69-PP-MTN (สวนที่ 3 : 69-PP-SUPPLEMENT) 3. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ หางกัน ≥ 1 วันทําการ - 69-PP-MTN (สวนที่ 2 : 69- PP-PRICING) ภายหลัง 69 - PP - MTN (สวนที่ 3 : 69 - PP - SUPPLEMENT) วันที่ได้รับแบบ 4. ยื่นแบบดังต่อไปนี้ โดยไม่มีเหตุยื่นไม่มีเหตุยื่น 69-PP-MTN (สวนที่ 3 : 69-PP-SUPPLEMENT) - 69 - PP - MTN (สวนที่ 2 : 69 - PP - PRICING ) วันที่ได้รับแบบ

7 - การเสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝงโดยผู้เสนอขายเป็นสถาบันการเงินที่ได้รับใบอนุญาตหรือจดทะเบียน เป็นผู้คาสัญญาซื้อขายลวงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายลวงหน้า พ.ศ. 2546 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ในลักษณะโครงการ ให้ยื่นได้ภายใน 2 ปนับแต่วันที่ ผู้เสนอขายได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายตราสารหนี้ การเสนอขายครั้งแรกในโครงการ ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป 69-SN (สวนที่ 1 : 69-SN-1) สามารถระบุขอมูลดังต่อไปนี้ในแบบแสดงรายการขอมูล เป็นชวง (range) ขอมูลตัวเลขสูงสุด (maximum) หรือ ขอมูลที่ เป็นวิธี การคํานวณที่ ให้ผลลัพธเฉพาะเจาะจง เมื่อมีการแทนคาในวิธีการคํานวณนั้น แล้วแต่กรณี (1) จํานวนและราคาที่จะเสนอขาย (2) ระยะเวลาการเสนอขาย (3) อัตราผลตอบแทน 10 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ 1 วันทําการ ยื่นเมื่อมีขอมูลที่สําคัญเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงภาพรวมลักษณะตราสาร (features) ที่แตกตางจาก 69-SN (สวนที่ 1 : 69-SN-1) ที่เคยยื่นแล้ว 11 ลักษณะการเสนอขาย ยื่นแบบ วันมีผลใชบังคับ (เมื่อพนเวลาที่กําหนด นับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับแบบ) เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป 69-SN (สวนที่ 2 : 69-SN-2) - สามารถระบุขอมูลดังต่อไปนี้ในแบบแสดงรายการขอมูล เป็นชวง (range) ขอมูลตัวเลขสูงสุด (maximum) หรือ ขอมูลที่ เป็นวิธี การคํานวณที่ ให้ผลลัพธเฉพาะเจาะจง เมื่อมีการแทนคาในวิธีการคํานวณนั้น แล้วแต่กรณี (1) จํานวนและราคาที่จะเสนอขาย (2) ระยะเวลาการเสนอขาย (3) อัตราผลตอบแทน 5 วันทําการ เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ 1 วันทําการ 11 หากไม่มีการปรับปรุงขอมูลตามเงื่อนไขดังกลาว การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลจะระงับเป็นการชั่วคราวจนกวาจะมีการ ปรับปรุงขอมูลเป็นปจจุบัน

8 - เงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับการมีผลบังคับใชของแบบแสดงรายการขอมูลในลักษณะโครงการ กรณี (1) กรณี (2) ผู้ออกตราสารหนี้มีหน้าที่เปดเผยฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อยู่แล้วในขณะยื่นแบบ และไม่ถูกสั่งให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ตามขอ 19 ของประกาศนี้   จัดให้มีขอกําหนดสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ (1) ขอกําหนดสิทธิตามตัวอยางที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน (2) ขอกําหนดสิทธิที่ยื่นในครั้งนี้ไม่แตกตางจากขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นต่อสํานักงานมาแล้ว ไม่เกิน 1 ป นับแต่วันที่ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นนั้นได้เปดเผยต่อสาธารณะชน เวนแต่เป็น ความแตกตางในผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ แต่ไม่รวมถึงความแตกตางของสูตรหรือวิธีการ ที่ใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทน  

ภาคผนวก 2 ตารางหลักเกณฑการลงลายมือชื่อรับรองขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูล 1. สําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในลักษณะรายครั้ง ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขายตราสารหนี้ การเสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป แบบ 69 - PO - รายครั้ง / แบบ 69 - FD กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นบริษัทจดทะเบียน กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพันมิใชผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชี และการเงิน ต้องมี ผู้ ที่ดํารงตําแหนง บริ หารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชี และการเงิน ลงลายมือชื่อด้วย กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพั น หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพั น กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ มิใช บริษัทจดทะเบียน กรรมการทุกคน ผู้ ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพั น หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันและ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงินที่ได้ รับมอบ อํานาจจากผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน

2 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขายตราสารหนี้ กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการ ตางประเทศ หรือธนาคาร ตางประเทศซึ่งมีสาขาที่ได้รับ อนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชยในประเทศไทย ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกองทรัสต กรรมการทุกคนของผู้จัดการ กองทรัสต กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน ของผู้จัดการกองทรัสต กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลง สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการและ ผู้ออกหลักทรัพย์ กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดและผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงิน (ยกเวนกรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการ เป็นกิจการตางประเทศ ให้ผู้ที่มี อํานาจผูกพันลงนาม) ผู้ออกหลักทรัพย์ กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน กรณีการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ถือตราสารหนี้ ผู้ถือตราสารหนี้ลงลายมือชื่อ ซึ่งในกรณีที่ผู้ถือตราสารหนี้ เป็นนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันนิติบุคคลทุกคนลงลายมือชื่อ ในการนี้ผู้ถือตราสารหนี้ต้องจัดให้ กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดและผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงินของผู้ออก ตราสารหนี้ลงลายมือชื่อด้วย ผู้ถือตราสารหนี้ลงลายมือชื่อ ซึ่งในกรณีที่ผู้ถือตราสารหนี้ เป็นนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันนิติบุคคลทุกคนลงลายมือชื่อ ในการนี้ผู้ถือตราสารหนี้ต้องจัดให้ กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงินของผู้ออก ตราสารหนี้ลงลายมือชื่อด้วย

3 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขายตราสารหนี้ แบบ 69 - SN กรณีการเสนอขายหุ นกูที่มีอนุพันธแฝง ( สวนที่ 1 : แบบ 69 - SN - 1) กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นบริษัทจดทะเบียน กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพันมิใชผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงิน ต้องมี ผู้ ที่ ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อด้วย กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาระดับ ผู้อํานวยการซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑดาน ตราสารหนี้ ที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ มิใช บริษัทจดทะเบียน กรรมการทุกคน ผู้ ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดและผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงิน กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาระดับ ผู้อํานวยการซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑดาน ตราสารหนี้ ที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน การเสนอขายในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ แบบ 69 - PP - รายครั้ง กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกิจการไทย กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน

4 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขายตราสารหนี้ กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับ มอบอํานาจจากผู้ที่มีอํานาจลงนาม ผูกพัน ผู้ ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสาย งานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบ อํานาจจาก ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการ ตางประเทศ หรือธนาคาร ตางประเทศซึ่งมีสาขาที่ได้รับ อนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชยในประเทศไทย ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้ที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้ที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็น ก องทรัสต กรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน กรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลง สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการและ ผู้ออกหลักทรัพย์ กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน (ยกเวนกรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการ เป็นกิจการตางประเทศ ให้ผู้ที่มี อํานาจผูกพันลงนาม) ผู้ออกหลักทรัพย์ กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน กรณีการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ถือตราสารหนี้ ผู้ถือตราสารหนี้ลงลายมือชื่อ ซึ่งในกรณีที่ผู้ถือตราสารหนี้ เป็นนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันนิติบุคคลทุกคนลงลายมือชื่อ ในการนี้ผู้ถือตราสารหนี้ต้องจัดให้ กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด และผู้ ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงินของผู้ออก ตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อด้วย ผู้ถือตราสารหนี้ลงลายมือชื่อ ซึ่งในกรณีที่ผู้ถือตราสารหนี้ เป็นนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันนิติบุคคลทุกคนลงลายมือชื่อ ในการนี้ผู้ถือตราสารหนี้ต้องจัดให้ กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดและผู้ ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสู งสุดในสายงานบัญชี และการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อด้วย

5 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขายตราสารหนี้ แบบ 69 - SN กรณีการเสนอขายหุนกู ที่มีอนุพันธแฝง (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาระดับ ผู้อํานวยการซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑดาน ตราสารหนี้ ที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน

6 2. สําหรับการเสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝงในลักษณะรายโครงการ แบบ 69-SN สวนที่ 1 : แบบ 69 - SN - 1 สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2 1 สวนขอมูลผู้ออกหุนกู สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขา ยหุนกู การเสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นบริษัทจดทะเบียน กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน หรือผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่ กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันมิใชผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ต้องมี ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินลงลายมือ ชื่อด้วย กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการ เสนอขายผลิตภัณฑดาน ตราสารหนี้ ที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑ ดานตราสารหนี้ ที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ มิใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการทุกคน ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดและผู้ ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงิน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการ เสนอขายผลิตภัณฑดาน ตราสารหนี้ ที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑ ดานตราสารหนี้ ที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน 1 ขอมูลที่เปลี่ยนแปลงไปจากแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1)

7 แบบ 69-SN สวนที่ 1 : แบบ 69 - SN - 1 สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2 1 สวนขอมูลผู้ออกหุนกู สวนขอมูลเกี่ยวกับ การเสนอขา ยหุนกู การเสนอขาย ในวงจํากัดต่อผู้ลงทุน สถาบัน ผู้ลงทุน รายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑ ดานตราสารหนี้ ที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเสนอขายผลิตภัณฑ ดานตราสารหนี้ ที่ได้รับ มอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน

8 3. สําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในลักษณะรายโครงการ (MTN) ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE/ แบบ 69-FD-BASE สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING/ แบบ 69-FD-PRICING สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT/ แบบ 69-FD-SUPPLEMENT การเสนอขายต่อประชาชน เป็นการ ทั่วไป แบบ 69 - PO - MTN/ แบบ 69 - FD - MTN กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการไทย กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นบริษัทจดทะเบียน กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน หรือผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่ กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพันมิใชผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ต้องมี ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินลงลายมือ ชื่อด้วย กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพั นหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพันมิใชผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุด หรือผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ต้องมีผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อด้วย กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ มิใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการทุกคน ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดและ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงิน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพั นหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการทุกคน ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดและผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน

9 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อ รับรอง สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE/ แบบ 69-FD-BASE สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING/ แบบ 69-FD-PRICING สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT/ แบบ 69-FD-SUPPLEMENT กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มี กฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน และผู้ ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงิน ผู้ที่ มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวา ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินที่ได้รั บมอบ อํานาจจากผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันและ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงิน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศซึ่ง มีสาขาที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชยในประเทศไทย ผู้ที่ มีอํานาจลงนามผูกพัน ผู้ที่ มีอํานาจลงนามผูกพัน ผู้ที่ มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกองทรัสต กรรมการทุกคนของ ผู้จัดการกองทรัสต กรรมการของผู้จัดการ กองทรัสตที่มีอํานาจลงนาม ผูกพัน กรรมการทุกคนของผู้จัดการ กองทรัสต ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อรับรอง สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT การเสนอขายในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ แบบ 69 - P P - MTN กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกิจการไทย กรรมการที่มีอํานาจ ลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหาร สูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจ จากกรรมการผู้มีอํานาจลง นามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน บัญชีและการเงินที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มี อํานาจลงนามผูกพัน กรรมการที่มีอํานาจลงนาม ผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน

10 ประเภทการเสนอขาย หลักเกณฑ การลง ลายมือชื่อรับรอง สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มี กฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดที่ รับมอบ อํานาจจากผู้ที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงินที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม ผูกพัน ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหาร สูงสุดที่รับมอบอํานาจจาก ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขาที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชยในประเทศไทย ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง บริหารสูงสุดที่ได้รับ มอบอํานาจจากผู้มี อํานาจลงนามผูกพั น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้ที่มี อํานาจลงนามผูกพั น ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหาร สูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพั น กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ เป็นกองทรัสต กรรมการของผู้จัดการ กองทรัสตที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน กรรมการของผู้จัดการ กองทรัสตที่มีอํานาจลงนาม ผูกพัน กรรมการของผู้จัดการ กองทรัสตที่มีอํานาจลงนาม ผูกพัน

11 4. สําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ที่จัดให้มีที่ปรึกษาทางการเงิน การเสนอขายต่อประชาชน เป็นการทั่วไป การเสนอขายในวงจํากัดต่อ ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ ตราสารหนี้ ทุกประ เภท ผู้ ที่ มีอํานาจลงนามผูกพัน ผู้ ที่ มีอํานาจลงนามผูกพัน

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (รายครั้ง) (แบบ 69-PP-รายครั้ง)/ (Form 69-PP-single) บริษัท …(ชื่อไทย/อังกฤษของผู้เสนอขายตราสารหนี้)… เสนอขาย … … … แบบ 69-PP-รายครั้ง ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ต่อผู้ลงทุนสถาบัน (Institutional Investor “II”) ผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors :“HNW”) และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors :“UHNW”) ขอมูลตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ประเภทตราสารหนี้ จํานวน ราคา เสนอขายต่อหนวย บุคคลที่เสนอขายตราสารหนี้ให้ ขอจํากัดการโอน และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ของตราสารหนี้ผู้ออกตราสารหนี้ (ถามี) หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ (ถามี) เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีการเสนอ ขายตราสารหนี้ ซึ่งไม่ได้กําหนดให้ต้องมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือ แต่ผู้ออกตราสารหนี้สมัครใจที่จะจัดให้มี การจัดอันดับความนาเชื่อถือ เพื่อประกอบการเสนอขายตราสารหนี้นั้น ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้จะจัดให้มี การจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย - ให้ระบุรายละเอียดสําคัญอื่นของการเสนอขายตราสารหนี้ เชน ผู้ประกันการจําหนายและ จัดจําหนาย บริษัทหลักทรัพย์ที่ทําหน้าที่จําหนายตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน วันที่แบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (“แบบแสดงรายการขอมูล”) มีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขาย กรณีที่มีจํานวนตราสารหนี้ที่ขายได้นอยกวาจํานวนตราสารหนี้ขั้นต่ําที่ผู้ออกตราสารหนี้กําหนด เป็นตน - กรณีที่เสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW สามารถปรับแบบแสดงรายการขอมูลในสวน ที่เกี่ยวของให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ออกตราสารหนี้และเงื่อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้ ประกันราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูล

2 ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวน ของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เสนอขายตราสารหนี้ หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้มีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือ เจ้าของตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้เป็นเท็จหรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ มีผลใชบังคับ” ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมในแต่ละกรณี ดังนี้ - กรณีเป็นการเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชยประเภทที่ 1 (“Basel III - Additional Tier 1”) และเงินกองทุนประเภทที่ 2 (“Basel III Tier 2”) ให้เปดเผยความเสี่ยงที่ ผู้ลงทุนอาจต้องรวมรับผลขาดทุนของธนาคารพาณิชย (“ธพ.”) หากเกิดเหตุการณที่เขาเงื่อนไขตามที่กําหนด ในสัญญา (“trigger event”) รวมถึงความเสี่ยงจากการกําหนดราคาแปลงสภาพขั้นต่ํา (“floor conversion price”) กรณีที่เป็นตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย (“ตราสาร Basel III”) ที่มี เงื่อนไขการบังคับแปลงสภาพตราสาร (“convert to equity”) - กรณีเป็นการเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัยประเภทที่ 1 (“Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 ”) และเงินกองทุนประเภทที่ 2 (“Insurance Capital Bond-Tier 2”) ให้เปดเผยความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจต้องรวมรับผลขาดทุนของบริษัทประกันภัย หากเกิด Trigger event รวมถึงความเสี่ ยงจากการกําหนด floor conversion price กรณีที่ เป็นตราสารดอยสิทธิเพื่ อนับเป็น เงินกองทุนของบริษัทประกันภัย (“Insurance Capital Bond”) ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity - กรณีการเสนอขายหุนกูในชวงเวลาเดียวกับการเสนอขายหนวยทรัสต (“concurrent offering”) ที่ไม่มีการรับประกันการจัดจําหนาย (best effort) ให้ระบุคําเตือนวา “ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงที่อาจไม่สามารถ จัดตั้งกองทรัสต หรืออาจไม่สามารถระดมทุนตามที่คาดไว ซึ่งการเกิดเหตุการณดังกลาวจะทําให้ผู้ลงทุนเกิด ตนทุนคาเสียโอกาสได้” - กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเพื่อผู้ลงทุนรายใหญ (กอง Infra Trust – รายใหญ) ซึ่งมีการลงทุนในโครงการที่ยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย ให้ระบุคําเตือนเกี่ยวกับ มูลคา/สัดสวนสินทรัพย์ของกอง Infra Trust ที่อยู่ระหวางกอสรางและยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย และมีคําเตือน ผู้ลงทุนวา “ผู้ลงทุ นมีความเสี่ยงที่สินทรัพย์ดังกลาวอาจสรางไม่เสร็จ หรือเสร็จลาชากวากําหนด หรือมีตนทุน การกอสรางสูงกวาที่ประมาณการไว ”

3 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. รายการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ และรายละเอียดตราสารหนี้ที่เสนอขาย ดังนี้ 1.1 สรุปขอมูลสําคัญของตราสารหนี้ (factsheet) ในกรณีการเสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งไม่ได้กําหนดให้ต้องมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือ แต่ผู้ออกตราสารหนี้สมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ หรือ ผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่อประกอบการเสนอขายตราสารหนี้นั้น ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้จะจัดให้มี การจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย 1.2 ระบุรายการอยางนอย ตามมาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) (ในสวน ไม่เกี่ยวของกับการเสนอขาย) ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้/ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (originator กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์) อาจเปดเผยโดยอางอิงขอมูลจากแบบแสดง รายการขอมูลประจําป หรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ได้ตามวิธีการดังต่อไปนี้ (1) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (เฉพาะผู้ออกตราสารหนี้ที่มี หน้าที่ ยื่นแบบแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ) ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ลาสุด งบการเงินประจํางวดการบัญชีลาสุด และงบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือ (2) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ ได้เคยยื่นแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวไวสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในกรณีทั่วไป (public offering) และปจจุบันแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวยังมีผลใชบังคับอยู่ ทั้งนี้ การอางอิงขอมูลตาม (1) หรือ (2) สามารถระบุแหลงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบ ได้ เชน เว็บไซต์ ของสํานักงานหรือเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณี ที่มีขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ และยังไม่ได้ เปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปหรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ขางตน ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมด้วย โดยอาจระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ และให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลประกอบด้วย 1.3 ให้เพิ่มเติมขอมูลดังนี้ ภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ออกตราสารหนี้ (กรณีที่ออกเป็นตราสารหนี้ไม่มีประกัน) ยอดหนี้คงคางในการออกหุนกูหรือตั๋วเงินครั้งกอน และกรณีผู้ออกเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและ บริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้

4 (1) สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (2) สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (3) สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทที่จัดตั้งในประเทศไทยและมิได้มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเป็นสํานักงานสาขา ให้ระบุประเภทงบการเงินและระยะเวลาที่ผู้ ออกตราสารหนี้ต้องสงงบการเงินต่อ หนวยงานกํากับดูแล สวนกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ (ไม่รวมสํานักงานสาขา) ให้ระบุ ประเภทงบการเงินและระยะเวลาที่ผู้ออกตราสารหนี้ต้องสงงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ในตางประเทศ ที่บริษัทมีหุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนหรือต่อหนวยงานทางการในตางประเทศที่บริษัทตางประเทศมีหน้าที่ สงงบการเงินดังกลาว 1.5 กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้แสดงสัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ที่กองทรัสตเสนอขายของกลุ่มผู้ที่จะจําหนาย จาย โอน ให้เชา หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แกกองทรัสตและกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกลาว ซึ่งตามหลักเกณฑกําหนดวาจะต้องไม่เกินรอยละ 50 ของมูลคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย 1.6 กรณีเสนอขายตั๋วเงิน ให้ระบุขอปฏิบัติที่จะจัดให้มีขอความบนตั๋วเงินตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการ กํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหมต่อบุคคลในวงจํากัด 1.7 กรณีเสนอขายพันธบัตรหรือหุนกู ให้แนบรางขอกําหนดสิทธิเป็นเอกสารประกอบ การยื่นแบบด้วย 1.8 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยง ดังนี้ (1) กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ : ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติม เกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ - การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหา ความแตกตางของกฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย - ผลกระทบที่ผู้ถือตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมาย ของประเทศที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุม การเขาออกเงินระหวางประเทศ (ถามี) 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา (lease) เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

5 - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ - ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค - ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตำงประเทศ (ถามี ) (2) กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย : (“สํานักงาน สาขา”) ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของสํานักงานใหญ (หมายถึง ธนาคาร ตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชีใน งบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้งแสดงขอผูกพันตาม ขอกําหนดสิทธิที่ระบุวาสํานักงานสาขาจะดํารงฐานะ การชําระหนี้ให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการที่สํานักงาน สาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขาเป็นสวนหนึ่งของ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ - ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ ออกตราสารหนี้ เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ล้มละลาย ซึ่งผู้ถือตราสารหนี้อาจไม่สามารถ ขอรับชําระหนี้หรือฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้งนี้ หากมี การเปดเผยอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของ สํานักงานใหญอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ตามตราสารหนี้ของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดกรณีล้มละลาย 1.9 กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นหนวยงานภาครัฐ ให้เปดเผยขอมูลและความเสี่ยง เพิ่มเติม ดังนี้ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่รองรับการจัดตั้งหนวยงาน และกฎหมาย ที่ให้อํานาจแกหนวยงานในการออกและเสนอขายตราสารหนี้วาอนุญาตให้ออกตราสารหนี้ประเภทใดบาง เชน พันธบัตร หรือหุนกู เป็นตน ให้ระบุรายละเอียดเกี่ ยวกับประวัติของหนวยงาน วัตถุประสงคในการจัดตั้ง และอํานาจหน้าที่ตาง ๆ รวมถึงภารกิจหลักหรือธุรกรรมหลักของหนวยงาน นอกจากนี้ให้อธิบายเกี่ยวกับ นโยบายในการดําเนินกิจการของหนวยงานด้วย ให้อธิบายเกี่ยวกับแหลงเงินทุนของหนวยงาน ที่มาของแหลงเงินทุนดังกลาว ในกรณีที่หนวยงานได้รับการแบงสรรงบประมาณจากภาครัฐหรือจากงบประมาณกลาง ให้ระบุรายละเอียดด้วย ให้อธิบายเกี่ยวกับรายรับรายจายของหนวยงานเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบและ ประเมินได้วาหนวยงานมีคาใชจายและมีรายได้มาจากแหลงใด

6 ให้เปดเผยความเสี่ยงในการได้รับชําระหนี้คืน เนื่องจากผู้ออกตราสารหนี้อาจมี ขอจํากัดเกี่ยวกับการบังคับชําระหนี้ในทรัพย์สินไม่วาจะเป็นขอจํากัดตามกฎหมาย สัญญา หรือขอจํากัดอื่นใด ซึ่งมีผลทําให้ในกรณีที่มีการผิดนัดชําระหนี้ ผู้ถือตราสารหนี้จะไม่สามารถฟ้องรองให้นําทรัพย์สินของ ผู้ออกตราสารหนี้มาชําระหนี้ได้ และให้เปดเผยขอมูลวาตราสารหนี้ที่ออกและเสนอขายไม่ใชตราสารหนี้ ที่กระทรวงการคลังค้ําประกันในเงินตนและดอกเบี้ย

7 2. การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในกรณีเสนอขายตราสารหนี้ต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ 2.1 วัตถุประสงคในการใชเงินโดยละเอียด 2 ดังนี้ บริษัท ประกอบธุรกิจ โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญที่ เลขทะเบียนบริษัท Home Page (ถามี) โทรศัพท โทรสาร มี วัตถุประสงคในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายตราสารหนี้ครั้งนี้ประมาณ ลานบาท ไปใชดังนี้ 3 2 กรณีการเสนอขาย II ให้เปดเผยวัตถุประสงคการใชเงินพอสังเขป เชน วัตถุประสงคในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขาย ตราสารหนี้ครั้งนี้ประมาณ … ลานบาท ไปใชดังนี้ … 3 ยกเวน สําหรับการเสนอขายตราสาร Basel III Insurance Capital Bond และการเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ไม่จําเป็นต้องเปดเผยตามรูปแบบในตารางดานลางนี้ วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงิน ที่ใชโดยประมาณ ระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ รายละเอียด 1. เพื่อใชในการซื้อสินทรัพย์ หรือ ลงทุนในกิจการที่ เกี่ ยวของกับ การดําเนินธุรกิจปจจุบัน - กรณีเป็นการซื้อสินทรัพย์ ให้อธิบาย เกี่ยวกับประเภทสินทรัพย์และจํานวน เงินที่ใชโดยประมาณ - กรณี เป นการลงทุ นในกิ จการ ให้อธิบายลักษณะกิจการที่จะลงทุน สถานะการลงทุน และจํานวนเงินที่ใช โดยประมาณ ทั้งนี้ กรณีการซื้อสินทรัพย์ หรือลงทุน ในกิจการที่ไม่เกี่ยวของกับการดําเนิน ธุรกิจปจจุบัน ให้อธิบายหตุผลและ ที่มาของการเขาไปซื้อสินทรัพย์หรือ ลงทุนในกิจการดังกลาวด้วย 2. เพื่อใชในการซื้อสินทรัพย์ หรือ ลงทุนในกิจการที่ ไม่เกี่ ยวข อง กับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน 3. เพื่อชําระคืนเงินกู หรือหนี้จาก การออกตราสารหนี้ - กรณี เป็นการชําระหนี้ ที่ มีกับกลุ่ม ที่ปรึกษาทางการเงินหรือกลุ่มตัวกลาง ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้เปดเผย terms and conditions ข อ ง ห นี้ ดังกลาวเพิ่มเติมด้วย - กรณีอื่น ๆ ให้เปดเผยอยางนอย ในเรื ่ องจํานวนเงิ นและระยะเวลา การใชเงิน

8 หมายเหตุ : (1) ให้เปดเผยประมาณการมูลคาเงินที่ใชแยกแต่ละวัตถุประสงคการใชเงิน โดยอาจเปดเผยขอมูลในลักษณะเป็นชวง (range) ที่เหมาะสมได้ และให้เรียงลําดับการใชเงินตามความสําคัญของวัตถุประสงคแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ หากเงินระดมทุน ที่ได้รับในครั้งนี้ไม่เพียงพอสําหรับวัตถุประสงคการใชเงินที่ระบุไว ให้เปดเผยแหลงเงินทุนที่จะจัดหาเพิ่มเติมด้วย (2) แนวทางการเปดเผยวัตถุประสงคการใชเงินให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป ที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน 2 . 2. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้ เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นและการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 2.3 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 1 (กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้เปดเผย อัตราสวนทางการเงินของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (originator)) 2.4 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้เฉพาะเจาะจง ผู้ออกตราสารหนี้ เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีหลักประกันที่มีจํานวน และมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุน จากตราสารหนี้ เป็นตน 2.5 ให้เปดเผยลักษณะพิเศษและความเสี่ยงสําคัญของตราสาร โดยให้เรียงลําดับลักษณะพิเศษ และปจจัยความเสี่ยงหรือคําเตือนที่สําคัญมากเป็นลําดับแรก เชน - หุนกูดอยสิทธิ ให้ระบุเงื่อนไขและความเสี่ยงที่ผู้ออกอาจไม่จายดอกเบี้ย (ถามี) ตลอดจนสิทธิหรือลําดับในการรับชําระหนี้ของผู้ถือหุนกู เชน สิทธิของผู้ถือหุนกูจะดอยกวาสิทธิของเจ้าหนี้ สามัญเฉพาะในเรื่องการรับชําระหนี้ตามหุนกูนั้นเมื่อผู้ออกหุนกูถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกศาลพิพากษาให้ ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกบริษัท หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (ถามี ให้ระบุรายละเอียด) - หุนกูที่ครบกําหนดไถถอนเมื่อเลิกกิจการ (perpetual) ให้ระบุลักษณะพิเศษ และ มีขอมูลที่เตือนให้ผู้ลงทุนเขาใจวาเป็นหุนกูไม่มีกําหนดอายุแนนอนเหมือนหุนกูทั่วไป และระบุลักษณะพิเศษและ ความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจได้รับ และขอมูลแจงเตือนที่เกี่ยวของ ซึ่งรวมถึง (แต่ไม่จํากัดเฉพาะ) สถานะการ วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงิน ที่ใชโดยประมาณ ระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ รายละเอียด 4. กรณีอื่น ๆ เชน เงินทุนที่ใช หมุนเวียนในกิจการ

9 ดอยสิทธิของตราสาร (subordinated) เงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย สิทธิของผู้ออกในการไถถอนคืนกอน กําหนด (callable) และกรณี ไม่มีเงื่อนไขการผิดนัดไขว (cross-default) - หุนกูแปลงสภาพ ให้ระบุความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาหุนสามัญจาก การใชสิทธิแปลงสภาพ (เชน ราคาหุนสามัญลดต่ําลงระหวางเวลาใชสิทธิกับเวลาที่มีการสงมอบหุนสามัญ) การจํากัดระยะเวลาใชสิทธิแปลงสภาพ และการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับสิทธิที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิของ ผู้ถือตราสาร (ถามี) เป็นตน - หุ นกู ที่ มีเงื่ อนไขให้ผู้ ออกตราสารสามารถไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (callable) อยางนอยให้ระบุความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจได้รับหากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนตราสารกอน ครบกําหนด เชน ผู้ถือตราสารมีความเสี่ยงที่จะเสียโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่สูงจากการลงทุนใน ตราสารที่ เสนอขาย หากผู้ ออกตราสารใชสิทธิไถถอนในชวงที่ อัตราดอกเบี้ ยในตลาดลดต่ําลงกวา อัตราดอกเบี้ยของตราสาร เป็นตน - หุนกูที่มีเงื่ อนไขให้ผู้ถือตราสารสามารถขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (puttable) อยางนอยให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและวิธีการไถถอนตราสารกอนครบกําหนดของ ผู้ถือตราสารที่ได้กําหนด ไวลวงหน้าตั้งแต่ออกและเสนอขายตราสาร เชน หาก credit rating ของตราสาร/ ผู้ออกตราสารลดต่ําลงกวาระดับที่ระบุไว ผู้ถือตราสารมีสิทธิขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ เพื่อนําเงิน ไปลงทุนในตราสารอื่น ที่มีลักษณะและผลตอบแทนตามที่ตนต้องการ โดยต้องดําเนินการตามวิธีการที่กําหนดไว ลวงหน้า เป็นตน - ตั๋วเงิน ให้ระบุลักษณะพิเศษให้ผู้ลงทุนเขาใจ เชน  ในกรณีที่ผู้ถือตั๋วเงินโอนตั๋วเงินด้วยวิธีการสลักหลังตั๋วเงินโดยการลงลายมือชื่อ ดานหลังตั๋วเงินจะมีผลทําให้ผู้สลักหลังตั๋วเงินอาจถูกไลเบี้ยหรืออาจต้องรับผิดชอบในการชําระหนี้ตามความ ในตั๋ วเงินนั้ นด้วย เวนแต่ผู้ สลักหลังได้จดขอกําหนดลบลางหรือจํากัดความรับผิดของตนไวชัดแจง ในตั๋วเงิน เชน “จะไลเบี้ยเอาจากขาพเจ้าไม่ได้” (without recourse) จึงจะมีผลทําให้ผู้สลักหลังไม่ต้อง รับผิดชอบในการชําระหนี้ต่อผู้รับโอนตั๋วเงินต่อไป  ในกรณีที่มีการระบุขอความ “เปลี่ยนมือไม่ได้” “หามเปลี่ยนมือ” หรือขอความ อื่นใดที่มีความหมายทํานองเดียวกัน อาจมีผลทําให้เกิดความเสี่ยงดานสภาพคลองของตั๋วเงินนั้น โดยผู้ถือตั๋วเงิน จะโอนตั๋วเงินด้วยวิธีการสลักหลังตั๋วเงินโดยการลงลายมือชื่อดานหลังตั๋วไม่ได้  ตั๋วเงินเป็นเอกสารหลักฐานสําคัญในการขอขึ้นเงินเมื่อครบกําหนด ผู้ลงทุนต้อง พึงระมัดระวังไม่ให้ตั๋ วเงินสูญหาย หากปราศจากตั๋ วเงินแล้วผู้ ออกตั๋ วเงินอาจปฏิเสธการชําระเงินได้ ผู้ถือตั๋วเงินไม่ได้รับการคุมครองจากสถาบันคุมครองเงินฝาก ในกรณีที่ธนาคารพาณิชยผู้ออกตั๋วเงินล้มละลาย หรือไม่สามารถจายชําระหนี้ตามตั๋วเงินได้ 2.6 ให้สรุปสาระสําคัญของความแตกตาง (ในกรณีที่มีความแตกตาง) ของขอกําหนดสิทธิ สําหรับการเสนอขายในครั้งนี้กับขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน (รายละเอียดสามารถอางอิงเอกสารแนบ) (ยกเวน

10 กรณีเสนอขายตราสารหนี้ดังต่อไปนี้ 1. หุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 2. ตราสาร Basel III 3. Insurance Capital Bond) การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม กรณีการเสนอขายตราสารหนี้อื่น ๆ กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนด ในภาคผนวก 2 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ กรณี เสนอขายตราสาร Basel III : ให้ เป ดเผยข อมู ลเพิ ่ มเติมตามหั วข อที่ กําหนดในภาคผนวก 3 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 4 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย กรณีเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (sustainability bond) : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่ กําหนดในภาคผนวก 5: การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน กรณีเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (sustainability-linked bond) : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตาม หัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 6 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืน

11 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนรายการขอมูล) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ไม่มี หุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 4 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

12 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขา ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้ที่มี อํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวน ของแบบแสดงรายการขอมูล 5 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมู ลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูล และรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

13 1.3 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 6 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูล และรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 6 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

14 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้ จัดการกองทรัสตที่ มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 7 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 7 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

15 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

16 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ 1. ขอมูลอื่น ๆ ของตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ 1.1 กรณีตราสารหนี้มีอัตราดอกเบี้ยลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ 1.1.1 สําหรับตราสารหนี้ทั่วไป ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขดังต่อไปนี้แล้ว จะทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนได้รับไม่เทากับอัตรา ดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน (1) กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุด ที่ อาจเกิดขึ้ นได้ เชน ผู้ ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียว เมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน (2) กรณีหุนกูที่ครบกําหนดไถถอนเมื่อเลิกกิจการ ซึ่งผู้ออกตราสารสามารถเลื่อน การจายดอกเบี้ยและไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้และมีการจายดอกเบี้ยในอัตราที่เพิ่ มขึ้น เป็นขั้นบันได (“step up”) ให้แสดง IRR สําหรับกรณีผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อไถถอนตราสาร โดยยกตัวอยาง เชน ผู้ออกตราสารตัดสินใจไถถอนตราสาร ในปที่ 10 20 และ 30 เป็นตน 1.1.2 สําหรับการเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้แสดง IRR ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขดังต่อไปนี้ แล้ว จะทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน (1) กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุด ที่ อาจเกิดขึ้ นได้ เชน ผู้ ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียว เมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน 1.1.3 สําหรับการเสนอขายตราสาร Basel III และ Insurance Capital Bond ให้แสดง อัตราผลตอบแทนที่แทจริง IRR ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขตามที่กําหนดแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะ ได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน (1) กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจ เกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนด ไถถอน เป็นตน (2) กรณีมีเงื่อนไขการไม่จายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจ เกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารจายดอกเบี้ยเมื่อไถถอนเพียงครั้งเดียว (3) กรณีตราสารดอยสิทธิที่ไม่กําหนดระยะเวลาชําระคืน ซึ่งผู้ออกตราสารสามารถ เลื่อนการจายดอกเบี้ยและไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ ให้แสดง IRR สําหรับกรณีผู้ออกตราสาร เลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวดโดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อไถถอนตราสาร โดยยกตัวอยาง เชน ผู้ออกตราสารตัดสินใจไถ ถอนตราสารในปที่ 5 10 20 และ 30 เป็นตน

17 (4) กรณีมีเงื่อนไขแปลงสภาพ ให้สรุปวิธีการใชสิทธิ เงื่อนไข การปรับสิทธิและ คาเสียหาย เป็นตน 1.2 ในกรณีที่ตราสารหนี้ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูล ในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะและความเสี่ยง ที่สําคัญของตราสารหนี้ที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน)และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน 2. ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ 2.1 รายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุกฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับตราสารหนี้ (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) รวมทั้งรายละเอียดการวิเคราะห การจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 8 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตาม ตราสารหนี้โดยสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ - กรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุนกูที่ได้รับการแต่งตั้งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวไวด้วย - ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียนไว กับสํานักงาน เป็นตน 2.2 การกําหนดราคาตราสารหนี้ ให้อธิบายที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย ได้แก วิธีการ กําหนดราคา ผู้ที่มีสวนในการกําหนดราคา ปจจัยหรือตัวแปรตาง ๆ ที่ใชในการกําหนดราคา เป็นตน ทั้งนี้ แนวทางการเปดเผยที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ให้เป็นไปตามคู่มือ การเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป 2.3 การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้ หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท 8 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สิ นมีทรัพย์สินเป็นหลักประกันที่ทําให้เจ้าหนี้หุนกูไม่มี ประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating)

18 นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย สําหรับการเสนอขายตราสาร Basel III ให้ เป ดเผยข อมูลเกี ่ ยวกั บความขั ดแยง ทางผลประโยชน จากการเสนอขายตราสาร Basel III ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือ ผานบริษัทหลักทรัพย์ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑ Basel III ของ ธปท. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสาร โดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน สําหรับการเสนอขาย Insurance Capital Bond ให้เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยง ทางผลประโยชน จากการเสนอขาย Insurance Capital Bond โดยผาน ธพ. หรือบริษัทหลักทรัพย์ ในเครือ (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจ ให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกตราสารหนี้กับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงิน คาตราสารหนี้ที่ผู้ออกตราสารหนี้จะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายตราสารหนี้ โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรตราสารหนี้ ให้ระบุหลักการจัดสรรตราสารหนี้ให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวนตราสารหนี้ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนตราสารหนี้และเสนอขาย ต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย

19 (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อตราสารหนี้ การกําหนดจํานวน ในการจองซื้อตราสารหนี้ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ชื่อบริษัทเงินทุนหรือ ธพ. ที่เป็น ตัวแทนรับเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้คืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่ เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้จองซื้อ ไม่ได้รับการจัดสรรตราสารหนี้ (11) วิธีการสงมอบตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 2.4 ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออก ตราสารหนี้ให้ทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่ เป็นตัวแทนการชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มี การทําสัญญาแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้เป็นผู้ทําหน้าที่ ดังกลาว 2.5 ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของ กับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย 3. ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ให้เปดเผยข อมูล ดังนี้ (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) (2) ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน

20 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้) 1 ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ไม่มี หุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 9 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวัง ในฐานะ [กรรมการผู  มี อํานาจลงนามผู กพั น / ผู  ที่ได้ รั บมอบอํานาจ] ของผู  ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวนไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 9 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

21 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขา ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวน ของแบบแสดงรายการขอมูล 10 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่ มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 10 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไป ตามหลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

22 1.3 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 11 โดยให้ใช ขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 11 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

23 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้ จัดการกองทรัสตที่ มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 12 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้า ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควร ต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 12 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

24 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วย ความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงินต้อง จัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

25 เอกสารแนบ ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู สําหรับ “ (ชื่อหุนกู) ” หัวขอ ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน ขอกําหนดสิทธิของหุนกู เหตุผล 1 1 อธิบายเหตุผลที่ขอกําหนดสิทธิของหุนกูแตกตางจากขอกําหนดสิทธิมาตรฐานเฉพาะในกรณีที่มีความแตกตาง อยางมีนัยสําคัญจนทําให้กระทบสิทธิของผู้ถือหุนกู

26 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลองที่ มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง ( Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

27 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest cove rage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย ( interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย

28 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย

29 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์ หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลา ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้ จัดทํางบระหวางปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายใน หมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน”

30 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

31 ภาคผนวก 2 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย หุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในกรณีออกและเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้เปดเผยขอมูลในสวนที่ 1 รายการขอมูล (นอกจากหัวขอ 1.1) ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ โดยให้เปดเผยขอมูลของทั้งผู้มีสิทธิเสนอ โครงการและผู้ออกหุนกู สวนที่ 1. รายการขอมูล 1. ขอมูลโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 1.1 ลักษณะสําคัญ ขั้นตอนการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ โครงสรางทางกฎหมายและ โครงสรางกระแสเงินสดของโครงการ 1.2 ขอมูลบุคคลที่เกี่ยวของกับโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เชน ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ ผู้คาตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้บริหารจัดการโครงการ ผู้แทนผู้ถือหุนกู นายทะเบียนหุนกู ตัวแทนชําระเงิน ผู้จัดอันดับความนาเชื่อถือ ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง (ถามี) เป็นตน 1.3 รายละเอียดของสินทรัพย์ที่จะนํามาแปลงเป็นหลักทรัพย์ เชน ประเภท ลักษณะ คุณภาพ ทางเครดิต (กรณีสินทรัพย์เป็นลูกหนี้) เงื่อนไขในการเลือกสินทรัพย์ และมูลคาของ กลุ่มสินทรัพย์ ประวัติ การเรียกเก็บกระแสรายรับจากสินทรัพย์ เป็นตน 1.4 การเพิ่มคุณภาพเครดิต (Credit Enhancement) 1.5 การลงทุนหรือการหาผลประโยชนจากเงินสดในบัญชีของนิติบุคคลเฉพาะกิจ 1.6 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงของโครงการ 1.7 การวิเคราะหการจัดอันดับความนาเชื่อถือของหุนกูหรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามหุนกู โดยสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ 1.8 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตามกฎหมายตางประเทศ ต้องมีขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับขอจํากัดและความเสี่ยงอยางนอยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) ผลกระทบที่ผู้ถือหุนกูอาจได้รับ ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการมีหน้าที่ต้องรวบรวมเงิน ที่ได้จากสิทธิเรียกรองตามโครงการสงให้นิติบุคคลเฉพาะกิจ ซึ่งกฎหมายของประเทศที่เกี่ยวของกับผู้มีสิทธิ เสนอโครงการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ (ถามี) (2) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (3) กรณีที่สินทรัพย์ของโครงการเป็นสิทธิเรียกรองในตางประเทศ ให้เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ (ก) สิทธิและความคุมครองที่ผู้ลงทุนจะได้รับจากการลงทุนในหุนกู รวมทั้งคําเตือน ผู้ลงทุนให้ศึกษาและติดตามขอมูลเกี่ยวกับกฎหมายและกฎเกณฑของประเทศที่จะใชบังคับกับสิทธิเรียกรอง ตามโครงการ ทั้งนี้ ขอมูลดังกลาวให้แสดงในหน้าปกของแบบแสดงรายการขอมูลด้วยตัวอักษรที่เนนและ สามารถสังเกตเห็นได้อยางชัดเจน

32 (ข) การดําเนินคดีทางกฎหมายของนิติบุคคลเฉพาะกิจต่อผู้มีสิทธิเสนอโครงการ หรือ การบังคับกับสิทธิเรียกรองตามโครงการ เนื่องจากผู้มีสิทธิเสนอโครงการหรือลูกหนี้แห่งสิทธิเรียกรองดังกลาว มิได้มีถิ่ นที่ อยู่ ในประเทศไทย ทั้ งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อผู้ มีสิทธิ เสนอโครงการหรือลูกหนี้แห่งสิทธิเรียกรองนั้นด้วย 1.9 กรณีที่เป็นการเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ที่มีการชําระคาหุนกู เป็นสกุลเงินตราตางประเทศต้องมีขอมูลเพิ่มเติมอยางนอยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตามกฎหมายตางประเทศ หรือเป็นการเสนอขาย หุนกูพรอมกันหรือในระยะเวลาใกลเคียงกันในประเทศอื่นด้วย ให้ระบุไวอยางชัดเจนเกี่ยวกับภาษาที่จะใช ในการจัดทําหนังสือชี้ชวน งบการเงิน รายงานประจําป แบบแสดงรายการขอมูลประจําป และการให้ขอมูลอื่น หรือรายงานเกี่ยวกับกิจการที่นิติบุคคลเฉพาะกิจจัดทําเพื่อเผยแพรต่อสาธารณชน (2) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา การสงมอบหลักทรัพย์ และวิธีการโอนหลักทรัพย์ 1.10 ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ (ถามี) เชน การใชตราสารอนุพันธ (Derivative Instruments) เพื่อปรับรูปแบบกระแสเงินสด เงื่อนไขการโอนสินทรัพย์คืน เป็นตน นอกจากนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้ออกตราสารหนี้ ในการรับรองความถูกต้องของขอมูล ตามสวนที่ 2 การรับรองความถูกต้อง ให้ใช การรับรองความถูกต้องของขอมูล ดังนี้

33 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนรายการขอมูล) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหาร สูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อพรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 13 โดยให้ใชขอความและ รูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 13 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

34 2. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องจัดให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้มีสิทธิเสนอ โครงการหรือผู้ ที่ ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้ มีอํานาจผูกพันของ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (ยกเวนกรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตางประเทศ ให้ผู้ที่มีอํานาจผูกพัน ของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ) ลงลายมือชื่อ 14 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวน ของแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุ นสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 14 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

35 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับการมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ 15 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) โดยให้ใชขอความและ รูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรอง วา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงใน สาระสําคัญ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 15 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

36 ภาคผนวก 3 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย กรณีออกและเสนอขายตราสาร Basel III ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 รายการขอมูล ดังนี้ 1. กรณีเสนอขายตราสาร Basel III - Additional Tier 1 1.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่อนไขโดยรวมของ Basel III - Additional Tier 1 โดยระบุความเสี่ยง เฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน ไม่กําหนดระยะเวลาการชําระคืนแต่จะถูกไถถอน เมื่อเลิกกิจการ ธนาคารพาณิชย (“ธพ.”) มีอํานาจเต็มที่ในการยกเลิกการจายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนอื่นใด เมื่อใดก็ได้โดยไม่สะสมผลตอบแทน (non-cumulative) และไม่ถือเป็นเหตุผิดนัดชําระหนี้ การกําหนด เงื่ อนไขในการรองรับและรับรู ผลขาดทุนในระหวางการดําเนินการ (“loss absorption on a going- concern basis”) และเมื่อไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ (“loss absorption on a gone-concern basis”) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของ Basel III - Additional Tier 1 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภทสามารถเปรียบเทียบ กันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จาก Basel III - Additional Tier 1 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือ Basel III - Additional Tier 1 กับเงินฝาก เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูก พิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการหรือเมื่อเกิด trigger event เพื่ อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (Common equity tier 1: “CET1”) พรอมรายการหักจาก CET1 โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (6) วิธีการคํานวณอัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (“CET1 ratio”) อัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 (“Tier 1 ratio”) และอัตราสวนเงินกองทุนทั้งสิ้ น (“Total Capital Ratio”) โดยยอและเขาใจได้งาย (7) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio Tier 1 ratio และ Total Capital Ratio ที่ ธพ. ดํารงได้ ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนกับอัตราสวนเงินกองทุนขั้นต่ํา (“minimum capital requirement”) และเงินกองทุนสวนเพิ่ม (“capital buffer”) ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”)

37 กําหนดทั้ง 3 ประเภท รวมทั้ง CET1 ratio ที่ ธพ. กําหนดเป็น trigger point 16 เพื่อ loss absorption on a going-concern basis ซึ่งอาจทําให้ตราสารถูกลดมูลคา (“write down”)/ปลดหนี้ (“write off”) หรือถูก convert to equity นอกจากนี้ ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวนเงินกองทุน ดังกลาว ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนได้จากหน้าเว็บไซต์ของ ธพ. ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่ ธพ. ดํารงได้ การไม่สามารถปฏิบัติตาม minimum capital requirement และ capital buffer ดังกลาว อาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือ Basel III- Additional Tier 1 อยางไร (8) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคาที่ ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขทั้งเพื่อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis 17 พรอมตัวอยางการคํานวณที่ ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุน สูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของ Basel III -Additional Tier 1 ที่ มีเงื่ อนไขการ convert to equity ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของ ธพ. ในชวงกอนหรือระหวางการเสนอขายตามแนวทางที่ สมาคมธนาคารไทย กําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคา รวมต่ํากวาเงินลงทุนใน Basel III - Additional Tier 1 ดังกลาว เป็นตน (9) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับ Basel III - Additional Tier 1 (10) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 1.2 ขอมูลเกี่ ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขายตราสาร Basel III - Additional Tier 1ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือผานบริษัทหลักทรัพย์ (“บล.”) ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑ Basel III ของ ธปท. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูล เป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน 16 อัตราที่ ธพ. กําหนดต้องมี CET 1 ratio สูงกวา 5.125% 17 เชน ธพ. มีสินทรัพย์ไม่เพียงพอจายคืนผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้ เงินกองทุนของ ธพ. ลดลงจนถึงระดับที่จะกระทบต่อผู้ฝากเงิน และเจ้าหนี้ หรือ ธพ. ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง เป็นตน

38 2. กรณีเสนอขายตราสาร Basel III Tier 2 ให้ ธพ. ผู้เสนอขายตราสารดังกลาวระบุรายละเอียด ขอมูลเพิ่มเติมอยางนอย ดังต่อไปนี้ 2.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่ อนไขโดยรวมของตราสาร Basel III Tier 2 โดยระบุความเสี่ ยง เฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน เป็นตราสารที่ ธพ. มีสิทธิไถถอนกอนครบกําหนดการ ชําระคืนภายใตเงื่อนไขที่ ธปท. กําหนดและไม่มีขอกําหนดให้ผู้ถือสามารถไถถอนกอนกําหนดการกําหนด เงื่อนไข loss absorption on a gone-concern basis และความเสี่ยงและผลกระทบ ต่อผู้ลงทุนภายใต สถานการณตาง ๆเป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของตราสาร Basel III Tier 2 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ ทั้งสองประเภทสามารถเปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก ตราสาร Basel III Tier 2 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของตราสาร Basel III Tier 2 กับเงินฝาก เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ทั้งภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการ เป็นตน และเมื่อเกิด trigger event เพื่อ loss absorption on a gone-concern basis (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ ซึ่งต้องมีสาระสําคัญและเขาใจได้งาย (5) วิธีการคํานวณ CET 1 ratio, Tier 1 Ratio และ Total Capital Ratio โดยยอและ เขาใจได้งาย (6) เปรียบเทียบระหวาง CET 1 ratio, Tier 1 Ratio และ Total Capital Ratio ที่ ธพ. ดํารงได้ ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนกับ minimum capital requirement และ capital buffer ตามที่ ธปท. กําหนดทั้ง 3 ประเภท นอกจากนี้ ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวนเงินกองทุน ดังกลาว ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนได้จากหน้าเว็บไซต์ ของ ธพ. ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่ ธพ. ดํารงได้ การไม่สามารถปฏิบัติตาม minimum capital requirement และ capital buffer ดังกลาวอาจสงผลให้เกิด ความเสี่ยงต่อผู้ถือตราสาร Basel III Tier 2 อยางไร (7) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคาที่ ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด Trigger event ภายใตเงื่อนไขเพื่อ loss absorption on a gone- concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งมีการจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด Trigger event ดั งกลาว

39 นอกจากนี้ กรณีของตราสาร Basel III Tier 2 ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับ รอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของ ธพ. ในชวงกอนหรือระหวางการเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมธนาคาร ไทยกําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวาเงิน ลงทุนในตราสาร Tier 2 ดังกลาว เป็นตน (8) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity ตราสาร Basel III Tier 2 (9) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 2.2. ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขายตราสาร Basel III Tier 2 ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือผาน บล. ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับ เป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 ตามเกณฑ Basel III ของ ธปท.จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสาร โดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน

40 ภาคผนวก 4 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย ในกรณีออกและเสนอขาย Insurance Capital Bond ให้เปดเผยขอมูลเพิ่ มเติมในสวนที่ 1 รายการขอมูล ดังนี้ 1. กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 1.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่ อนไขโดยรวมของ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 โดยระบุความเสี่ยงเฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน ไม่กําหนดระยะเวลาการชําระคืนแต่ จะถูกไถถอนเมื่อเลิกกิจการ บริษัทประกันภัยมีอํานาจเต็มที่ในการยกเลิกการจายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทน อื่นใดเมื่อใดก็ได้โดยไม่สะสมผลตอบแทน (non-cumulative) และไม่ถือเป็นเหตุผิดนัดชําระหนี้ การกําหนด เงื่ อนไขในการรองรับและรับรู ผลขาดทุนในระหวางการดําเนินการ (“loss absorption on a going- concern basis”) และเมื่อไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ 18 (“loss absorption on a gone-concern basis”) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภท สามารถเปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบ ดานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือ Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 กับเจ้าหนี้บุริมสิทธิ ผู้เอาประกัน ผู้ถือกรมธรรม ผู้รับผลประโยชน เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการหรือเมื่อเกิด trigger event เพื่อ loss absorption on a going- concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (Common equity tier 1: “CET1”) พรอมรายการหักจาก CET1 โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย 18 เชน บริษัทประกันภัยมีสินทรัพย์ไม่เพียงพอจายคาสินไหมทดแทนให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับผลประโยชนตามกรมธรรม และเจ้าหนี้ เงินกองทุนของบริษัทประกันภัยลดลงจนถึงระดับที่จะกระทบต่อผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับผลประโยชนตาม กรมธรรม และเจ้าหนี้ หรือบริษัทประกันภัยไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง เป็นตน

41 (6) วิธีการคํานวณอัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (“CET1 ratio”) อัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 (“Tier 1 ratio”) และอัตราสวนความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio : “CAR”) โดยยอและเขาใจได้งาย (7) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR ที่ บริษัทประกันภัยดํารงได้ ณ สิ้นไตรมาสกับอัตราสวนเงินกองทุนขั้ นต่ํา (“minimum capital requirement”) ตามที่สํานักงาน คณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (“สํานักงาน คปภ.”) กําหนด รวมทั้ง CET1 ratio ที่บริษัทประกันภัยกําหนดเป็น trigger point 19 เพื่อ loss absorption on a going-concern basis ซึ่งอาจทําให้ตราสารถูกลดมูลคา (“write down”)/ปลดหนี้ (“write off”) หรือถูก convert to equity นอกจากนี้ ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวน เงินกองทุนดังกลาว ณ สิ้นไตรมาสได้จากหน้าเว็บไซต์ของบริษัทประกันภัยและสํานักงาน คปภ. ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นไตรมาส เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่บริษัทประกันชีวิตดํารงได้ การไม่สามารถ ปฏิบัติตาม minimum capital requirement ดังกลาว อาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือ Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 อยางไร (8) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคา ที่ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขทั้งเพื่อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณ ที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบ ผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของ Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 ที่มีเงื่อนไข การ convert to equity ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจาก การกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของบริษัทประกันภัยในชวง กอนหรือระหวางการเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมประกันชีวิตไทย และ/หรือ สมาคมบริษัทประกัน วินาศภัยไทยกําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวา เงินลงทุนใน Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 ดังกลาว เป็นตน (9) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 (10) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 19 CET1 ratio ที่บริษัทประกันภัยกําหนดต้องสูงกวา 65%

42 1.2 ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขาย Insurance Capital Bond- Tier 1 ของบริษัทประกันภัย โดยผาน ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัย (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ บริษัทประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จ หรือไม่ชัดเจน 2. กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond-Tier 2 2.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่อนไขโดยรวมของ Insurance Capital Bond-Tier 2 โดยระบุความเสี่ยง เฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน เป็นตราสารที่บริษัทประกันภัยมีสิทธิไถถอนกอน ครบกําหนดชําระคืนภายใตเงื่อนไขที่สํานักงาน คปภ. กําหนดและไม่มีขอกําหนดให้ผู้ถือสามารถไถถอน กอนกําหนด การกําหนดเงื่อนไข loss absorption on a gone-concern basis และความเสี่ยงและ ผลกระทบต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของ Insurance Capital Bond-Tier 2 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภทสามารถ เปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นจาก Insurance Capital Bond-Tier 2 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือ Insurance Capital Bond-Tier 2 กับเจ้าหนี้ บุริมสิทธิ ผู้เอาประกัน ผู้ถือกรมธรรม ผู้รับผลประโยชน เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือ มีการชําระบัญชีเพื่ อการเลิกกิจการ และเมื่ อเกิด trigger event เพื่ อ loss absorption on a gone- concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยง โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) วิธีการคํานวณ CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR โดยยอและเขาใจได้งาย (6) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR ที่ บริษัทประกันภัยดํารงได้ ณ สิ้นไตรมาสกับ minimum capital requirement และ capital buffer ตามที่ สํานักงาน คปภ. กําหนด นอกจากนี้ ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวน เงินกองทุนดังกลาว ณ สิ้นไตรมาสได้จากหน้าเว็บไซต์ของบริษัทประกันภัยและสํานักงาน คปภ. ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นไตรมาส เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่ บริษัทประกันภัยดํารงได้ การไม่สามารถ ปฏิบัติตาม minimum capital requirement ดังกลาวอาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือ Insurance Capital Bond-Tier 2 อยางไร

43 (7) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคา ที่ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขเพื่อ loss absorption on a gone-concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งมีการจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของ Insurance Capital Bond-Tier 2 ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity ให้บริษัทประกันภัย เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของบริษัทประกันภัยในชวงกอนหรือระหวาง การเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมประกันชีวิตไทย และ/หรือ สมาคมบริษัทประกันวินาศภัยไทยกําหนด เชน ความเสี่ ยงที่ จะได้รับหุ นสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวาเงินลงทุน ใน Insurance Capital Bond-Tier 2 ดังกลาว เป็นตน (8) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับ Insurance Capital Bond-Tier 2 (9) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขาย Insurance Capital Bond- Tier 2 ของบริษัทประกันภัย โดยผาน ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัย (ถามี) เนื่องจาก เพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ บริษัทประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จ หรือไม่ชัดเจน

44 ภาคผนวก 5 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน ในกรณีออกและเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (sustainability bond) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 รายการขอมูล ดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green bond social bond และ sustainability bond และมาตรฐานนิยาม และหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับ สากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ดังกลาวตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) ห รื อมำตรฐำน International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) ห ร ื อ มำ ต ร ฐำ น International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงิ นที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือวิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงิ นที่ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการ ติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่นของบริษัท ให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของตราสารหนี้ เชน รายงานการใชเงิน ที่ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งควรจัดให้มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน

45 ภาคผนวก 6 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืน ในกรณีออกและเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (sustainability-linked bond) ให้เปดเผย ขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 รายการขอมูล ดังนี้ (1) มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการออกและเสนอขาย sustainability-linked bond และมาตรฐาน นิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (“Taxonomy”) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากลที่ผู้ออกตราสารเลือกใช เชน International Capital Market Association Sustainability- linked Bond Principles (“ICMA SLBP”) เป็นตน (2) ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน สําหรับใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือ การดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ที่กําหนดตามขอ (3) โดยอธิบายรายละเอียด เพิ่มเติมดังนี้ - นิยาม ขอบเขต และวิธีการคํานวณผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ที่กําหนด - หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ และ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี ) - คาอางอิงมาตรฐาน (“benchmark”) หรือแหลงอางอิงภายนอก (“external reference”) (ถามี) เพื่อใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน - คาฐาน (“baseline”) และชวงเวลาที่ ใชอางอิงเพื ่ อให้ทราบถึ งผลความคืบหน้าของ การดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) พรอมหลักการและเหตุผล - กลยุทธหรือแนวทางที่ นําไปสู ความสําเร็จตามตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความยั่ งยืน โดยคํานึงถึงความลับทางการคาและการแขงขัน พรอมระบุผลที่คาดวาจะเกิดจากแผนงานนั้น (เชิงปริมาณ ในกรณีที่สามารถระบุได้ ) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และระยะเวลา ในการติดตามและวัดผล - ควรระบุการดําเนินการ (fallback mechanism) ของผู้ออกตราสาร ในกรณีที่อาจมีเงื่อนไข ที่ทําให้ไม่สามารถคํานวณตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนที่ตั้งไวได้ และควรเปดเผยเงื่อนไขดังกลาว ให้ชัดเจน เชน การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายหรือหลักเกณฑดานสิ่งแวดลอม หรือการควบรวมกับกิจการอื่น เป็นตน

46 ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) - ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน : ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตรอยละ 10 (พรอมระบุรายละเอียดตามที่กําหนดขางตน เชน หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) และ กลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จ) - คาฐาน (baseline) : เปรียบเทียบกับปริมาณการปลอยกาซสําหรับป 2563 ซึ่งวัดคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 (ซึ่งเสนอโดยคณะทํางานดานความยั่งยืนของบริษัทและได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อใช ในการวัดผลความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ : ภายในวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธันวาคม 2566) โดยภายหลังจากการออกหุนกูจนถึงวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธันวาคม 2566) บริษัทจะติดตามและวัดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตปละ 1 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม (3) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร - กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา และความถี่ของ การปรับอัตราดอกเบี้ย และอัตราดอกเบี้ยต่ําสุดหรือสูงสุดที่ผู้ถือตราสารจะได้รับอยางชัดเจน ทั้งนี้ ให้ระบุ ลักษณะอัตราดอกเบี้ยที่จายให้ผู้ถือตราสารตามงวดการจายเป็นเปอรเซ็นต (%) และจํานวนเงิน หลักเกณฑ การคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือ ตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุด หรือต่ําสุด) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และ จํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับ เปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ให้อธิบายวาเป็นการดําเนินการที่เพิ่มขึ้นหรือแตกตางจากสิ่งที่ผู้ออกตราสารต้อง ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนตามปกติ (ถามี ) กอนการเสนอขาย sustainability- linked bond อยางไร ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใช ขอมูลตราสารที่เสนอขาย) (1) กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย (ผู้ออกปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยหากทําตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความ ยั่งยืนไม่สําเร็จ (step-up coupon)) :

47 1. กรณีที่ ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วั นที ่ หุ  นกู  อายุ ครบ 3 ป หากผู  ออกลดปริ มาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื่อเทียบกับคาฐาน และผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ (“external review provider”) ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือ ตราสารจะได้รับ ดอกเบี้ย 10% ต่อป ( ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม ) 2. กรณีที่ผู้ออกไม่สามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วั นที ่ หุ  นกู  อายุ ครบ 3 ป หากผู  ออกลดปริ มาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบ กับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู  ถื อตราสารจะได้ รั บดอกเบี ้ ยเพิ ่ มขึ ้ นจากอั ตราเดิ ม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ ยใหมที่ผู้ ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป เริ่มจากวันชําระดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจะคงที่อัตราดังกลาวจนถึงวันชําระดอกเบี้ย งวดสุดทาย ตัวอยางอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ ผู้ลงทุนมีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูสงเสริมความยั่งยืนอายุ 6 ป ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อป ณ วันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวด สุดทาย ผู้ถือตราสารจะได้รับชําระดอกเบี้ยเป็นเงินสดแบงได้เป็น 2 กรณี ได้แก 1) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 13 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป หรือ จํานวน 100 บาท (ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม) 2) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากอัตราเดิม 0.25% โดย อัตราดอกเบี้ยใหม ที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป หรือจํานวน 125 บาท

48 (2) กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดให้ผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทําตาม ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) : 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ 3 ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอย ละ 10 เมื่ อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตามภาระ ผูกพัน ที่กําหนด 2. กรณี ที ่ ผู  ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ 3 ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปลอย กำซเรื อนกระจกในกระบวนการผลิ ตได้ต่ ํากวำร อยละ 10 เ ม ื ่ อเ ท ี ย บ ก ั บ ค ำ ฐำ น แ ล ะ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ออกจะซื้อคารบอนเครดิตจากตลาดซื้อขาย คารบอนเครดิตที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล ในมูลคาที่เทียบเทากับการปรับอัตราดอกเบี้ยหุนกูเพิ่มขึ้นรอยละ 0.25 ต อป หรื อในปริมาณทั ้ งหมด 5,000 ตั น ภายในวั นที่ 30 มิถุนายน 2567 ทั้งนี้ กอนการเสนอขายหุนกู ผู้ออกไม่มี ภาระหน้าที่ในการซื้อคารบอนเครดิต (4) การรายงานและช องทางการเป ดเผยขอมูลภายหลังการเสนอขาย ให้ เป ดเผยประเภท พรอมชองทางและความถี่ของการเปดเผยรายงานดังต่อไปนี้ โดยกําหนดให้รายงานจนกวาจะครบอายุตราสาร - รายงานผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน จัดทํา โดยผู้ออกตราสาร โดยเปรียบเทียบและวัดจาก benchmark, external reference หรือ baseline (ถามี) อยางนอยปละครั้ง และ ณ รอบป ประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี ) หรือชองทาง อื่นใดที่ ผู้ ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงเฉพาะรายงาน ณ รอบป ประเมินผลต่อสํานักงาน - รายงานความเห็นหรือการรับรองเกี่ยวกับผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและ เปาหมายดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสาร จัดทําโดย external review provider (สําหรับกรณีเสนอขาย ต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ) ซึ่งให้ความเห็นหรือรับรองผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จ

49 อยางนอย ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงรายงานต่อสํานักงาน (5) การให้ความเห็นหรือการรับรองโดย external review provider ให้เปดเผยขอมูลดังนี้ (สําหรับ กรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ) - คุณสมบัติของ external review provider ที่ได้รับการแต่งตั้ ง ซึ่งเป็นไปตามที่ กําหนดใน ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้สงเสริม ความยั่งยืนที่ออกใหม และขอบเขตในการประเมินของ external review provider - ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider เกี่ยวกับกรอบและ ลักษณะการเสนอขายตราสาร (framework) วาเป็นไปตามมาตรฐานสําหรับ sustainability-linked bond และ Taxonomy (ถามี) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP เป็นตน และระบุชอง ทางการเปดเผยรายงานดังกลาว ได้แก เว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี ) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึงได้ โดยสะดวก - ควรระบุเงื ่ อนไข รวมถึ งขั ้ นตอนและหนำที ่ ของผู  ออก ในกรณี ที่อาจมี เหตุ จําเป็น ในการเปลี่ยนแปลง external review provider (6) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ถือตราสารจากเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืนที่กําหนด หรือภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ตามที่ระบุในขอ (2) และ (3) ตามลําดับ

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (MTN) (แบบ 69-PP-MTN) แบบ 69-PP-MTN ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการสนอขายตราสารหนี้ต่อผู้ลงทุนสถาบัน (Institutional Investor “II”) ผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors :“HNW”) และผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors :“UHNW”) ในลักษณะโครงการ มี 3 สวน ดังต่อไปนี้ สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING ใชสําหรับการยื่นประกอบกับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก และสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งต่อไป โดยอางอิงจากสวนที่ 1 ที่ได้ยื่นไวในครั้งแรก และ อางอิงขอมูลในสวนที่ 3 การปรับปรุงขอมูลบริษัทกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนดไว สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT ใชสําหรับการปรับปรุงขอมูลบริษัทกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนด ไวตามสวนนี้

2 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PP-MTN) สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ เสนอขายตราสารหนี้) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายแบบโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขายในรอบ 2 ป (Medium Term Note Program : “MTN”) - ให้ระบุลักษณะสําคัญของโครงการตราสารหนี้ที่คาดวาจะเสนอขาย เชน ชื่อโครงการ ประเภท ตราสารหนี้ จํานวน มูลคาเสนอขายรวม บุคคลที่เสนอขายตราสารหนี้ให้ ขอจํากัดการโอน วันที่ได้รับ อนุญาตโครงการวันเริ่มเสนอขาย และวันสิ้นสุดการเสนอขายตามโครงการ - กรณีที่เสนอขายเฉพาะ II หรือ UHN/HNW สามารถปรับแบบแสดงรายการขอมูลในสวนที่เกี่ยวของให้ สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ออกตราสารหนี้และเงื่อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็น การแสดงวาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้อง ของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้อง ครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ เป็นความรับผิดชอบของ ผู้เสนอขายตราสารหนี้ หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้มีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัท หรือเจ้าของตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้เป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้มีผลใชบังคับ”

3 ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมในแต่ละกรณี ดังนี้ - ในกรณีการเสนอขายหุนกูในชวงเวลาเดียวกับการเสนอขายหนวยทรัสต (“concurrent offering”) ที่ไม่มีการรับประกันการจัดจําหนาย (best effort) ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนเพิ่มวา “อาจมี ความเสี่ยงที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทรัสต หรืออาจไม่สามารถระดมทุนตามที่คาดไว ซึ่งการเกิดเหตุการณดังกลาว จะทําให้ผู้ลงทุนเกิดตนทุนคาเสียโอกาสได้” - ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเพื่อผู้ ลงทุนรายใหญ (กอง Infra Trust – รายใหญ) ซึ่งมีการลงทุนในโครงการที่ยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย ให้ระบุคําเตือน เกี่ยวกับมูลคา/สัดสวนสินทรัพย์ของกอง Infra Trust ที่อยู่ระหวางกอสรางและยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย และมีคําเตือนผู้ลงทุนวา “ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงที่สินทรัพย์ดังกลาวอาจสรางไม่เสร็จ หรือเสร็จลาชากวา กําหนด หรือมีตนทุนการกอสรางสูงกวาที่ประมาณการไว”

4 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. รายการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ รายละเอียดตราสารหนี้ที่เสนอขาย ดังนี้ 1.1 ระบุรายการอยางนอย ตามมาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) (ในสวน ที่ไม่เกี่ยวของกับการเสนอขาย) ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ อาจเปดเผยโดยอางอิงขอมูลจาก แบบแสดงรายการขอมูลประจําปหรือแบบแสดงรายการขอมูลได้ตามวิธีการดังต่อไปนี้ (1) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (เฉพาะผู้ออกตราสารหนี้ ที่มีหน้าที่ ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ) ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ลาสุด งบการเงินประจํางวดการบัญชีลาสุด และงบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือ (2) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูล ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูล ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ ได้เคยยื่น แบบแสดงรายการขอมูลดังกลำวไวสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในกรณีทั่วไป (public offering) และ ปจจุบันแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวยังมีผลใชบังคับอยู่ ทั้งนี้ การอางอิงขอมูลตาม (1) หรือ (2) สามารถระบุแหลงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถ ตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงาน หรือเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ ลงทุน อยางมีนัยสําคัญ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปหรือแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมด้วย โดยอาจระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ และให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลประกอบด้วย 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทที่จัดตั้งในประเทศไทยและมิได้มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเป็นสํานักงานสาขาให้ระบุประเภทงบการเงินและระยะเวลา ที่ผู้ออกตราสารหนี้ต้องสงงบการเงินต่อหนวยงานกํากับดูแล สวนกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัท ตางประเทศ (ไม่รวมสํานักงานสาขา) ให้ระบุประเภทงบการเงินและระยะเวลาที่ผู้ออกตราสารหนี้ต้องสง งบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ในตางประเทศที่บริษัทมีหุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนหรือต่อหนวยงาน ทางการในตางประเทศที่บริษัทตางประเทศมีหน้าที่สงงบการเงินดังกลาว 1.3 ให้เพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ออกตราสารหนี้ (กรณีที่ออก เป็นตราสารหนี้ไม่มีประกัน) และยอดหนี้คงคางในการออกหุนกูหรือตั๋วเงินครั้งกอน

5 1.4 กรณีผู้ ออกตราสารหนี้ เป็นกองทรัสตให้แสดงสัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ ที่กองทรัสต เสนอขายของกลุ่มผู้ที่จะจําหนาย จาย โอน ให้เชา หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แกกองทรัสต และกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกลาว ซึ่งตามหลักเกณฑกําหนดวาจะต้องไม่เกินรอยละ 50 ของ มูลคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย 1.5 กรณีผู้ ออกเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ (1) สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (2) สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (3) สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 1.6 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยง ดังนี้ (1) กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ : ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติม เกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ - การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหา ความแตกตางของกฎหมายที่ใชบังคับซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย - ผลกระทบที่ผู้ถือตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมาย ของประเทศที่เกี่ยวของกับกิ จการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุม การเขาออกเงินระหวางประเทศ (ถามี) - ขอจํากัดหรือความเสี่ ยงเกี่ ยวกับอัตราแลกเปลี่ ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ - ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค - ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี ) (2) กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย : (“สํานักงานสาขา”) ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของสํานักงานใหญ (หมายถึง ธนาคาร ตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชี ในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้งแสดง ขอผูกพันตามขอกําหนดสิทธิที่ระบุวาสํานักงานสาขาจะดํารงฐานะ การชําระหนี้ให้ไม่ได้ รับผลกระทบจาก การที่สํานักงานสาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขา เป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

6 - ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ล้มละลาย ซึ่งผู้ถือตราสารหนี้อาจไม่สามารถ ขอรับชําระหนี้หรือฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้งนี้ หากมี การเปดเผยอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ของสํานักงานใหญอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ตามตราสารหนี้ของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดกรณีล้มละลาย 1.7 กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นหนวยงานภาครัฐให้เปดเผยเพิ่มเติมขอมูล และ ความเสี่ยงเพิ่มเติมดังนี้ (1) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่รองรับการจัดตั้งหนวยงาน และกฎหมายที่ให้ อํานาจแกหนวยงานในการออกและเสนอขายตราสารหนี้วาอนุญาตให้ออกตราสารหนี้ประเภทใดบาง เชน พันธบัตร หรือหุนกู เป็นตน (2) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติของหนวยงาน วัตถุประสงคในการจัดตั้งและ อํานาจหน้าที่ตาง ๆ รวมถึงภารกิจหลักหรือธุรกรรมหลักของหนวยงาน นอกจากนี้ ให้อธิบายเกี่ยวกับ นโยบายในการดําเนินกิจการของหนวยงานด้วย (3) ให้อธิบายเกี่ยวกับแหลงเงินทุนของหนวยงาน ที่มาของแหลงเงินทุนดังกลาว ในกรณีที่ หนวยงานได้รับการแบงสรรงบประมาณจากภาครัฐหรือจากงบประมาณกลาง ให้ระบุรายละเอียดด้วย (4) ให้อธิบายเกี่ยวกับรายรับรายจายของหนวยงาน เพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบและ ประเมินได้วาหนวยงานมีคาใชจายและมีรายได้มาจากแหลงใด (5) ให้เปดเผยความเสี่ยงในการได้รับชําระหนี้คืน เนื่องจากผู้ออกตราสารหนี้อาจมี ขอจํากัดเกี่ยวกับการบังคับชําระหนี้ในทรัพย์สินไม่วาจะเป็นขอจํากัดตามกฎหมาย สัญญา หรือขอจํากัด อื่นใด ซึ่งมีผลทําให้ในกรณีที่มีการผิดนัดชําระหนี้ผู้ถือตราสารหนี้จะไม่สามารถฟ้องรองให้นําทรัพย์สินของ ผู้ออกตราสารหนี้มาชําระหนี้ได้ และให้เปดเผยขอมูลวาตราสารหนี้ที่ออกและเสนอขายไม่ใชตราสารหนี้ ที่กระทรวงการคลังค้ําประกันในเงินตนและดอกเบี้ย 2. การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในกรณีเสนอขายตราสารหนี้ต่อผู้ลงทุนใหญและผู้ลงทุน รายใหญ่พิเศษ 2.1. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้ เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นและการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 2.2 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก

7 2.3 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้เฉพาะเจาะจง ผู้ออกตราสารหนี้ เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริ หาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาดหรือ หรือกรณีหลักประกัน ที่ มีจํานวนและมูลคาเคลื่ อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุนจากตราสารหนี้ เป็นตน 2.4 ให้สรุปสาระสําคัญของความแตกตาง (ในกรณีที่มีความแตกตาง) ของขอกําหนดสิทธิ สําหรับการเสนอขายในครั้งนี้กับขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน (รายละเอียดสามารถอางอิงเอกสารแนบ) (ยกเวนกรณีเสนอขายตราสารหนี้ดังต่อไปนี้ 1. หุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 2. ตราสาร Basel III 3. Insurance Capital Bond)

8 สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย 1. รายละเอียดของโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ในกรณีที่โครงการตราสารหนี้ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจาก ขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของโครงการตราสารหนี้จะที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะและ ความเสี่ยงสําคัญของตราสารหนี้ที่จะเสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน สรุปสาระสําคัญของขอกําหนดวาด้วย สิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกูสําหรับโครงการ MTN (master terms and conditions) และสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุนกู วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคา ทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของ ผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน 2. ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียน ไวกับสํานักงาน เป็นตน 3. ขอมูลอื่ น ๆ ของตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ 3.1 ในกรณีที่โครงการตราสารหนี้อาจมีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (“green bond”) ตราสารหนี้ เพื่ อพัฒนาสังคม (“social bond”) และตราสารหนี้ เพื่ อความยั่ งยืน (“sustainability bond”) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green bond social bond และ sustainability bond และ มาตรฐานนิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศหรือระดับสากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ดังกลาว ตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใช เงิ นที่ ได้จากการระดมทุน (use of proceeds)

9 (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือ วิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงินที่ ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจาก เงินอื่ นของบริษัทให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหาก จากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของตราสารหนี้ เชน รายงานการใชเงิน ที่ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งควรจัดให้มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารยังไม่สามารถระบุขอมูลตาม (1) - (5) ผู้ออกสามารถ เปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่นแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง 3.2 ในกรณีที่ โครงการตราสารหนี้ อาจมีการเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (“sustainability-linked bond”) ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและ การอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการออกและเสนอขาย sustainability-linked bond และ มาตรฐานนิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (“Taxonomy”) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศหรือระดับสากลที่ผู้ออกตราสารเลือกใชหรือคาดวาจะใช เชน International Capital Market Association Sustainability-linked Bond Principles (“ICMA SLBP”) เป็นตน ทั้ งนี้ ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารยังไม่สามารถระบุได้วาจะเลือกใชมาตรฐานใด ผู้ออกตราสารสามารถเปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลมาตรฐานที่เลือกใชจริง ให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่น แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขาย แต่ละครั้ง ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา มาตรฐานที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ : sustainability-linked bond ของ บริษัทจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP ทั้งนี้ มาตรฐานที่จะนํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขาย sustainability-linked bond ในแต่ละครั้ง ภายใตโครงการจะเป็นไปตามที่ระบุไวในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) สําหรับการออกและเสนอขายหุนกูแต่ละครั้ง

10 (2) ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน สําหรับใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ย หรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ที่กําหนดตามขอ (3) โดยอธิบายรายละเอียด เพิ่มเติมดังนี้ - นิยาม ขอบเขต และวิธีการคํานวณผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมาย ดานความยั่งยืนที่กําหนด - หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ออกตราสาร หรือบริษัทในเครือ และกระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) - คาอางอิงมาตรฐาน (“benchmark ” ) หรือแหลงอางอิงภายนอก (“external reference”) (ถามี) ที่ ใช หรือคาดวาจะใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน - คาฐาน (“baseline ”) และชวงเวลาที่ ใชหรือคาดวาจะใช เพื่ อให้ทราบถึง ผลความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) พรอมหลักการ และเหตุผล กลยุทธหรือแนวทางที่ นําไปสู ความสําเร็จตามตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความยั่ งยืน โดยคํานึงถึงความลับทางการคาและการแขงขัน พรอมระบุผลที่ คาดวาจะเกิดจากแผนงานนั้น (เชิงปริ มาณในกรณีที่สามารถระบุได้) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และ ระยะเวลาในการติดตามและวัดผล - ควรระบุการดําเนินการ (fallback mechanism) ของผู้ออกตราสาร ในกรณี ที่อาจมีเงื่อนไขที่ทําให้ไม่สามารถคํานวณตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนที่ตั้งไวได้ และเปดเผย เงื่ อนไขดังกลาวให้ชัดเจน เชน การเปลี่ ยนแปลงในกฎหมายหรือหลักเกณฑดานสิ่ งแวดลอม หรือ การควบรวมกับกิจการอื่น เป็นตน ทั้งนี้ ผู้ออกสามารถเปดเผยตัวเลขเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืน รายละเอียด benchmark external reference หรือ baseline ที่เลือกใช รวมถึงกรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ ที่ใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตาม ภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร สําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้งได้ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69 - PP - PRICING) ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน คือการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต (พรอมระบุรายละเอียดตามที่กําหนดขางตน เชน หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี ) และกลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จ)

11 ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ได้แก ตัวเลขและกรอบ ระยะเวลาที่ต้องทําให้สําเร็จสําหรับ sustainability-linked bond แต่ละรุนไวในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69-PP-PRICING) สําหรับการออกและเสนอขายแต่ละครั้ง (3) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณีของตราสาร - กรณี การปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา และความถี่ ของการปรับอัตราดอกเบี้ยที่จะกําหนดหรือคาดวาจะกําหนดเป็นเงื่อนไข โดยให้ระบุลักษณะอัตรา ดอกเบี้ยที่จายให้ผู้ถือตราสารตามงวดการจาย หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับ การจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงลักษณะอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุดหรือต่ําสุด) ทั้งนี้ ผู้ออกสามารถเปดเผยรายละเอียด รอบเวลา และความถี่ในการปรับอัตรา ดอกเบี้ยสําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้งได้ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69-PP-PRICING) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และจํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ ที่จะกําหนดหรือ คาดวาจะกําหนดเป็นเงื่อนไข โดยให้ระบุลักษณะการดําเนินการของผู้ออกตราสารภายใตสถานการณตาง ๆ ทั้งนี้ ในกรณีที่ยังไม่สามารถระบุได้วาจะผู้ออกจะมีภาระผูกพันในการดําเนินการ ลักษณะใด ผู้ออกสามารถเปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้วาจะกําหนดให้มีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ของผู้ออก ซึ่งสอดรับกับเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ พรอมระบุวา จะเปดเผยรายละเอียดลักษณะการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสารที่จะกําหนด เป็นเงื่อนไขให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่นแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง และจะเปดเผยรอบเวลา ความถี่ และจํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการสําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้งในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PP- PRICING) ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (1) กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ ย : ผู้ ออกปรับเพิ่ มอัตราดอกเบี้ ยหากทําตามตัวชี้ วัดและเปาหมาย ดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ (“step-up coupon”) 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ x ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับ ร อยละ xx เมื่อเทียบกับคาฐาน และผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ ( “ external review provider”) ออ ก รำ ย งำ น รั บ ร อ ง ผ ล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย xx% ต่อป (ไม่เปลี่ยนแปลงจาก อัตราเดิม )

12 2. กรณี ที ่ ผู  ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ xx เมื่อเทียบ กับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ ยเพิ่ มขึ้ นจากอัตราเดิม xx% โดยอัตราดอกเบี้ยใหมที่ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ xx% ต่อป เริ่มจากวันชําระดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังรอบปประเมินผล และ จะคงที่อัตราดังกลาวจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุด ทาย (2) กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดให้ผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทํา ตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) : 1 . กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับ รอยละ xx เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตาม ภาระผูกพัน ที่กําหนด 2. กรณีที่ ผู้ ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ xx เมื ่ อเที ยบ กั บคำฐำน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ออกจะซื้อคารบอนเครดิตในปริมาณ และระยะเวลาที่กําหนด จากตลาดซื้ อขายคารบอนเครดิต ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัดและ เปาหมายดานความยั่งยืน 2. กรณีที่ผู้ออกไม่ สามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน

13 ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายละเอียด รอบเวลา และความถี่ในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการ ตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี สําหรับ sustainability-linked bond แต่ละรุนไวใน แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69-PP-PRICING) สําหรับการออกและเสนอขายแต่ละครั้ง (4) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลภายหลังการเสนอขาย ให้เปดเผย ประเภท พรอมชองทางและความถี่ของการเปดเผยรายงานดังต่อไปนี้ โดยกําหนดให้รายงานจนกวาจะ ครบอายุตราสาร - รายงานผลความคื บหนำหรื อผลความสําเร็ จตามตัวชี ้ วั ดและเปำหมาย ดำนความยั ่ งยืน จั ดทําโดยผู้ ออกตราสาร โดยเปรี ยบเทียบและวัดจาก benchmark, external reference หรือ baseline (ถามี ) อยางนอยปละครั้ง และ ณ รอบป ประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทาง เว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงเฉพาะ รายงาน ณ รอบป ประเมินผลต่อสํานักงาน - รายงานความเห็นหรือการรับรองเกี่ยวกับผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จ ตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสาร จัดทําโดย external review provider (สําหรับกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญและผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ) ซึ่งให้ความเห็นหรือรับรองผล ความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จอยางนอย ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ ของผู้ออก (ถามี ) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงรายงานต่อสํานักงาน (5) การให้ความเห็นหรือการรับรองโดย external review provider ให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ (สําหรับกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ) - คุณสมบัติของ external review provider ที่ได้รับการแต่งตั้ง ซึ่งเป็นไปตามที่ กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย ตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม และขอบเขตในการประเมินของ external review provider - ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider เกี่ยวกับ กรอบและลักษณะการเสนอขายตราสาร (framework) วาเป็นไปตามมาตรฐานสําหรับ sustainability- linked bond และ Taxonomy (ถามี ) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP เป็นตน และระบุชองทางการเปดเผยรายงานดังกลาว ได้แก เว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใด ที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก - ควรระบุเงื่อนไข รวมถึงขั้นตอนและหน้าที่ของผู้ออก ในกรณีที่อาจมีเหตุจําเป็น ในการเปลี่ยนแปลง external review provider ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารยังไม่ได้แต่งตั้ง external review provider ให้ระบุวา กอนการเสนอขายตราสาร ผู้ออกจะดําเนินการแต่งตั้ง external review provider ที่มีคุณสมบัติเป็นไป ตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย

14 ตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม และจะเปดเผยขอมูลขางตนให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่น แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา การแต่งตั้ง external review provider : ในการออก sustainability-linked bond บริษัทจะจัดให้มี external review provider ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวา ด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม เพื่อให้ความเห็น หรือรับรองเกี่ยวกับกรอบและลักษณะการเสนอขายตราสาร (framework) วาเป็นไปตามมาตรฐาน สําหรับ sustainability-linked bond และ Taxonomy (ถามี) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือ ระดับสากล โดยบริษัทจะเปดเผยรายละเอียดเกี่ ยวกับคุณสมบัติของ external review provider ที่ได้รับการแต่งตั้ง ขอบเขตในการประเมิน ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider และเงื่อนไข รวมถึงขั้นตอนและหน้าที่ของผู้ออก กรณีที่มีเหตุจําเป็นในการเปลี่ยนแปลง external review provider (ถามี) ไวในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) สําหรับการออกและเสนอขายหุนกูแต่ละครั้ง (6) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ถือตราสารจากเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืน ที่กําหนด หรือภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ตามที่ระบุในขอ (2) และ (3) ตามลําดับ

15 สวนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลรายการขอมูล/โครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่มีหุนจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ไม่มีหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 2 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมู ลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

16 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขา ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก ผู้ มีอํานาจผูกพันของผู้ ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่ อพรอมทั้ งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรอง ความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 3 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 3 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

17 1.3 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย เฉพาะจัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหนวยงาน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจ จากผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 4 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

18 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้ จัดการกองทรัสตที่ มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 5 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ กําหนด

19 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้หรือ ผู้ลงทุนอยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบ ธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ ที่ ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่ นที่ มีความเชี่ ยวชาญในดานนั้น มาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1 . … … … 2 . … … … หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

20 เอกสารแนบ ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือ หุนกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกู และผู้ถือหุนกูสําหรับ “ (ชื่อหุนกู) ” หัวขอ ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน ขอกําหนดสิทธิของหุนกู เหตุผล 1 1 อธิบายเหตุผลที่ขอกําหนดสิทธิของหุนกูแตกตางจากขอกําหนดสิทธิมาตรฐานเฉพาะในกรณีที่มีความแตกตาง อยางมีนัยสําคัญจนทําให้กระทบสิทธิของผู้ถือหุนกู

21 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระ ดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

22 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต . (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

23 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย )

24 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 4 ) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุ นรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์ หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลา ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้ จัดทํางบระหวำงปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายใน หมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย

25 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

26 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PP-MTN) สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) เสนอขาย … … … ขอมูลตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ประเภทตราสารหนี้ จํานวน ราคาเสนอขาย ต่อหนวย บุคคลที่เสนอขายตราสารหนี้ให้ ขอจํากัดการโอน ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ หรือผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ หรือการค้ําประกันประเภทอื่น ๆ - ให้ระบุรายละเอียดสําคัญอื่นของการเสนอขายตราสารหนี้ เชน ผู้ประกันการจําหนายและ จัดจําหนาย บริษัทหลักทรัพย์ที่ทําหน้าที่จําหนาย ตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน วันที่แบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (“แบบแสดงรายการขอมูล”) มีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขาย กรณีที่มีจํานวนตราสารหนี้ที่ขายได้นอยกวาจํานวนตราสารหนี้ขั้นต่ําที่ผู้ออกตราสารหนี้กําหนด เป็นตน - ในกรณี การเสนอขายตราสารหนี้ ซึ่ งไม่ได้ กําหนดให้ ต้องมีการจั ดอันดับความนาเชื่ อถือ แต่ผู้ออกตราสารหนี้สมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่ อประกอบการเสนอขายตราสารหนี้ นั้ น ให้ระบุวาผู้ ออกตราสารหนี้ จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย (ถามี) - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลตามแบบแสดงรายการขอมูลที่ผู้ออกตราสารหนี้ได้ยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับเมื่อ วันที่ (ระบุ) รวมทั้งขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) เมื่อวันที่ (ระบุ) ถือเป็นขอมูลสวนหนึ่งของแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69-PP-PRICING) ฉบับนี้ด้วย” - กรณีที่เสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW สามารถปรับแบบแสดงรายการขอมูลในสวน ที่เกี่ยวของให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ออกตราสารหนี้และเงื่อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน

27 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้ประกัน ราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ ที่ เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของข อมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวน ของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ออกตราสารหนี้ หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ มีขอความหรือรายการที่ เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัท หรือเจ้าของตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้เป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้มีผลใชบังคับ”

28 สวนที่ 1 รายการขอมูล สรุปขอมูลสําคัญของตราสารหนี้ (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย โดยจัดทําตามแบบที่กําหนด ในประกาศที่เกี่ยวของ ในกรณีการเสนอขายตราสารหนี้ไม่ได้กําหนดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือแต่ผู้ออกตราสารหนี้ สมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่อประกอบการเสนอขายตราสารหนี้นั้น ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย 1. การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม 1.1 วัตถุประสงคการใชเงิน ให้เปดเผยเกี่ยวกับการนําเงินไปใช (วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินและระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ) ในกรณีที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors :“HNW”) และผู้ลงทุน รายใหญพิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors :“UHNW”) ให้เปดเผยขอมูลตามขอ 2 แทน 1.2 แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) รวมทั้งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 6 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามตราสารหนี้โดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือ 1.3 กรณีผู้ออกเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ (1) สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (2) สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (3) สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 7 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 1.4 ในกรณีที่ตราสารหนี้ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่ นที่สําคัญ ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูล ในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน สรุปลักษณะสําคัญของตราสารหนี้ ที่ เสนอขายเพิ่ มเติม วิธีการในการจายดอกเบี้ ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ ใช เป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) เป็นตน 6 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สินที่มีทรัพย์สินเป็นหลักประกันทําให้เจ้าหนี้หุ นกู ไม่มีประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating) 7 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

29 1.5 กรณีตราสารหนี้มีอัตราดอกเบี้ยลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้ว ทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ ไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน 1.6 สําหรั บการเสนอขาย green bond, social bond และ sustainability bond ให้ เป ดเผย วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) จากตราสารหนี้ที่เสนอขาย ตามที่กําหนด ในขอ 1.1 หรือขอ 2 โดยระบุรายละเอียดการใชเงินซึ่งเป็นประโยชนต่อสิ่งแวดลอม ชวยพัฒนาสังคม หรือ สงเสริมความยั่งยืน แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารเพิ่มเติมหรือแกไขขอมูลตราสารหนี้ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ให้เปดเผยวาอางอิงจากขอมูลในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP- SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้เคยได้ยื่นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ 1.7 สําหรับการเสนอขาย sustainability-linked bond ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมจากที่ได้เคยเปดเผย ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) ดังต่อไปนี้ (1) ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน สําหรับใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือ การดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ที่กําหนดตามขอ (2) โดยอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม สําหรับตราสารหนี้ที่เสนอขาย ดังนี้ - นิยาม ขอบเขต และวิธีการคํานวณผลความสําเร็จตามตัวชี้ วัดและเปาหมายดาน ความยั่งยืน (ตามที่ได้เปดเผยในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับ โครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.2 (2)) - benchmark หรือ external reference ที่ใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จ ตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน หรือ baseline และชวงเวลาที่ใชอางอิงเพื่อให้ทราบถึงผล ความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน พรอมหลักการและเหตุผล (ระบุอยางใดอยางหนึ่ง) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และระยะเวลา ในการติดตามและวั ดผล

30 ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) - ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน : ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตรอยละ 10 - คาฐาน (baseline) : เปรียบเทียบกับปริมาณการปลอยกาซสําหรับป 2563 ซึ่งวัดคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 (ซึ่งเสนอโดยคณะทํางานดานความยั่งยืนของบริษัทและได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อใช ในการวัดผลความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ : ภายในวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธันวาคม 2566) โดยภายหลังจากการออกหุนกูจนถึงวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธันวาคม 2566) บริษัทจะติดตามและวัดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตปละ 1 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม (2) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี (ตามที่ได้เปดเผย ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.2 (3)) สําหรับตราสารหนี้ที่เสนอขาย - กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา และความถี่ของ การปรับอัตราดอกเบี้ย และอัตราดอกเบี้ยต่ําสุดหรือสูงสุดที่ผู้ถือตราสารจะได้รับอยางชัดเจน ทั้งนี้ ให้ระบุ ลักษณะอัตราดอกเบี้ยที่จายให้ผู้ถือตราสารตามงวดการจายเป็นเปอรเซ็นต (%) และจํานวนเงิน หลักเกณฑ การคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสาร จะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุดหรือต่ําสุด) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพั น ให้ อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และ จํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับ เปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ให้อธิบายวาเป็นการดําเนินการที่เพิ่มขึ้นหรือแตกตางจากสิ่งที่ผู้ออกตราสาร ต้องปฏิบัติเพื่ อให้บรรลุเปาหมายหรือกลยุทธ ดานความยั่ งยื นตามปกติ (ถามี) กอนการเสนอขาย sustainability-linked bond อยางไร ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) (1) กรณี การปรับอัตราดอกเบี้ย (step-up coupon) : 1. กรณี ที ่ ผู  ออกสามารถบรรลุ ตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความ ยั่งยืน ณ วั นที ่ หุ  นกู  อายุ ครบ 3 ป หากผู  ออกลดปริ มาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงาน รับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป (ไม่เปลี่ยนแปลง จากอัตราเดิม )

31 2. กรณีที่ ผู้ ออกไม่สามารถบรรลุ ตั วชี ้ วั ดและเปำหมายดานความ ยั่งยืน ณ วั นที ่ หุ  นกู  อายุ ครบ 3 ป หากผู  ออกลดปริ มาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู  ถื อตราสารจะได้ รั บดอกเบี ้ ยเพิ ่ มขึ ้ นจากอั ตราเดิ ม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ยใหมที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป เริ่มจาก วันชําระดอกเบี ้ ยงวดแรกภายหลั งวั นที ่ หุ  นกู  อายุ ครบ 3 ป (วั นที ่ 30 มิถุ นายน 2567) และจะคงที ่ อั ตราดั งกลำวจนถึง วันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย ตัวอยางอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ ผู้ลงทุนมีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูสงเสริมความยั่งยืนอายุ 6 ป ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อป ณ วันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย ผู้ถือตราสารจะได้รับชําระดอกเบี้ยเป็นเงินสดแบงได้เป็น 2 กรณี ได้แก 1) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 13 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป หรือจํานวน 100 บาท (ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม) 2) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากอัตราเดิม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ยใหม ที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป หรือจํานวน 125 บาท

32 (2) กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดให้ผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทําตาม ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) : 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ 3 ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับ รอยละ 10 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตามภาระ ผูกพัน กําหนด 2 . กรณี ที ่ ผู  ออก ไม่ สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ 3 ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปล อย กาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบ กับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ ออกจะซื้ อคารบอนเครดิตจากตลาดซื้ อขายคารบอนเครดิต ที่ เป็นที่ ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล ในมูลคาที่ เทียบเทากับการปรับอัตราดอกเบี้ยหุนกูเพิ่มขึ้นรอยละ 0.25 ต่อป หรือในปริมาณทั้ งหมด 5,000 ตัน ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2567 ทั้งนี้ กอนการเสนอขายหุนกู ผู้ออกไม่มีภาระหน้าที่ในการซื้อ คารบอนเครดิต (3) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ถือตราสารจากเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืนที่กําหนด หรือภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับอัตราดอกเบี้ ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ตามที่ระบุในขอ (1) และ (2) ตามลําดับ ทั้ งนี้ ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารเพิ่ มเติมหรือแกไขขอมูลตราสารหนี้ ในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ให้เปดเผยวาอางอิงจากขอมูลในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้เคยได้ยื่นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ

33 2. การเปดเผยขอมูลเฉพาะกรณี เสนอขายลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors :“HNW”) และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors :“UHNW”) 2.1 วัตถุประสงคการใชเงิน บริษัท ประกอบธุรกิจ โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญที่ เลขทะเบียนบริษัท Home Page (ถามี) โทรศัพท/โทรสาร มีวัตถุประสงคในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายตราสารหนี้ครั้งนี้ประมาณ ลานบาท ไปใชดังนี้ หมายเหตุ : 1. ให้เปดเผยประมาณการมูลคาเงินที่ใชแยกแต่ละวัตถุประสงคการใชเงิน โดยอาจเปดเผยขอมูลในลักษณะ เป็นชวง (range) ที่เหมาะสมได้ และให้เรียงลําดับการใชเงินตามความสําคัญของวัตถุประสงคแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ หากเงินระดมทุนที่ได้รับในครั้งนี้ไม่เพียงพอสําหรับวัตถุประสงคการใชเงินที่ระบุไว ให้เปดเผยแหลงเงินทุน ที่จะจัดหาเพิ่มเติมด้วย วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินที่ใช โดยประมาณ ระยะเวลาที่ใช เงินโดยประมาณ รายละเอียด 1 . เพื่ อใชในการซื้ อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการที่เกี่ยวของ กับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน -กรณีเป นการซื้ อสินทรัพย์ ให้อธิบาย เกี่ยวกับประเภทสินทรัพย์และจํานวนเงิน ที่ใชโดยประมาณ - กรณีเป็นการลงทุนในกิจการ ให้อธิบาย ลักษณะกิจการที่จะลงทุน สถานะการลงทุน และจํานวนเงินที่ใชโดยประมาณ 2 . เพื่ อใชในการซื้ อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการที่ไม่เกี่ยวของ กับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน การซื้ อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการ ที่ไม่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน ให้อธิบายเหตุผลและที่มาของการเขาไป ซื้อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการดังกลาวด้วย 3. เพื่อชําระคืนเงินกู หรือหนี้ จากการออกตราสารหนี้ - กรณีเป นการชําระหนี ้ ที ่ มี กั บกลุ่ม ที่ ปรึกษาทางการเงิน หรือกลุ่มตัวกลาง ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้เปดเผย terms and conditions ของหนี้ดังกลาว เพิ่มเติมด้วย - กรณีอื่น ๆ ให้เปดเผยอยางนอยในเรื่อง จํานวนเงินและระยะเวลาการใชเงิน 4. กรณีอื่น ๆ เชน เงินทุนที่ใช หมุนเวียนในกิจการ

34 2. แนวทางการเปดเผยวัตถุประสงคการใชเงินให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป ที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน 2.2. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืม จากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น และการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 2.3 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 2.4 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้เฉพาะเจาะจง ผู้ออกตราสารหนี้ เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีหลักประกันที่มีจํานวน และมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุน จากตราสารหนี้ เป็นตน 2.5 ให้เปดเผยลักษณะพิเศษและความเสี่ยงสําคัญของตราสาร โดยให้เรียงลําดับลักษณะพิเศษและ ปจจัยความเสี่ยงหรือคําเตือนที่สําคัญมากเป็นลําดับแรก เชน - หุนกูที่มีเงื่อนไขให้ผู้ออกตราสารสามารถไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (callable) อยางนอยให้ระบุความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจได้รับหากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนตราสารกอนครบกําหนด เชน ผู้ถือตราสารมีความเสี่ยงที่จะเสียโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่สูงจากการลงทุนในตราสารที่เสนอขาย หากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนในชวงที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดต่ําลงกวาอัตราดอกเบี้ยของตราสาร เป็นตน - หุนกูที่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือตราสารสามารถขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (puttable) อยางนอยให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและวิธีการไถถอนตราสารกอนครบกําหนดของ ผู้ถือตราสารที่ได้กําหนด ไวลวงหน้าตั้งแต่ออกและเสนอขายตราสาร เชน หาก credit rating ของตราสาร/ ผู้ออกตราสารลดต่ําลงกวาระดับที่ระบุไว ผู้ถือตราสารมีสิทธิขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ เพื่อนําเงิน ไปลงทุนในตราสารอื่น ที่มีลักษณะและผลตอบแทนตามที่ตนต้องการ โดยต้องดําเนินการตามวิธีการที่กําหนด ไวลวงหน้า เป็นตน - ตั๋วเงิน ให้ระบุลักษณะพิเศษให้ผู้ลงทุนเขาใจ เชน  ในกรณีที่ผู้ถือตั๋วเงินโอนตั๋วเงินด้วยวิธีการสลักหลังตั๋วเงินโดยการลงลายมือชื่อ ดานหลังตั๋วเงินจะมีผลทําให้ผู้สลักหลังตั๋วเงินอาจถูกไลเบี้ยหรืออาจต้องรับผิดชอบในการชําระหนี้ตามความ ในตั๋วเงินนั้นด้วย เวนแต่ผู้สลักหลังได้จดขอกําหนดลบลางหรือจํากัดความรับผิดของตนไวชัดแจงในตั๋วเงิน เชน “จะไลเบี้ยเอาจากขาพเจ้าไม่ได้” (without recourse) จึงจะมีผลทําให้ผู้สลักหลังไม่ต้องรับผิดชอบในการชําระหนี้ ต่อผู้รับโอนตั๋วเงินต่อไป

35  ในกรณีที่มีการระบุขอความ “เปลี่ยนมือไม่ได้” “หามเปลี่ยนมือ” หรือขอความอื่นใด ที่มีความหมายทํานองเดียวกัน อาจมีผลทําให้เกิดความเสี่ยงดานสภาพคลองของตั๋วเงินนั้น โดยผู้ถือตั๋วเงิน จะโอนตั๋วเงินด้วยวิธีการสลักหลังตั๋วเงินโดยการลงลายมือชื่อดานหลังตั๋วไม่ได้  ตั๋วเงินเป็นเอกสารหลักฐานสําคัญในการขอขึ้นเงินเมื่อครบกําหนด ผู้ลงทุนต้อง พึงระมัดระวังไม่ให้ตั๋วเงินสูญหาย หากปราศจากตั๋วเงินแล้วผู้ออกตั๋วเงินอาจปฏิเสธการชําระเงินได้ ผู้ถือตั๋วเงิน ไม่ได้รับการคุมครองจากสถาบันคุมครองเงินฝาก ในกรณีที่ธนาคารพาณิชยผู้ออกตั๋วเงินล้มละลายหรือไม่สามารถ จายชําระหนี้ตามตั๋วเงินได้ ในกรณีกองทรัสตเป็นผู้ออกตราสารหนี้ ให้แสดงสัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ที่กองทรัสตเสนอขายของกลุ่มผู้ที่จะจําหนาย จาย โอน ให้เชา หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แกกองทรัสตและกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกลาว ซึ่งตามหลักเกณฑ กําหนดวาจะต้องไม่เกินรอยละ 50 ของมูลคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย

36 3. ขอมูลการเสนอขาย ในกรณี เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ 3.1 รายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุกฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับตราสารหนี้ (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ รวมทั้ งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 8 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามตราสารหนี้โดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) - กรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุนกูที่ได้รับการแต่งตั้งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ให้เปดเผย ความสัมพันธดังกลาวไวด้วย - ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียนไวกับ สํานักงาน เป็นตน 3.2 การกําหนดราคาตราสารหนี้ ให้อธิบายที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย ได้แก วิธีการกําหนด ราคา ผู้ที่มีสวนในการกําหนดราคา ปจจัยหรือตัวแปรตาง ๆ ที่ใชในการกําหนดราคา เป็นตน ทั้งนี้ แนวทาง การเปดเผยที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป 3.3 การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้ จัดจําหนายตราสารหนี้ มีความเกี่ ยวของกับผู้ ออกตราสารหนี้ ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย 8 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สินที่มีทรัพย์สินเป็นหลักประกัน ทําให้เจ้าหนี้หุนกู ไม่มีประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating)

37 (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับ ผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกตราสารหนี้กับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงิน คาตราสารหนี้ที่ผู้ออกตราสารหนี้จะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายตราสารหนี้ โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรตราสารหนี้ ให้ระบุหลักการจัดสรรตราสารหนี้ให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวนหรือ จํานวนตราสารหนี้ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนตราสารหนี้และเสนอขายต่อผู้ลงทุน ตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อตราสารหนี้ การกําหนดจํานวนในการจองซื้อ ตราสารหนี้ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ชื่อบริษัทเงินทุนหรือ ธพ. ที่เป็นตัวแทนรับเงิน คาจองซื้อตราสารหนี้ วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้คืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย (10) วิ ธีการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับ การจัดสรรตราสารหนี้ (11) วิธีการสงมอบตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 3.4 ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออกตราสารหนี้ ให้ทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่เป็นตัวแทน การชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มีการทําสัญญาแต่งตั้ง บุคคลใดทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้เป็นผู้ทําหน้าที่ดังกลาว

38 3.5 ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับ ผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) (2) ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน ขอกําหนดสิทธิเพิ่มเติม ให้แนบรางขอกําหนดสิทธิเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้ และในกรณีเสนอขายตราสารหนี้ ต่อผู้ลงทุนรายใหญ และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้ระบุวารางขอกําหนดสิทธิสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้ มีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงจากขอกําหนดสิทธิที่เป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) หรือไม่ ดังนี้  ไม่แตกตาง  แตกตาง ให้ระบุรายละเอียดที่แตกตางกัน * หมายเหตุ * ในกรณีที่รางขอกําหนดสิทธิที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ มีสาระสําคัญแตกตางจากขอกําหนดสิทธิฉบับที่ได้ยื่นต่อสํานักงานพรอมแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) ชุดใหมต่อสํานักงาน

39 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบี ยน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ไม่มีหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวา ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดง รายการขอมูล 9 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวัง ในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้ที่ได้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวนไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 9 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

40 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขาที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 10 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้ รับมอบอํานาจ] ของผู้ ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 10 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

41 1.3 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับ ตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 11 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 11 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

42 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้จัดการกองทรัสตที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับ ตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 12 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมู ลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 12 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

43 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชข อความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออก ตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1 . … … … 2 . … … … … หมายเหตุ * หากในวันที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ทีปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

44 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย ( 8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

45 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

46 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ ( รอยละ ) ( รายได้รวมงวดปจจุบัน - รายได้รวมงวดกอน ) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

47 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสิน ทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 5 ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์ หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สิ นหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลา ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้ จัดทํางบระหวางปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบาย ในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

48 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

49 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PP-MTN) สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) เสนอขาย … … … - ให้ระบุชื่อและรายละเอียดที่สําคัญโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้ ได้ยื่นต่อสํานักงานในครั้งนี้ ให้ถือเป็นสวนหนึ่งของขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) ที่มีผลใช บังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) ด้วย”

50 สวนที่ 1 รายการขอมูล ขอมูลเพิ่มเติมที่สําคัญ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้หรือขอมูลตราสารหนี้ที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ของผู้ ลงทุนอยางมีนัยสําคัญในกรณีดังต่อไปนี้ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) และแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) ที่ผานมา (1) บริษัทประสบความเสียหายอยางรายแรง (2) บริษัทหยุดประกอบกิจการทั้งหมด หรือบางสวน (3) บริษัทเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคหรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (4) บริษัททําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมด หรือบางสวนในการบริหารงานของบริษัท (5) บริษัทมีการรวมทุน ควบรวมกิจการ กระทําหรือถูกกระทําอันมีลักษณะเป็นการครอบงํา หรือถูกครอบงํากิจการตามมาตรา 247 (6) บริษัทมีการฟนฟูกิจการ (7) เหตุการณใด ๆ ที่เป็นเงื่อนไขที่จะทําให้ผู้ถือตราสารหนี้ถือเป็นเหตุให้บริษัทผิดขอตกลง ตามตราสาร (events of default) (8) บริษัทผิดขอตกลงในการชําระหนี้ตามตราสาร (default) (9) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหาร โครงสรางการถือหุน หรือมีการเปลี่ยนแปลง กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัท (10) ตราสารหนี้ของบริ ษัทถูกปรับลดผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (11) บริษัทมีการสงงบการเงินและแบบ 56-1 ให้สํานักงาน หนวยงานทางการ ซึ่งเป็น ผู้ กํากับดูแลการดําเนินงานโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย (ในกรณีที่ นําสงงบการเงินหรือแบบ 56-1 ต่อสํานักงานแล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) แล้ว (12) บริษัทมีการเพิ่มทุนหรือลดทุนจดทะเบียน (13) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (14) บริษัทมีแผนการลงทุนที่สําคัญ (15) บริษัทได้มาหรือสูญเสียไปซึ่งสัญญาการคาที่สําคัญ (16) บริษัทมีขอพิพาทที่อาจสงผลกระทบทําให้สวนของผู้ถือหุนลดลงเกินกวารอยละ 5 (17) บริษัทจะมีการเพิ่มหรือลดมูลคาการเสนอขายของตราสารหนี้จากที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายตราสารหนี้ซึ่ งได้ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลในลักษณะโครงการ โดยเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แกไข มติคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุนที่เคยอนุมัติให้ออกตราสารหนี้ ที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายตราสารหนี้ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ

51 (18) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุนกู โดยหากผู้แทนผู้ถือหุนกูมีสถานะเป็นเจำหนี้ ของบริษัท ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวด้วย (19) เพิ่ มการเสนอขาย green bond, social bond และ sustainability bond โดยให้ ระบุขอมูลตามที่กําหนดในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการ ตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.1 (1) – (5) (20) เพิ่ มรายละเอียดหรือแกไขขอมูลที่เปดเผยในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) สําหรับรายการดังต่อไปนี้ 1. ก ร ณี เ ส น อ ขำ ย green bond, social bond แ ล ะ sustainability bond : แบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.1 (1) – (5) 2. ก รณีเสน อขำย sustainability-linked bond : แ บบ 69-PP-MTN (ส  ว นที่1 : แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.2 (1) และ (3) เฉพาะ ขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการตามภาระผูกพัน (4) และ (5) (21) บริ ษั ทมี การเปลี ่ ยนแปลง external review provider สําหรั บการเสนอขาย sustainability-linked bond ซึ่ งเป็นไปตามที่ระบุในแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PP-BASE) สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 3.2 (5) (ในกรณีที่นําสงรายงานต่อสํานักงาน แล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT) แล้ว) (22) ขอมูลของบริษัทที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูล ที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรกอยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน เชน ปจจัยความเสี่ยง ที่เปลี่ยนแปลง งบการเงินมีขอสังเกตของผู้สอบบัญชี เป็นตน วิธีการเปดเผยขอมู ล ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติม โดยเลือกวิธีการ ดังนี้  (1) แสดงรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมดังกลาว  (2) ให้อางอิงจากขอมูลที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ เคยได้ยื่ นต่อสํานักงานหรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และให้ถือวาขอมูลดังกลาวเป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2: แบบ 69-PP- PRICING) (ในกรณีที่มีการอางอิงขอมูลดังกลาว ให้สรุปขอมูล วันที่เผยแพร และระบุแหลงอางอิงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ ของสํานักงาน เว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือ เว็บไซต์ ของผู้ออกตราสารหนี้ เป็นตน)

52 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต องของขอมูล 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ไม่มีหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรอง ความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 13 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้า ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 13 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

53 1.2 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่งมีสาขาที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 14 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูล และรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่ มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 14 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ กําหนด

54 1.3 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่รับมอบอํานาจจากผู้ที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดง รายการขอมูล 15 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่ มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 15 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

55 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้จัดการกองทรัสตที่มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับ ตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 16 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด วยความระมั ดระวั งในฐานะของกรรมการผู  มี อํานาจลงนามผู กพั นของผู  จั ดการกองทรั สต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้นเชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้อง จัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคล ดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 16 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

56 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จั ดทําขึ ้ นอยำงสมเหตุ สมผล และมีการอธิ บายผลกระทบต อผู  ออกตราสารหนี ้ หรือ ผู้ลงทุนอยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจ ของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1 . … … … … 2 . … … … หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (รายครั้ง) (แบบ 69-PO-รายครั้ง)/ (Form 69-PO-single) บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) … เสนอขาย … … … ขอมูลตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ประเภทตราสารหนี้ จํานวน ราคา เสนอขายต่อหนวย ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ค้ําประกัน การชําระหนี้ เป็นตน - ให้ระบุรายละเอียดสําคัญอื่นของการเสนอขายตราสารหนี้ เชน ผู้ประกันการจําหนายและ จัดจําหนาย บริษัทหลักทรัพย์ที่ทําหน้าที่จําหนายตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน วันที่แบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (“แบบแสดงรายการขอมูล”) มีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขาย กรณีที่มีจํานวนตราสารหนี้ที่ขายได้นอยกวาจํานวนตราสารหนี้ขั้นต่ําที่ผู้ออกตราสารหนี้กําหนด เป็นตน - ในกรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้ระบุขอมูลเกี่ยวกับผู้มีสิทธิเสนอ โครงการและผู้ออกหุนกู (นิติบุคคลเฉพาะกิจ) ได้แก ชื่อ ประเทศที่จดทะเบียน (กรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ไม่ได้เป็นบริษัทไทย) ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ และสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ - ในกรณีการออกและเสนอขายหุนกูของกองทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน (Infra Trust Bond) ที่มีเงื่อนไขการไม่จายดอกเบี้ยในชวงแรก ให้ระบุอยางชัดเจนวา ในชวง X ปแรก ผู้ลงทุนจะยังไม่ได้ รับดอกเบี้ยสําหรับหุนกู - กรณีจะเสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW สามารถปรับสวนที่ เกี่ ยวของกับผู้ ลงทุน ในแบบแสดงรายการขอมูลให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ออก ตราสารหนี้และเงื่อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้

2 ประกันราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรอง ความถูกต้องครบถวน ของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นี้เป็นความรับผิดชอบของผู้ออกตราสารหนี้ หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้มีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัท เจ้าของตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้เป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ มีผลใชบังคับ” ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมในแต่ละกรณี ดังนี้ - กรณีเป็นการเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชยประเภทที่ 1 (“ตราสาร Basel III - Additional Tier 1”) และเงินกองทุนประเภทที่ 2 (“ตราสาร Basel III Tier 2”) ให้เปดเผยความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจต้องรวมรับผลขาดทุนของธนาคารพาณิชย (“ธพ.”) หากเกิดเหตุการณ ที่เขาเงื่อนไขตามที่กําหนดในสัญญา (“trigger event”) รวมถึงความเสี่ยงจากการกําหนดราคาแปลงสภาพ ขั้นต่ํา (“floor conversion price”) กรณีที่เป็นตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย (“ตราสาร Basel III”) ที่มีเงื่อนไขการบังคับแปลงสภาพตราสาร (“convert to equity”) - กรณีเป็นการเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัยประเภทที่ 1 (“Insurance Capital Bond-Additional Tier 1”) และเงิ นกองทุ นประเภทที ่ 2 (“Insurance Capital Bond-Tier 2”) ให้เปดเผยความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจต้องรวมรับผลขาดทุนของบริษัทประกันภัย หากเกิด trigger event รวมถึงความเสี่ยงจากการกําหนด floor conversion price กรณีที่เป็นตราสารดอยสิทธิเพื่อ นับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย (“Insurance Capital Bond”) ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity - ในกรณีการเสนอขายหุ นกู ในชวงเวลาเดียวกับการเสนอขายหนวยทรัสต (“concurrent offering”) ที่ไม่มีการรับประกันการจัดจําหนาย (best effort) ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนเพิ่มวา “อาจมีความเสี่ยง ที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทรัสต หรืออาจไม่สามารถระดมทุนตามที่คาดไว ซึ่งการเกิดเหตุการณดังกลาวจะทําให้ ผู้ลงทุนเกิดตนทุนคาเสียโอกาสได้” - ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ เป็นกองทรัสตเพื่ อการลงทุนในโครงสรางพื้ นฐานเพื่ อผู้ ลงทุน รายใหญ (กอง Infra Trust – รายใหญ) ซึ่งมีการลงทุนในโครงการที่ยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย ให้ระบุ คําเตือนเกี่ยวกับมูลคา/สัดสวนสินทรัพย์ของกอง Infra Trust ที่อยู่ระหวางกอสรางและยังไม่กอรายได้ เชิงพาณิชย และมีคําเตือนผู้ลงทุนวา “ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงที่สินทรัพย์ดังกลาวอาจสรางไม่เสร็จ หรือ เสร็จลาชากวากําหนด หรือมีตนทุนการกอสรางสูงกวาที่ประมาณการไว”

3 การพิจารณาระยะเวลามีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูล ในการแสดงขอมูลประกอบการพิจารณาระยะเวลาการมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูล ให้แนบหนังสือรับรองที่ระบุหน้าที่ในการสงงบการเงินและรายงานการเปดเผยขอมูลตามมาตรา 56 ของผู้ออกตราสารหนี้ รวมทั้งลักษณะของขอกําหนดสิทธิของหุนกูที่เสนอขายครั้งนี้ ดังนี้ 1. ขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้มีลักษณะใด ดังนี้  1.1 บริษัทมีหน้าที่ นําสงงบการเงินและรายงานเกี่ ยวกับฐานะทางการเงินหรือ ผลการดําเนินงานตามมาตรา 56  1.2 บริษัทไม่มีหน้าที่ นําสงงบการเงินและรายงานเกี่ ยวกับฐานะทางการเงินหรือ ผลการดําเนินงานตามมาตรา 56 2. กรณีเสนอขายหุนกู ให้ระบุประเภทหุนกู (เชน หุนกู / หุนกู ดอยสิทธิ / หุนกูแปลงสภาพ) ทั้งนี้ ให้ระบุวาขอกําหนดสิทธิสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้เป็นลักษณะใด ดังนี้  2.1 ขอกําหนดสิทธิเป็นไปตามตัวอยางที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน  2.2 ขอกําหนดสิทธิและเงื่อนไขตามขอกําหนดสิทธิฉบับที่ยื่นไม่แตกตางจาก ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นต่อสํานักงานมาแล้วไม่เกิน 1 ปนับแต่วันที่ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นนั้นได้เปดเผยต่อ สาธารณชน เวนแต่เป็นความแตกตางในผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ แต่ไม่รวมถึงความแตกตางของสูตร หรือวิธีการที่ใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทน (ระบุวันที่มีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลที่ออก ตามขอกําหนดสิทธิดังกลาว…)  2.3 กรณีอื่น ๆ ที่ไม่เขาขายตาม 2.1 และ 2.2 3. กรณี 2.2 หรื อ 2.3 ให้ สรุ ปสาระสําคั ญของความแตกตำงของข อกําหนดสิ ทธิ สําหรับ การเสนอขายในครั้งนี้กับขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน (รายละเอียดสามารถอางอิงเอกสารแนบ 6) (ยกเวนกรณี เสนอขายตราสารหนี้ดังต่อไปนี้ 1. หุนกูเพื่ อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 2. ตราสาร Basel III 3. Insurance Capital Bond)

4 สารบัญ หน้า สวนที่ 1 รายการขอมูล 6 สวนที่ 2 ขอมูลสรุป (executive summary) 7 สวนที่ 3 ผู้ออกตราสารหนี้ 8 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้) 14 สวนที่ 5 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ 21 สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ ) 25 เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 รางขอกําหนดสิทธิ เอกสารแนบ 2 รางสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุนกู เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบโดยตรง ในการควบคุมดูแลการทําบัญชี เลขานุการบริษัทและตัวแทนติดต่อประสานงานกรณีเป็น บริษัทตางประเทศ เอกสารแนบ 4 รายละเอียดเกี่ยวกั บกรรมการของบริษัทยอย เอกสารแนบ 5 งบการเงินประจํางวดปบัญชีลาสุด และงบการเงินงวดไตรมาสลาสุด เอกสารแนบ 6 ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและ ผู้ ถือหุ นกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ ของ ผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (ถามี) (ยกเวนกรณีเสนอขายตราสารหนี้ดังต่อไปนี้ 1. หุนกู เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 2. ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของ ธนาคารพาณิชย 3.ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย) เอกสารแนบ 7 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน และหัวหน้างานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ของบริษัท (compliance) เอกสารแนบ 8 ทรัพย์สินที่ใชในการประกอบธุรกิจและรายละเอียดเกี่ยวกับรายการประเมินราคาทรัพย์สิน เอกสารแนบ 9 นโยบายและแนวปฏิบัติการกํากับดูแลกิจการ ฉบับเต็ม และจรรยาบรรณธุรกิจฉบับเต็ม ที่บริษัทได้จัดทํา เอกสารแนบ 10 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เอกสารแนบ 11 อื่น ๆ

5 ภาคผนวก ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ สําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท ภาคผนวก 2 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ภาคผนวก 3 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ภาคผนวก 4 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของ ธนาคารพาณิชย ภาคผนวก 5 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของ บริษัทประกันภัย ภาคผนวก 6 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (green bond) ตราสารหนี ้ เพื ่ อพั ฒนาสั งคม (social bond) และตราสารหนี ้ เพื ่ อความยั ่ งยืน (sustainability bond) ภาคผนวก 7 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (sustainability- linked bond)

6 สวนที่ 1 รายการขอมูล สรุปขอมูลสําคัญของตราสาร (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย โดยจัดทําตามแบบที่กําหนด ในประกาศที่เกี่ยวของ ในกรณีการเสนอขายตราสารหนี้ไม่ได้กําหนดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือแต่ผู้ออกตราสารหนี้ สมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ค้ําประกันการ ชําระหนี้ เพื่อประกอบการเสนอขายตราสารหนี้นั้น ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้จะจัดให้มีการจัดอันดับ ความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย

7 สวนที่ 2 ขอมูลสรุป (executive summary) 1. ให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลผู้ออกตราสารหนี้ โดยยอ เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจภาพรวมของการดําเนินธุรกิจ ของผู้ออกตราสารหนี้ (ควรสรุปขอมูลให้อยู่ภายใน 2 หน้ากระดาษ) 2. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืมจาก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นและ การผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 3. กรณีผู้ออกเป นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้ เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ 3.1 สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3.2 สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3.3 สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ผู้ลงทุนควรอานรายละเอียดขอมูลในสวนที่ 3 และสวนที่ 5 กอนตัดสินใจจองซื้อตราสารหนี้) 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา (lease) เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

8 สวนที่ 3 ผู้ออกตราสารหนี้ 1. วัตถุประสงคการใชเงิน บริษัท ประกอบธุรกิจ โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญที่ เลขทะเบียนบริษัท Home Page (ถามี) โทรศัพท โทรสาร มีวัตถุประสงคในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายตราสารหนี้ครั้งนี้ประมาณ ลานบาท ไปใชดังนี้ 2 2 ยกเวนสําหรับการเสนอขายตราสาร Basel III Insurance Capital Bond และการเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ ไม่จําเป็นต้องเปดเผยตามรูปแบบในตารางดานลางนี้ วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินที่ใช โดยประมาณ ระยะเวลาที่ใช เงินโดยประมาณ รายละเอียด 1. เพื่ อใชในการซื้ อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการที่เกี่ยวของ กับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน - กรณีเป็นการซื้อสินทรัพย์ ให้อธิบาย เกี่ยวกับประเภทสินทรัพย์และจํานวนเงิน ที่ใชโดยประมาณ - กรณีเป็นการลงทุนในกิจการให้อธิบาย ลั กษณะกิ จการที ่ จะลงทุ น สถานะ กำ ร ล ง ท ุ น แ ล ะ จ ํา น ว น เ ง ิ น ท ี ่ ใ ช โดยประมาณ ทั้งนี้ กรณีการซื้อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการที่ ไม่เกี่ ยวของกับ การดําเนินธุรกิจปจจุบัน ให้อธิบายเหตุผล และที ่ มาของการเขำไปซื ้ อสิ นทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการดังกลาวด้วย 2. เพื่ อใชในการซื้ อสินทรัพย์ หรื อลงทุ น ใน กิ จการที ่ ไ ม เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ ปจจุบัน 3. เพื่อชําระคืนเงินกู หรือหนี้ จากการออกตราสารหนี้ - กรณีเป นการชําระหนี ้ ที ่ มี กั บกลุ่ม ที่ ปรึกษาทางการเงินหรือกลุ่มตัวกลาง ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้เปดเผย terms and conditions ของหนี้ดังกลาว เพิ่มเติมด้วย - กรณีอื่น ๆ ให้เปดเผยอยางนอยในเรื่อง จํานวนเงินและระยะเวลาการใชเงิน 4. กรณีอื่น ๆ เชน เงินทุนที่ใช หมุนเวียนในกิจการ

9 หมายเหตุ : (1) ให้เปดเผยประมาณการมูลคาเงินที่ใชแยกแต่ละวัตถุประสงคการใชเงิน โดยอาจเปดเผยขอมูลในลักษณะ เป็นชวง (range) ที่เหมาะสมได้ และให้เรียงลําดับการใชเงินตามความสําคัญของวัตถุประสงคแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ หากเงินระดมทุนที่ได้รับในครั้งนี้ไม่เพียงพอสําหรับวัตถุประสงคการใชเงินที่ระบุไวให้เปดเผย แหลงเงินทุนที่จะจัดหาเพิ่มเติมด้วย (2) หากเป็นการทํารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ให้เปดเผยเป็นรายการระหวางกันที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตด้วย ทั้งนี้ แนวทางการเปดเผยวัตถุประสงคการใชเงินให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป ที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของ สํานักงาน 2. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน แบงเป็น 2 กรณีดังนี้ 2.1 กรณีผู้ออกตราสารหนี้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลประจําปต่อสํานักงานหรือเพิ่งยื่น แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชน และแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาว มีผลใชบังคับไม่เกิน 1 ป ให้บริษัทเปดเผยขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป งวดปลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ที่เคยจัดสงต่อสํานักงานและปรับปรุง ขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย รวมทั้ง ให้เปดเผยขอมูลคําอธิบายและการวิเคราะหของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และ ผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 2.2 กรณีอื่นนอกจาก 2.1 ให้ผู้ออกตราสารหนี้เปดเผยขอมูลที่เป็นปจจุบัน โดยมีหัวขอและรายละเอียด เป็นไปตามแบบแสดงรายการขอมูลประจําปโดยอนุโลม รวมถึง ให้แสดงขอมูลจากงบการเงินและอัตราสวน ทางการเงินที่สําคัญที่สะทอนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทยอย อยางนอยต้องมีขอมูลเปรียบเทียบ 2 ปที่ผานมา (เป็นงบการเงินปลาสุดที่ผานการตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชี ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและงบการเงินปยอนหลังอีก 1 ป) ทั้งนี้ ให้เปดเผยขอมูล MD&A สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย ทั้งนี้ กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้เปดเผยขอมูลตาม 2.1 หรือ 2.2 (แล้วแต่กรณี ) ของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (originator) 3. ขอมูลเฉพาะสําหรับผู้ ออกตราสารหนี้ 3.1 ให้เพิ่ มเติมขอมูลเกี่ ยวกับภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ ออกตราสารหนี้ (กรณีที่ออกเป็น ตราสารหนี้ไม่มีประกัน) และยอดหนี้คงคางในการออกหุนกู ครั้งกอน 3.2 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 1 (กรณีเสนอขายหุ นกู เพื่ อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้เปดเผยอัตราสวนทางการเงินของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (originator))

10 3.3 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ โดยเฉพาะเจาะจง เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีหลักประกันที่มีจํานวน และมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุน จากตราสารหนี้ เป็นตน นอกจากการเปดเผยความเสี่ยงขางตน การเสนอขายตราสารหนี้ที่เขาขายตามขอ ก. - ขอ ค. ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้ ขอ ก. กรณี ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ เป็นหนวยงานภาครัฐ : ให้เปดเผยเพิ่มเติมขอมูลดังนี้ (1) ขอมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงในการได้รับชําระหนี้คืน เนื่องจากผู้ออกตราสารหนี้อาจมี ข อจํากัดเกี่ยวกับการบังคับชําระหนี้ในทรัพย์สินไม่วาจะเป็นขอจํากัดตามกฎหมาย สัญญา หรือขอจํากัดอื่นใด ซึ่งมีผลทําให้ในกรณีที่มีการผิดนัดชําระหนี้ ผู้ถือตราสารหนี้จะไม่สามารถฟ้องรองให้นําทรัพย์สินของ ผู้ออกตราสารหนี้มาชําระหนี้ได้ และให้เปดเผยขอมูลวาตราสารหนี้ที่ออกและเสนอขายไม่ใชตราสารหนี้ ที่กระทรวงการคลั งค้ําประกันในเงินตนและดอกเบี้ย (2) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่รองรับการจัดตั้งหนวยงาน และกฎหมายที่ให้ อํานาจแกหนวยงานในการออกและเสนอขายตราสารหนี้วาอนุญาตให้ออกตราสารหนี้ประเภทใดบาง เชน พันธบัตร หรือหุนกู เป็นตน (3) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติของหนวยงาน วัตถุประสงคในการจัดตั้งและอํานาจ หน้าที่ตาง ๆ รวมถึงภารกิจหลักหรือธุรกรรมหลักของหนวยงาน นอกจากนี้ ให้อธิบายเกี่ยวกับนโยบาย ในการดําเนินกิจการของหนวยงานด้วย (4) ให้อธิบายเกี่ยวกับแหลงเงินทุนของหนวยงาน ที่มาของแหลงเงินทุนดังกลาว ในกรณีที่ หนวยงานได้รับการแบงสรรงบประมาณจากภาครัฐหรือจากงบประมาณกลาง ให้ระบุรายละเอียดด้วย (5) ให้อธิบายเกี่ยวกับรายรับรายจายของหนวยงานเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบและประเมินได้ วาหนวยงานมีคาใชจายและมีรายได้มาจากแหลงใด ขอ ข. กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ : ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่องดังต่อไปนี้ (1) การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหาความแตกตางของ กฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย (2) ผลกระทบที่ผู้ถือตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมาย ของประเทศที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุม การเขาออกเงินระหวางประเทศ (ถามี)

11 (3) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ (4) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (5) ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยง จากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค (6) ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี ) ขอ ค. กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย : (“สํานักงานสาขา”) ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของสํานักงานใหญ (หมายถึง ธนาคาร ตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชี ในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้งแสดงขอผูกพัน ตามขอกําหนดสิทธิที่ระบุวา สํานักงานสาขาจะดํารงฐานะการชําระหนี้ให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการที่ สํานักงานสาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขาเป็นสวนหนึ่ง ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ - ความเสี่ยงเกี่ ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ล้มละลาย ซึ่งผู้ถือตราสารหนี้อาจไม่สามารถ ขอรับชําระหนี้ หรือฟ้องบังคับชําระหนี้ จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้ งนี้ หากมีการเปดเผยอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ของสํานักงานใหญอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ ตามตราสารหนี้ ของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดกรณีล้มละลาย อนึ่ง ในกรณีการออกตราสารหนี้ที่เลือกจัดอันดับความนาเชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ออกตราสารหนี้ประสงคจะเปดเผยเฉพาะอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ โดยจะไม่จัดให้ มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานสาขา ให้เปดเผยเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงลาสุดของ สํานักงานสาขา ซึ่งได้ปรับปรุงผลกระทบหากมีการนําเงินที่ได้จากการออกตราสารหนี้ทั้งหมดไปกอให้เกิด เป็นสินทรัพย์เสี่ยงเต็มจํานวนด้วย 3.4 ให้แสดงจํานวนพนักงานทั้งหมด และจํานวนพนักงานในแต่ละสายงานหลัก และในกรณีที่บริษัท มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนพนักงานอยางมีนัยสําคัญ หรือมีขอพิพาทดานแรงงานที่สําคัญในระยะ 3 ปที่ผานมา ให้อธิบายเหตุผลและนโยบายในเรื่องดังกลาว รวมถึงความสัมพันธระหวางผู้บริหารและสหภาพแรงงาน (ถามี) นอกจากนี้ ให้แสดงผลตอบแทนรวมของพนักงานและอธิบายลักษณะผลตอบแทนนั้น (เชน เป็นเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เป็นตน) รวมทั้งอธิบายนโยบายในการพัฒนาพนักงาน

12 4. ลักษณะพิเศษและความเสี่ยงสําคัญของตราสาร ให้เปดเผยลักษณะพิเศษและความเสี่ยงสําคัญของตราสาร โดยให้เรียงลําดับลักษณะพิเศษและปจจัย ความเสี่ยงหรือคําเตือนที่สําคัญมากเป็นลําดับแรก เชน - หุนกูดอยสิทธิ ให้ระบุเงื่อนไขและความเสี่ยงที่ผู้ ออกหุนกูอาจไม่จายดอกเบี้ย (ถามี) ตลอดจนสิทธิ หรือลําดับในการรับชําระหนี้ของผู้ถือหุนกู เชน สิทธิของผู้ถือหุนกูจะดอยกวาสิทธิของเจ้าหนี้สามัญเฉพาะ ในเรื่องการรับชําระหนี้ตามหุนกูนั้นเมื่อผู้ออกหุนกูถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย หรือ มีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกบริษัท หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (ถามี ให้ระบุรายละเอียด) - หุนกูที่ครบกําหนดไถถอนเมื่อเลิกกิจการ (perpetual) ให้ระบุลักษณะพิเศษและมีขอมูลที่เตือน ให้ผู้ลงทุนเขาใจวาเป็นหุนกูไม่มีกําหนดอายุแนนอนเหมือนหุนกูทั่วไป และระบุลักษณะพิเศษและความเสี่ยง ที่ผู้ลงทุนอาจได้รับ และขอมูลแจงเตือนที่เกี่ยวของ ซึ่งรวมถึง (แต่ไม่จํากัดเฉพาะ) สถานะการดอยสิทธิ ของตราสาร (subordinated) เงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย สิทธิของผู้ออกในการไถถอนคืนกอนกําหนด (callable) และกรณี ไม่มีเงื่อนไขการผิดนัดไขว (cross-default) - หุนกูแปลงสภาพ ให้ระบุความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาหุนสามัญจากการใชสิทธิ แปลงสภาพ (เชน ราคาหุนสามัญลดต่ําลงระหวางเวลาใชสิทธิกับเวลาที่มีการสงมอบหุนสามัญ) การจํากัด ระยะเวลาใชสิทธิแปลงสภาพ และการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับสิทธิที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิของผู้ถือตราสาร (ถามี) เป็นตน - หุ นกู ที่ มีเงื่ อนไขให้ผู้ ออกตราสารสามารถไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (callable) อยางนอยให้ระบุความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจได้รับหากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนตราสารกอนครบกําหนด เชน ผู้ถือตราสารมีความเสี่ยงที่จะเสียโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่สูงจากการลงทุนในตราสารที่เสนอขาย หากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนในชวงที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดต่ําลงกวาอัตราดอกเบี้ยของตราสาร เป็นตน - หุนกูที่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือตราสารสามารถขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (puttable) อยางนอยให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและวิธีการไถถอนตราสารกอนครบกําหนดของผู้ถือตราสารที่ได้กําหนด ไวลวงหน้าตั้งแต่ออกและเสนอขายตราสาร เชน หาก credit rating ของตราสาร/ผู้ออกตราสารลดต่ําลงกวา ระดับที่ระบุไว ผู้ถือตราสารมีสิทธิขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ เพื่อนําเงินไปลงทุนในตราสารอื่น ที่มีลักษณะและผลตอบแทนตามที่ตนต้องการ โดยต้องดําเนินการตามวิธีการที่กําหนดไวลวงหน้า เป็นตน การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม กรณีการเสนอขายตราสารหนี้อื่น ๆ กรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 2 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณี การเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต กรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนด ในภาคผนวก 3 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์

13 กรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 4: การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 5 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม กรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย กรณีเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) และตราสารหนี้ เพื่ อความยั่ งยืน (sustainability bond) : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่ มเติมตามหัวขอ ที่กําหนดในภาคผนวก 6: การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน กรณีเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (sustainability-linked bond) : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 7: การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน

14 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1. กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใช ผู้ ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุด หรือผู้  ที่ได้ รับมอบหมายให้  รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ต้องมีผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 3 โดยให้ใช ขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้ที่ ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรอง วา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิดหรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. 3 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

15 หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

16 1.2. กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่ไม่มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงการขอมูล 4 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ ได้แสดงข อมูลอยางถูกต องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ออกตราสารหนี้ได้เปดเผยขอมูลในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ออกตราสารหนี้และ บริษัทยอยอยางถูกต้องครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รั บผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และ ควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภาย ใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของผู้ออกตราสารหนี้แล้ว ซึ่งครอบคลุม ถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมี ผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

17 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

18 1.3. กรณี เป นการเสนอขายตราสารหนี ้ โดยผู  ออกตราสารหนี ้ ที่เป นกิ จการตำงประเทศ หรือสาขาธนาคารตางประเทศซึ่งได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตาม กฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 5 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูล ดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

19 1.4. กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันและผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่ อพรอมทั้ งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของ แบบแสดงรายการขอมูล 6 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 6 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

20 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้หรือ ผู้ลงทุนอยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจ ของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1 . … … … 2 . … … … … หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

21 สวนที่ 5 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ 1. รายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุ กฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับตราสารหนี้ (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่ อถือ รวมทั้ งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 7 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามตราสารหนี้โดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือ - ในกรณีที่ ตราสารหนี้ ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่ นที่ สําคัญที่ ควรอธิบายเพิ่ มเติมจากขอมูล ในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญ และความเสี่ยง ของตราสารหนี้ที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคา ทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของ ผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน - กรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุนกูที่ได้รับการแต่งตั้งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ให้เปดเผย ความสัมพันธดังกลาวไวด้วย - กรณีตราสารหนี้มีอัตราดอกเบี้ยลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ 1) สําหรับตราสารหนี้ทั่วไป ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วยหากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้ว ทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดี ยวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน - กรณีหุนกูที่ครบกําหนดไถถอนเมื่อเลิกกิจการ ซึ่งผู้ออกตราสารสามารถเลื่อนการจายดอกเบี้ย และไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้และมีการจายดอกเบี้ยในอัตราที่เพิ่มขึ้นเป็นขั้นบันได (step up) ให้แสดง IRR สําหรับกรณีผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อ ไถถอนตราสาร โดยยกตัวอยาง เชน ผู้ออกตราสารตัดสินใจไถถอนตราสารในปที่ 10 20 และ 30 เป็นตน 2) สําหรับการเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่ แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด วย หากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะ ได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน 7 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สินที่มีทรัพย์สินเป็นหลักประกันทําให้เจ้าหนี้หุนกูไม่มี ประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating)

22 - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ยให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิด ขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนด ไถถอนเป็นตน 3) สําหรั บการเสนอขายตราสาร Basel III และ Insurance Capital Bond ให้ แสดงอั ตรา ผลตอบแทนที่ แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่ อนไขขางตนแล้วทําให้ ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน - กรณีมีเงื่อนไขการไม่จายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารจายดอกเบี้ยเมื่อไถถอนเพียงครั้งเดียว - กรณีเงื่ อนไขดอยสิทธิที่ ไม่กําหนดระยะเวลาชําระคืน ซึ่ งผู้ ออกตราสารสามารถเลื่อน การจายดอกเบี้ ยและไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้และมีการจายดอกเบี้ ยในอัตราที่ เพิ่ มขึ้น เป็นขั้ นบันได (step up) ให้แสดง IRR สําหรับกรณีผู้ ออกตราสารเลื่ อนการชําระดอกเบี้ ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อไถถอนตราสาร โดยยกตัวอยาง เชน ผู้ออกตราสารตัดสินใจไถถอนตราสาร ในปที่ 10 20 และ 30 เป็นตน - กรณี มีเงื่อนไขแปลงสภาพ ให้สรุปวิธีการใช สิทธิ เงื่อนไข การปรับสิทธิและคาเสียหาย เป็นตน 2. การกําหนดราคาตราสารหนี้ ให้ อธิบายที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ ที่เสนอขาย ได้แก วิธีการกําหนดราคา ผู้ที่มีสวนในการกําหนดราคา ปจจัยหรือตัวแปรตาง ๆ ที่ใชในการกําหนดราคา เป็นตน ทั้งนี้ แนวทาง การเปดเผยที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป 3. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้ หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย

23 สําหรับการเสนอขายตราสาร Basel III ให้เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชน จากการเสนอขายตราสาร Basel III ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือผานบริษัทหลักทรัพย์ ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑ Basel III ของ ธปท. จึงอาจสราง แรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสาร โดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน สําหรับการเสนอขาย Insurance Capital Bond ให้เปดเผยขอมูลเกี่ ยวกับความขัดแยง ทางผลประโยชน จากการเสนอขาย Insurance Capital Bond โดยผาน ธพ. หรือบริษัทหลักทรัพย์ในเครือ (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อ เกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกตราสารหนี้กับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ที่เกี่ยวกับ เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาตราสารหนี้ ที่ผู้ ออกตราสารหนี้จะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายตราสารหนี้ โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรตราสารหนี้ ให้ระบุหลักการจัดสรรตราสารหนี้ให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวน ตราสารหนี้ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนตราสารหนี้และเสนอขายต่อผู้ ลงทุน ตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อตราสารหนี้ การกําหนดจํานวนในการจองซื้อ ตราสารหนี้ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ชื่อบริษัทเงินทุนหรือ ธพ. ที่เป็นตัวแทนรับเงิน คาจองซื้อตราสารหนี้ วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้คืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย

24 (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับ การจัดสรรตราสารหนี้ (11) วิธีการสงมอบตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 4. ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออกตราสารหนี้ให้ ทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่เป็นตัวแทน การชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มีการทําสัญญาแต่งตั้ง บุคคลใดทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้เป็นผู้ทําหน้าที่ดังกลาว 5. ตลาดรองตราสารหนี้ (ถามี) ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ประสงคจะนําตราสารหนี้ ที่ออกและเสนอขายไปจดทะเบียนซื้ อขาย ในตลาดรองใด ๆ ให้ระบุชื่อของตลาดดังกลาว รวมทั้งวันเวลาที่คาดวาจะนําตราสารหนี้ดังกลาวไป จดทะเบียนด้วย นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จะแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่เป็นผู้ดูแลสภาพคลอง (market maker) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และสาระสําคัญของขอตกลงในการทําหน้าที่เป็น market maker ด้วย 6. ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับ ผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย 7. สัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ (ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต) ให้แสดงสัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ที่กองทรัสตเสนอขายของกลุ่มผู้ที่จะจําหนาย จาย โอน ให้เชา หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แกกองทรัสตและกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกลาว ซึ่งตามหลักเกณฑ กําหนดวาจะต้องไม่เกินรอยละ 50 ของมูลคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย 8. ภาระภาษีที่เกี่ยวของกับการลงทุนในหุนกู (ในกรณีเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็น หลักทรัพย์ ) ให้เปดเผยขอมูลภาระภาษีที่เกี่ยวของกับการลงทุนในหุนกู ในกรณีที่ภาษีที่เกี่ยวของกับการลงทุนใน หุนกูแต่ละ tranche แตกตางกัน ให้เปดเผยความแตกตางไวด วย เชน ภาษีเงินได้และภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นตน

25 สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรอง ความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 8 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหน ง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 8 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

26 1.2 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ไม่เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ดํารงตําแหนง ไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการ ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 9 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 9 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

27 1.3 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ซึ่งได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถ วนของแบบแสดงรายการขอมูล 10 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้ อื่ นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 10 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

28 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ง ประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 11 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวนไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผั นจากสํานักงาน 11 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

29 2 การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ ของที่ ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้ แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก … … (ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับ ความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ในการตรวจสอบขอมูล ในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ … แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใดยังไม่สามารถ ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องจัดให้บุคคลนั้น ลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะ ไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใด ที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

30 เอกสารแนบ 6 ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู สําหรับ “ (ชื่อหุนกู) ” หัวขอ ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน ขอกําหนดสิทธิของหุนกู เหตุผล 1 1 อธิบายเหตุผลที่ ขอกําหนดสิทธิของหุ นกู แตกตางจากขอกําหนดสิทธิมาตรฐานเฉพาะในกรณีที่ มีความแตกตาง อยางมีนัยสําคัญจนทําให้กระทบสิทธิของผู้ถือหุนกู

31 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาร ะดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสด ไหลออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพ คลองที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

32 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ). คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

33 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้ สินเชื่อรวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

34 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสิน ทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สิ นหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่ น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางป สําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย)

35 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชี ปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

36 ภาคผนวก 2 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ในกรณีออกและเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ให้เปดเผยขอมูลตามหัวขอที่กําหนดดานลางนี้ แทนขอมูลสวนที่ 3 โดยขอมูลที่เกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน ให้ปรับปรุงจาก ขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบ 69-REIT และ/หรือแบบ 69-IFT ลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ที่เคยจัดสงต่อสํานักงานขางตน และปรับปรุงขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย กรณีการทํา concurrent offering ของกองทรัสต ให้ผู้ออกหุนกูอางอิงขอมูลจากแบบ 69–REIT/ 69-IFT ได้ รวมถึงให้เปดเผยผลการดําเนินงานของสินทรัพย์ของผู้ออกตราสารหนี้ยอนหลัง 2 ป หรือหากมีขอมูล ยอนหลังนอยกวา 2 ปให้เปดเผยเทาที่มี กองทรัสตเพื่อการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ที่เสนอขายได้เฉพาะผู้ลงทุนรายใหญ (กอง Infra Trust – รายใหญ) เสนอขายตราสารหนี้ (Infra Trust Bond) ต่อผู้ลงทุนทั่วไป อยางนอยให้มีขอมูลเตือนผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ 1. สินทรัพย์ของกอง Infra Trust เป็นสินทรัพย์ที่อยู่ระหวางกอสรางและยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย มูลคา XX ลานบาท ผู้ลงทุนจึงมีความเสี่ยงที่สินทรัพย์ดังกลาวอาจสรางไม่เสร็จ หรือเสร็จลาชากวากําหนด หรือ มีตนทุนการกอสรางสูงกวาที่ประมาณการไว 2. สําหรับกรณีการออกและเสนอขาย Infra Trust Bond ที่มีเงื่อนไขการไม่จายดอกเบี้ยในชวงแรก ให้ระบุให้ชัดเจนวา ในชวง X ปแรก ผู้ลงทุนจะยังไม่ได้รับดอกเบี้ยสําหรับหุนกู

37 สวนที่ 3 ผู้ออกตราสารหนี้ ขอ 2. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน 1. ขอมูลทั่วไป 2 วัตถุประสงคของการเสนอขายหนวยทรัสต 3 ขอมูลอสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุน 4. การจัดหาผลประโยชนจากอสังหาริมทรัพย์ 5. โครงสรางและการดําเนินงานของกองทรัสต 6. ปจจัยความเสี่ยง 7. ภาพรวมของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุน 8. ผู้จัดการกองทรัสต 9. ทรัสตี 10. อัตราและวิธีการเก็บคาธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บจากผู้ซื้อหนวยทรัสต หรือกองทรัสต 11. นโยบายการกูยืมเงิน 12. นโยบายการจายผลประโยชน และขอจํากัด 13. นโยบายการลงทุนในอนาคต 14. การเลิกกองรีท กรณีเสนอขายหุนกูภายหลังจัดตั้งกองทรัสต ให้เพิ่มเติมขอมูลดังต่อไปนี้ 15. ขอพิพาทหรือขอจํากัดสิทธิในการจัดสรรผลประโยชนจากอสังหาริมทรัพย์ 16. รายการระหวางกัน 17. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทรัสต 18. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้ออกตราสารหนี้ ในการรับรองความถูกต้องของ ขอมูลตาม สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้อง ให้รับรองความถูกต้อง ดังนี้

38 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้อง (ส วนขอมูลผู้ออกตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการทุกคนของผู้จัดการกองทรัสตลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล 12 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้อง ครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่ มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. ในฐานะผู้จัดการกองทรัสต และในฐานะผู้ได้รับมอบหมายจากทรัสตีให้ดําเนินการแทนกองทรัสต (ให้แนบหนังสือมอบอํานาจจากทรัสตีมาพรอมด้วย) ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* ผู้รับมอบอํานาจ หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 12 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

39 สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้อง (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ที่มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ 13 ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้า ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่ มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. ในฐานะผู้จัดการกองทรัสต และในฐานะผู้ได้รับมอบหมายจากทรัสตีให้ดําเนินการแทนกองทรัสต (ให้แนบหนังสือมอบอํานาจจากทรัสตีมาพรอมด้วย) ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* ผู้รับมอบอํานาจ หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือ ชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 13 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

40 ภาคผนวก 3 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกู เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในกรณีออกและเสนอขายหุนกูเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้เปดเผยขอมูลในสวนที่ 3 : ผู้ออกตราสารหนี้ เพิ่มเติม ดังนี้ สวนที่ 3 ผู้ออกตราสารหนี้ 1. ขอมูลโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 1.1 ขอมูลผู้มีสิทธิเสนอโครงการและผู้ออกหุนกู และเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีที่เขาเงื่อนไข ต่อไปนี้ 1.1.1 กรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตามกฎหมายตางประเทศให้เปดเผยขอมูล เกี่ยวกับขอจํากัดและความเสี่ยงอยางนอยในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (1) ผลกระทบที่ผู้ถือหุนกูอาจได้รับ ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการมีหน้าที่ต้อง รวบรวมเงินที่ได้จากสิทธิเรียกรองตามโครงการสงให้นิติบุคคลเฉพาะกิจ ซึ่งกฎหมายของประเทศที่เกี่ยวของกับ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ (ถามี) (2) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (3) ในกรณีที่สินทรัพย์ ของโครงการเป็นสิทธิเรียกรองในตางประเทศ ให้เปดเผยขอมูล (ก) สิทธิและความคุมครองที่ผู้ลงทุนจะได้รับจากการลงทุนในหุนกู รวมถึงคําเตือน ให้ผู้ลงทุนศึกษาและติดตามขอมูลเกี่ยวกับกฎหมายและกฎเกณฑของประเทศที่จะใชบังคับกับสิทธิเรียกรอง ตามโครงการที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย ทั้งนี้ ขอมูลดังกลาวให้แสดงในหน้าปกของแบบแสดงรายการขอมูล ด้วยตัวอักษรที่เนนและสามารถสังเกตเห็นได้อยางชัดเจน (ข) ความเสี่ยง ขอจํากัด สิทธิ และความคุมครองสินทรัพย์ภายใตโครงการ ตามกฎหมายและกฎเกณฑของประเทศที่จะใชบังคับกับสิทธิเรียกรองตามโครงการ (ค) การดําเนินคดีทางกฎหมายของนิติบุคคลเฉพาะกิจต่อผู้มีสิทธิเสนอโครงการ หรือการบังคับกับสิทธิเรียกรองตามโครงการ เนื่องจากผู้มีสิทธิเสนอโครงการหรือลูกหนี้แห่งสิทธิเรียกรอง ดังกลาวมิได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อผู้มีสิทธิเสนอ โครงการหรือลูกหนี้แห่งสิทธิเรียกรองนั้นด้วย 1.1.2 กรณีมีการชําระคาหุนกูเป็นสกุลเงินตราตางประเทศ ให้เปดเผยขอมูลอยางนอย ในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (1) ขอจํากัดหรือความเสี่ ยงเกี่ ยวกับอัตราแลกเปลี่ ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคาการสงมอบหลักทรัพย์ และวิธีการโอนหลักทรัพย์

41 (2) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุ นอยางมีนัยสําคัญเชนเดียวกับกรณีขอ 1.1.1 (2) ขางตน 1.1.3 กรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นนิติบุคคลตางประเทศ และมีการเปดเผยขอมูล ที่เกี่ยวของตามกฎหมายตางประเทศนั้น ให้ผู้มีสิทธิเสนอโครงการดังกลาวเปดเผยรายละเอียดของขอมูล ไม่นอยกวารายละเอียดของขอมูลที่ได้เปดเผยในตางประเทศ 1.2 ขอมูลบุคคลที่เกี่ยวของกับโครงการ 1.2.1 ให้ระบุขอมูลเกี่ยวกับ ชื่อ บทบาท หน้าที่ ลักษณะการประกอบธุรกิจ รวมถึงขอจํากัดและ เงื่อนไขในการให้บริการของบุคคลที่เกี่ยวของในการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เชน ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ ผู้คาตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้บริหารจัดการโครงการ ผู้แทนผู้ ถือหุนกูนายทะเบียนหุนกู ตัวแทนชําระเงิน ผู้จัดอันดับความนาเชื่อถือ ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง (ถามี) เป็นตน 1.2.2 ให้เปดเผยขอมูลความสัมพันธระหวางบุคคลที่ เกี่ ยวของกับโครงการ รวมถึง รายการระหวางกันให้ชัดเจน 1.2.3 หากบุคคลที่เกี่ยวของกับโครงการอยู่ระหวางถูกดําเนินคดีทางกฎหมายที่มีนัยสําคัญ ให้เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับคดีความนั้น ๆ อยางชัดเจนด้วย 1.3 ขั้นตอนการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ โครงสรางทางกฎหมายและโครงสรางกระแส เงินสดของโครงการ 1.3.1 ให้แสดงขั้นตอนและโครงสรางของโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ รวมถึง ลําดับการจัดสรรกระแสรายรับของโครงการ โดยอาจแสดงเป็นแผนภาพพรอมคําอธิบาย 1.3.2 ให้แสดงคำธรรมเนียมและคาใชจายที่เกี่ยวของกับการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 1.4 รายละเอียดของสินทรัพย์ที่จะนํามาแปลงเป็นหลักทรัพย์ให้ระบุขอมูลกลุ่มสินทรัพย์ ในโครงการอยางนอยดังต่อไปนี้ 1.4.1 ขอมูลสําคัญทั่วไปที่เกี่ยวของกับสินทรัพย์ เชน ประเภทของสินทรัพย์ เงื่อนไข ในการเลือกสินทรัพย์ กฎหมายที่ใชบังคับกับกลุ่มสินทรัพย์ มูลคาของกลุ่มสินทรัพย์ อายุ วันสิ้นสุดอายุหลักประกัน (ถามี) คุณภาพทางเครดิต (กรณีสินทรัพย์เป็นลูกหนี้) และขอมูลทางภูมิศาสตรของสินทรัพย์ เป็นตน นอกจากนี้ หากมีการสอบทานคุณสมบัติ หรือลักษณะของสินทรัพย์โดยผู้เชี่ยวชาญวาเป็นไปตามที่ระบุไว จะต้องเปดเผย ให้ผู้ลงทุนทราบด้วย 1.4.2 ลักษณะของกลุ่มสินทรัพย์และขอมูลผลการดําเนินงานในอดีต เชน กรณีสินทรัพย์ เป็นลูกหนี้ให้แสดงขอมูลสถิติการจายชําระหนี้ สถิติการผิดนัดชําระหนี้ อัตราสวนทางการเงินที่เกี่ยวของ (เชน อัตราสวนหนี้สินต่อรายได้) สัดสวนลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหนี้ ลักษณะการค้ําประกันของกลุ่มสินทรัพย์ ขอมูล ทางเครดิตของกลุ่มสินทรัพย์ เป็นตน โดยอาจแสดงอยู่ในรูปกราฟหรือตารางเพื่ อให้ผู้ลงทุนสามารถเขาใจได้งาย

42 1.4.3 ขอมูลสถิติการชําระเงินลวงหน้าของลูกหนี้ในกลุ่มสินทรัพย์และผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้น รวมถึงความเสี่ยงและความคุมครองที่ผู้ลงทุนจะได้รับหากเกิดกรณีขางตน 1.4.4 สําหรับลูกหนี้ที่มีนัยสําคัญของกลุ่มสินทรัพย์ ให้เปดเผยรายละเอียดเพิ่มเติม เชน รูปแบบของกิจการ กลุ่มธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่เกิดภายหลังงบการเงินลาสุด ขอสัญญาที่มีกับลูกหนี้ เป็นตน รวมทั้งให้เปดเผยงบการเงินของลูกหนี้ที่มีนัยสําคัญด้วย 1.4.5 ขอมูลแหลงเงินทุน และการใชเงินทุนนั้น ๆ รวมถึงสัดสวนเงินทุนแต่ละแหลง และกรณีที่มีการกันเงินจากการระดมทุนสวนหนึ่งไวเพื่อซื้อสินทรัพย์เพิ่มเติมในอนาคต หรือกรณีที่จะใชกระแส เงินสดรับจากกลุ่มสินทรัพย์เพื่อซื้อสินทรัพย์เพิ่มเติม ให้เปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของอยางชัดเจน เชน ระยะเวลา และความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดกับกองสินทรัพย์ วิธีการและเงื่อนไขในการจัดหา/สับเปลี่ยน/ขายสินทรัพย์ เป็นตน 1.4.6 ขอมูลสิทธิเรียกรองบนกลุ่มสินทรัพย์ และคําอธิบายประมาณการ cross-collateralization และ cross-default ที่มีนัยสําคัญ (ถามี) 1.5 การเพิ่มคุณภาพเครดิต (Credit Enhancement) กรณีที่มีการเพิ่มความนาเชื่อถือดานเครดิต ให้เปดเผยขอมูลอยางนอยดังต่อไปนี้ 1.5.1 การเพิ่มความนาเชื่อถือดานเครดิตจากภายนอก (external credit enhancement) เชน การค้ําประกันโดยบุคคล/นิติบุคคล letter of credit เป็นตน ให้เปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของ เชน รายละเอียด ของผู้ค้ําประกัน รูปแบบของกิจการ กลุ่มธุรกิจ ขอมูลทางการเงินและงบการเงินของผู้ค้ําประกัน วงเงินรับประกัน และเงื่อนไขสําคัญในสัญญาค้ําประกันธุรกิจ เป็นตน 1.5.2 การเพิ่มความนาเชื่อถือดานเครดิตจากภายใน (internal credit enhancement) เชน การวางหลักประกันมูลคาสูงกวาการออกหลักทรัพย์ การจัดโครงสรางการจายชําระเงินกรณีออกหุนกูที่มีการจัด อันดับความนาเชื่อถือตางกัน (tranche) และการตั้งบัญชีเงินสํารองลวงหน้า (reserve fund) เป็นตน ให้เปดเผย ขอมูลที่เกี่ยวของ เชน ลักษณะและรูปแบบของการเพิ่มความนาเชื่อถือดานเครดิต เงื่อนไขวงเงินและระยะเวลา การกันเงินสํารอง เป็นตน 1.6 การจัดสรรกระแสเงินสดรับของโครงการและการจัดการบัญชีเงินสํารอง ให้เปดเผยขอมูล แนวทางการจัดการกระแสรายรับของโครงการ เชน การชําระเป็นคาธรรมเนียมหรือคาบริการตาง ๆ การจัดสรร เงินบางสวนเขาบัญชีเงินสํารองเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการจัดสรรเงินเขาบัญชี เงินสํารองตาง ๆ ให้เปดเผยวัตถุประสงคและแนวทางการจัดการบัญชีเงินสํารองไวด้วย 1.7 การใชตราสารอนุพันธ (Derivative Instruments) กรณีที่ มีการใชตราสารอนุพันธ (เชน interest rate swap และ currency swap เป็นตน) เพื่อปรับรูปแบบกระแสเงินสดรับ และไม่ได้ใช เพื่อการเพิ่มความนาเชื่อถือดานเครดิตให้เปดเผยขอมูลสําคัญที่เกี่ยวของกับการทําสัญญา เชน รูปแบบและ ลักษณะธุรกิจของคู่สัญญา ขอมูลทางการเงินของคู่สัญญา อายุของสัญญา วงเงิน เงื่อนไข และขอจํากัดที่สําคัญ ในการเขาทําสัญญา เป็นตน

43 1.8 การลงทุนหรือการหาผลประโยชนจากเงินสดในบัญชีของนิติบุคคลเฉพาะกิจ กรณีที่ผู้ออกหุนกูสามารถนําเงินที่มีอยู่ในบัญชีเงินสํารองไม่วาบางสวนหรือทั้งหมดไปลงทุน ให้เปดเผยรายละเอียดบุคคลที่มีอํานาจในการบริหารจัดการเงินดังกลาว รวมถึงเงื่อนไขและขอจํากัดของการ ลงทุนอยางชัดเจน 1.9 ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงของโครงการ ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงอยางนอยดังต่อไปนี้ พรอมกับแนวทางการจัดการความเสี่ยง โดยอาจแยกเปดเผยตามประเภทของความเสี่ยงดังต่อไปนี้ - ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับผู้ออกหุนกู - ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับหลักทรัพย์และกลุ่มสินทรัพย์ภายใตโครงการ - กรณีมีการออกหุนกูหลาย tranche และความเสี่ยงของหุนกูแต่ละ tranche แตกตางกัน ให้เปดเผยความเสี่ยงแยกจากกันด้วย 1.10 เงื่อนไขการโอนสินทรัพย์คืน ให้ระบุขอมูลเงื่อนไข การรับรอง การรับประกัน และการซื้อคืนกลุ่มสินทรัพย์ของผู้มีสิทธิ เสนอโครงการ รวมถึงการเยียวยากรณีไม่ปฏิบัติตามขอกําหนด 1.11 การสิ้นสุดการเป็นนิติบุคคลเฉพาะกิจ ให้ระบุเงื่อนไขของการสิ้นสุดการเป็นนิติบุคคลเฉพาะกิจ พรอมกับการดําเนินการของ นิติบุคคลเฉพาะกิจเมื่อสิ้นสุดสถานะดังกลาวด้วย 1.12 ภาระภาษีของนิติบุคคลเฉพาะกิจ ให้เปดเผยขอมูลสรุปภาระภาษีที่เกี่ยวของกับธุรกรรมการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ นอกจากนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้ออกตราสารหนี้ ในการรับรองความถูกต้องของ ขอมูลตาม สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้อง ให้ใช การรับรอง ดังนี้

44 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (ข อมูลผู้ออกตราสารหนี้) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อ 14 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขาย ตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ ชวน หรือ เป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 14 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

45 2. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องจัดให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (ยกเวนกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตาม กฎหมายตางประเทศ ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ) ลงลายมือชื่อ 15 พรอมทั้งประทับ ตราบริษัท (ถามี) โดยให้ใชขอความและรูปแบบดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ในสายงานบัญชีหรือเทียบเทา] ของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขาย ตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็น กรณีอื่นใดที่ มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 15 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

46 สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายตราสารหนี้ ) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ของผู้ออกตราสารหนี้ ลงลายมือชื่อ 16 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขาย ตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่น ใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 16 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

47 ภาคผนวก 4 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายตราสารดอยสิทธิ เพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย ในกรณีออกและเสนอขาย Basel III ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 : รายการขอมูล ดังนี้ 1. กรณีเสนอขาย Basel III - Additional Tier 1 1.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่อนไขโดยรวมของ Basel III - Additional Tier 1 โดยระบุความเสี่ยง เฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน ไม่กําหนดระยะเวลาการชําระคืนแต่จะถูกไถถอน เมื่อเลิก กิจการ ธพ. มีอํานาจเต็มที่ในการยกเลิกการจายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนอื่นใดเมื่อใดก็ได้โดยไม่สะสม ผลตอบแทน (non-cumulative) และไม่ถือเป็นเหตุผิดนัดชําระหนี้ การกําหนดเงื่อนไขในการรองรับและรับรู ผลขาดทุนในระหวางการดําเนินการ (“loss absorption on a going-concern basis”) และเมื่อไม่สามารถ ดําเนินกิจการต่อไปได้ 17 (“loss absorption on a gone-concern basis”) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อ ผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรี ยบเที ยบความแตกตางของลั กษณะและความเสี ่ ยงของตราสาร Basel III - Additional Tier 1 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภทสามารถ เปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้นจาก Basel III - Additional Tier 1 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือตราสาร Basel III - Additional Tier 1 กับ เงินฝากเจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออก ตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการหรือเมื่อเกิด trigger event เพื ่ อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone- concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (Common equity tier 1: “CET1”) พรอมรายการหักจาก CET1 โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (6) วิธีการคํานวณอัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (“CET1 ratio”) อัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 (“Tier 1 ratio”) และอัตราสวนเงินกองทุนทั้งสิ้น (“Total Capital Ratio”) โดยยอและเขาใจได้งาย 17 เชน ธพ. มีสินทรัพย์ไม่เพียงพอจายคืนผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้ เงินกองทุนของ ธพ. ลดลงจนถึงระดับที่จะกระทบต่อผู้ฝากเงิน และเจ้าหนี้ หรือ ธพ. ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง เป็นตน

48 (7) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio Tier 1 ratio และ Total Capital Ratio ที่ ธพ. ดํารงได้ ณ สิ้ นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนกับอัตราสวนเงินกองทุนขั้ นต่ํา (“minimum capital requirement”) และเงินกองทุนสวนเพิ่ ม (“capital buffer”) ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) กําหนดทั้ง 3 ประเภท รวมทั้ง CET1 ratio ที่ ธพ. กําหนดเป็น trigger point 18 เพื่อ loss absorption on a going-concern basis ซึ่งอาจทําให้ตราสารถูกลดมูลคา (“write down”)/ปลดหนี้ (“write off”) หรือ ถูก convert to equity นอกจากนี้ ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวนเงินกองทุน ดังกลาว ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนได้จากหน้าเว็บไซต์ของ ธพ. ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป เนื่ องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่ ธพ. ดํารงได้ การไม่สามารถปฏิบัติตาม minimum capital requirement และ capital buffer ดังกลาว อาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือตราสาร Basel III- Additional Tier 1 อยางไร (8) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคาที่ตราสาร ถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขทั้งเพื่อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis 19 พรอมตัวอยางการคํานวณที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของตราสาร Basel III -Additional Tier 1 ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของ ธพ. ในชวงกอนหรือระหวางการเสนอขายตามแนวทางที่สมาคม ธนาคารไทยกําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวา เงินลงทุนในตราสาร Basel III - Additional Tier 1 ดังกลาว เป็นตน (9) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับตราสาร Basel III - Additional Tier 1 (10) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 1.2 ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขายตราสาร Basel III -Tier 1 ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือผานบริษัทหลักทรัพย์ (“บล.”) ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ ถูกนั บเป็นเงินกองทุนตามเกณฑตราสาร Basel III ของ ธปท. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสาร โดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จ หรือไม่ชัดเจน 18 อัตราที่ ธพ. กําหนดต้องมี CET 1 ratio สูงกวา 5.125% 19 เชน ธพ. มีสินทรัพย์ไม่เพียงพอจายคืนผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้ เงินกองทุนของ ธพ. ลดลงจนถึงระดับที่จะกระทบต่อผู้ฝากเงิน และเจ้าหนี้ หรือ ธพ. ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง เป็นตน

49 ในกรณีออกและเสนอขายตราสาร Basel III Tier 2 ให้ เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 : รายการขอมูล ดังนี้ 2. กรณีเสนอขายตราสาร Basel III Tier 2 2.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่อนไขโดยรวมของตราสาร Basel III Tier 2 โดยระบุความเสี่ยงเฉพาะตัว ของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน เป็นตราสารที่ ธพ. มีสิทธิไถถอนกอนครบกําหนดการชําระคืนภายใต เงื่อนไขที่ ธปท. กําหนดและไม่มีขอกําหนดให้ผู้ ถือสามารถไถถอนกอนกําหนดการกําหนดเงื่อนไข loss absorption on a gone-concern basis และความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของตราสาร Basel III Tier 2 และ ตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ ทั้งสองประเภทสามารถเปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก ตราสาร Tier 2 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของตราสาร Basel III Tier 2 กับเงินฝาก เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ทั้งภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือ ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการ เป็นตน และเมื่อเกิด trigger event เพื่อ loss absorption on a gone-concern basis (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ ซึ่งต้องมีสาระสําคัญและเขาใจได้งาย (5) วิธีการคํานวณ CET 1 ratio, Tier 1 Ratio และ Total Capital Ratio โดยยอและเขาใจ ได้งาย (6) เปรียบเทียบระหวาง CET 1 ratio, Tier 1 Ratio และ Total Capital Ratio ที่ ธพ. ดํารงได้ ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนกับ minimum capital requirement และ capital buffer ตามที่ ธปท. กําหนดทั้ง 3 ประเภท นอกจากนี้ ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวนเงินกองทุน ดังกลาว ณ สิ้นวันทําการสุดทายของแต่ละเดือนได้จากหน้าเว็บไซต์ ของ ธพ. ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่ ธพ. ดํารงได้ การไม่สามารถปฏิบัติตาม minimum capital requirement และ capital buffer ดังกลาวอาจสงผลให้เกิด ความเสี่ยงต่อผู้ถือตราสาร Basel III Tier 2 อยางไร (7) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคาที่ ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขเพื่อ loss absorption on a gone- concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งมีการจัดทํา worst case scenario

50 analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของตราสาร Basel III Tier 2 ที่ มีเงื่ อนไขการ convert to equity ให้ ธพ. เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับ รอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของ ธพ. ในชวงกอนหรือระหวางการเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมธนาคารไทย กําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวาเงินลงทุนใน ตราสาร Basel III Tier 2 ดังกลาว เป็นตน (8) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity ตราสาร Basel III Tier 2 (9) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 2.2. ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขายตราสาร Basel III Tier 2 ของ ธพ. โดยผาน ธพ. ผู้ออกตราสารเองหรือผาน บล. ในเครือของ ธพ. (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ถูกนับเป็น เงินกองทุนชั้นที่ 2 ตามเกณฑ Basel III ของ ธปท.จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ ธพ. ชักชวน ให้ผู้ลงทุนซื้อตราสาร โดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือไม่ชัดเจน

51 ภาคผนวก 5 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารดอยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย ในกรณีออกและเสนอขาย Insurance Capital ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 : รายการขอมูล ดังนี้ 1. กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 1.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลั กษณะและเงื ่ อนไขโดยรวมของ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 โดยระบุความเสี่ยงเฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน ไม่กําหนดระยะเวลาการชําระคืนแต่จะ ถูกไถถอนเมื่อเลิกกิจการ บริษัทประกันภัยมีอํานาจเต็มที่ในการยกเลิกการจายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนอื่นใด เมื่อใดก็ได้โดยไม่สะสมผลตอบแทน (non-cumulative) และไม่ถือเป็นเหตุผิดนัดชําระหนี้ การกําหนดเงื่อนไข ในการรองรับและรับรูผลขาดทุนในระหวางการดําเนินการ (“loss absorption on a going-concern basis”) และเมื่อไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ 20 (“loss absorption on a gone-concern basis”) ความเสี่ยงและ ผลกระทบต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภทสามารถ เปรียบเทียบกันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้นจาก Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 เป็นตน (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือ Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 กับเจ้าหนี้บุริมสิทธิ ผู้เอาประกัน ผู้ถือกรมธรรม ผู้รับผลประโยชน เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกกิจการหรือเมื่อเกิด trigger event เพื่อ loss absorption on a going- concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยงโดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (Common equity tier 1: “CET1”) พรอมรายการหักจาก CET1 โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (6) วิธีการคํานวณอัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นสวนของเจ้าของ (“CET1 ratio”) อัตราสวนเงินกองทุนชั้นที่ 1 (“Tier 1 ratio”) และอัตราสวนความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio : “CAR”) โดยยอและเขาใจได้งาย 20 เชน บริษัทประกันภัยมีสินทรัพย์ไม่เพียงพอจายคาสินไหมทดแทนให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับผลประโยชนตามกรมธรรม และเจ้าหนี้ เงินกองทุนของบริษัทประกันภัยลดลงจนถึงระดับที่จะกระทบต่อผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับผลประโยชนตาม กรมธรรม และเจ้าหนี้ หรือบริษัทประกันภัยไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง เป็นตน

52 (7) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR ที่บริษัทประกันภัยดํารงได้ ณ สิ้ นไตรมาสกับอัตราสวนเงินกองทุนขั้ นต่ํา (“minimum capital requirement”) ตามที่ สํานักงาน คณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (“สํานักงาน คปภ.”) กําหนด รวมทั้ง CET1 ratio ที่บริษัทประกันภัยกําหนดเป็น trigger point 21 เพื่อ loss absorption on a going-concern basis ซึ่งอาจ ทําให้ตราสารถูกลดมูลคา (“write down”)/ปลดหนี้ (“write off”) หรือถูก convert to equity นอกจากนี้ ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวน เงินกองทุนดังกลาว ณ สิ้นไตรมาสได้จากหน้าเว็บไซต์ของบริษัทประกันภัยและสํานักงาน คปภ. ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นไตรมาส เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่บริษัทประกันชีวิตดํารงได้ การไม่สามารถ ปฏิบัติตาม minimum capital requirement ดังกลาว อาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 อยางไร (8) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคาที่ตราสาร ถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขทั้งเพื่อ loss absorption on a going-concern basis และ loss absorption on a gone-concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณที่ผู้ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้งจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบ ที่ ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว นอกจากนี้ กรณีของ Insurance Capital Bond-Additional Tier 1 ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของบริษัทประกันภัยในชวงกอนหรือระหวาง การเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมประกันชีวิตไทย และ/หรือ สมาคมบริษัทประกันวินาศภัยไทยกําหนด เชน ความเสี่ยงที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวาเงินลงทุนใน Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 ดังกลาว เป็นตน (9) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับ Insurance Capital Bond- Additional Tier 1 (10) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 1.2 ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขาย Insurance Capital Bond- Tier 1 ของบริษัทประกันภัย โดยผาน ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัย (ถามี) เนื่องจากเพื่อให้ ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัท ประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จหรือ ไม่ชัดเจน 21 CET1 ratio ที่บริษัทประกันภัยกําหนดต้องสูงกวา 65%

53 2. กรณีเสนอขาย Insurance Capital Bond-Tier 2 2.1 ลักษณะเฉพาะของตราสารและขอมูลที่เกี่ยวของ (1) ลักษณะและเงื่อนไขโดยรวมของ Insurance Capital Bond-Tier 2 โดยระบุความเสี่ยง เฉพาะตัวของตราสารอยางละเอียดและชัดเจน เชน เป็นตราสารที่บริษัทประกันภัยมีสิทธิไถถอนกอน ครบกําหนดชําระคืนภายใตเงื่อนไขที่สํานักงาน คปภ. กําหนดและไม่มีขอกําหนดให้ผู้ถือสามารถไถถอน กอนกําหนด การกําหนดเงื่อนไข loss absorption on a gone-concern basis และความเสี่ยงและผลกระทบ ต่อผู้ลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ เป็นตน (2) เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะและความเสี่ยงของ Insurance Capital Bond- Tier 2 และตราสารหนี้ทั่วไป โดยไม่ทําให้ผู้ลงทุนเขาใจผิดวาหลักทรัพย์ทั้งสองประเภทสามารถเปรียบเทียบ กันได้ เชน เปรียบเทียบผลตอบแทนอยางเดียว โดยไม่รวมถึงขอมูลผลกระทบดานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก Insurance Capital Bond-Tier 2 เป็นต น (3) เปรียบเทียบลําดับการชําระหนี้ของผู้ถือ Insurance Capital Bond-Tier 2 กับเจ้าหนี้ บุริมสิทธิ ผู้เอาประกัน ผู้ถือกรมธรรม ผู้รับผลประโยชน เจ้าหนี้สามัญ ตราสารหนี้ประเภทอื่น ๆ หุนสามัญ ฯลฯ ภายใตสถานการณตาง ๆ เชน เมื่อผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรื อถูกพิพากษาให้ล้มละลาย หรือมีการชําระ บัญชีเพื่อการเลิกกิจการ และเมื่อเกิด trigger event เพื่อ loss absorption on a gone-concern basis เป็นตน (4) คํานิยามและองคประกอบของเงินกองทุน [เงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2] และสินทรัพย์เสี่ยง โดยยอ มีสาระสําคัญ และเขาใจได้งาย (5) วิธีการคํานวณ CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR โดยยอและเขาใจได้งาย (6) เปรียบเทียบระหวาง CET1 ratio, Tier 1 ratio และ CAR ที่บริษัทประกันภัยดํารงได้ ณ สิ้นไตรมาสกับ minimum capital requirement และ capital buffer ตามที่สํานักงาน คปภ. กําหนด นอกจากนี้ ให้บริษัทประกันภัยเปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบวา สามารถติดตามอัตราสวน เงินกองทุนดังกลาว ณ สิ้นไตรมาสได้จากหน้าเว็บไซต์ของบริษัทประกันภัยและสํานักงาน คปภ. ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นไตรมาส เนื่องจากการลดลงของอัตราสวนเงินกองทุนที่บริษัทประกันภัยดํารงได้ การไม่สามารถ ปฏิบัติตาม minimum capital requirement ดังกลาวอาจสงผลให้เกิดความเสี่ยงต่อผู้ถือ Insurance Capital Bond-Tier 2 อยางไร (7) แนวทาง/วิธีการคํานวณมูลคาที่ ตราสารถูก write down/write off หรือมูลคา ที่ตราสารถูก convert to equity เมื่อเกิด trigger event ภายใตเงื่อนไขเพื่อ loss absorption on a gone- concern basis พรอมตัวอยางการคํานวณที่ ผู้ ลงทุนเขาใจได้งาย รวมทั้ งมีการจัดทํา worst case scenario analysis เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ/รับทราบผลขาดทุนสูงสุด และผลกระทบที่ผู้ลงทุนอาจได้รับเมื่อเกิด trigger event ดังกลาว

54 นอกจากนี้ กรณีของ Insurance Capital Bond-Tier 2 ที่มีเงื่อนไขการ convert to equity ให้บริษัทประกันภัย เปดเผยให้ผู้ลงทุนทราบถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการกําหนด floor conversion price ที่ระดับรอยละ 50 ของราคาหุนสามัญของบริษัทประกันภัยในชวงกอนหรือระหวางการเสนอขาย ตามแนวทางที่สมาคมประกันชีวิตไทย และ/หรือ สมาคมบริษัทประกันวินาศภัยไทยกําหนด เชน ความเสี่ยง ที่จะได้รับหุนสามัญจากการถูก convert to equity ในมูลคารวมต่ํากวาเงินลงทุนใน Insurance Capital Bond-Tier 2 ดังกลาว เป็นตน (8) ขั้นตอนและกระบวนการในกรณีที่มีการ write down/write off หรือ convert to equity สําหรับ Insurance Capital Bond-Tier 2 (9) อธิบายแผนการขยายธุรกิจในชวง 3 ปขางหน้า 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนจากการเสนอขาย Insurance Capital Bond- Tier 2 ของบริษัทประกันภัย โดยผาน ธพ. หรือ บล. ในเครือของบริษัทประกันภัย (ถามี) เนื่ องจาก เพื่อให้ถูกนับเป็นเงินกองทุนตามเกณฑของสํานักงาน คปภ. จึงอาจสรางแรงจูงใจให้ ธพ. หรือ บล. ในเครือของ บริษัทประกันภัยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อตราสารโดยไม่ชี้แจงถึงความเสี่ยง ชวนเชื่อเกินจริง ให้ขอมูลเป็นเท็จ หรือไม่ชัดเจน

55 ภาคผนวก 6 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน ในกรณีออกและเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (sustainability bond) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 : รายการขอมูล ดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green bond social bond และ sustainability bond และมาตรฐานนิยาม และหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับ สากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ดังกลาวตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) ห รื อ มา ต ร ฐำ น International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้ เพื่ อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) ห ร ื อ มำ ต รฐำ น International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือวิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงินที่ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการ ติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่นของบริษัท ให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของตราสารหนี้ เชน รายงานการใชเงิน ที่ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งควรจัดให้มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน

56 ภาคผนวก 7 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขาย ตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืน ในกรณีออกและเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (sustainability-linked bond) ให้เปดเผย ขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ 1 : รายการขอมูล ดังนี้ (1) มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการออกและเสนอขาย sustainability-linked bond และมาตรฐานนิยาม และหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (“Taxonomy”) (ถามี ) ซึ่งเป็นที่ ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับ สากลที่ผู้ออกตราสารเลือกใช เชน International Capital Market Association Sustainability-linked Bond Principles (“ICMA SLBP”) เป็นตน (2) ตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความยั่ งยืน สําหรับใชเป็นเงื่ อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ ยหรือ การดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ที่กําหนดตามขอ (3) โดยอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ - นิยาม ขอบเขต และวิธีการคํานวณผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน - หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ และ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี ) - คาอางอิงมาตรฐาน (“benchmark”) หรือแหลงอางอิงภายนอก (“external reference”) (ถามี)เพื่อใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน - คาฐาน (“baseline”) และชวงเวลาที่ใชอางอิงเพื่อให้ทราบถึงผลความคืบหน้าของการดําเนินงาน เทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) พรอมหลักการและเหตุผล - กลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน โดยคํานึงถึง ความลับทางการคาและการแขงขัน พรอมระบุผลที่คาดวาจะเกิดจากแผนงานนั้น (เชิงปริมาณในกรณีที่สามารถระบุได้ ) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และระยะเวลา ในการติดตามและวัดผล - ควรระบุการดําเนินการ (fallback mechanism) ของผู้ออกตราสาร ในกรณีที่อาจมีเงื่อนไข ที่ทําให้ไม่สามารถคํานวณตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนที่ตั้งไวได้ และเปดเผยเงื่อนไขดังกลาวให้ชัดเจน เชน การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายหรือหลักเกณฑดานสิ่งแวดลอม หรือการควบรวมกับกิจการอื่น เป็นตน ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) - ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน : ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตรอยละ 10 (พรอมระบุรายละเอียดตามที่กําหนดขางตน เชน หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ออก ตราสารหรือบริษัทในเครือ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) และ กลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จ) - คาฐาน (baseline) : เปรียบเทียบกับปริมาณการปลอยกาซสําหรับป 2563 ซึ่งวัดคา ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2563 (ซึ่งเสนอโดยคณะทํางานดานความยั่งยืนของบริษัทและได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อใชในการ วัดผลความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน)

57 - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ : ภายในวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธ.ค. 2566) โดยภายหลังจากการออกหุนกูจนถึงวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธ.ค. 2566) บริษัทจะ ติดตามและวัดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตปละ 1 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธ.ค. (3) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร - กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลาและความถี่ของการปรับ อัตราดอกเบี้ย และอัตราดอกเบี้ยต่ําสุดหรือสูงสุดที่ผู้ถือตราสารจะได้รับอยางชัดเจน ทั้งนี้ ให้ระบุลักษณะ อัตราดอกเบี้ยที่จายให้ผู้ถือตราสารตามงวดการจายเป็นเปอรเซ็นต (%) และจํานวนเงิน หลักเกณฑการคํานวณ ดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับ ภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุดหรือต่ําสุด) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และ จํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับ เปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ให้อธิบายวาเป็นการดําเนินการที่เพิ่มขึ้นหรือแตกตางจากสิ่งที่ผู้ออกตราสารต้อง ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนตามปกติ (ถามี) กอนการเสนอขาย sustainability- linked bond อยางไร ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) (1) กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย (ผู้ออกปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยหากทําตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ไม่สําเร็จ (step-up coupon)) : 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือน กระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื่อเทียบ กับคาฐาน และผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ (“external review provider”) ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป ( ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม ) 2. กรณีที่ผู้ออกไม่ สามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่ หุ นกู อายุครบ 3 ป หากผู้ ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผลผู้ถือ ตราสารจะได้รับดอกเบี้ ยเพิ่ มขึ้ นจากอัตราเดิม 0.25% โดยอัตรา ดอกเบี้ยใหมที่ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป เริ่มจากวันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจะคงที่อัตราดังกลาวจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย

58 ตัวอยาง อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ ผู้ลงทุนมีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูสงเสริมความยั่งยืนอายุ 6 ป ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อป ณ วันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย ผู้ถือตราสารจะได้รับชําระดอกเบี้ยเป็นเงินสดแบงได้เป็น 2 กรณี ได้แก 1) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 13 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป หรือจํานวน 100 บาท (ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม) 2) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากอัตราเดิม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ยใหม ที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป หรือจํานวน 125 บาท (2) กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดให้ผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทําตาม ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) :

59 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงาน รับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตาม ภาระผูกพัน ที่กําหนด 2. กรณีที่ผู้ออกไม่ สามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ ออกจะซื้ อคารบอนเครดิตจากตลาดซื้ อขายคารบอนเครดิต ที่ เป นที่ ยอมรั บในระดั บประเทศหรื อระดั บสากล ในมู ลคา ที่เทียบเทากับการปรับอัตราดอกเบี้ยหุนกูเพิ่มขึ้นรอยละ 0.25 ต่อป หรือในปริมาณทั้งหมด 5,000 ตัน ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2567 ทั้งนี้ กอนการเสนอขายหุนกู ผู้ออกไม่มีภาระหน้าที่ในการซื้อ คารบอนเครดิต (4) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลภายหลังการเสนอขาย ให้เปดเผยประเภท พรอมชองทาง และความถี่ของการเปดเผยรายงานดังต่อไปนี้ โดยกําหนดให้รายงานจนกวาจะครบอายุตราสาร - รายงานผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน จัดทําโดย ผู  ออกตราสาร โดยเปรี ยบเที ยบและวั ดจาก benchmark, external reference หรื อ baseline (ถำมี) อยางนอยปละครั้ง และ ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทาง อื่นใดที่ผู้ ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงเฉพาะรายงาน ณ รอบป ประเมินผลต่อสํานักงาน - รายงานความเห็นหรือการรับรองเกี่ยวกับผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและ เปาหมายดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสาร จัดทําโดย external review provider ซึ่งให้ความเห็นหรือรับรอง ผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จ อยางนอย ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี ) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงรายงานต่อสํานักงาน (5) การให้ความเห็นหรือการรับรองโดย external review provider ให้เปดเผยขอมูลดังนี้ - คุ ณสมบั ติ ของ external review provider ที่ ได้รั บการแต่ งตั้ ง ซึ ่ งเป นไปตามที่ กําหนด ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม และขอบเขตในการประเมินของ external review provider - ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider เกี่ยวกับกรอบและลักษณะ การเสนอขายตราสาร (framework) วำเป นไปตามมาตรฐานสําหรั บ sustainability-linked bond และ Taxonomy (ถามี) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP เป็นตน และระบุ ชองทางการเปดเผยรายงานดังกลาว ได้แก เว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึง ได้โดยสะดวก

60 - ควรระบุเงื ่ อนไข รวมถึ งขั ้ นตอนและหนำที ่ ของผู  ออก ในกรณี ที่อาจมี เหตุ จําเป็น ในการปลี่ยนแปลง external review provider (6) ความเสี ่ ยงและผลกระทบต อผู  ถื อตราสารจากเปำหมายและตั วชี ้ วั ดดำนความยั ่ งยืน ที่กําหนด หรือภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ตามที่ระบุในขอ (2) และ (3) ตามลําดับ

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (MTN) (แบบ 69-PO-MTN) แบบ 69-PO-MTN ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชนทั่วไป ในลักษณะโครงการ มี 3 สวน ดังต่อไปนี้ สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING 1 ใชสําหรับการยื่นประกอบกับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก และสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งต่อไป โดยอางอิงจากสวนที่ 1 ที่ได้ยื่นไวในครั้งแรก และอางอิง ขอมูลในสวนที่ 3 การปรับปรุงขอมูลบริษัทกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนดไว สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT ใช สําหรับการปรับปรุงขอมูลบริษัทกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนด ไวตามสวนนี้ หมายเหตุ 1 ในกรณีครั้งใดเสนอขายตราสารหนี้ต่อเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ หรือผู้ลงทุน รายใหญพิเศษ ให้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING) ได้โดยอนุโลม

2 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PO-MTN) สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายแบบโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขายในรอบ 2 ป (Medium Term Note Program : “MTN”) - ให้ระบุลักษณะสําคัญของโครงการตราสารหนี้ที่คาดวาจะเสนอขาย เชน ชื่อโครงการ ประเภทตราสารหนี้ จํานวน มูลคาเสนอขายรวม บุคคลที่เสนอขายตราสารหนี้ให้ วันที่ได้รับอนุญาตโครงการวันเริ่มเสนอขาย และวันสิ้นสุดการเสนอขายตามโครงการ เป็นตน ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ ออกตราสารหนี้ และเงื่ อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้ งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็นการ แสดงวาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้ ประกันราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของ ขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ออกตราสารหนี้ หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้มีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาด ขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือเจ้าของ ตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายใน หนึ่ งปนับแต่วันที่ ได้รู หรือควรได้รู วาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ เป็นเท็จหรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้มีผลใชบังคับ”

3 ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมในแต่ละกรณี ดังนี้ - ในกรณีการเสนอขายหุนกูในชวงเวลาเดียวกับการเสนอขายหนวยทรัสต (“concurrent offering”) ที่ไม่มีการรับประกันการจัดจําหนาย (best effort) ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนเพิ่มวา “อาจมีความเสี่ยงที่ไม่สามารถ จัดตั้ งกองทรัสต หรืออาจไม่สามารถระดมทุนตามที่ คาดไว ซึ่ งการเกิดเหตุการณดังกลาวจะทําให้ ผู้ลงทุนเกิดตนทุนคาเสียโอกาสได้” - ในกรณีที่ ผู้ ออกหุ นกูเป็นกองทรัสตเพื่ อการลงทุนในโครงสรางพื้ นฐานเพื่ อผู้ ลงทุนรายใหญ (กอง Infra Trust – รายใหญ) ซึ่งมีการลงทุนในโครงการที่ยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย ให้ระบุคําเตือนเกี่ยวกับ มูลคา/สัดสวนสินทรัพย์ของกอง Infra Trust ที่อยู่ระหวางกอสรางและยังไม่กอรายได้เชิงพาณิชย และ มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงที่สินทรัพย์ดังกลาวอาจสรางไม่เสร็จ หรือเสร็จลาชากวากําหนด หรือมีตนทุนการกอสรางสูงกวาที่ประมาณการไว”

4 การพิจารณาระยะเวลามีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูล ในการแสดงขอมูลประกอบการพิจารณาระยะเวลาการมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูล ให้แนบหนังสือรับรองที่ ระบุหน้าที่ ในการสงงบการเงินและรายงานการเปดเผยขอมูลตามมาตรา 56 ของผู้ออกตราสารหนี้ รวมทั้งลักษณะของขอกําหนดสิทธิของหุนกูที่เสนอขายครั้งนี้ดังนี้ 1. ขอมู ลผู้ออกตราสารหนี้ ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้มีลักษณะใดดังนี้  1.1 บริษัทมีหน้าที่ นําสงงบการเงินและรายงานเกี่ ยวกับฐานะทางการเงิ นหรือ ผลการดําเนินงานตามมาตรา 56  1.2 บริษัทไม่มีหน้าที่ นําสงงบการเงินและรายงานเกี่ ยวกับฐานะทางการเงินหรือ ผลการดําเนินงานตามมาตรา 56 2. กรณีเสนอขายหุนกู ให้ระบุวาขอกําหนดสิทธิสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้เป็นลักษณะใดดังนี้  2.1 ขอกําหนดสิทธิเป็นไปตามตัวอยางที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ของสํานักงาน  2.2 ขอกําหนดสิทธิและเงื่อนไขตามขอกําหนดสิทธิฉบับที่ยื่นไม่แตกตางจาก ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นต่อสํานักงานมาแล้วไม่เกิน 1 ปนับแต่วันที่ขอกําหนดสิทธิที่เคยยื่นนั้นได้เปดเผยต่อ สาธารณชน เวนแต่ เป็นความแตกตางในผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ แต่ไม่รวมถึงความแตกตางของสูตรหรือ วิธีการที่ใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทน (ระบุวันที่มีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลที่ออกตาม ขอกําหนดสิทธิดังกลาว)  2.3 กรณีอื่น ๆ ที่ไม่เขาขายตาม 2.1 และ 2.2 3. กรณี 2.2 หรือ 2.3 ให้สรุปสาระสําคัญของความแตกตางของขอกําหนดสิทธิสําหรับการเสนอขาย ในครั้งนี้กับขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน (รายละเอียดสามารถอางอิงเอกสารแนบ 6)

5 สารบัญ หน้า สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (executive summary) 6 สวนที่ 2 ผู้ออกตราสารหนี้ 7 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย 10 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลรายการขอมูล/โครงการตราสารหนี้ 17 ที่จะเสนอขาย) เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 รางขอกําหนดสิทธิ เอกสารแนบ 2 รางสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุนกู เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบโดยตรง ในการควบคุมดูแลการทําบัญชี เลขานุการบริษัทและตัวแทนติดต่อประสานงานกรณีเป็น บริษัทตางประเทศ เอกสารแนบ 4 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย เอกสารแนบ 5 งบการเงินประจํางวดปบัญชีลาสุด และงบการเงินงวดไตรมาสลาสุด เอกสารแนบ 6 ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและ ผู้ ถือหุ นกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ ของ ผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (ถามี) เอกสารแนบ 7 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน และหัวหน้างานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ของบริษัท (compliance) เอกสารแนบ 8 ทรัพย์สินที่ใชในการประกอบธุรกิจและรายละเอียดเกี่ยวกับรายการประเมินราคาทรัพย์สิน เอกสารแนบ 9 นโยบายและแนวปฏิบัติการกํากับดูแลกิจการ ฉบับเต็ม และจรรยาบรรณธุรกิจฉบับเต็มที่ บริษัทได้จัดทํา เอกสารแนบ 10 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เอกสารแนบ 11 อื่น ๆ ภาคผนวก ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจสําหรับ การเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท ภาคผนวก 2 การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต

6 สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (executive summary) 1. ให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลผู้ออกตราสารหนี้โดยยอ เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจภาพรวมของการดําเนินธุรกิจ ของผู้ออกตราสารหนี้ (ควรสรุปขอมูลให้อยู่ภายใน 2 หน้ากระดาษ) 2. ประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น และการผิดเงื่อนไข ในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 3. กรณีผู้ออกเป นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ 3.1 สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3.2 สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3.3 สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ผู้ลงทุนควรอานรายละเอียดขอมูลในสวนที่ 2 และสวนที่ 3 กอนตัดสินใจจองซื้อตราสารหนี้) 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา (lease) เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

7 สวนที่ 2 ผู้ออกตราสารหนี้ 1. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยแบงเป็น 2 กรณีดังนี้ 1.1 กรณีผู้ ออกตราสารหนี้ มีหน้าที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลประจําปต่อสํานักงานหรือ เพิ่งยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ต่อประชาชน และแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาว มีผลใชบังคับไม่เกิน 1 ป ให้บริษัทเปดเผยขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป งวดปลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ที่เคยจัดสงต่อสํานักงาน และปรับปรุง ขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย รวมทั้ง ให้เปดเผยขอมูลคําอธิบายและการวิเคราะหของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสม ตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 1.2 กรณีอื่นนอกจาก 1.1 ให้ผู้ออกตราสารหนี้เปดเผยขอมูลที่เป็นปจจุบัน โดยมีหัวขอและ รายละเอียดเป็นไปตามแบบแสดงรายการขอมูลประจําปโดยอนุโลม รวมถึง ให้แสดงขอมูลจากงบการเงิน และอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญที่สะทอนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในธุรกิจหลักของบริษัท และบริษัทยอย อยางนอยต้องมีขอมูลเปรียบเทียบ 2 ปที่ผานมา (เป็นงบการเงินปลาสุดที่ผานการตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและงบการเงินปยอนหลังอีก 1 ป) ทั้งนี้ ให้เปดเผยขอมูล MD&A สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ต นปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 2. ขอมูลเฉพาะสําหรับผู้ออกตราสารหนี้ 2.1 เพิ่ มเติมขอมูลเกี่ ยวกับภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ ออกตราสารหนี้ (กรณีที่ ออกเป็น ตราสารหนี้ไม่มีประกัน) และยอดหนี้คงคางในการออกหุนกูครั้งกอน 2.2 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 1 2.3 เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้เฉพาะเจาะจงของผู้ออก ตราสารหนี้ เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีหลักประกันที่มีจํานวนและ มูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู การพึ่งพาการระดมทุน จากตราสารหนี้ เป็นตน นอกจากการเปดเผยความเสี่ยงขางตน การเสนอขายตราสารหนี้ที่เขาขายตาม 2.3.1-2.3.3 ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้

8 2.3.1 กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นหนวยงานภาครัฐ : ให้เปดเผยเพิ่มเติมขอมูลดังนี้ (1) ขอมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงในการได้รับชําระหนี้คืน เนื่องจากผู้ออกตราสารหนี้อาจมี ขอจํากัดเกี่ยวกับการบังคับชําระหนี้ในทรัพย์สินไม่วาจะเป็นขอจํากัดตามกฎหมาย สัญญา หรือขอจํากัดอื่นใด ซึ่งมีผลทําให้ในกรณีที่มีการผิดนัดชําระหนี้ ผู้ถือตราสารหนี้จะไม่สามารถฟ้องรองให้นําทรัพย์สินของผู้ออก ตราสารหนี้ มาชําระหนี้ ได้ และให้เปดเผยขอมูลวาตราสารหนี้ ที่ ออกและเสนอขายไม่ใชตราสารหนี้ ที่กระทรวงการคลังค้ําประกันในเงินตนและดอกเบี้ย (2) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่รองรับการจัดตั้งหนวยงาน และกฎหมาย ที่ให้อํานาจแกหนวยงานในการออกและเสนอขายตราสารหนี้วาอนุญาตให้ออกตราสารหนี้ประเภทใดบาง เชน พันธบัตร หรือหุนกู เป็นตน (3) ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติของหนวยงาน วัตถุประสงคในการจัดตั้งและ อํานาจหน้าที่ตาง ๆ รวมถึงภารกิจหลักหรือธุรกรรมหลักของหนวยงาน นอกจากนี้ให้อธิบายเกี่ยวกับนโยบาย ในการดําเนินกิจการของหนวยงานด้วย (4) ให้อธิบายเกี่ยวกับแหลงเงินทุนของหนวยงาน ที่มาของแหลงเงินทุนดังกลาว ในกรณีที่หนวยงานได้รับการแบงสรรงบประมาณจากภาครั ฐหรือจากงบประมาณกลาง ให้ระบุรายละเอียดด้วย (5) ให้อธิบายเกี่ยวกับรายรับรายจายของหนวยงานเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบและ ประเมินได้วาหนวยงานมีคาใชจายและมีรายได้มาจากแหลงใด 2.3.2 กรณีผู้เสนอขายตราสารหนี้เป็นกิจการตางประเทศ : ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติม เกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่ องจากไม่ได้มีถิ่นที่ อยู่ ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหา ความแตกตางของกฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด วย (2) ผลกระทบที่ผู้ถือตราสารหนี้ของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมาย ของประเทศที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุม การเขาออกเงินระหวางประเทศ (ถามี ) (3) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อการชําระ ราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ (4) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือการตัดสินใจ ของผู้ ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (5) ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค (6) ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี )

9 2.3.3 กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย : (“สํานักงาน สาขา”) ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของสํานักงานใหญ (หมายถึง ธนาคาร ตางประเทศทั้ งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชี ในงบการเงินที่ สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่ อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้ งแสดง ขอผูกพันตามขอกําหนดสิทธิที่ระบุวาสํานักงานสาขาจะดํารงฐานะ การชําระหนี้ให้ไม่ได้รับผลกระทบจาก การที่สํานักงานสาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขาเป็น สวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ - ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ล้มละลาย ซึ่งผู้ถือตราสารหนี้อาจไม่สามารถ ขอรับชําระหนี้หรือฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้งนี้ หากมี การเปดเผยอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ของสํานักงานใหญอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ ตามตราสารหนี้ ของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดกรณีล้มละลาย อนึ่ง ในกรณีการออกตราสารหนี้ที่เลือกจัดอันดับความนาเชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ออกตราสารหนี้ประสงคจะเปดเผยเฉพาะอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ โดยจะไม่จัดให้มี การจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานสาขา ให้เปดเผยเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงลาสุดของสํานักงานสาขา ซึ่งได้ปรับปรุงผลกระทบหากมีการนําเงินที่ได้จากการออกตราสารหนี้ทั้งหมดไปกอให้เกิดเป็นสินทรัพย์เสี่ยง เต็มจํานวนด้วย 2.4 ให้แสดงจํานวนพนักงานทั้งหมด และจํานวนพนักงานในแต่ละสายงานหลักและในกรณีที่บริษัท มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนพนักงานอยางมีนัยสําคัญ หรือมีขอพิพาทดานแรงงานที่สําคัญในระยะ 3 ปที่ผานมา ให้อธิบายเหตุผลและนโยบายในเรื่องดังกลาว รวมถึงความสัมพันธระหวางผู้บริหารและสหภาพแรงงาน (ถามี) นอกจากนี้ ให้แสดงผลตอบแทนรวมของพนักงานและอธิบายลักษณะผลตอบแทนนั้น (เชน เป็นเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เป็นตน) รวมทั้งอธิบายนโยบายในการพัฒนาพนักงาน การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม กรณีการเสนอขายตราสารหนี้อื่น ๆ กรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต : ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมตามหัวขอที่กําหนดในภาคผนวก 2: การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต

10 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ ที่จะเสนอขาย 1. รายละเอียดของโครงการตราสารหนี้ที่ จะเสนอขาย ในกรณีที่โครงการตราสารหนี้ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูล ในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของโครงการตราสารหนี้จะที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญ ของตราสารหนี้ที่จะเสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน สรุปสาระสําคัญของขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกูสําหรับโครงการ MTN (master terms and conditions) และสัญญาแต่งตั้ง ผู้แทนผู้ถือหุนกู วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของ สัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน กรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุนกูที่ได้รับการแต่งตั้งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ให้เปดเผย ความสัมพันธดังกลาวไวด้วย 2. ขอมูลอื่น ๆ ของตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ในกรณีที่โครงการตราสารหนี้อาจมีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (“green bond”) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (“social bond”) และตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (“sustainability bond”) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green bond social bond และ sustainability bond และมาตรฐาน นิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือ ระดับสากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ดังกลาว ตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) ห รื อ มา ต ร ฐำ น International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ ใช ในการประเมิ นและคั ดเลื อกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐาน หรือ วิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง

11 (4) การบริ หารจั ดการเงิ นที ่ ได้ จากการระดมทุ น (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่น ของบริษัทให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของตราสารหนี้ เชน รายงานการใชเงิน ที่ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งควรจัดให้มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารยังไม่สามารถระบุขอมูลตาม (1) - (5) ผู้ออกสามารถเปดเผยขอมูล ขั้ นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลให้ผู้ ลงทุนรับทราบโดยการยื่ นแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง 2.2 ในกรณีที่โครงการตราสารหนี้อาจมีการเสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืน (“sustainability- linked bond”) ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาต และการอนุญาตให้เสนอขาย ตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานที ่ เกี ่ ยวข องกั บการออกและเสนอขาย sustainability-linked bond และมาตรฐานนิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (“Taxonomy”) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศหรือระดับสากลที่ผู้ออกตราสารเลือกใชหรือคาดวาจะใช เชน International Capital Market Association Sustainability-linked Bond Principles (“ICMA SLBP”) เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารยังไม่สามารถระบุได้วาจะเลือกใชมาตรฐานใด ผู้ออกสามารถ เปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลมาตรฐานที่เลือกใชจริงให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่น แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา มาตรฐานที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ : sustainability-linked bond ของบริษัท จะเป็นไปตามมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP ทั้งนี้ มาตรฐาน ที่จะนํามาใชอางอิง ในการขออนุญาตเสนอขาย sustainability-linked bond ในแต่ละครั้งภายใตโครงการ จะเป็นไปตามที่ระบุไวในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) สําหรับการออกและ เสนอขายหุนกูแต่ละครั้ง (2) ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน สําหรับใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือ การดําเนินการตามภาระผูกพันแล้วแต่กรณีของตราสารที่กําหนดตามขอ (3) โดยอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ - นิยาม ขอบเขต และวิธีการคํานวณผลความสําเร็จตามตัวชี้ วัดและเปาหมาย ดานความยั่งยืนที่กําหนด

12 - หลักการและเหตุผล ความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ และกระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี ) - คำอำงอิ งมาตรฐาน (“benchmark”) หรือแหล งอำงอิ งภายนอก (“external reference”) (ถามี) ที่ใชหรือคาดวาจะใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมาย ดานความยั่งยืน - คาฐาน (“baseline”) และชวงเวลาที่ใชหรือคาดวาจะใช เพื่อให้ทราบถึงผลความคืบหน้า ของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี) พรอมหลักการและเหตุผล - กลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน โดยคํานึงถึงความลับทางการคาและการแขงขัน พรอมระบุผลที่คาดวาจะเกิดจากแผนงานนั้น (เชิงปริมาณ ในกรณีที่สามารถระบุได้) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และ ระยะเวลาในการติดตามและวัดผล - ควรระบุการดําเนินการ (fallback mechanism) ของผู้ออกตราสาร ในกรณีที่อาจมี เงื่อนไขที่ทําให้ไม่สามารถคํานวณตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนที่ตั้งไวได้ และเปดเผยเงื่อนไขดังกลาว ให้ชัดเจน เชน การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายหรือหลักเกณฑดานสิ่งแวดลอม หรือการควบรวมกับกิจการอื่น เป็นตน ทั้งนี้ ผู้ออกสามารถเปดเผยตัวเลขเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืน รายละเอียด benchmark external reference หรือ baseline ที่เลือกใช รวมถึงกรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและ เปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ ที่ใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณีของตราสาร สําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้ งได้ในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน คือการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต (พรอมระบุรายละเอียดตามที่กําหนดขางตน เชน หลักการและเหตุผลความสอดคลองกับธุรกิจของผู้ออก ตราสารหรือบริษัทในเครือ กระบวนการกําหนดและคัดเลือกตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน (ถามี ) และ กลยุทธหรือแนวทางที่นําไปสูความสําเร็จ) ทั้ งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายละเอียดเกี่ ยวกับตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ได้แก ตัวเลขและ กรอบระยะเวลาที่ต้องทําให้สําเร็จสําหรับ sustainability-linked bond แต่ละรุนไวในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) สําหรับการออกและเสนอขายแต่ละครั้ง (3) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร - กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา และความถี่ ของการปรับอัตราดอกเบี้ยที่จะกําหนดหรือคาดวาจะกําหนดเป็นเงื่อนไข โดยให้ระบุลักษณะอัตราดอกเบี้ย ที่ จายให้ผู้ ถือตราสารตามงวดการจาย หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ ย เงื่ อนไขอื่ นที่ เกี่ ยวของกับ

13 การจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงลักษณะอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุดหรือต่ําสุด) ทั้งนี้ ผู้ออกสามารถเปดเผยรายละเอียด รอบเวลา และความถี่ในการปรับอัตราดอกเบี้ย สําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้งได้ในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และจํานวนเงินที่ต้องใช หรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับ เปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ ที่จะกําหนดหรือคาดวาจะกําหนด เป็นเงื่อนไข โดยให้ระบุลักษณะการดําเนินการของผู้ออกภายใตสถานการณตาง ๆ ทั้งนี้ ในกรณีที่ยังไม่สามารถระบุได้วาผู้ออกจะมีภาระผูกพันในการดําเนินการ ลักษณะใด ผู้ออกสามารถเปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้วาจะกําหนดให้มีการดําเนินการตามภาระผูกพันของ ผู้ออก ซึ่งสอดรับกับเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ พรอมระบุวา จะเปดเผยรายละเอียดลักษณะการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสารที่จะกําหนดเป็นเงื่อนไข ให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่นแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขาย แต่ละครั้ง และจะเปดเผยรอบเวลา ความถี่ และจํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี) ของการดําเนินการ สําหรับการเสนอขายตราสารแต่ละครั้งในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (1) กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย : ผู้ออกปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยหากทําตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความ ยั่งยืนไม่สําเร็จ (“step-up coupon”) 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ xx เมื ่ อเที ยบกั บคำฐาน และผู  ประเมิ นภายนอกที ่ เป นอิ สระ (“external review provider”) ออกรายงานรั บรองผล ผู  ถือ ตราสารจะได้รั บดอกเบี ้ ย xx% ต อป (ไม่เปลี่ ยนแปลงจาก อัตราเดิม ) 2. กรณี ที ่ ผู  ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ xx เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากอัตราเดิม xx% โดยอัตรา ดอกเบี้ยใหม ที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ xx% ต่อป เริ่มจากวันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังรอบปประเมินผล และจะคงที่อัตรา ดังกลาวจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย

14 (2) กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทําตามตัวชี้วัดและ เปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) : 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ xx เมื ่ อเที ยบกั บคำฐาน และ external review provider ออก รายงานรับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตามภาระผูกพัน ที่กําหนด 2 . กรณี ที ่ ผู  ออก ไม่ สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ x ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ต่ํากวารอยละ xx เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ออกจะซื้อคารบอนเครดิตในปริมาณและระยะเวลาที่กําหนด จากตลาดซื้อขายคารบอนเครดิตที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายละเอียด รอบเวลา และความถี่ในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการ ตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี สําหรับ sustainability-linked bond แต่ละรุ นไวในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) สําหรับการออกและเสนอขายแต่ละครั้ง (4) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลภายหลังการเสนอขายให้เปดเผยประเภท พรอมชองทางและความถี่ของการเปดเผยรายงานดังต่อไปนี้ โดยกําหนดให้รายงานจนกวาจะครบอายุตราสาร - รายงานผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน จัดทําโดยผู้ออกตราสาร โดยเปรียบเทียบและวัดจาก benchmark, external reference หรือ baseline 1. กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน 2. กรณีที่ผู้ออกไม่ สามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน

15 (ถามี) อยางนอยปละครั้ง และ ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือ ชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงเฉพาะรายงาน ณ รอบปประเมินผลต่อ สํานักงาน - รายงานความเห็นหรือการรับรองเกี่ยวกับผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตาม ตั วชี ้ วั ดและเปำหมายดำนความยั ่ งยื นของผู  ออกตราสาร จั ดทําโดย external review provider ซึ่งให้ความเห็นหรือรับรองผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จอยางนอย ณ รอบปประเมินผล ทั้งนี้ ให้เผยแพรผานทางเว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุนสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก พรอมนําสงรายงานต่อสํานักงาน (5) การให้ความเห็นหรือการรับรองโดย external review provider ให้เปดเผยขอมูลดังนี้ - คุณสมบัติของ external review provider ที่ได้รับการแต่งตั้ง ซึ่งเป็นไปตามที่กําหนด ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม และขอบเขตในการประเมินของ external review provider - ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider เกี่ยวกับกรอบ และลักษณะการเสนอขายตราสาร (framework) วาเป็นไปตามมาตรฐานสําหรับ sustainability-linked bond และ Taxonomy (ถามี) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล เชน ICMA SLBP เป็นตน และระบุชองทางการเปดเผยรายงานดังกลาว ได้แก เว็บไซต์ของผู้ออก (ถามี) หรือชองทางอื่นใดที่ผู้ลงทุน สามารถเขาถึงได้โดยสะดวก - ควรระบุ เงื่อนไข รวมถึงขั้นตอนและหน้าที่ของผู้ออก ในกรณีที่ อาจมีเหตุจําเป็นในการ เปลี่ยนแปลง external review provider ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารยังไม่ได้แต่งตั้ง external review provider ให้ระบุวา ก อนการเสนอขายตราสาร ผู้ออกจะดําเนินการแต่งตั้ง external review provider ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่ กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ ส งเสริ มความยั ่ งยื นที ่ ออกใหม และจะเป ดเผยข อมู ลขำงต นให้ ผู  ลงทุ นรั บทราบโดยการยื่น แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง ตัวอยางการเปดเผยขอมูลขั้นต่ํา การแต่ งตั ้ ง external review provider : ในการออก sustainability-linked bond บริ ษั ทจะจั ดให้ มี external review provider ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวา ด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้สงเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม เพื่อให้ความเห็น หรือรับรองเกี่ยวกับกรอบและลักษณะการเสนอขายตราสาร (framework) วาเป็นไปตามมาตรฐานสําหรับ sustainability-linked bond และ Taxonomy (ถามี) ที่ เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล

16 โดยบริษัทจะเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของexternal review provider ที่ได้รับการแต่งตั้ง ขอบเขตในการประเมิน ผลการให้ความเห็นหรือการรับรองของ external review provider และเงื่อนไข รวมถึง ขั้นตอนและหน้าที่ของผู้ออก กรณีที่มีเหตุจําเป็นในการเปลี่ยนแปลง external review provider (ถามี) ไวใน แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) สําหรับการออกและเสนอขายหุนกูแต่ละครั้ง (6) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ถือตราสารจากเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืนที่ กําหนด หรือภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ตามที่ระบุในขอ (2) และ (3) ตามลําดับ

17 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลรายการขอมูล/โครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย) 1 ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบี ยน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใชผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน การลงลายมือ ชื่อดังกลาวต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหนงบริ หารสูงสุดหรือผู้  ที่ได้  รับมอบหมายให้  รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการ ขอมูล 2 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน/ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ ผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูล ดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของ ขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใดยังไม่สามารถลง ลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้น ลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะ ไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้อง จัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและ สมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

18 1.2 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทที่ ไม่มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของ แบบแสดงรายการขอมูล 3 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ / ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด /ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดั งกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้า ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ ได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการเปดเผยขอมูล ที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ออกตราสารหนี้ได้เปดเผยขอมูลในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ออกตราสารหนี้และ บริษัทยอยอยางถูกต้องครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุม ภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของผู้ ออกตราสารหนี้ แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” 3 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

19 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

20 1.3 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ซึ่งได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 4 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

21 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่ อพรอมทั้ งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบ แสดงรายการขอมูล 5 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ กําหนด

22 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่ นที่ มีความเชี่ ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึ กษาทางการเงินต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ที่ปรึกษา ทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือ เป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

23 เอกสารแนบ 6 ความแตกตางระหวางตัวอยางขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (“ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน”) และขอกําหนดวาด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู สําหรับ “ (ชื่อหุนกู) ” หัวขอ ขอกําหนดสิทธิมาตรฐาน ขอกําหนดสิทธิของหุนกู เหตุผล 1 1 อธิบายเหตุผลที่ขอกําหนดสิทธิของหุนกูแตกตางจากขอกําหนดสิทธิมาตรฐานเฉพาะในกรณีที่มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ จนทําให้กระทบสิทธิของผู้ถือหุนกู

24 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราส วนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง ( Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

25 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิ น ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย ( รวมคาบําเหน็จ ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย

26 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสิน ทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย

27 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 5 ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงินประเภท เดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางปสําหรับงวดป กอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารงอัตราสวน ทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

28 ภาคผนวก 2 : การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมกรณีเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ในกรณีออกและเสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ตามประกาศวาด้วยการขออนุญาตและ การอนุญาตให้เสนอขายหุนกูที่ออกใหมของกองทรัสต ให้เปดเผยขอมูลตามหัวขอที่กําหนดดานลางนี้ แทนขอมูลสวนที่ 2 ขอ 1. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน ให้ปรับปรุง จากขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบ 69-REIT และ/หรือแบบ 69-IFT ลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูล ประจําปที่เคยจัดสงต อสํานักงานขางตน และปรับปรุงขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย กรณี การทํา concurrent offering ของกองทรั สต ให้ ผู  ออกตราสารหนี ้ อำงอิ งข อมูลจาก แบบ 69–REIT/69-IFT ได้ รวมถึงให้เปดเผยผลการดําเนินงานของสินทรัพย์ของผู้ออกตราสารหนี้ยอนหลัง 2 ป หรือหากมีขอมูลยอนหลังนอยกวา 2 ปให้เปดเผยเทาที่มีในหัวขอขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน สวนที่ 2 ขอ 1. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ออกตราสารหนี้ ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน 1. ขอมูลทั่วไป 2 วัตถุประสงคของการเสนอขายหนวยทรัสต 3 ขอมูลอสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุน 4. การจัดหาผลประโยชนจากอสังหาริมทรัพย์ 5. โครงสรางและการดําเนินงานของกองทรัสต 6. ปจจัยความเสี่ยง 7. ภาพรวมของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุน 8. ผู้จัดการกองทรัสต 9. ทรัสตี 10. อัตราและวิธีการเก็บคาธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บจากผู้ซื้อหนวยทรัสต หรือกองทรัสต 11. นโยบายการกูยืมเงิน 12. นโยบายการจายผลประโยชน และขอจํากัด 13. นโยบายการลงทุนในอนาคต 14. การเลิกกองรีท กรณีเสนอขายหุนกูภายหลังจัดตั้งกองทรัสต ให้เพิ่มเติมขอมูลดังต่อไปนี้ 15. ขอพิพาทหรือขอจํากัดสิทธิในการจัดสรรผลประโยชนจากอสังหาริมทรัพย์ 16. รายการระหวางกัน 17. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทรัสต 18. ข อมูลอื่นที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้ออกตราสารหนี้ ในการรับรองความถูกต้องของ ขอมูลตาม สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล ให้ใชการรับรองความถูกต้อง ดังนี้

29 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (ขอมูลสวนผู้ออกตราสารหนี้) 1. ขอมูลสวนผู้ออกตราสารหนี้ (กรณีผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต) ให้กรรมการทุกคนของผู้จัดการกองทรัสตลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 6 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอ ขายตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. ในฐานะผู้จัดการกองทรัสต และในฐานะผู้ได้รับมอบหมายจากทรัสตีให้ดําเนินการแทน กองทรัสต (ให้แนบหนังสือมอบอํานาจจากทรัสตีมาพรอมด้วย) ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ ผู้รับมอบอํานาจ หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 6 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

30 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PO-MTN) สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) เสนอขาย … … … ขอมูลตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ประเภทตราสารหนี้ จํานวน ราคาเสนอขาย ต่อหนวย บุคคลที่เสนอขายตราสารหนี้ให้ ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ หรือผู้ออก ตราสารหนี้ หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้หรือการค้ําประกันประเภทอื่น ๆ - ให้ระบุรายละเอียดสําคัญอื่นของการเสนอขายตราสารหนี้ เชน ผู้ประกันการจําหนายและ จัดจําหนาย บริษัทหลักทรัพย์ที่ทําหน้าที่จําหนายตราสารหนี้ ที่ปรึกษาทางการเงิน วันที่แบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (“แบบแสดงรายการขอมูล”) มีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขาย กรณีที่มีจํานวนตราสารหนี้ที่ขายได้นอยกวาจํานวนตราสารหนี้ขั้นต่ําที่ผู้ออกตราสารหนี้กําหนด เป็นตน - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลตามแบบแสดงรายการขอมูลที่ผู้ออกตราสารหนี้ได้ยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) รวมทั้ง ขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) เมื่อวันที่ (ระบุ) ถือเป็นขอมูลสวนหนึ่งของแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING) ฉบับนี้ด้วย” - กรณีจะเสนอขายเฉพาะ II หรือ HNW/UHNW สามารถปรับสวนที่เกี่ยวของกับผู้ลงทุนในแบบแสดง รายการขอมูลให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการออก ตราสารหนี้และเงื่อนไขของตราสารหนี้ รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือมิได้ ประกันราคาหรือผลตอบแทนของตราสารหนี้ที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้แต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรอง ความถูกต้องครบถวนของ ขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้เป็นความรับผิดชอบของผู้ออกตราสารหนี้

31 หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้มีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือตราสารหนี้ที่ได้ซื้อตราสารหนี้ไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัท หรือเจ้าของตราสารหนี้ได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้เป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้มีผลใชบังคับ”

32 สวนที่ 1 รายการขอมูล สรุปขอมูลสําคัญของตราสารหนี้ (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขายในครั้งนั้น โดยจัดทําตาม แบบที่กําหนดในประกาศที่เกี่ยวของ 1. การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม 1.1 วัตถุประสงคการใชเงิน บริษัท ประกอบธุรกิจ โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญที่ เลขทะเบียนบริษัท Home Page (ถามี) โทรศัพท/โทรสาร มีวัตถุประสงคในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายตราสารหนี้ครั้งนี้ประมาณ ลานบาท ไปใชดังนี้ วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินที่ใช โดยประมาณ ระยะเวลา ที่ใชเงิ น โดยประมาณ รายละเอียด 1. เพื่อใชในการซื้อสินทรัพย์ หรือลงทุนในกิจการที่เกี่ยวของ กับการดําเนินธุรกิจปจจุบัน - กรณี เป นการซื ้ อสิ นทรั พย ให้ อธิ บาย เกี่ยวกับประเภทสินทรัพย์และจํานวนเงินที่ใช โดยประมาณ - กรณีเป็นการลงทุนในกิจการ ให้อธิบาย ลักษณะกิจการที่จะลงทุน สถานะการลงทุน และจํานวนเงินที่ใชโดยประมาณ ทั้ งนี้ กรณีการซื้อสินทรัพย์ หรือลงทุนใน กิจการที่ ไม่เกี่ ยวของกับการดําเนินธุรกิจ ปจจุบัน ให้อธิบายเหตุผลและที่มาของการ เขาไป ซื้ อสินทรัพย์หรือลงทุนในกิจการ ดังกลาวด้วย 2. เพื่อใชในการซื้อสินทรัพย์ หรื อลงทุ น ในกิ จการที ่ ไ ม เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ ปจจุบัน 3. เพื่อชําระคืนเงินกู หรือหนี้ จากการออกตราสารหนี้ - กรณีเป็นการชําระหนี้ที่มีกับกลุ่มที่ปรึกษา ทางการเงินหรือกลุ มตัวกลางในการเสนอ ขายหลั กทรั พย ให้ เป ดเผย terms and conditions ของหนี้ดังกลาวเพิ่มเติมด้วย - กรณีอื่น ๆ ให้เปดเผยอยางนอยในเรื่อง จํานวนเงินและระยะเวลาการใชเงิน 4 . กรณีอื่น ๆ เชน เงินทุนที่ใช หมุนเวียนในกิจการ

33 หมายเหตุ : (1) ให้เปดเผยประมาณการมูลคาเงินที่ใชแยกแต่ละวัตถุประสงคการใชเงิน โดยอาจเปดเผยขอมูลในลักษณะเป็นชวง (range) ที่เหมาะสมได้ และให้เรียงลําดับการใชเงินตามความสําคัญของวัตถุประสงคแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ หากเงินระดมทุน ที่ได้รับในครั้งนี้ไม่เพียงพอสําหรับวัตถุประสงคการใชเงินที่ระบุไว ให้เปดเผยแหลงเงินทุนที่จะจัดหาเพิ่มเติมด้วย (2) หากเป็นการทํารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ให้เปดเผยเป็นรายการระหวางกันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ทั้งนี้ แนวทางการเปดเผยวัตถุประสงคการใชเงินให้เป็นไปตามคู่มือการเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป ที่กําหนดไวบนเว็บไซต์ ของสํานักงาน 1.2 แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) รวมทั้งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 7 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ ตามตราสารหนี้โดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือ 1.3 กรณีผู้ออกเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ (1) สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (2) สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (3) สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 8 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 1.4 ในกรณีที่ตราสารหนี้ที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญ ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูล ในหน้าแรกเพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน สรุปลักษณะสําคัญของตราสารหนี้ ที่เสนอขายเพิ่มเติม วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็น หลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) เป็นตน 1.5 กรณีตราสารหนี้มีอัตราดอกเบี้ยลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทน ที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้ว ทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุน จะได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกตราสารเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน 1.6 สําหรั บการเสนอขาย green bond, social bond และ sustainability bond ให้ เป ดเผย วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) จากตราสารหนี้ที่เสนอขาย ตามที่กําหนด ในขอ 1.1 โดยระบุรายละเอียดการใชเงิน ซึ่งเป็นประโยชนต่อสิ่งแวดลอม ชวยพัฒนาสังคม หรือสงเสริม ความยั่งยืน แล้วแต่กรณี 7 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สินที่มีทรัพย์สินเป็นหลักประกันที่ทําให้เจ้าหนี้หุนกูไม่มี ประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งสงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating)” 8 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

34 ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารเพิ่มเติมหรือแกไขขอมูลตราสารหนี้ในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ให้เปดเผยวาอางอิงจากขอมูลในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO- SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้เคยได้ยื่นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3: แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ 1.7 สําหรับการเสนอขาย sustainability-linked bond ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมจากที่ได้เคย เปดเผยในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) ดังต่อไปนี้ (1) ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน สําหรับใชเป็นเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือ การดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ที่กําหนดตามขอ (2) โดยอธิบายรายละเอียด เพิ่มเติมสําหรับตราสารหนี้ที่เสนอขาย ดังนี้ - นิ ยาม ขอบเขต และวิ ธี การคํานวณผลความสําเร็ จตามตั วชี ้ วั ดและเปำหมาย ดานความยั่งยืน (ตามที่ได้เปดเผยในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) สวนที่ 3 ขอมูล เกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 2.2 (2)) - benchmark หรือ external reference ที่ใชในการเปรียบเทียบและวัดผลความสําเร็จ ตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน หรือ baseline และชวงเวลาที่ใชอางอิงเพื่อให้ทราบถึงผล ความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน พรอมหลักการและเหตุผล (ระบุอยางใดอยางหนึ่ง) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ และระยะเวลา ในการติดตามและวัดผล ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) - ตัวชี้ วัดและเปาหมายดานความยั่ งยืน : ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต รอยละ 10 - คาฐาน (baseline) : เปรียบเทียบกับปริมาณการปลอยกาซสําหรับป 2563 ซึ่งวัดคา ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2563 (ซึ่งเสนอโดยคณะทํางานดานความยั่งยืนของบริษัทและได้รับการอนุมั ติจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อใชในการ วัดผลความคืบหน้าของการดําเนินงานเทียบกับตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน) - กรอบเวลาที่ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืนให้สําเร็จ : ภายในวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธ.ค. 2566) โดยภายหลังจากการออกหุนกูจนถึงวันที่หุนกูครบอายุ 3 ป (วันที่ 31 ธ.ค. 2566) บริษัทจะติดตามและวัดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตปละ 1 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธ.ค. (2) การปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี (ตามที่ได้เปดเผย ในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 2.2 (3)) สําหรับตราสารหนี้ที่เสนอขาย

35 - กรณีการปรับอัตราดอกเบี้ย ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา และความถี่ของ การปรับอัตราดอกเบี้ย และอัตราดอกเบี้ยต่ําสุดหรือสูงสุดที่ผู้ถือตราสารจะได้รับอยางชัดเจน ทั้งนี้ ให้ระบุ ลักษณะอัตราดอกเบี้ยที่จายให้ผู้ถือตราสารตามงวดการจายเป็นเปอรเซ็นต (%) และจํานวนเงิน หลักเกณฑ การคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย (ถามี) รวมถึงให้แสดงอัตราดอกเบี้ยที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ พรอมรูปภาพประกอบ (อยางนอยในกรณีอัตราดอกเบี้ยสูงสุด หรือต่ําสุด) - กรณีการดําเนินการตามภาระผูกพัน ให้อธิบายรายละเอียด เงื่อนไข รอบเวลา ความถี่ และจํานวนเงินที่ต้องใชหรือมูลคา (ถามี ) ของการดําเนินการตามภาระผูกพันของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับ เปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่งยืนของผู้ออก ตราสารหรือบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ให้อธิบายวาเป็นการดําเนินการที่เพิ่มขึ้นหรือแตกตางจากสิ่งที่ผู้ออกตราสาร ต้องปฏิบัติเพื่ อให้บรรลุเปาหมายหรือกลยุทธดานความยั่ งยืนตามปกติ (ถามี) กอนการเสนอขาย sustainability-linked bond อยางไร ตัวอยางการเปดเผยขอมูล (โดยใชขอมูลตราสารที่เสนอขาย) (1) กรณี การปรับอัตราดอกเบี้ย (step-up coupon) : 1 . กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื ่ อเที ยบกั บคำฐาน และ external review provider ออก รายงานรับรองผล ผู้ ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ ย 10% ต่อป ( ไม่เปลี่ย น แปลงจากอัตราเดิม ) 2. กรณี ที ่ ผู  ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ ยเพิ่ มขึ้ นจากอัตราเดิม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ยใหมที่ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป เริ่มจากวันชําระดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจะคงที่อัตราดังกลาวจนถึงวันชําระ ดอกเบี้ยงวดสุดทาย

36 ตัวอยางอัตราดอกเบี้ยที่ผู้ถือตราสารจะได้รับภายใตสถานการณตาง ๆ ผู้ลงทุนมีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูสงเสริมความยั่งยืนอายุ 6 ป ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อป ณ วันชําระ ดอกเบี้ยงวดแรกภายหลังวันที่หุนกูอายุครบ 3 ป (วันที่ 30 มิ.ย. 2567) และจนถึงวันชําระดอกเบี้ยงวดสุดทาย ผู้ถือตราสารจะได้รับชําระดอกเบี้ยเป็นเงินสดแบงได้เป็น 2 กรณี ได้แก 1) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 13 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อป หรือจํานวน 100 บาท (ไม่เปลี่ยนแปลงจากอัตราเดิม) 2) หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้รอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับคาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ถือตราสารจะได้รับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากอัตราเดิม 0.25% โดยอัตราดอกเบี้ยใหม ที่ ผู้ถือตราสารจะได้รับคือ 10.25% ต่อป หรือจํานวน 125 บาท (2) กรณี การดําเนินการตามภาระผูกพัน (กําหนดให้ผู้ออกมีภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ หากทําตามตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืนไม่สําเร็จ) : 1 . กรณีที่ผู้ออกสามารถบรรลุตัวชี้วัด และเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้มากกวาหรือเทากับรอยละ 10 เมื ่ อเที ยบกั บคำฐาน และ external review provider ออก รายงานรับรองผล จะไม่เขาเงื่อนไขการดําเนินการตามภาระผูกพัน ที่กําหนด

37 2. กรณี ที ่ ผู  ออกไม่สามารถบรรลุ ตัวชี้วัดและเปาหมายดานความยั่งยืน ณ วันที่หุนกูอายุครบ 3 ป หากผู้ออกลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ ต่ํากวารอยละ 10 เมื่อเทียบกับ คาฐาน และ external review provider ออกรายงานรับรองผล ผู้ออกจะซื้อคารบอนเครดิตจากตลาดซื้อขายคารบอนเครดิตที่เป็น ที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล ในมูลคาที่เทียบเทากับ การปรับอัตราดอกเบี้ ยหุ นกู เพิ่ มขึ้ นรอยละ 0.25 ต่อป หรือ ในปริมาณทั้งหมด 5,000 ตัน ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2567 ทั้งนี้ กอนการเสนอขายหุนกู ผู้ออกไม่มีภาระหน้าที่ในการซื้อคารบอน เครดิต (3) ความเสี่ยงและผลกระทบต่อผู้ถือตราสารจากเปาหมายและตัวชี้วัดดานความยั่งยืนที่กําหนด หรือ ภายใตสถานการณตาง ๆ จากเงื่อนไขการปรับอัตราดอกเบี้ยหรือการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของ ตราสาร ตามที่ระบุในขอ (1) และ (2) ตามลําดับ ทั้ งนี้ ในกรณีที่ ผู้ ออกตราสารเพิ่ มเติมหรือแกไขขอมูลตราสารหนี้ ในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ให้เปดเผยวาอางอิงจากขอมูลในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้เคยได้ยื่นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ 1.8 เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืม จากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นและการ ผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 1.9 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 1.10 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในตราสารหนี้เฉพาะเจาะจง ผู้ออกตราสารหนี้ เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาดหรือกรณีบุคคลค้ําประกัน หรือกรณี หลักประกันที่มีจํานวนและมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุนจากตราสารหนี้ เป็นตน 1.11 ให้เปดเผยลักษณะพิเศษและความเสี่ยงสําคัญของตราสาร โดยให้เรียงลําดับลักษณะพิเศษและ ปจจัยความเสี่ยงหรือคําเตือนที่สําคัญมากเป็นลําดับแรก เชน - หุ นกู ที่ มีเงื่ อนไขให้ผู้ ออกตราสารสามารถไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (callable) อยางนอยให้ระบุความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจได้รับหากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนตราสารกอนครบ กําหนด เชน ผู้ถือตราสารมีความเสี่ยงที่จะเสียโอกาสในการได้รับผลตอบแทนที่สูงจากการลงทุนในตราสาร

38 ที่เสนอขาย หากผู้ออกตราสารใชสิทธิไถถอนในชวงที่ อัตราดอกเบี้ ยในตลาดลดต่ําลงกวาอัตราดอกเบี้ย ของตราสาร เป็นตน - หุ นกู ที่ มีเงื่ อนไขให้ผู้ ถือตราสารสามารถขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ (puttable) อยางนอยให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและวิธีการไถถอนตราสารกอนครบกําหนดของ ผู้ถือตราสารที่ได้กําหนด ไวลวงหน้าตั้งแต่ออกและเสนอขายตราสาร เชน หาก credit rating ของตราสาร/ ผู้ออกตราสารลดต่ําลงกวาระดับที่ระบุไว ผู้ถือตราสารมีสิทธิขอไถถอนตราสารกอนครบกําหนดได้ เพื่อนําเงิน ไปลงทุนในตราสารอื่น ที่มีลักษณะและผลตอบแทนตามที่ตนต้องการ โดยต้องดําเนินการตามวิธีการที่กําหนดไว ลวงหน้า เป็นตน 2. ในกรณีกองทรัสตเป็นผู้ออกตราสารหนี้ ให้แสดงสัดสวนการลงทุนในตราสารหนี้ที่กองทรัสตเสนอขายของกลุ่มผู้ที่จะจําหนาย จาย โอน ให้เชา หรือให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์แกกองทรัสตและกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกลาว ซึ่งตามหลักเกณฑ กําหนดวาจะต้องไม่เกินรอยละ 50 ของมูลคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย 3. ขอมูลการเสนอขาย ให้เปดเผยขอมูลที่มีรายละเอียดการจอง การจําหนาย และการจัดสรร ดังนี้ 3.1 รายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย - ให้ระบุกฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับตราสารหนี้ (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ รวมทั้งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ ผู้ออกตราสารหนี้ 9 หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ ตามตราสารหนี้โดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) - กรณีที่ ผู้ แทนผู้ ถือหุ นกู ที่ ได้รับการแต่งตั้ งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ ของผู้ ออกตราสารหนี้ ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวไวด้วย - ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนตราสารหนี้ที่ได้จดทะเบียน ไวกับสํานักงาน เป็นตน 3.2 การกําหนดราคาตราสารหนี้ ให้อธิบายที่มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ที่เสนอขาย ได้แก วิธีการ กําหนดราคา ผู้ที่มีสวนในการกําหนดราคา ปจจัยหรือตัวแปรตาง ๆ ที่ใชในการกําหนดราคา เป็นตน ทั้งนี้ แนวทางการเปดเผยที่ มาของการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารหนี้ให้เป็นไปตามคู่ มือ การเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และขอมูลประจําป 9 ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้จัดโครงสรางบริษัท หรือโครงสรางหนี้สินที่มีทรัพย์สินเป็นหลักประกันททําให้เจ้าหนี้หุนกู ไม่มีประกันมีสิทธิดอยกวาเจ้าหนี้มีประกันของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อันดับความนาเชื่อถือของบริษัท (issuer rating) ไม่เทากับอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู (issue rating)

39 3.3 การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้ หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะ ที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกตราสารหนี้กับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงิน คาตราสารหนี้ที่ผู้ออกตราสารหนี้จะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายตราสารหนี้ ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่ เป็นคาใชจายทั้ งหมดในการเสนอขายตราสารหนี้ โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรตราสารหนี้ ให้ระบุหลักการจัดสรรตราสารหนี้ให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือ จํานวนตราสารหนี้ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนตราสารหนี้และเสนอขาย ต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อตราสารหนี้ การกําหนดจํานวนในการจองซื้อ ตราสารหนี้ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ชื่อบริษัทเงินทุนหรือ ธพ. ที่เป็นตัวแทนรับเงิน คาจองซื้อตราสารหนี้ วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้คืน

40 (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อตราสารหนี้เกินกวาจํานวนตราสารหนี้ที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับ การจัดสรรตราสารหนี้ (11) วิธีการสงมอบตราสารหนี้ ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 3.4 ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออกตราสารหนี้ ให้ทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่เป็นตัวแทน การชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มีการทําสัญญาแต่งตั้ง บุคคลใดทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกตราสารหนี้เป็นผู้ทําหน้าที่ดังกลาว 3.5 ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของ กับผู้ออกตราสารหนี้ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย ขอกําหนดสิทธิเพิ่มเติม ให้แนบรางขอกําหนดสิทธิเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้ และให้ระบุวารางขอกําหนดสิทธิ สําหรับการเสนอขาย ในครั้งนี้มีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงจากขอกําหนดสิทธิที่เป็นสวนหนึ่งของ แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) หรือไม่ ดังนี้  ไม่แตกตาง  แตกตาง ให้ระบุรายละเอียดที่แตกตางกัน * หมายเหตุ * ในกรณีที่รางขอกําหนดสิทธิที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ มีสาระสําคัญแตกตางจากขอกําหนดสิทธิฉบับที่ ได้ยื่นต่อสํานักงานพรอมแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) ชุดใหมต่อสํานักงาน

41 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1 ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 10 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควร ต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 10 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

42 1.2 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่ไม่มีหุนจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 11 โดยให้ใชขอความและรู ปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้ อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควร ต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. 4. 5. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 11 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

43 1.3 กรณีที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ เป็นกิจการตางประเทศ หรือธนาคารตางประเทศ ซึ่ งมีสาขา ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 12 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูล ดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 12 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

44 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงินที่ ได้รับมอบอํานาจจากผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 13 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้า ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรื อไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ปรากฏ ในแหลงขอมูลที่ ผู้ ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 13 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ กําหนด

45 1.5 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการของผู้จัดการกองทรัสตที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับ ตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องของแบบแสดงรายการขอมูล 14 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 14 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

46 การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมู ลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึ กษาทางการเงินต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ ในภาวะไม่สามารถรู ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่ องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดั งกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือ เป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

47 ภาคผนวก 1 วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สิ นระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง )

48 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

49 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

50 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางป สําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

51 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารงอัตราสวน ทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

52 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (แบบ 69-PO-MTN) สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ออกตราสารหนี้) เสนอขาย … … … - ให้ระบุชื่อและรายละเอียดที่สําคัญของโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ที่ผู้ออกตราสารหนี้ได้ ยื่นต่อสํานักงานในครั้งนี้ ให้ถือเป็นสวนหนึ่งของขอมูลตามแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) ที่มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) ด้วย”

53 สวนที่ 1 รายการขอมูล ขอมูลเพิ่มเติมที่สําคัญ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้หรือขอมูลตราสารหนี้ที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ของผู้ ลงทุนอยางมีนัยสําคัญในกรณีดังต่อไปนี้ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) และแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) ที่ผานมา (1) บริษัทประสบความเสียหายอยางรายแรง (2) บริษัทหยุดประกอบกิจการทั้งหมด หรือบางสวน (3) บริษัทเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคหรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (4) บริษัททําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมด หรือบางสวนในการบริหารงานของบริษัท (5) บริษัทมีการรวมทุน ควบรวมกิจการ กระทําหรือถูกกระทําอันมีลักษณะเป็นการครอบงํา หรือถูกครอบงํากิจการตามมาตรา 247 (6) บริษัทมีการฟนฟูกิจการ (7) เหตุการณใด ๆ ที่เป็นเงื่อนไขที่จะทําให้ผู้ถือตราสารหนี้ถือเป็นเหตุให้บริษัทผิดขอตกลง ตามตราสาร (events of default) (8) บริษัทผิดขอตกลงในการชําระหนี้ตามตราสาร (default) (9) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหาร โครงสรางการถือหุน หรือมีการเปลี่ยนแปลง กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัท (10) ตราสารหนี้ของบริษัทถูกปรับลดผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (11) บริษัทมีการสงงบการเงินและแบบ 56-1 ของบริษัทให้สํานักงาน หนวยงานทางการ ซึ่งเป็นผู้กํากับดูแลการดําเนินงานโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย (ในกรณีที่นําสงงบการเงินหรือแบบ 56-1 ต่อสํานักงานแล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) แล้ว) (12) บริษัทมีการเพิ่มทุนหรือลดทุนจดทะเบียน (13) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (14) บริษัทมีการทํารายการระหวางกั นที่เพิ่มขึ้นจากที่เคยเปดเผยไว (15) บริษัทมีแผนการลงทุนที่สําคัญ (16) บริษัทได้มาหรือสูญเสียไป ซึ่งสัญญาการคาที่สําคัญ (17) บริษัทมีขอพิพาทที่อาจสงผลกระทบทําให้สวนของผู้ถือหุนลดลงเกินกวารอยละ 5 (18) บริษัทจะมีการเพิ่มหรือลดมูลคาการเสนอขายของตราสารหนี้จากที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลในลักษณะโครงการ โดยเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แกไข มติคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุนที่เคยอนุมัติให้ออกตราสารหนี้ ที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายตราสารหนี้ ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ

54 (19) มีการเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุนกู โดยหากผู้แทนผู้ถือหุนกูมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ ของบริษัท ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวด้วย (20) เพิ่ มการเสนอขาย green bond, social bond และ sustainability bond โดยให้ ระบุขอมูลตามที่กําหนดในแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ ยวกับ โครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 2.1 (1) – (5) (21) เพิ ่ มรายละเอี ยดหรื อแก ไขข อมู ลที ่ เป ดเผยในแบบ 69-PO-MTN (ส วนที ่ 1: แบบ 69-PO-BASE) สําหรับรายการดังต่อไปนี้ 1. ก ร ณ ี เ ส น อ ขำ ย green bond, social bond แ ล ะ sustainability bond : แบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 1: แบบ 69-PO-BASE) ในสวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอ ขาย ขอ 2.1 (1) – (5) 2. กรณี เสนอขาย sustainability-linked bond : แบบ 69-PO-MTN (ส วนที ่ 1: แบบ 69-PO-BASE) ในสวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 2.2 (1), (3) เฉพาะ ขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการตามภาระผูกพัน, (4) และ (5) (22) บริษัทมีการเปลี่ยนแปลง external review provider สําหรับการเสนอขาย sustainability- linked bond ซึ ่ งเป นไปตามที่ ระบุ ในแบบ 69-PO-MTN (ส วนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE) ในส วนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการตราสารหนี้ที่จะเสนอขาย ขอ 2.2 (5) (ในกรณีที่นําสงรายงานต่อสํานักงานแล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PO-MTN (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT) แล้ว) (23) ขอมูลของบริษัทที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูล ที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรก อยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน เชน ปจจัยความเสี่ยง ที่เปลี่ยนแปลง งบการเงินมีขอสังเกตของผู้สอบบัญชี เป็นตน วิธีการเปดเผยขอมูล ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติม โดยเลือกวิธีการ ดังนี้  (1) แสดงรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมดังกลาว  (2) ให้อางอิงจากขอมูลที่ ผู้ ออกตราสารหนี้ เคยได้ยื่ นต่อสํานักงานหรือตลาดหลักทรัพย์ แห งประเทศไทย และให้ ถื อวำข อมู ลดั งกลำวเป นส วนหนึ ่ งของแบบ 69-PO-MTN (ส วนที ่ 2: แบบ 69-PO-PRICING) (ในกรณีที่ มีการอางอิงขอมูลดังกลาว ให้สรุปขอมูล วันที่ เผยแพร และระบุ แหลงอางอิงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงาน เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือเว็บไซต์ ของผู้ออกตราสารหนี้ เป็นตน)

55 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1 ผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้ โดยผู้ ออกตราสารหนี้ ที่ เป็นบริษัทที่ มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใชผู้ที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดหรือผู้  ที่ได้  รับมอบหมายให้  รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน การลงลายมือชื่อ ดังกลาวต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการ ขอมูล 15 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน/ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ ผู้ที่ได้รับ มอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูล ดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของ ขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใดยังไม่สามารถ ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ต้องจัดให้บุคคลนั้น ลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะ ไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มี เหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 15 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

56 1.2 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นบริษัทที่ไม่มีหุนจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดใน สายงานบัญชีและการเงินลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของ แบบแสดงรายการขอมูล 16 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดใน สายงานบัญชีหรือเทียบเทา] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็น เท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ ได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการเปดเผยขอมูล ที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ออกตราสารหนี้ได้เปดเผยขอมูลในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ออกตราสารหนี้และ บริษัทยอยอยางถูกต้องครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุม ภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของผู้ ออกตราสารหนี้ แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” 16 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

57 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

58 1.3 กรณีเป็นการเสนอขายตราสารหนี้โดยผู้ออกตราสารหนี้ที่เป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ซึ่งได้รับ อนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยในประเทศไทยตามกฎหมายวาด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 17 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้ อื่ นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหน ง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 17 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

59 1.4 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นที่เป็นหนวยงานภาครัฐไทย หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายวาด้วยดอกเบี้ยเงินให้กูยืมของสถาบันการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราหนวยงาน (ถามี) รับรองความถูกต้องครบถวนของแบบแสดง รายการขอมูล 18 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [ผู้ที่มีอํานาจลงนามผูกพัน/ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 18 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ กําหนด

60 1.5 กรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นกองทรัสต ให้กรรมการทุกคนของผู้จัดการกองทรัสตลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้องของแบบแสดงรายการขอมูล 19 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะของกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้จัดการกองทรัสต ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้ อื่ นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 19 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

61 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้ ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกตราสารหนี้ หรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบาย และแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกตราสารหนี้ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมู ลการเสนอขายตราสารหนี้)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกตราสารหนี้ ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่ นที่ มีความเชี่ ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้นี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึ กษาทางการเงินต้องจัดให้ บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ที่ปรึกษา ทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณี อื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝง (แบบ 69-SN) สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1 บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้เสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝง) เสนอขาย … … … ให้ระบุขอมูลในหน้าปกอยางนอย ดังต่อไปนี้ 1 1. ลักษณะที่สําคัญของหุนกูที่มีอนุพันธแฝง (“หุนกู ”) ที่ เสนอขาย/ที่ จะออกภายใตโครงการนี้ ดังนี้ (1) ชื่อหุนกู (ตามโครงการ) (2) ประเภทผู้ลงทุนที่เสนอขาย (3) ลักษณะสําคัญของหุนกู (4) ปจจัยอางอิง (5) มูลคาการเสนอขาย (ตามโครงการ) ทั้งนี้ ต้องไม่เกินมูลคาตามมติที่ได้รับให้ออกหุนกู (6) รูปแบบและมูลคาการไถถอนของหุนกู (7) อันดับความนาเชื่อถือ (ถามี) ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูสมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของหุนกู ผู้ออกหุนกู หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่อประกอบการเสนอขายหุนกูนั้น ให้ระบุวาผู้ออกหุนกูจะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย 2. วันที่ ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล และวันที่มีผลใชบังคับ 3. ให้ระบุคําเตือน ดังนี้ “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ออกหุนกูและเงื่อนไขของหุนกู รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในหุนกูที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทน ของหุ นกู ที่ เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการข อมูล การเสนอขายหุนกูแต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหุนกูนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เสนอขายหุนกู หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุ นกู มีขอความหรือรายการที่ เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือหุนกูที่ได้ซื้อหุนกูไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดงรายการ 1 กรณีเป็นการเสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW สามารถปรับสวนที่เกี่ยวของกับผู้ลงทุนในแบบแสดงรายการขอมูล ให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่เสนอขายได้

2 ขอมูลการเสนอขายหุนกูนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือเจ้าของหุนกูได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่ วันที่ได้รูหรื อควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูมีผลใชบังคับ” - ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมกรณีที่มูลคาไถถอนของหุนกูอาจต่ํากวาเงินตนที่ผู้ลงทุนชําระให้กับ ผู้ออกหุนกู ทั้งนี้ หากมีการค้ําประกันมูลคาไถถอนเป็นบางสวน ขอให้ระบุสัดสวนการค้ําประกันให้ชัดเจน - ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมวา หุนกูที่มีอนุพันธแฝงเป็นตราสารที่มีความซับซอนมากกวาหุนกูหรือ ตราสารหนี้ทั่วไป เนื่องจากมีสวนที่เป็นตราสารอนุพันธ ( derivatives) ซึ่งจะมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของหลายดาน เชน ความเสี่ยงของปจจัยอางอิง ความเสี่ยงดานเครดิตของผู้ออกตราสาร เป็นตน ซึ่งผู้ลงทุนจะต้องศึกษา และทําความเขาใจรายละเอียดอยางถี่ถวนกอนตัดสินใจลงทุน - กรณีจะเสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW หรือ HNW สามารถปรับสวนที่เกี่ยวของกับ ผู้ลงทุนในแบบแสดงรายการขอมูลให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้

3 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. สรุปขอมูลสําคัญของหุนกู (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของหุนกูที่เสนอขาย โดยจัดทําตามแบบที่กําหนด ในประกาศที่เกี่ยวของ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูสมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู ผู้ออกหุนกู หรือผู้ค้ําประกัน เพื่อประกอบการเสนอขายหุนกูนั้น ให้ระบุวาผู้ออกหุนกูจะจัดให้มีการจัดอันดับ ความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย 2. ขอมูลผู้ออกหุนกู 2.1 การเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (Institutional Investor :“II”) ผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ (Ultra High Net-Worth Investor :“UHNW”) และผู้ ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investor :“HNW”) ระบุรายการอยางนอย ตามมาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับขอมูลของผู้ออกหุนกูอาจเปดเผยโดยอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูล ประจําป หรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ได้ตามวิธีการดังต่อไปนี้ 2.1.1 กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (เฉพาะผู้ออกหุนกูที่มี หน้าที่ยื่นแบบแบบแสดงรายการขอมูลประจําป) ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําปลาสุด งบการเงินประจํางวดการบัญชีลาสุด และงบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือ 2.1.2 กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (ยกเวน สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2) ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ในกรณีที่ผู้ออก หุนกูได้เคยยื่นแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวไวสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในกรณีทั่วไป (Public Offering: “PO”) และปจจุบันแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวยังมีผลใชบังคับอยู่ ทั้งนี้ การอางอิงขอมูลตาม 2.1.1 หรือ 2.1.2 สามารถระบุแหลงขอมูลซึ่งผู้ลงทุนสามารถ ตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงานหรือเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ออกหุนกูที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป หรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ตราสารหนี้ขางตน ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมด้วย โดยอาจระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ และให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลประกอบด้วย - ให้เพิ่มเติมขอมูลดังนี้ ภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ออกหุนกู (กรณีที่ออกเป็นหุนกู ไม่มีประกัน)

4 - ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูมิได้มีหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ระบุ ประเภทงบการเงินและระยะเวลาที่ผู้ออกหุนกูต้องสงงบการเงินต่อหนวยงานกํากับดูแล 2.2 การเสนอขายต่อประชาชนทั่วไป (PO) 2.2.1 กรณีผู้ออกหุนกูมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลประจําปต่อสํานักงานหรือ เพิ่งยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ต่อ PO และแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาว มีผลใชบังคับไม่เกิน 1 ป ให้บริษัทเปดเผยขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป งวดปลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ที่เคยจัดสงต่อสํานักงานและปรับปรุง ขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย รวมทั้ง ให้เปดเผยขอมูลคําอธิบายและการวิเคราะหของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis : MD&A) สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสม ตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 2.2.2 กรณีอื่นนอกจาก 2.2.1 ให้ผู้ออกหุนกู เปดเผยขอมูลที่เป็นปจจุบัน โดยมีหัวขอและ รายละเอียดเป็นไปตามแบบแสดงรายการขอมูลประจําปโดยอนุโลม รวมถึง ให้แสดงขอมูลจาก งบการเงินและอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญที่สะทอนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในธุรกิจหลัก ของบริษัทและบริษัทยอย อยางนอยต้องมีขอมูลเปรียบเทียบ 2 ปที่ผานมา (เป็นงบการเงินปลาสุดที่ผาน การตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและงบการเงินปยอนหลังอีก 1 ป) ทั้งนี้ ให้เปดเผยขอมูล MD&A สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 3. ระบุปจจัยความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในหุนกู ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในหุนกูของผู้ออกหุ นกู โดยเฉพาะเจาะจง เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาดหรือกรณีบุคคลค้ําประกัน หรือ กรณีหลักประกันที่มีจํานวนและมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุนจากตราสารหนี้ เป็นตน 4. รายการเฉพาะกรณี เสนอขายหุนกู ต่อ PO HNW และ UHNW 4.1 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจโดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 4.2 เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้ เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นและการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง

5 5. ข อมูลลักษณะเฉพาะสําหรับหุนกูที่ เสนอขาย 5.1 กรณีเสนอขายรายครั้ง 2 ให้ระบุลักษณะเฉพาะของหุนกูที่เสนอขาย โดยอยางนอยให้มีรายการดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะสําคัญของหุนกูและรายละเอียดของเงื่อนไขที่กําหนด (2) ประเภทและลักษณะสําคัญของปจจัยอางอิง รวมถึงให้ระบุขอมูลสําคัญของปจจัย อางอิงที่อาจมีผลกระทบต่อเงินตนหรือผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ พรอมแหลงขอมูลที่ผู้ถือหุนกู สามารถดูเพิ่มเติมได้ เชน แสดงกราฟขอมูลผลการดําเนินงานยอนหลังของปจจัยอางอิง เป็นตน (3) โครงสรางของธุรกรรม (4) ความเสี่ยงที่อาจมีผลต่อความผันผวนหรือผลตอบแทนของปจจัยอางอิง หรือ การชําระคืนเงินตนของหุนกู (5) ขอมูลเกี่ยวกับขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือ การตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (6) ขอมูลสถิติราคาของปจจัยอางอิงหรือการคาดการณราคาของปจจัยอางอิง (ถามี) (7) ขอมูลของสัญญาที่ เกี่ ยวของกับธุรกรรมดังกลาว เชน ขอมูลคู่ สัญญาและ สาระสําคัญของสัญญา เป็นตน ทั้งนี้ ตัวอยางของสัญญาที่เกี่ยวของ เชน การทําสัญญาลวงหน้าที่มี ขอกําหนดให้ผู้ออกหุนกูได้รับชําระหนี้จากคู่สัญญาในจํานวนและระยะเวลาเดียวกันหรือใกลเคียงกับ ที่ต้องชําระหนี้ให้ผู้ถือหุนกูที่เสนอขายนั้น (back to back agreement) (8) หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย และ/ หรือการชําระคืนเงินตน (ถามี) รวมถึงให้แสดงผลตอบแทนที่ผู้ถือหุนกูจะได้รับจากการลงทุนภายใต สถานการณตาง ๆ ไวด้วย เชน - กรณีที่การชําระคืนเงินตนขึ้นอยู่กับระดับปจจัยอางอิง ให้ระบุเงื่อนไขดังกลาว ไวอยางชัดเจนด้วย เชน ณ วันครบกําหนดอายุตราสาร เชน - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. ต่ํากวา X1 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับเงินตนคืน 80% ของเงินลงทุน - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. อยู่ระหวาง X1 และ X2 บาท ผู้ถือตราสาร จะได้รับเงินตนคืนไม่ต่ํากวา 80% แต่ไม่เกิน 100% ของเงินลงทุน ขึ้นอยู่กับราคาหุนสามัญของบริษัท ก. 2 สามารถเลือกยื่นแบบแสดงรายการขอมูล โดยระบุขอมูลดังต่อไปนี้ เป็นชวง (range) ขอมูลตัวเลขสูงสุด (maximum) หรือขอมูลที่เป็นวิธีการคํานวณที่ให้ผลลัพธเฉพาะเจาะจงเมื่อมีการแทนคาในวิธีการคํานวณนั้น แล้วแต่กรณี (1) จํานวนและราคาหุนกูระยะสั้น (2) ระยะเวลาการเสนอขาย (3) อัตราผลตอบแทน

6 - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. สูงกวา X2 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับเงินตนคืน 100% ของเงินลงทุน - กรณีที่การจายดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับระดับปจจัยอางอิง ให้ระบุเงื่อนไขดังกลาว ไวอยางชัดเจนด้วย เชน หากมีวันใดวันหนึ่งในงวดการจายดอกเบี้ย - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. ต่ํากวา X1 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับดอกเบี้ย Y1% ต่อป - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. อยู่ระหวาง X1 และ X2 บาท ผู้ถือหุนกู จะได้รับ ดอกเบี้ย Y2% ต่อป - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. สูงกวา X2 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับดอกเบี้ย ในอัตรา Y3% ต่อป ตัวอยาง กรณีมีการคุมครองเงินตนที่ระดับรอยละ 80 ของมูลคาที่ตราไวผู้ลงทุน มีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูที่มีปจจัยอางอิงเป็นหุนบริษัท BBB ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อปและถือ จนครบอายุ ผู้ถือหุนกูจะได้รับชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยเป็นเงินสด โดยเงินตนที่จะได้รับคืนขึ้นอยู่กับ ราคาปดของหุนอางอิง ณ วันที่ครบกําหนดอายุหุนกู จะสามารถแบงได้เป็น 3 กรณี ได้แก 1) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ เทากับหรือสูงกวา 100 บาท (ราคาหุนอางอิง) ผู้ถือหุนกูจะได้รับคืนเงินตน เทากับ 1,000 บาท (มูลคาที่ตราไว) และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 1,100 บาท ซึ่งคิดเป็นอัตราผลตอบแทนเทากับรอยละ 10 ต่อป 2) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ สูงกวา 80 บาท แต่ต่ํากวา 100 บาท เชน 90 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับคืนเงินตน เทากับราคาปดหุน BBB คูณ 10 (90 x 10) หรือ 900 บาท และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 1,000 บาท ซึ่งคิดเป็นอัตราผลตอบแทนเทากับ รอยละ 0 ต่อป 3) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ เทากับหรือต่ํากวา 80 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับคืนเงินตน เทากับ 800 บาท (รอยละ 80 ของมูลคาที่ตราไว) และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 900 บาท ดังนั้น ผู้ลงทุนจะขาดทุนเทากับรอยละ 10 ต่อป

7 5.2 กรณีเสนอขายภายใตโครงการ 3 (1) รายละเอียดของโครงการหุนกู ที่จะเสนอขาย ในกรณีที่โครงการหุนกูที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบาย เพิ่มเติมจากขอมูลตามขอ 5.1 เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของโครงการหุนกูจะที่เสนอขาย ให้สรุป ลักษณะสําคัญของหุนกูที่จะเสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน สรุปสาระสําคัญของขอกําหนดวาด้วยสิทธิและ หน้าที่ของผู้ออกหุนกูและผู้ถือหุนกู (master terms and conditions) และสัญญาแต่งตั้ งผู้ แทนผู้ถือหุนกู วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกันขอมูล ผู้ค้ ําประกัน (ให้แสดงข อมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ ําประกั น) และสรุปสาระสําคัญของ สัญญาค้ ําประกั น (กรณีเป็นการค้ ําประกัน) เป็นต น (2) ขอจํากัดการโอนหุนกูที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนหุนกูที่ได้จดทะเบียน ไวกับสํานักงาน เป็นตน (3) กรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุนกูที่ได้รับการแต่งตั้งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกหุนกู ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวไวด้วย 3 สามารถเลือกยื่นแบบแสดงรายการขอมูล โดยระบุขอมูลดังต่อไปนี้ เป็นชวง (range) ขอมูลตัวเลขสูงสุด (maximum) หรือขอมูลที่เป็นวิธีการคํานวณที่ให้ผลลัพธเฉพาะเจาะจงเมื่อมีการแทนคาในวิธีการคํานวณนั้น แล้วแต่กรณี (1) จํานวนและราคาหุนกูระยะสั้น (2) ระยะเวลาการเสนอขาย (3) อัตราผลตอบแทน

8 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (ขอมูลสวนผู้ออกตราสารหนี้) 1. กรณีผู้ออกตราสารหนี้ 1.1 กรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต่อประชาชนทั่วไป (Public Offering) โดยบริษัทที่ มี หุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใช ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล 4 โดยให้ใชขอความ และรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการมีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด/ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกหุนกู ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงใน สาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกหุนกูตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย หุนกูฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย หุนกูฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

9 หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ เสนอขายหุนกู ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายหุนกูไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

10 1.2 กรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต่อประชาชนทั่วไป (Public Offering) โดยบริษัท ที่ ไม่ มีหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ สูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรองความถูกต้อง ครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 5 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ / ผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด /ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ออกตราสารหนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ ได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการเปดเผยขอมูล ที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ออกตราสารหนี้ได้เปดเผยขอมูลในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ออกตราสารหนี้และ บริษัทยอยอยางถูกต้องครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ออกตราสารหนี้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจ งขอมูลการประเมินระบบการควบคุม ภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของผู้ออกตราสารหนี้แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ออกตราสารหนี้และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกตราสารหนี้ ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายตราสารหนี้ ฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อ ความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

11 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้เสนอขายตราสารหนี้ ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

12 1.3 กรณีเป็นการเสนอขายหุนกูต่อผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors : “HNW”) ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors : “UHNW”) หรือผู้ลงทุน สถาบัน (Institutional Investor :“II”) ให้กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบ อํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) รับรอง ความถูกต้องครบถวนของแบบแสดงรายการขอมูล 6 โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ออกหุนกู / ผู้รับมอบอํานาจ] ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกหุนกู ตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหุนกูฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้อง ครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายหุนกูฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ เสนอขายหุนกู ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายหุนกูไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 6 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

13 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธ แฝง กรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุน PO HNW และ UHNW 1. รายละเอียดของหุนกู ที่เสนอขาย (ทั้งกรณี เสนอขายแบบรายครั้งและแบบรายโครงการ) - ให้ระบุกฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับหุนกู (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่ อถือ รวมทั้ งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือของหุนกู ผู้ออกหุนกู หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามหุนกูโดยสถาบันจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ (ถามี) - ในกรณีที่หุนกูที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในขอ 5 เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของหุนกูที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของหุนกูที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน รายละเอียดการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ที่ชัดเจน (สําหรับการเสนอขายรายครั้ง) ประเภทและ มูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน เป็นตน - กรณี หุนกู มีอัตราดอกเบี้ยลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ - หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย และ/หรือการชําระคืน เงินตน (ถามี) รวมถึงให้แสดงผลตอบแทนที่ ผู้ถือหุนกู จะได้รับจากการลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ ไวด้วย 2. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (ทั้งกรณีเสนอขายแบบรายครั้งและแบบรายโครงการ) (1) วิธีการเสนอขายหุนกู ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายหุนกู ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกหุนกูในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับ ผู้ออกหุนกูในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย

14 (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกหุนกูกับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ที่เกี่ยวกับ เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาหุนกู ที่ ผู้ออกหุนกู จะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายหุนกู ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายหุนกู โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนกู ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรหุนกู ให้ระบุหลักการจัดสรรหุนกูให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวนหุนกู ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนหุนกู และเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อหุนกู ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อหุนกู การกําหนดจํานวนในการจองซื้อหุนกู ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อหุนกู ชื่อบริษัทหลักทรัพย์หรือ ธพ. ที่เป็นตัวแทนรับเงินคาจองซื้อหุนกู วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อหุนกู คืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อหุนกู เกินกวาจํานวนหุนกู ที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อหุนกู เกินกวาจํานวนหุนกู ที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อหุนกู ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้ อหุ นกูในกรณีที่ผู้จองซื้ อไม่ได้รับ การจัดสรรหุนกู (11) วิธีการสงมอบหุนกู ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 4. ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) (ทั้งกรณีเสนอขายแบบรายครั้งและแบบรายโครงการ) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออกหุนกูให้ทําหน้าที่ เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มีการทําสัญญาแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่ เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกหุนกู เป็นผู้ทําหน้าที่ดังกลาว 5. ตลาดรองหุนกู (ถามี) (ทั้งกรณีเสนอขายแบบรายครั้งและแบบรายโครงการ) ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูประสงคจะนําหุนกูที่ออกและเสนอขายไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดรองใด ๆ ให้ระบุชื่อของตลาดดังกลาว รวมทั้งวันเวลาที่คาดวาจะนําหุนกูดังกลาวไปจดทะเบียนด้วย นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูจะแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่เป็นผู้ดูแลสภาพคลอง (market maker) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และสาระสําคัญของขอตกลงในการทําหน้าที่เป็น market maker ด้วย

15 6. ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) (ทั้งกรณีเสนอขายแบบรายครั้งและแบบรายโครงการ) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หาก ที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับ ผู้ออกหุนกูในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (II) ให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ 1. วิธีการเสนอขายหุนกู ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) 2. ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน

16 สวนที่ 4 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหุนกู) 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการเสนอขายผลิตภัณฑดานตราสารหนี้ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล 7 โดยให้ใช ขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุ นกูฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกหุ นกู ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกหุนกูตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย หุนกูฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย หุนกูฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุในสวนที่ 1)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ เสนอขายหุนกู ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาว ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้เสนอขายหุนกูไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 7 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากั บตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

17 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกหุนกู ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุ นกูฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกหุนกูในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้ นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ ออกหุ นกู หรือผู้ ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ ผู้ออกหุนกู มีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกหุนกู ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกู)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้ บริหารของผู้ ออกหุ นกู ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่ องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

18 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอ กเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 7 ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) ( หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมด ที่มีภาระดอกเบี้ย ( 8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง)

19 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (2) อัตราส วนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย ( interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย )

20 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คำใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้ สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ ( รอยละ ) ( รายได้รวมงวดปจจุบัน - รายได้รวมงวดกอน ) * 100 / รายได้รวมงวดก อน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม

21 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 4 ) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 5 ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับกําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์ หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวน ทางการเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลา ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE

22 และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้ จัดทํางบระหวางปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายใน หมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

23 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝง (แบบ 69-SN) สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2 บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้เสนอขายหุนกูที่มีอนุพันธแฝง) เสนอขาย … … …  ขออางอิงขอมูลผู้ออกหุนกูที่มีอนุพันธแฝง (“หุนกู”) และรายละเอียดการเสนอขาย และข อมูลลั กษณะเฉพาะสําหรั บหุ  นกู  ที ่ เสนอขายในแบบ 69-SN (ส วนที ่ 1 : แบบ 69-SN-1) ที่ผู้ออกหุนกูยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับเมื่อวันที่…  ขอเพิ ่ มวงเงิ นการเสนอขายที ่ เคยได้ยื ่ นขอกั บสํานั กงานไว ตามแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) ที่ผู้ออกหุนกูยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ … จากเดิมมูลคา … ลานบาท เป็นมูลคา … ลานบาท กรณีที่ขอมูลปจจุบันแตกตางจากขอมูลในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) ที่อางอิงตาม ขั้นตน ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้  ขออางอิงขอมูลงบการเงินดังต่อไปนี้  งบการเงินประจําป …  งบการเงินประจํางวด 6 เดือนสําหรับป …  งบการเงินรายไตรมาสที่ … สําหรับป … ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูมีการสงขอมูลงบการเงินประจําป งบการเงินประจํางวด 6 เดือน หรืองบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือรายงานตามมาตรา 57 ต่อสํานักงาน และขอมูลดังกลาวยังไม่ได้ เปดเผยในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) ที่ได้อางอิงตามขางตน ให้เปดเผยขอมูลดังกลาว เพิ่มเติมด้วย โดยระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติมที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้และให้สรุปสาระสําคัญของ รายงานตามมาตรา 57 ประกอบด้วย  ข อมู ลส วนที ่ เปลี ่ ยนแปลงจากข อมู ลที ่ ยื ่ นในแบบ 69-SN (ส วนที ่ 1 : แบบ 69-SN-1)  ขอมูลสวน ผู้ออกหุนกู  ขอมูลสวน รายละเอียดหุนกู ที่ เสนอขาย

24 การอางอิง ขอมูลในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) รวมทั้งขอมูลงบการเงินประจําป งบการเงิน ประจํางวด 6 เดือน หรืองบการเงินรายไตรมาส หรือขอมูลการรายงานตามมาตรา 57 ที่ผู้ออกหุนกูได้ยื่น ต่อสํานักงาน ซึ่งได้อางอิงตามขางตน ถือเป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-SN (สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2) ฉบับนี้ด้วย ผู้ลงทุนควรศึกษาขอมูลตามขางตนประกอบการตัดสินใจลงทุนด้วย 1. วันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล และวันที่มีผลใชบังคับ 2. ให้ระบุคําเตือน ดังนี้ “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ออกหุ นกูและเงื่ อนไขของหุ นกู รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในหุนกูที่เสนอขาย หรือมิได้ประกัน ราคาหรือผลตอบแทนของหุนกูที่เสนอขาย หรือรับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายหุ นกู แต่อยางใด ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูล ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้เสนอขายหุนกู หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุ นกู มีขอความหรือรายการที่ เป็นเท็จ หรือ ขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือหุนกูที่ได้ซื้อหุนกูไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายหุนกูนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือเจ้าของหุนกูได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่ วันที่ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูมีผลใชบังคับ” - ให้ระบุคําเตือนเพิ่มเติมกรณีที่มูลคาไถถอนของหุนกูอาจต่ํากวาเงินตนที่ผู้ลงทุนชําระให้กับ ผู้ออกหุนกู ทั้งนี้ หากมีการค้ําประกันมูลคาไถถอนเป็นบางสวน ขอให้ระบุสัดสวนการค้ําประกันให้ชัดเจน “แบบแสดงรายการขอมูลนี้ (แบบ 69-SN (สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2)) ใชเฉพาะผู้ออกหุนกูที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายแบบรายโครงการเทานั้น”

25 สวนที่ 1 รายการขอมูล ขอมูลเพิ่มเติมที่สําคัญ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ออกหุนกูหรือขอมูลหุนกูที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน อยางมีนั ยสําคัญและยังไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) ให้เปดเผยขอมูลผู้ออกหุนกู และรายละเอียดหุนกู ที่เสนอขาย ดังนี้ 1. สรุปขอมูลสําคัญของหุนกู (factsheet) ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูสมัครใจที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู ผู้ออกหุนกู หรือ ผู้ค้ําประกันเพื่อประกอบการเสนอขายหุนกูนั้น ให้ระบุวาผู้ออกหุนกูจะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยางต่อเนื่องตลอดอายุของตราสารหรือไม่ด้วย 2. ขอมูลของผู้ออกหุนกู เชน ขอมูลของบริษัทที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูลที่เคย เปดเผยในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) อยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน เชน ปจจัยความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลง งบการเงินมีขอสังเกตของผู้สอบบัญชี เป็นตน นอกจากนี้ ให้เปดเผย ขอมู ลที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยะสําคัญ ในกรณีดังต่อไปนี้ 2.1. บริษัทประสบความเสียหายอยางรายแรง 2.2. บริษัทหยุดประกอบกิจการทั้งหมด หรือบางสวน 2.3. บริษัทเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคหรือลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.4. บริษัททําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมด หรือบางสวนในการบริหารงานของบริษัท 2.5. บริษัทมีการรวมทุน ควบรวมกิจการ กระทําหรือถูกกระทําอันมีลักษณะเป็นการครอบงํา หรือถูกครอบงํากิจการตามมาตรา 247 2.6. บริษัทมีการฟนฟูกิจการ 2.7. เหตุการณใด ๆ ที่เป็นเงื่อนไขที่จะทําให้ผู้ถือหุนกูหนี้ถือเป็นเหตุให้บริษัทผิดขอตกลง ตามตราสาร (events of default) 2.8. บริษัทผิดขอตกลงในการชําระหนี้ตามตราสาร (default) 2.9. บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหาร โครงสรางการถือหุน หรือมีการปลี่ยนแปลง กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัท 2.10. บริษัทถูกปรับลดผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ 2.11. บริษัทมีการสงงบการเงินและแบบ 56-1 ให้สํานักงาน หนวยงานทางการ ซึ่งเป็นผู้กํากับ ดูแลการดําเนินงานโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย (ในกรณีที่นําสงงบการเงินหรือแบบ 56-1 ต่อสํานักงาน แล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-SN (สวนที่ 2 : แบบ 69-SN-2) แล้ว

26 2.12. บริษัทมีการเพิ่มทุนหรือลดทุนจดทะเบียน 2.13. บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี 2.14. บริษัทมีแผนการลงทุนที่สําคัญ 2.15. บริษัทได้มาหรือสูญเสียไป ซึ่งสัญญาการคาที่สําคัญ 2.16. บริษัทมีขอพิพาทที่อาจสงผลกระทบทําให้สวนของผู้ถือหุนลดลงเกินกวารอยละ 5 2.17. บริษัทจะมีการเพิ่มหรือลดมูลคาการเสนอขายของหุนกูจากที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุนกู ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลในลักษณะโครงการ โดยเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แกไข มติคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุนที่เคยอนุมัติให้ออกหุนกู ที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุนกู ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ 3. ขอมูลลักษณะเฉพาะสําหรับหุนกูที่เสนอขาย ให้ระบุลักษณะเฉพาะของหุ นกู ที่ เสนอขายที่ยั งไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-SN (สวนที่ 1 : แบบ 69-SN-1) โดยอยางนอยให้มีรายการดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะสําคัญของหุนกูและรายละเอียดของเงื่อนไขที่กําหนด (2) ประเภทและลักษณะสําคัญของปจจัยอางอิง รวมถึงให้ระบุขอมูลสําคัญของปจจัยอางอิง ที่อาจมีผลกระทบต่อเงินตนหรือผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ พรอมแหลงขอมูลที่ผู้ถือหุนกูสามารถ ดูเพิ่มเติมได้ เชน แสดงกราฟขอมูลผลการดําเนินงานยอนหลังของปจจัยอางอิง เป็นตน (3) โครงสรางของธุรกรรม (4) ความเสี่ยงที่อาจมีผลต่อความผันผวนหรือผลตอบแทนของปจจัยอางอิง หรือการชําระคืน เงินตนของหุนกู (5) ขอมูลเกี่ ยวกับขอจํากัดหรือความเสี่ ยงอื่ นใดที่ อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือ การตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ (6) หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย และ/หรือ การชําระคืนเงินตน (ถามี) รวมถึงให้แสดงผลตอบแทนที่ผู้ถือหุนกูจะได้รับจากการลงทุนภายใตสถานการณ ตาง ๆ ไวด้วย เชน  กรณีที่การชําระคืนเงินตนขึ้ นอยู่ กับระดับปจจัยอางอิง ให้ระบุเงื่ อนไขดังกลาวไว อยางชัดเจนด้วย เชน ณ วันครบกําหนดอายุตราสาร - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. ต่ํากวา X 1 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับเงินตนคืน 80% ของเงินลงทุน - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. อยู่ระหวาง X 1 และ X 2 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับ เงินตนคืนไม่ต่ํากวา 80% แต่ไม่เกิน 100% ของเงินลงทุน ขึ้นอยู่กับราคาหุนสามัญของบริษัท ก. - หากราคาหุนสามัญของบริษัท ก. สูงกวา X 2 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับเงินตนคืน 100% ของเงินลงทุน

27  กรณีที่ การจายดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับระดับปจจัยอางอิง ให้ระบุเงื่อนไขดังกลาวไวอยางชัดเจนด้วย เชน หากมีวันใดวันหนึ่งในงวดการจายดอกเบี้ย - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. ต่ํากวา X 1 บาท ผู้ถือหุนกู จะได้รับดอกเบี้ย Y 1 % ต่อป - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. อยู่ระหวาง X 1 และ X 2 บาท ผู้ถือหุนกูจะได้รับดอกเบี้ย Y 2 % ต่อป - ราคาหุนสามัญของบริษัท ก. สูงกวา X 2 บาท ผู้ถือหุนกู จะได้รับดอกเบี้ยในอัตรา Y 3 % ต่อป ตัวอยาง กรณีมีการคุมครองเงินตนที่ระดับรอยละ 80 ของมูลคาที่ตราไวผู้ลงทุนมีเงินลงทุน 1,000 บาท ในหุนกูที่มีปจจัยอางอิงเป็นหุนบริษัท BBB ซึ่งจายดอกเบี้ย 10% ต่อปและถือจนครบอายุ ผู้ถือหุนกูจะได้รับชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยเป็นเงินสด โดยเงินตนที่จะได้รับคืนขึ้นอยู่กับราคาปดของ หุนอางอิง ณ วันที่ครบกําหนดอายุหุนกู จะสามารถแบงได้เป็น 3 กรณี ได้แก 1) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ เทากับหรือสูงกวา 100 บาท (ราคาหุน อางอิง) ผู้ ถือหุ นกูจะได้รับคืนเงินตน เทากับ 1,000 บาท (มูลคาที่ ตราไว) และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 1,100 บาท ซึ่งคิดเป็นอัตราผลตอบแทนเทากับรอยละ 10 ต่อป 2) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ สูงกวา 80 บาท แต่ต่ํากวา 100 บาท เชน 90 บาท ผู้ถือหุ นกูจะได้รับคืนเงินตน เทากับราคาปดหุ น BBB คูณ 10 (90 x 10) หรือ 900 บาท และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 1,000 บาท ซึ่งคิดเป็นอัตราผลตอบแทน เทากับรอยละ 0 ต่อป 3) ถาราคาปดหุนบริษัท BBB ณ วันที่ครบกําหนดอายุ เทากับหรือต่ํากวา 80 บาท ผู้ถือหุนกูจะ ได้รับคืนเงินตน เทากับ 800 บาท (รอยละ 80 ของมูลคาที่ตราไว) และดอกเบี้ย 100 บาท รวมเป็นจํานวน 900 บาท ดังนั้น ผู้ลงทุนจะขาดทุนเทากับรอยละ 10 ต่อป 4 . วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนกู ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน

28 5. การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่หุนกูที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจ ลักษณะของหุนกู ที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของหุนกู ที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจาย ดอกเบี ้ ยและ การชําระหนี ้ ประเภทและมู ลคำทรั พย สิ น ที ่ ใช เป นหลั กประกั น ข อมูล ผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของ สัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน

29 สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหุนกู กรณีเสนอขายแบบภายใตโครงการ กรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป (PO) ผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors : “HNW”) และผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors : “UHNW”) 1. รายละเอียดของหุนกู ที่เสนอขาย - ให้ระบุกฎหมายของประเทศที่ใชบังคับกับหุนกู (applicable law) - ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่ อถือ รวมทั้ งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับ ความนาเชื่ อถือของหุ นกู ผู้ออกหุ นกู (กรณีหุนกู ระยะสั้น) หรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ตามหุ นกู โดยสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ - ในกรณีที่หุนกูที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของหุนกูที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของ หุนกูที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายดอกเบี้ยและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูล ผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของ สัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน - กรณีที่ ผู้ แทนผู้ ถือหุ นกูที่ ได้รับการแต่งตั้ งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ ของผู้ ออกหุ นกู ให้เปดเผย ความสัมพันธดังกลาวไวด้วย - ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน - หลักเกณฑการคํานวณดอกเบี้ย เงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวของกับการจายดอกเบี้ย และ/หรือการชําระคืน เงินตน (ถามี) รวมถึงให้แสดงผลตอบแทนที่ ผู้ถือหุนกู จะได้รับจากการลงทุนภายใตสถานการณตาง ๆ ไวด้วย 2. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายหุนกู ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายหุนกู ผานผู้จัดจําหนายตราสารหนี้หรือผู้คาตราสารหนี้หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายตราสารหนี้ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับผู้ออกหุนกูในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลั กษณะความสัมพันธไวด้วย

30 (3) ผู้คาตราสารหนี้ (กรณีผานผู้คาตราสารหนี้) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาตราสารหนี้มีความเกี่ยวของกับ ผู้ ออกหุ นกูในลักษณะที่ อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุ นระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้ออกหุนกูกับผู้จัดจําหนายตราสารหนี้/ผู้คาตราสารหนี้ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาตราสารหนี้ ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาหุนกูที่ผู้ออกหุนกูจะ ได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาตราสารหนี้ไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายหุนกู ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายหุนกู โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนกู ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรหุนกู ให้ระบุหลักการจัดสรรหุนกูให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวนหุนกู ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนหุนกู และเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อหุนกู ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อหุนกู การกําหนดจํานวนในการจองซื้อหุนกู ต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อหุนกู ชื่อบริษัทเงินทุนหรือ ธพ. ที่เป็นตัวแทนรับเงินคาจองซื้อหุนกู วิธีการ และเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อหุนกู คืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อหุนกู เกินกวาจํานวนหุนกู ที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อหุนกู เกินกวาจํานวนหุนกู ที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อหุนกู ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อหุนกูในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับการจัดสรรหุนกู (11) วิธีการสงมอบหุนกู ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 3. ตัวแทนการชําระเงิน (paying agent) ให้ระบุรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ เบอรโทรศัพท ของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ออกหุนกูให้ทําหน้า ที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตในการทําหน้าที่เป็นตัวแทนการชําระเงิน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูทําหน้าที่ในการชําระเงินเอง โดยไม่ได้มีการทําสัญญาแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่ เป็นตัวแทนการชําระเงิน ให้ระบุวาผู้ออกหุนกู เป็นผู้ทําหน้าที่ดังกลาว

31 4. ตลาดรองหุนกู (ถามี) ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูประสงคจะนําหุนกูที่ออกและเสนอขายไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดรองใด ๆ ให้ระบุชื่อของตลาดดังกลาว รวมทั้งวันเวลาที่คาดวาจะนําหุนกูดังกลาวไปจดทะเบียนด้วย นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ออกหุนกูจะแต่งตั้งบุคคลใดทําหน้าที่เป็นผู้ดูแลสภาพคลอง (market maker) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และสาระสําคัญของขอตกลงในการทําหน้าที่เป็น market maker ด้วย 5. ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับ ผู้ ออกหุ นกูในลักษณะที่ อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุ นระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ให้เปดเผยขอมูล ดังนี้ (1) วิธีการเสนอขายหุนกู ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) (2) ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนหุนกู ที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน

32 สวนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1. ผู้ออกตราสารหนี้ ให้กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาระดับผู้อํานวยการ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการเสนอขายผลิตภัณฑดานตราสารหนี้ที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจ ลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล 8 โดยให้ใช ขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน /ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ออกหุนกู ขาพเจ้าขอรับรองวาขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกหุนกูตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย หุนกูฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูล ที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูฉบับนี้” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ เสนอขายหุนกู ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้ เสนอขายหุ นกูไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุ จําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 8 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

33 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกหุนกู ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุ นกู ฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกหุนกูในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ออกหุนกูหรือผู้ลงทุนอยางชัดเจน เพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกหุนกูมีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกหุนกูในอนาคต ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกู)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกหุนกูในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความ ในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหุนกูนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูล และรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

1 แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหน ังสือชี ҟ ชวนสําหร ับการออกและเสนอขายตราสารหนี ҟ ที ѷ ออก และเสนอขายโดยนิติบุคคลต่างประเทศ Registration Statement for Issuing and Offering of Debt Securities by Foreign Issuer Commercial Name of the Issuer … Offering to … Features of Debt Securities i.e. interest rate/ offering unit /total principle amount/ par value per unit/offering price per unit etc. Credit Rating … Financial Adviser … Underwriter… Representative of Debt Securities Holders … Registrar and Paying Agent … Warnings: “Prior to making an investment decision, investors should exercise their own judgment when considering detailed information relating to the issuing company of the securities and the conditions of securities, including the suitability for investment and the relevant risk exposure. The effectiveness of this registration statement neither represents that the Ministry of Finance of Thailand, the Securities and Exchange Commission or the Office of the Securities and Exchange Commission have suggested investment in the offered securities; nor contain any assurance in relation to the value or returns on the offered securities; nor shall they certify the accuracy and completeness of information contained in the registration statement. The liability for certification of the accuracy and completeness of information contained in the registration statement is vested in the securities offeror. If the registration statement contains any false statements or omits to state any material information which should have been disclosed, the securities holders shall be entitled to claim damages from the securities offeror or the securities owners pursuant to section 82 of the Securities and Exchange Act B.E. 2535 (1992) within one year from the date on which the fact that the registration statement contained false information becomes known or should have been known, but not exceeding two years from the effective date of registration statement.” แบบ 69-FD

2 CONTENTS Page I. IDENTITY OF DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND ADVISERS … 3 II. DESCRIPTION OF THE DEBT SECURITIES … 3 III. RISK FACTORS … 6 IV. MARKETS … 6 V. INFORMATION ABOUT THE PUBLIC OFFERING … 6 VI. TAXATION … 8 VII. SELECTED FINANCAL INFORMATION … 8 VIII. INFORMATION ABOUT THE ISSUER … 9 IX. OPERATING AND FINANCIAL REVIEW AND PROSPECTS …10 X. DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND EMPLOYEES …11 XI. MAJOR SHAREHOLDERS AND RELATED PARTY TRANSACTIONS …11 XII. INTERESTS OF EXPERTS AND COUNSEL …13 XIII. FINANCIAL INFORMATION …13 XIV. ADDITIONAL INFORMATION …15 Certification of the Accuracy of Information …17

3 I. IDENTITY OF DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND ADVISERS A. Directors and Senior Management 1 Provide the names, nationality, addresses and functions of the issuer’s directors and senior management or the person within the issuer who is responsible for the information contained in the registration statement. B. Advisers and Other Parties Provide the names and addresses of a. the issuer’s principal bankers to the extent the issuer has a continuing relationship with such entities; b. sponsor for listing or issue manager to the offer; c. underwriter to the offer; d. legal adviser to the offer; e. contact person; f. arranger of the offer; and g. other parties who are responsible for disclosure of information contained in the registration statement (if any). C. Auditors Provide the names, addresses and professional qualifications (including any membership in a professional body) of the issuer’s external auditors for the preceding two years. II. DESCRIPTION OF THE DEBT SECURITIES A. Economic Terms of the Debt Securities 1. Provide information about the terms of the debt securities that will be offered, such as the interest and any other payments (e.g., premium) that will be paid on the debt securities, the maturity date, and provisions relating to redemption, amortization, and retirement of the debt securities. 2. Indicate whether the debt securities are registered or bearer securities, the total nominal amount of the debt securities as well as the individual face value of each type of debt securities offered or listed. 3. Provide information about the form of the security, such as whether investors can obtain physical certificates or whether their interests will be recorded via a book-entry system. 4. Indicate the total nominal amount, the individual face value, the interest to be paid during the life of the debt securities, and the dates on which such payments are due. 5. Describe any arrangement for transfer and any transfer restriction of the debt securities. 6. Disclose the currency the debt securities are denominated as well as the currency in which any amount payable on the debt securities. In case the payments on the debt securities are payable in two or more currencies, indicate whether any person holds an option to determine the currency conversion, as well as the basis for that determination. 7. Where not all of the debt securities being offered are guaranteed, provide a statement for a non-guaranteed portion. B. Covenants Relating to the Issuance of the Debt Securities 1 “senior management” shall refer to the term of “executive” in the Notification of the Securities and Exchange Commission No. KorChor. 5/2552 Re: Definitions used in the SEC’s Notifications Relating to Issuance and Offering of any Type of Debt Securities dated March 13, 2009.

4 1. Provide information of the covenants that are aimed at protecting debt securities holders, under which the issuer is required to take or refrain from taking certain actions. Examples of the covenants include a. prohibition on the payment of dividends if certain conditions are met in order to prevent depletion of the issuer’s funds that are available to pay debt securities holders; b. provision requiring the issuer to maintain certain financial ratios; c. provision that restrict the issuer from creating additional debt under certain conditions; d. provision that restricts the issuer from creating a lien on its assets or that of its subsidiaries so that other creditors obtain a senior position to the debt securities holder offered under the registration statement; e. prohibition on issuing other types of securities under certain circumstances to prevent the issuer from taking unreasonably burdensome indebtedness or obligations; f. covenant concerning subsequent issues of other forms or series of debt securities; and g. covenant concerning any right to create additional charges over any of the assets. 2. For secured debt securities, other covenants may include a. provision requiring the maintenance of properties; b. provision permitting or restricting the withdrawal of cash deposited as a basis for the issuance of additional securities; and c. provision regarding the release or substitution of assets securing the issue. C. Guarantees Provide information about the guarantors and the main features and terms of guarantees. The information shall cover at least a. business overview; b. financial information; c. risk factors; d. capitalization and indebtedness statement; and e. credit rating (if any). D. Liens In case of issuing secured debt securities, disclose the kind and priority of any lien securing the issue, as well as the principal properties or assets subject to the lien include a. the aggregate value of the tangible assets which have been charged to secure the repayment of all or any money payable in respect of the secured debt securities ; and b. where any of the above tangible assets are in the form of real property, provide information on report of valuation of interest of the issuer and each of its guarantors in each property. Such report shall be made by an independent qualified valuer and shall be dated not more than six months before date of lodgment of registration statement. E. Subordination and Limitation of Rights 1. The ability of debt securities holders to enforce their rights as creditors of the issuer depends on whether other security holders or creditors have claims that would be viewed as senior, as having priority, or otherwise limiting the rights of the debt securities holders to any payment on the debt securities. 2. Provide information about the existence or possible creation of other securities and other indebtedness with seniority to the debt securities. If the rights of the debt securities holders will be subordinated to other securities holders or creditors, identify, as of the most recent practicable date, the aggregate amount of outstanding indebtedness that is senior to the subordinated debt securities. Also, disclose whether there is any limitation on the creation of additional senior indebtedness.

5 3. Indicate whether the rights evidenced by the debt securities are or may be materially limited or qualified by the rights of any other class of securities. F. Default Include information about the general types of events that would constitute a default, as well as the remedies that would be available in the event of default. G. Consequences of a Failure to Make Payment Disclose any consequence of a failure to make payment, which may not constitute an event of default, the consequences of such failure and the available remedies under either the terms of the debt securities or the applicable law. H. Representative of Debt Securities Holders 1. Disclose the party that is acting as the debt securities holders’ official representative who acts in a fiduciary capacity for the debt securities holders, as well as the provisions applicable to this representation. 2. Disclose the address of the representative, and the nature of any material relationship between the representative and the issuer or its affiliates to indicate whether a conflict exists between its interest as the representative of the debt securities holders and any other interest that it may have. 3. Disclose whether there is any requirement before the representative can act on behalf of the debt securities holders, such as a requirement that the holders of a certain percentage of the debt securities have instructed the representative to take certain action. 4. Disclose whether the representative may also require indemnification before proceeding to enforce a lien against the issuer’s property or before taking any other action upon the request of the debt securities holders. 5. Disclose the material terms of the contract or provisions of law governing the representation of the debt securities holders, as well as where the investors may obtain access to the contract. Indicate whether the issuer is required to make periodic disclosure such as disclose the evidence periodically that the issuer is not in default or that it is in full compliance with the terms of that contract to provide any early indication of any deterioration in the issuer’s financial condition. I. Meeting of Debt Securities Holders Disclose details relating to the requirements for convening, attending or voting at a meeting of debt securities holders, if such a meeting can be held. Disclose the conditions governing the manner in which such a meeting would be convened, such as quorum requirements, the conditions for being allowed to attend the meeting and the minimum number of votes required to adopt certain types of resolutions. J. Modification of Terms Disclosure of any provision relating to how the terms of the debt securities or rights of the debt securities holders may be modified. K. Paying Agent Identify name and address of the issuer’s appointed entity who is responsible for making payments on the debt securities, and a contact person for collection of any payments due. L. Credit Rating 1. Provide information about the credit rating that has been given to the issuer or the issue upon the request or with the cooperation of the issuer, including name of the credit rating agency, the credit rating (including whether it is a short-term or long-term credit rating) and date on which the credit rating was given. 2. If the issuer or its guarantor has been given a credit rating, disclose whether or not the issuer, its guarantor or any of their related parties had paid any fee or benefit of any kind to the credit rating agency in consideration for the credit rating.

6 M. Applicable Law Identify the law applicable to the debt securities being publicly offered and/or listed. III. RISK FACTORS 1. The registration statement shall prominently disclose risk factors that are specific to the issuer and its industry and had materially affected or could materially affect, directly or indirectly, the issuer’s financial position and results and business operations, and investments by holders of securities in the issuer, in a section headed “Risk Factors”. The issuer is encouraged, but not required, to list the risk factors in the order of their priority to the issuer. The Risk Factors section is intended to be a summary of more detailed discussion contained elsewhere in the registration statement. 2. Provide the disclosure in a separate section titled “Risk Factors” and separate different types of risk factors into different subsections. 3. In case of offering for sales of unusually risky debt securities, highlight the riskiness of securities on the cover page. IV. MARKETS A. Identity of Exchanges and Regulated Markets. Identify all the exchanges and/or regulated markets on which the debt securities are listed and/or admitted to trading, or are intended to be listed or admitted to trading. In the latter case, indicate the dates on which the debt securities will be listed and/or admitted to trading. B. Entities Providing Liquidity. If any entity has made a firm commitment to act as intermediary for the debt securities in secondary market trading, such as market maker providing liquidity through bid and offer rates, disclose the name and address of the entity and the main terms of its commitment to provide investors with useful information about the potential secondary market liquidity of the debt securities. In some circumstances, the issuer may act in this capacity, and investors would find this information very relevant. V. INFORMATION ABOUT THE PUBLIC OFFERING A. Offer Statistics Provide information about the size of the issuer’s public offering, including the offer price or the method of determining the price and the number of securities to be offered. B. Pricing 1. Disclose the information about the yield and the method by which the price has been determined. 2. If the offering price has not already determined, indicate how the price will be disclosed to the public. C. Method and Expected Timetable 1. Provide information about the manner in which the debt securities will be offered and the relevant dates of the public offering. 2. Disclose the time period during which the offer will be opened, and to whom. 3. If the offering period may be extended or shortened, disclose details about the method by which the offering period may be extended or shortened and the duration of possible extension, as well as how this information will be made public. 4. In case the exact dates of the offering period are not known, disclose the arrangements for announcing the definitive dates. 5. Disclose other relevant details about participating in the public offering. For instance, the registration statement shall indicate how investors may pay for the debt securities, as well as the time limits for making any payment. 6. Where applicable, methods of and time limits for

7 a. the delivery of prospectus evidencing title to the securities being offered (including temporary prospectus of title, if applicable) to subscribers or purchasers; and b. the book-entry transfers of the securities being offered in favor of subscribers or purchasers. D. Underwriting Arrangement 1. Disclose the names and addresses of the entities underwriting the public offering, as well as describe the material features of the underwriting relationship. 2. Where not all of the debt securities being offered are underwritten, provide a statement of a non-underwritten portion. 3. Indicate whether the amount of the offering could be increased, such as by the exercise of an underwriter’s over-allotment option and state the exercise period and amount granted under such option. 4. Disclose underwriters’ financial interest in the success of public offering and listing (For example - “firm commitment offering” or “best efforts”). If the underwriter has a material relationship with the issuer, disclose the nature and terms of that relationship. 5. If other parties are involved in distributing the debt securities to the public, briefly outline the plan of distribution and indicate the amount of any debt securities that are to be offered other than through the underwriters. The disclosure shall include terms relating to any volume limitations on sales and conditions under which the agreement may be terminated. If known, disclose the identity of the broker(s) or dealer(s) that will participate in the public offering, as well as the amount of debt securities to be offered through each. E. Targeted Investors 1. Disclose if the issuer expects to offer debt securities to certain selected investors. Identify any group of targeted potential investors to whom the debt securities are being offered, noting any allocation that is reserved to any group of targeted investors. 2. If the offering is being made simultaneously in the markets of two or more countries and if a tranche has been or is being reserved for certain markets, provide information about the tranche and details of any other allocation arrangement. F. Expenses of the Issue 1. Disclose the expenses to be paid in relation to the public offering to enable investors and others to assess how much of the offering proceeds will be available for the issuer. 2. Disclose a reasonably itemized statement of the major categories of expenses incurred in connection with the issuance and distribution of the debt securities to be offered. (in absolute terms and as a percentage of the total amount of the offer) For example, this could include the total amount of the discounts or commissions agreed to by the underwriters or other placement or selling agents and the issuer or offeror, as well as the percentage that the commissions represent of the total amount of the offering. 3. Disclose if parties other than the issuer are paying the expenses, such as the underwriters or selling securities holders. G. Reasons for the Offer and Use of Proceeds 1. The registration statement shall disclose the following a. Estimated net amount and percentage of the proceeds broken down into each principal intended use thereof. If the anticipated proceeds will not be sufficient to fund all the proposed purposes, the order of priority of such purpose shall be given, as well as the amount and sources of other funds needed. Disclose also how the proceeds will be used pending their eventual utilization for the proposed purposes;

8 b. If the issuer has no specific plan for the proceeds, it shall discuss the principal reasons for the offering; and c. Where the offer is not fully underwritten on a firm commitment basis, state the minimum amount must be raised by the offer of securities for the offer to be preceded. 2. If the proceeds are being used directly or indirectly by the issuer to acquire assets, other than in the ordinary course of business, describe these assets and their costs. 3. If the assets have been or will be acquired from affiliates of the issuer or their associates, disclose the persons from whom they will be acquired and how the cost to the issuer will be determined. 4. Indicate if the proceeds have been or will be used to acquire assets from related parties, and whether the acquisition will be transacted on an arm’s length basis. 5. If the proceeds may or will be used to finance acquisitions of other businesses, give a brief description of such businesses and information on the status of the acquisitions. 6. If the issuer intends to use any material part of the proceeds to discharge, reduce or retire other indebtedness, provide information about the interest rate and maturity of that indebtedness. For indebtedness incurred within the past twelve months, indicate how the proceeds of that indebtedness were made use of. 7. Disclose the amount and percentage of the debt securities beneficially held by each selling securities holder before and immediately after the offering indicates whether or not the selling securities holders intend to resell all or a large portion of their interests in that class of securities through the offering. VI. TAXATION Provide information about the relevant tax provisions, including whether the issuer will be responsible for the withholding of tax on any payment made on the debt securities, and provide relevant details about any reciprocal tax treaty between the Home and Host Countries. VII. SELECTED FINANCAL INFORMATION A. Selected Financial Data 1. The issuer shall provide selected audited historical financial data regarding the issuer or, if the issuer is the holding corporation of a group, the group of which shall be presented for the two most recent financial years (or such shorter period that the issuer has been in operation), in the same currency as the financial statements, and highlight some of the most salient information from the financial statements. 2. If interim financial statements are included in the registration statement, the selected financial data shall also include updated information for that interim period. If selected financial data for interim periods is provided, comparative data from the same period in the prior financial year shall also be provided, except that the requirement for comparative balance sheet data is satisfied by presenting the year-end balance sheet information. All of the selected financial data shall be presented in the same currency as the financial statements themselves. 3. The selected financial data shall include specific line items expressed in the same manner as the corresponding line items in the issuer’s financial statements. For example, the information could include such items as: net sales or operating revenues; income (loss) from operations; income (loss) from continuing operations; net income (loss); total assets; total liabilities; and net assets or liabilities. 4. If the financial statements provided in the registration statement are prepared in a currency other than Thai Baht, the issuer is required to disclose the exchange rate between the financial reporting currency and Thai Baht. The registration statement could include the exchange rates a. at the latest practicable date;

9 b. the high and low exchange rates for each month during the previous six months; and c. for the two most recent financial years and subsequent interim period for which financial statements are presented, the average rates for each period, calculated by using the average of the exchange rates between that financial reporting currency and Thai Baht on the last day of each month during the period. B. Capitalization and Indebtedness Provide information about capitalization and indebtedness. Disclose any subsequent significant changes in the capitalization and indebtedness and a statement of capitalization and indebtedness that provides current information about the issuer’s guaranteed/unguaranteed and secured/unsecured indebtedness. VIII. INFORMATION ABOUT THE ISSUER A. General Information about the Issuer 1. Include basic information about the issuer, such as its legal and commercial name, and the address and telephone number of its registered office (or principal place of business, if this is different from its registered office). 2. The registration statement shall also contain information about the issuer’s domicile and legal form, the legislation under which it operates, its country of incorporation, its incorporation date and the length of its life (unless its life span is indefinite). 3. If the issuer has a website, disclose the website address in the registration statement. B. History and Development of the Issuer Describe material events in the development of the issuer’s business that could have an impact on its ability to fulfill its obligations on the debt securities or affect its solvency. Include discussion about the nature and results of any material reclassification, merger or consolidation of the issuer or any of its significant subsidiaries. Examples of other material events may include: acquisitions or disposals of material assets, other than in the ordinary course of business; material changes in the types of products produced or services rendered; name changes; or the nature and results of any bankruptcy, receivership or similar proceedings with respect to the issuer or its significant subsidiaries. C. Legal Proceedings Provide information on any legal or arbitration proceedings (including any governmental proceedings pending or known to be contemplated) that may have, or have had in the twelve months immediately preceding the date of registration statement, significant effects on the issuer’s financial position or profitability. D. Business Overview 1. Provide a general overview of the issuer’s business and information about the nature of the issuer’s operations and its principal activities, including the main categories of its products and/or services provided, and highlights factors that could have an impact on the market price of the debt securities. 2. Describe the nature of the issuer’s operations and its principal activities, stating the main categories of products sold and/or services performed for each of the last two financial years. Indicate any significant new products and/or services that have been introduced and, to the extent the development of new products or services has been publicly disclosed, give the status of development. 3. Summarize information regarding the extent to which the issuer is dependent, if at all, on patents or licenses, industrial, commercial or financial contracts (including contracts with customers or suppliers) or new manufacturing processes, where such factors are material to the issuer’s business or profitability. 4. Describe the material effects of government regulations on the issuer’s business, identifying the regulatory body.

10 E. Group Structure If the issuer is part of a group, provide information about the group and the issuer’s position within that group. Also indicate whether and how the issuer is dependent on other entities within the group. Provide a listing of the issuer’s significant subsidiaries, where subsidiaries whose absolute net assets, net liabilities or profit or loss before tax accounts for 10% or more of those of the group for any of the two most recent completed financial years or such shorter period that the issuer has been in operation, including name, country of incorporation or residence, proportion of ownership interest and, if different, proportion of voting power held. F. Patents, Licenses or Contracts Provide information regarding the extent to which the issuer is dependent, if at all, on patents or licenses, industrial, commercial or financial contracts (including contracts with customers or suppliers) or new manufacturing processes, where such factors are material to its business or profitability. IX. OPERATING AND FINANCIAL REVIEW AND PROSPECTS A. Operating Results Disclose significant factors that materially affected the issuer’s income from operations, including unusual or infrequent events or new developments and the extent to which income was affected by these factors. Significant factors could include, for example, the impact of inflation, the impact of foreign currency fluctuations, and any governmental economic, fiscal, monetary or political policies or factors that have materially affected, or could materially affect, the company’s operations. Also disclose any significant components of revenues and expenses that are necessary to understand the issuer’s results of operations. B. Liquidity and Capital Resources 1. Provide information about the issuer’s short-term and long-term liquidity, i.e., its ability to generate adequate amounts of cash to meet its cash obligations. 2. Identify the issuer’s internal and external sources of liquidity, as well as any material, unused sources of liquidity, as at the latest practicable date. This could include a discussion of why these material sources of liquidity are not being used. Include a statement by the issuer that, in its opinion, the working capital available to the issuer as at the latest practicable date is sufficient for the next twelve months or for the issuer’s present requirements, or, if not, how it proposes to provide the additional working capital needed. 3. If a material deficiency is identified in the issuer’s ability to meet its cash obligations, disclose the course of action that the issuer has taken or proposes to take to remedy the deficiency. Examples of disclosure that can be relevant include the level of borrowings at the end of the period covered by the financial statements and the maturity profile of borrowings. 4. Disclose information about the issuer’s material commitments for capital expenditures as of the latest practicable date. In addition, the registration statement shall indicate the general purpose of such commitments and the anticipated sources of funds needed to fulfill such commitments. C. Trend Information 1. Indicate the facts and circumstances surrounding known material trends and uncertainties. 2. Indicate the potential impact of currently known trends, events and uncertainties that are reasonably likely to have material effects on the issuer’s net sales or revenues, income from operations, profitability, liquidity or capital resources, or that would cause reported financial information not necessarily to be indicative of future operating results or financial condition. For example, this could include disclosure of the most significant recent trends in production, sales and inventory, and costs and selling prices since the latest financial year.

11 3. If a financial forecast is also included, provide a clear description of the assumptions upon which the issuer has based its forecast. D. Off-Balance Sheet Arrangements Disclose all material off-balance sheet arrangements that have, or are reasonably likely to have, a material effect on the issuer’s financial position. Disclose such information that the issuer believes is necessary for an understanding of these arrangements and their material impact on the issuer’s financial position. E. Critical Accounting Estimates Disclose estimates and assumptions involved in applying accounting policies. In determining which critical accounting estimates or assumptions shall be disclosed, the issuer shall consider whether the nature of the estimate or assumption is material because of the subjectivity and judgment required to account for highly uncertain matters, as well as whether the estimate or assumption will have a material impact on financial condition or operating performance. X. DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND EMPLOYEES A. Directors and Senior Management 1. Identify directors and senior management of the issuer who play critical roles in the success of the issuer’s operations, and disclose their business experience, functions, and areas of experience within the issuer to provide information about their professional competence. 2. If these individuals have a material interest in the offering or listing, other than in their official capacities, this shall be disclosed. Also disclose if anything would impede the ability of these individuals to perform their required business activities for the issuer. For example, this could include whether any of the issuer’s directors also serve as directors for other companies. 3. Identify material background information (certain specified matters relating to conduct under the law) on director, senior management or controlling shareholder 2 or controlling interest-holder. B. Compensation 1. Provide information about the remuneration paid to the issuer’s directors and senior managements that could have a material impact on the issuer’s ability to service the debt obligations. 2. Disclosure of compensation a. Issuer’s directors are on an individual basis; and b. Issuer’s senior managements are on lump sum basis. C. Share Ownership Provide current information about the amount of shares held by the issuer’s directors and members of its senior management bodies. XI. MAJOR SHAREHOLDERS AND RELATED PARTY TRANSACTIONS A. Major Shareholders 1. Disclose whether an issuer is directly or indirectly controlled by another entity or natural person, as well as the nature of such control. To the extent known to the issuer, indicate whether the issuer is directly or indirectly owned or controlled by 2 “controlling shareholder” : The shareholder beneficially owning more than 10% interest in the voting shares of the company.

12 another corporation, by any foreign government or by any other natural or legal person severally or jointly. If such control exists, the names of the controlling corporations, government or other persons shall be disclosed, as well as a brief description of the nature of the control, including the amount and proportion of capital held by each of them that confers a right to vote. In addition, disclose any arrangement known to the issuer that may, at a subsequent date, result in a change in control of the issuer. 2. Disclose the major shareholders who beneficially own a 5% or more of each class of the issuer’s voting securities. B. Related Party Transactions 1. Provide the information required below for the period since the beginning of the issuer’s preceding two financial years up to the date of the registration statement, with respect to transactions or loans between the issuer and (a) enterprises that directly or indirectly through one or more intermediaries, control or are controlled by, or are under common control 3 with, the issuer; (b) associates; (c) individuals owning, directly or indirectly, an interest in the voting power of the issuer that gives them significant influence over the issuer, and close members of any such individual’s family; (d) key management personnel, that is, those persons having authority and responsibility for planning, directing and controlling the activities of the issuer, including directors and senior management of companies and close members of such individuals’ families; and (e) enterprises in which a substantial interest in the voting power is owned, directly or indirectly, by any person described in (c) or (d) or over which such a person is able to exercise significant influence. This includes enterprises owned by directors or major shareholders of the issuer and enterprises that have a member of key management in common with the issuer. Close members of an individual’s family are those that may be expected to influence, or be influenced by, that person in their dealings with the issuer. An associate is an unconsolidated enterprise in which the issuer has a significant influence or which has significant influence over the issuer. Significant influence over an enterprise is the power to participate in the financial and operating policy decisions of the enterprise but is less than control over those policies. The shareholder beneficially owning more than 10% interest in the voting shares of the company is presumed to have a significant influence on the company. 2. The nature and extent of any transactions or presently proposed transactions which are material to the issuer or the related party, or any transactions that are unusual in their nature or conditions, involving goods, services, or tangible or intangible assets, to which the issuer or any of its parent or subsidiaries was a party. 3. The amount of outstanding loans (including guarantees of any kind) made by the issuer or any of its parent or subsidiaries to or for the benefit of any of the persons listed above. The information given shall include the largest amount outstanding during the period covered, the amount outstanding as of the latest practicable date, the nature of the loan and the transaction in which it was incurred, and the interest rate on the loan. 4. For each transaction referred to in Part XI.B. Related Party Transactions a. that has been completed or will be completed at or before the close of the offer, disclose whether or not the transaction has been or will be carried out on an arm’s length basis; b. that will continue after the close of the offer, disclose 3 ”common control”: Two or more entities or businesses are under common control if they are ultimately controlled by the same party or parties and the control is not transitory. A party or a group of parties shall be regarded as controlling an entity or business when the party or group of parties, as a result of contractual arrangements, has or collectively have the power to govern its financial and operating policies so as to obtain benefits from its activities.

13 (i) whether or not the transaction has been carried out on an arm’s length basis; and (ii) the procedure undertaken or which will be undertaken to ensure that such transaction will be carried out on an arm’s length basis; or c. that has been proposed, disclose the procedure which will be undertaken to ensure that such transaction will be carried out on an arm’s length basis. 5. For each loan referred to in Part XI.B. Related Party Transactions a. that has been repaid or will be repaid at or before the close of the offer, disclose whether or not the loan was made on an arm’s length basis; b. that is to be repaid, whether partly or wholly, after the close of the offer, disclose (i) whether or not the loan was made on an arm’s length basis; and (ii) when the loan is intended or required to be repaid; or c. that has been proposed, disclose the procedure which will be undertaken to ensure that such loan will be made on an arm’s length basis. 6. Where transactions or loans referred to in Part XI.B. Related Party Transactions are similar and recurring in nature or could otherwise be grouped in a meaningful manner, the information required with respect to Part XI.B. Related Party Transactions shall be provided on an aggregate basis, if the aggregate of these transactions or loans are material in the context of the offer. XII. INTERESTS OF EXPERTS AND COUNSEL If any of the experts, counselors, underwriter or other financial adviser named in the registration statement has a material direct or indirect economic interest in the issuer, or an interest that depends on the success of the issuer’s offering or listing or otherwise has a material conflict of interest in rendering its advice or opinion, the nature and terms of that interest or conflict of interest shall be disclosed. XIII. FINANCIAL INFORMATION A. Consolidated Statements and Other Financial Information 1. The registration statement must contain comparative consolidated financial statements that cover the latest two financial years (or such shorter period that the issuer has been in operation). The last year of audited financial statements may not be older than fifteen months before the date of submission of registration statement. Such financial statements shall be audited by auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list. 2. Where a common control combination involving the issuer has occurred at any time during the latest two financial years, the financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part shall be prepared to show the combined financial information of the issuer and the common control entities or businesses as if the common control combination had taken place at the beginning of the latest two financial years or at the time when the common control entities or businesses first came under common control, whichever date is the later. For the purpose of this item, “common control combination” means a business combination in which all the combining entities or businesses are under common control. Such consolidated financial statements shall be audited by auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list. In case of acquisition of entities not previously under common control, the consolidated financial statement shall include operating results of such entities from the beginning of the year such entities are acquired to illustrate full year operating results. Such consolidated financial statement does not need to be audited, but shall be verified by the third party, such as the financial adviser on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list.

14 3. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part must be a. prepared in accordance with the International Financial Reporting Standards and International Accounting Standards, or such comprehensive body of accounting standards as the International Accounting Standards Board may adopt from time to time (referred to in this Part as IFRS); and b. audited in accordance with the International Standards on Auditing, or such comprehensive body of auditing standards as may be adopted by the International Auditing and Assurance Standards Board from time to time (referred to in this Item as ISA). 4. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part must be accompanied by a. an audit report or audit reports covering each of the financial statements; and b. a statement identifying the auditors who audited the financial statements and the membership or memberships of each auditor in any professional body or bodies. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part shall comprise such items as may be required by IFRS. 5. The last year of audited financial statements may not be older than fifteen months before the date of submission of registration statement. 6. The registration statement shall contain such consolidated interim financial statements which must be prepared in accordance with IFRS. If the date of submission of the registration statement is later than five months after the end of the most recent completed financial year for which audited financial statements have been prepared, provide the interim financial statements of the issuer or, where the issuer is a holding company, of the group in accordance with the following paragraph a. If the date of submission of the registration statement is later than five months but equal or not later than eight months: interim financials for at least the first three months of the current financial year is required; b. If the date of submission of the registration statement is later than eight months but equal or not later than eleven months: interim financials for at least the first six months of the current financial year is required; or c. If the date of submission of the registration statement is later than eleven months but equal or not later than fifteen months: interim financials for at least the first nine months of the current financial year (or the previous financial year as the case may be) is required. Interim financial statements shall be reviewed by the auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list, but need not be audited. 7. In the case of transactions that might affect the assets and liabilities and earnings of the issuer, provide such pro forma financial information to show how the transactions might have affected the assets and liabilities and earnings of the issuer. In case the issuer would like to provide projected / forecasted financial statements which is merely optional, the issuer shall properly state the reasonable assumptions, including explanation of calculation methods on setting up such assumptions. 8. Where there has been any material change to the issuer’s accounting policies, provide a summary of the material change and the reason for and quantitative impact of such change on the financial results of the issuer or, if the issuer is a holding company, of the group for each of the financial years for which financial statements are provided pursuant to paragraph 1 of this Part. 9. Provide information on any legal or arbitration proceedings, including those relating to bankruptcy, receivership or similar proceedings which may have, or have had in the twelve months immediately preceding the date of registration statement, significant

15 effects on the issuer’s financial position or profitability. This includes governmental proceedings pending or known to be contemplated. 10. Describe the issuer’s policy on dividend distribution or, if it does not have a fixed policy, state so. B. Significant Changes Disclose whether or not any significant change has occurred which may have a material effect on the financial position and results of the issuer since the date of the annual financial statements, and/or since the date of the most recent interim financial statements, if any, included in the registration statement. If there is no such change, provide an appropriate negative statement. XIV. ADDITIONAL INFORMATION A. Memorandum and Articles of Association Indicate where the information about the issuer’s objectives and purposes may be found in the issuer’s memorandum and articles of association. If applicable, provide information about the register and the entry number for the issuer. B. Material Contracts Provide a brief summary of the material contracts that is outside its ordinary course of business, but the terms of that contract can have a significant impact on the operations and profitability of the business. Information include dates, parties, general nature of the contracts, terms and conditions, and amount of any consideration passing to or from the issuer or any other member of the group. C. Exchange Controls To the extent that the governmental laws, decrees, regulations or other legislations of the issuer’s Home Country may restrict the import or export of capital, or affect the issuer’s ability to make payment to non-resident holders, they shall be disclosed in the registration statement. D. Statement by Experts If the registration statement indicates that a statement or report included in it can be attributed to such an Expert, the person’s name, business address and qualifications shall be disclosed. The registration statement shall indicate that the statement or report, in the form and context in which it is included, has been included with the consent of that person, who has authorized the contents of that portion of the registration statement. E. Sign Offs or Consents from the Financial Adviser Providing Service to the Issuer in the Preparation of the Registration Statement Where the financial adviser in preparing the registration statement is named in the registration statement, include a statement that the person has given, and has not withdrawn, his written consent to being named in the registration statement or provide signing off by such person. F. Documents for Public Inspection The issuer shall provide an indication of where the documents (or copies thereof) concerning the issuer, which are referred to in the registration statement may be inspected. Exhibits and documents on display generally, if not provided in English, either an English translation of the full text or a summary thereof shall be provided. These documents include a. the constituent documents of the issuer; b. every material contract referred to in the registration statement or, where the contract is not reduced into writing, a memorandum giving full particulars thereof; c. the directors’ service contracts referred to in the registration statement; d. every report, memorandum, letter, valuation, statement or other documents by any expert any part of which is included or referred to in the registration statement;

16 e. if the issuer is not the holding company of a group, the audited financial statements of the issuer for each of the financial years for which audited financial statements of the issuer have been included in the registration statement; f. if the issuer is the holding company of a group, the respective audited financial statements of the entities or businesses in the group (being entities or businesses which have audited financial statements) for each of the financial years for which audited financial statements of the issuer have been included in the registration statement; g. if the issuer is the holding company of a pro forma group and pro forma financial statements have been included in the registration statement, the respective audited financial statements of the entities or businesses in the pro forma group (being entities or businesses which have audited financial statements), other than the entities or businesses referred to in sub-paragraph (f), for the financial year in respect of which pro forma financial statements have been included in the registration statement; h. any interim financial statements of the issuer, group or pro forma group, as the case may be, which are included in the registration statement; i. Debt Securities Holders Representative Appointing Agreement; and j. Terms and conditions. k. Disclose key financial ratio (Refer to Notification of the Capital Market Supervisory Board No. TorJor. 44/2556 Re: Rules, Conditions and Procedures for Disclosure regarding Financial and Non-financial Information of Securities Issuers) … …

17 Certification of the Accuracy of Information (Except Part II) 1. The Case of Securities Offering by Foreign Company 1.1 Offer made in Home country simultaneously or in proximate period: the registration statement must be certified by authorized signatories in accordance with laws or regulations of Home Regulator or Home Exchange (if any) or certified by authorized directors including official seal of the company (if any) 1.1.1 In case the offering made in ASEAN member country under ACMF’s MR Prospectuses Framework The company shall confirm that details of information is not less than the most recent information prepared and disclosed by the foreign company to its Home Regulator or the Home Exchange. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that 1) there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading and 2) financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown that the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer are correctly and accurately presented in all material respects. 1.1.2 In other cases The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. “I, as an authorized signatory of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

18 2. The Case of Securities Offering by Thai Company Offer made in ASEAN member country simultaneously or in proximate period under ACMF’s MR Prospectuses Framework. The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. 2.1 The Case of Securities Offering by Listed Company on the Stock Exchange of Thailand Authorized directors or the person who holds the highest executive position and is authorized by authorized directors must sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading (if the authorized directors do not hold the highest executive position or the highest executive position in the accounting line of work, one of the persons who holds those positions must also sign his/her name). 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. “I, as a authorized directors/ the person who holds the highest executive position / the top financial position in an organization of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

19 2.2 The Case of Securities Offering by Non-Listed Company Directors, the person who holds the highest executive position and the person who holds the top executive position in the accounting line of work are required to sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto “I, as a director/ the person who holds the highest executive position/the person who holds the top executive position in the accounting line of work, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … …

20 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 1. … … … 2. … … … [Seal]

21 Certification of the Accuracy of Information (Part II) Signed by authorized signatory of the issuer 1. In cases of the offer made in ASEAN member country simultaneously or in proximate period under ACMF’s MR Prospectuses framework The company shall confirm that details of information is not less than the most recent information prepared and disclosed by the foreign company to its Home Regulator or the Home Exchange. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that 1) there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading and 2) financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown that the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer are correctly and accurately presented in all material respects. 2. In other foreign issuer cases The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. “I, as an authorized signatory of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents either contain any false or misleading statement in materiality or omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

22 3. In cases of the offer made by Thai Company 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser 4. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 3. … … … 4. … … … [Seal] “I, as an authorized director/ the top financial position in an organization of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

23 Definition of Plain Debt Securities : Plain Debt Securities shall mean bonds or Sukuk Ijarah, which have the following characteristics: 1. Denominated in any currency; 1. Fixed term with principal and any accrued interest or returns payable at expiry; 2. Fixed rate of return or floating rate of return that comprises a variable market determined rate and fixed margin; 3. Except for zero coupon bonds or Sukuk Ijarah without periodic distributions, interests or returns are to be paid periodically on dates specified in the registration statement ; 4. Ranked at least equally with amounts owing to unsecured and unsubordinated creditors; 5. Not convertible; 6. Issued to all investors at the same price; and 7. Except for a purchase undertaking in the case of a Sukuk Ijarah, does not embed any swap, option or other derivative. For the purposes of the above definition of “Plain Debt Securities”, the term “Sukuk Ijarah” shall mean a certificate that is issued under the Shariah principles of Ijarah (leasing) and meets the following requirements: 1. Proceeds from the issue are used for Shariah-compliant activities only; 2. A Shariah Adviser has been appointed to ensure that the transaction structure is Shariah- compliant throughout its tenure; 3. A Shariah Adviser has provided a detailed Shariah Pronouncement that the transaction structure is Shariah-compliant; 4. The underlying asset to the Ijarah (lease) agreement meets the following requirements: (a) It is a Shariah-compliant tangible asset; (b) Where it is an encumbered asset, consent from the chargee(s) has been obtained for the sale of the asset; (c) Where it is a jointly-owned asset, consent from the joint owner(s) has been obtained for the sale of the asset; and (d) The asset is used for Shariah-compliant activities only; 5. The lessor shall assume responsibility for maintaining the asset. (For the avoidance of doubt, the lessor can assign the responsibility to the lessee as service agent at the lessor’s cost); 6. The maintenance of the asset shall be determined as agreed by both parties as stated in the terms and conditions of the Ijarah agreement; 7. The lessor shall have ownership over the asset prior to the execution of the Ijarah agreement; 8. The lessee shall provide a purchase undertaking to the lessor to purchase the asset at a pre- agreed price, which must be equal to the principal sum of the certificate and any accrued but unpaid returns; 9. The terms of the Ijarah agreement shall provide that at the expiry of the agreement or the occurrence of a dissolution event under the terms of the certificate (event of default), the purchase undertaking must be enforced; 10. The lease payments, whether fixed or variable, and the lease period are determined upfront; and 11. The periodic payments (returns) must be derived from the lease rentals from the lessee, while the source of the principal payment must be derived from the enforcement of the purchase undertaking; and 12. Late payment charges (“Ta’widh”) may only be imposed with the agreement of the Shariah Adviser.

24 Definitions of Terms Used Terms Definition “associate” This term, in relation to – (a) an individual, means a close member of the individual’s family, and an entity which is controlled, directly or indirectly, by the individual; (b) an entity, its significant person or an entity which is controlled, directly or indirectly, by the significant person of such entity. “associated company” This term, in relation to an issuer, means — (a) any corporation, other than a subsidiary of the issuer, in which the issuer and/or one or more of its subsidiaries has or have a direct interest of not less than 20% but not more than 50% of the voting shares of the corporation; or (b) any corporation, other than a subsidiary or an associated company by virtue of paragraph (a), the policies of which the issuer and/or one or more of its subsidiaries is or are able to control or influence materially. “close family member” This term, in relation to an individual, means the individual’s spouse, parent, child, sibling, spouse of his child and spouse of his sibling. “common control” Two or more entities or businesses are under common control if they are ultimately controlled by the same party or parties and the control is not transitory. A party is or a group of parties shall be regarded as controlling an entity or business when the party or group of parties, as a result of contractual arrangements, has or collectively have the power to govern its financial and operating policies so as to obtain benefits from its activities. “directors” This term, in relation to a corporation, includes: (a) a member of the corporation’s board of directors, board of commissioners or equivalent governing body by whatever name called; (b) a person in accordance with whose directions or instructions the members of the corporation’s board of directors, board of commissioners or equivalent governing body (by whatever name called) is accustomed to act; and (c) an alternate or substitute member of the corporation’s board of directors, board of commissioners or equivalent governing body by whatever name called. “issuer” In the case of a Sukuk Ijarah where the issuer is a special purpose vehicle, the term “issuer” refers to both the issuer and the obligor under the Sukuk Ijarah. “major shareholder” This term, in relation to a corporation, means a person who has an interest in or control over 5% or more of the voting shares of the corporation. “related party” This term, in relation to an issuer, includes: (a) an enterprise that directly or indirectly, controls, or is under common control with, the issuer; (b) a significant person of the issuer; (c) a director or a member of the senior management of, the issuer; (d) a close family member of an individual referred to in (b) or (c); or (e) an enterprise which is controlled, directly or indirectly, by an individual referred to in (b), (c) or (d).

25 Terms Definition “senior management” This term: (a) in relation to a corporation, means all the individuals (including directors of the corporation) who are employed in an executive capacity by the corporation and who each — (i) makes or participates in making decisions that affect the whole or a substantial part of the business of the corporation; or (ii) has the capacity to make decisions which affect significantly the corporation’s financial standing; and (b) in relation to a group of corporations, means all the individuals (including directors of the corporations in the group) who are employed in an executive capacity by any of the corporations in the group and who each — (i) makes or participates in making decisions that affect the whole or a substantial part of the business of the group; or (ii) has the capacity to make decisions which affect significantly the group’s financial standing; “significant person” This term, in relation to a corporation, means a person – (a) who has an interest in or control over 10% or more of the voting shares of the corporation; or (b) who is in a position to control the composition of the majority of the board of directors of the corporation; or (c) who, directly or indirectly, has the ability to control the management and/or the policies of the corporation.

Form 69-FD-MTN Form 69-FD-MTN : Use for Offers for Sales of Debt Securities under Medium Term Note Program (MTN Program) Part 1 : Form 69-FD-BASE is the initial submission of the registration statement. Part 2 : Form 69-FD-PRICING is the pricing supplement with reference to information in Part 1: Form 69-FD-BASE, and the updated information in Part 3: Form 69-FD-SUPPLEMENT Part 3 : Form 69-FD-SUPPLEMENT is the updated information in case the material events occurred during the program.

2 Form 69-FD-MTN Part 1 : Form 69-FD-BASE Registration Statement for Issuing and Offering of Debt Securities under Medium Term Note Program (MTN Program) Commercial Name of the Issuer… Offering to… Types of Debt Securities … Size of MTN Program… Financial Adviser… Underwriter… Representative of Debt Securities Holders… Warnings: “ Prior to making an investment decision, investors should exercise their own judgment when considering detailed information relating to the issuing company of the securities and the conditions of securities, including the suitability for investment and the relevant risk exposure. The effectiveness of this registration statement neither represents that the Ministry of Finance of Thailand, the Securities and Exchange Commission or the Office of the Securities and Exchange Commission have suggested investment in the offered securities; nor contain any assurance in relation to the value or returns on the offered securities; nor shall they certify the accuracy and completeness of information contained in the registration statement. The liability for certification of the accuracy and completeness of information contained in the registration statement is vested in the securities offeror. If the registration statement contains any false statements or omits to state any material information which should have been disclosed, the securities holders shall be entitled to claim damages from the securities offeror or the securities owners pursuant to section 8 2 of the Securities and Exchange Act B.E. 2535 (1992) within one year from the date on which the fact that the registration statement contained false information becomes known or should have been known, but not exceeding two years from the effective date of registration statement.”

3 CONTENTS Page I. IDENTITY OF DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND ADVISERS … 4 II. DESCRIPTION OF MTN Program … 4 III. RISK FACTORS… 5 IV. MARKETS … 5 V. TAXATION … 5 VI. SELECTED FINANCAL INFORMATION … 5 VII. INFORMATION ABOUT THE ISSUER … 6 VIII. OPERATING AND FINANCIAL REVIEW AND PROSPECTS … 7 IX. DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND EMPLOYEES … 8 X. MAJOR SHAREHOLDERS AND RELATED PARTY TRANSACTIONS … 9 XI. INTERESTS OF EXPERTS AND COUNSEL … 10 XII. FINANCIAL INFORMATION … 11 XIII. ADDITIONAL INFORMATION … 12 Certification of the Accuracy of Information …15

4 I. IDENTITY OF DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND ADVISERS A. Directors and Senior Management 1 Provide the names, nationality, addresses and functions of the issuer’s directors and senior management or the person within the issuer who is responsible for the information contained in the registration statement. B. Advisers and Other Parties Provide the names and addresses of a. the issuer’s principal bankers to the extent the issuer has a continuing relationship with such entities; b. sponsor for listing or issue manager to the offer; c. underwriter to the offer; d. legal adviser to the offer; e. contact person; f. arranger of the offer; and g. other parties who are responsible for disclosure of information contained in the registration statement (if any). C. Auditors Provide the names, addresses and professional qualifications (including any membership in a professional body) of the issuer’s external auditors for the preceding two years. II. DESCRIPTION OF MTN Program A. Maximum amount and types of debt securities Provide the maximum amount and types of debt securities to be offered under the program. B. Duration of the program Provide the period during which debt securities can be issued under the program. C. Terms and conditions Provide the terms and conditions applicable to all debt securities offered under the program e.g. event of default, meeting provisions for holders of debt securities. D. Representative of Debt Securities Holders 1. Disclose the party that is acting as the debt securities holders’ official representative who acts in a fiduciary capacity for the debt securities holders, as well as the provisions applicable to this representation. 2. Disclose the address of the representative, and the nature of any material relationship between the representative and the issuer or its affiliates to indicate whether a conflict exists between its interest as the representative of the debt securities holders and any other interest that it may have. 3. Disclose whether there is any requirement before the representative can act on behalf of the debt securities holders, such as a requirement that the holders of a certain percentage of the debt securities have instructed the representative to take certain action. 4. Disclose whether the representative may also require indemnification before proceeding to enforce a lien against the issuer’s property or before taking any other action upon the request of the debt securities holders. 1 “senior management” shall refer to the term of “executive” in the Notification of the Securities and Exchange Commission No. KorChor. 5/2552 Re: Definitions used in the SEC’s Notifications Relating to Issuance and Offering of any Type of Debt Securities dated March 13, 2009.

5 5. Disclose the material terms of the contract or provisions of law governing the representation of the debt securities holders, as well as where the investors may obtain access to the contract. Indicate whether the issuer is required to make periodic disclosure such as disclose the evidence periodically that the issuer is not in default or that it is in full compliance with the terms of that contract to provide any early indication of any deterioration in the issuer’s financial condition. III. RISK FACTORS 1. The registration statement shall prominently disclose risk factors that are specific to the issuer and its industry and had materially affected or could materially affect, directly or indirectly, the issuer’s financial position and results and business operations, and investments by holders of securities in the issuer, in a section headed “Risk Factors”. The issuer is encouraged, but not required, to list the risk factors in the order of their priority to the issuer. The Risk Factors section is intended to be a summary of more detailed discussion contained elsewhere in the registration statement. 2. Provide the disclosure in a separate section titled “Risk Factors” and separate different types of risk factors into different subsections. 3. In case of offering for sales of unusually risky debt securities, highlight the riskiness of securities on the cover page. IV. MARKETS A. Identity of Exchanges and Regulated Markets. Identify all the exchanges and/or regulated markets on which the debt securities are listed and/or admitted to trading, or are intended to be listed or admitted to trading. In the latter case, indicate the dates on which the debt securities will be listed and/or admitted to trading. B. Entities Providing Liquidity. If any entity has made a firm commitment to act as intermediary for the debt securities in secondary market trading, such as market maker providing liquidity through bid and offer rates, disclose the name and address of the entity and the main terms of its commitment to provide investors with useful information about the potential secondary market liquidity of the debt securities. In some circumstances, the issuer may act in this capacity, and investors would find this information very relevant. V. TAXATION Provide information about the relevant tax provisions, including whether the issuer will be responsible for the withholding of tax on any payment made on the debt securities, and provide relevant details about any reciprocal tax treaty between the Home and Host Countries. VI. SELECTED FINANCAL INFORMATION A. Selected Financial Data 1. The issuer shall provide selected audited historical financial data regarding the issuer or, if the issuer is the holding corporation of a group, the group of which shall be presented for the two most recent financial years (or such shorter period that the issuer has been in operation), in the same currency as the financial statements, and highlight some of the most salient information from the financial statements.

6 2. If interim financial statements are included in the registration statement, the selected financial data shall also include updated information for that interim period. If selected financial data for interim periods is provided, comparative data from the same period in the prior financial year shall also be provided, except that the requirement for comparative balance sheet data is satisfied by presenting the year-end balance sheet information. All of the selected financial data shall be presented in the same currency as the financial statements themselves. 3. The selected financial data shall include specific line items expressed in the same manner as the corresponding line items in the issuer’s financial statements. For example, the information could include such items as: net sales or operating revenues; income (loss) from operations; income (loss) from continuing operations; net income (loss); total assets; total liabilities; and net assets or liabilities. 4. If the financial statements provided in the registration statement are prepared in a currency other than Thai Baht, the issuer is required to disclose the exchange rate between the financial reporting currency and Thai Baht. The registration statement could include the exchange rates a. at the latest practicable date; b. the high and low exchange rates for each month during the previous six months; and c. for the two most recent financial years and subsequent interim period for which financial statements are presented, the average rates for each period, calculated by using the average of the exchange rates between that financial reporting currency and Thai Baht on the last day of each month during the period. B. Capitalization and Indebtedness Provide information about capitalization and indebtedness. Disclose any subsequent significant changes in the capitalization and indebtedness and a statement of capitalization and indebtedness that provides current information about the issuer’s guaranteed/unguaranteed and secured/unsecured indebtedness. VII. INFORMATION ABOUT THE ISSUER A. General Information about the Issuer 1. Include basic information about the issuer, such as its legal and commercial name, and the address and telephone number of its registered office (or principal place of business, if this is different from its registered office). 2. The registration statement shall also contain information about the issuer’s domicile and legal form, the legislation under which it operates, its country of incorporation, its incorporation date and the length of its life (unless its life span is indefinite). 3. If the issuer has a website, disclose the website address in the registration statement. B. History and Development of the Issuer Describe material events in the development of the issuer’s business that could have an impact on its ability to fulfill its obligations on the debt securities or affect its solvency. Include discussion about the nature and results of any material reclassification, merger or consolidation of the issuer or any of its significant subsidiaries. Examples of other material events may include: acquisitions or disposals of material assets, other than in the ordinary course of business; material changes in the types of products produced or services rendered; name changes; or the nature and results of any bankruptcy, receivership or similar proceedings with respect to the issuer or its significant subsidiaries.

7 C. Legal Proceedings Provide information on any legal or arbitration proceedings (including any governmental proceedings pending or known to be contemplated) that may have, or have had in the twelve months immediately preceding the date of registration statement, significant effects on the issuer’s financial position or profitability. D. Business Overview 1. Provide a general overview of the issuer’s business and information about the nature of the issuer’s operations and its principal activities, including the main categories of its products and/or services provided, and highlights factors that could have an impact on the market price of the debt securities. 2. Describe the nature of the issuer’s operations and its principal activities, stating the main categories of products sold and/or services performed for each of the last two financial years. Indicate any significant new products and/or services that have been introduced and, to the extent the development of new products or services has been publicly disclosed, give the status of development. 3. Summarize information regarding the extent to which the issuer is dependent, if at all, on patents or licenses, industrial, commercial or financial contracts (including contracts with customers or suppliers) or new manufacturing processes, where such factors are material to the issuer’s business or profitability. 4. Describe the material effects of government regulations on the issuer’s business, identifying the regulatory body. E. Group Structure If the issuer is part of a group, provide information about the group and the issuer’s position within that group. Also indicate whether and how the issuer is dependent on other entities within the group. Provide a listing of the issuer’s significant subsidiaries, where subsidiaries whose absolute net assets, net liabilities or profit or loss before tax accounts for 10% or more of those of the group for any of the two most recent completed financial years or such shorter period that the issuer has been in operation, including name, country of incorporation or residence, proportion of ownership interest and, if different, proportion of voting power held. F. Patents, Licenses or Contracts Provide information regarding the extent to which the issuer is dependent, if at all, on patents or licenses, industrial, commercial or financial contracts (including contracts with customers or suppliers) or new manufacturing processes, where such factors are material to its business or profitability. VIII. OPERATING AND FINANCIAL REVIEW AND PROSPECTS A. Operating Results Disclose significant factors that materially affected the issuer’s income from operations, including unusual or infrequent events or new developments and the extent to which income was affected by these factors. Significant factors could include, for example, the impact of inflation, the impact of foreign currency fluctuations, and any governmental economic, fiscal, monetary or political policies or factors that have materially affected, or could materially affect, the company’s operations. Also disclose any significant components of revenues and expenses that are necessary to understand the issuer’s results of operations. B. Liquidity and Capital Resources 1. Provide information about the issuer’s short-term and long-term liquidity, i.e., its ability to generate adequate amounts of cash to meet its cash obligations. 2. Identify the issuer’s internal and external sources of liquidity, as well as any material, unused sources of liquidity, as at the latest practicable date. This could include a

8 discussion of why these material sources of liquidity are not being used. Include a statement by the issuer that, in its opinion, the working capital available to the issuer as at the latest practicable date is sufficient for the next twelve months or for the issuer’s present requirements, or, if not, how it proposes to provide the additional working capital needed. 3. If a material deficiency is identified in the issuer’s ability to meet its cash obligations, disclose the course of action that the issuer has taken or proposes to take to remedy the deficiency. Examples of disclosure that can be relevant include the level of borrowings at the end of the period covered by the financial statements and the maturity profile of borrowings. 4. Disclose information about the issuer’s material commitments for capital expenditures as of the latest practicable date. In addition, the registration statement shall indicate the general purpose of such commitments and the anticipated sources of funds needed to fulfill such commitments. C. Trend Information 1. Indicate the facts and circumstances surrounding known material trends and uncertainties. 2. Indicate the potential impact of currently known trends, events and uncertainties that are reasonably likely to have material effects on the issuer’s net sales or revenues, income from operations, profitability, liquidity or capital resources, or that would cause reported financial information not necessarily to be indicative of future operating results or financial condition. For example, this could include disclosure of the most significant recent trends in production, sales and inventory, and costs and selling prices since the latest financial year. 3. If a financial forecast is also included, provide a clear description of the assumptions upon which the issuer has based its forecast. D. Off-Balance Sheet Arrangements Disclose all material off-balance sheet arrangements that have, or are reasonably likely to have, a material effect on the issuer’s financial position. Disclose such information that the issuer believes is necessary for an understanding of these arrangements and their material impact on the issuer’s financial position. E. Critical Accounting Estimates Disclose estimates and assumptions involved in applying accounting policies. In determining which critical accounting estimates or assumptions shall be disclosed, the issuer shall consider whether the nature of the estimate or assumption is material because of the subjectivity and judgment required to account for highly uncertain matters, as well as whether the estimate or assumption will have a material impact on financial condition or operating performance. IX. DIRECTORS, SENIOR MANAGEMENT AND EMPLOYEES A. Directors and Senior Management 1. Identify directors and senior management of the issuer who play critical roles in the success of the issuer’s operations, and disclose their business experience, functions, and areas of experience within the issuer to provide information about their professional competence. 2. If these individuals have a material interest in the offering or listing, other than in their official capacities, this shall be disclosed. Also disclose if anything would impede the ability of these individuals to perform their required business activities for the issuer. For example, this could include whether any of the issuer’s directors also serve as directors for other companies.

9 3. Identify material background information (certain specified matters relating to conduct under the law) on director, senior management or controlling shareholder 2 or controlling interest-holder. B. Compensation 1. Provide information about the remuneration paid to the issuer’s directors and senior managements that could have a material impact on the issuer’s ability to service the debt obligations. 2. Disclosure of compensation a. Issuer’s directors are on an individual basis; and b. Issuer’s senior managements are on lump sum basis. C. Share Ownership Provide current information about the number of shares held by the issuer’s directors and members of its senior management bodies. X. MAJOR SHAREHOLDERS AND RELATED PARTY TRANSACTIONS A. Major Shareholders 1. Disclose whether an issuer is directly or indirectly controlled by another entity or natural person, as well as the nature of such control. To the extent known to the issuer, indicate whether the issuer is directly or indirectly owned or controlled by another corporation, by any foreign government or by any other natural or legal person severally or jointly. If such control exists, the names of the controlling corporations, government or other persons shall be disclosed, as well as a brief description of the nature of the control, including the amount and proportion of capital held by each of them that confers a right to vote. In addition, disclose any arrangement known to the issuer that may, at a subsequent date, result in a change in control of the issuer. 2. Disclose the major shareholders who beneficially own a 5% or more of each class of the issuer’s voting securities. B. Related Party Transactions 1. Provide the information required below for the period since the beginning of the issuer’s preceding two financial years up to the date of the registration statement, with respect to transactions or loans between the issuer and (a) enterprises that directly or indirectly through one or more intermediaries, control or are controlled by, or are under common control 3 with, the issuer; (b) associates; (c) individuals owning, directly or indirectly, an interest in the voting power of the issuer that gives them significant influence over the issuer, and close members of any such individual’s family; (d) key management personnel, that is, those persons having authority and responsibility for planning, directing and controlling the activities of the issuer, including directors and senior management of companies and close members of such individuals’ families; and (e) enterprises in which a substantial interest in the voting power is owned, directly or indirectly, by any person described in (c) or (d) or over which such a person is able to exercise significant influence. This includes enterprises owned by directors or major 2 “controlling shareholder” : The shareholder beneficially owning more than 10% interest in the voting shares of the company. 3 ”common control”: Two or more entities or businesses are under common control if they are ultimately controlled by the same party or parties and the control is not transitory. A party or a group of parties shall be regarded as controlling an entity or business when the party or group of parties, as a result of contractual arrangements, has or collectively have the power to govern its financial and operating policies so as to obtain benefits from its activities.

10 shareholders of the issuer and enterprises that have a member of key management in common with the issuer. Close members of an individual’s family are those that may be expected to influence, or be influenced by, that person in their dealings with the issuer. An associate is an unconsolidated enterprise in which the issuer has a significant influence or which has significant influence over the issuer. Significant influence over an enterprise is the power to participate in the financial and operating policy decisions of the enterprise but is less than control over those policies. The shareholder beneficially owning more than 10% interest in the voting shares of the company is presumed to have a significant influence on the company. 2. The nature and extent of any transactions or presently proposed transactions which are material to the issuer or the related party, or any transactions that are unusual in their nature or conditions, involving goods, services, or tangible or intangible assets, to which the issuer or any of its parent or subsidiaries was a party. 3. The amount of outstanding loans (including guarantees of any kind) made by the issuer or any of its parent or subsidiaries to or for the benefit of any of the persons listed above. The information given shall include the largest amount outstanding during the period covered, the amount outstanding as of the latest practicable date, the nature of the loan and the transaction in which it was incurred, and the interest rate on the loan. 4. For each transaction referred to in Part XI.B. Related Party Transactions a. that has been completed or will be completed at or before the close of the offer, disclose whether or not the transaction has been or will be carried out on an arm’s length basis; b. that will continue after the close of the offer, disclose (i) whether or not the transaction has been carried out on an arm’s length basis; and (ii) the procedure undertaken or which will be undertaken to ensure that such transaction will be carried out on an arm’s length basis; or c. that has been proposed, disclose the procedure which will be undertaken to ensure that such transaction will be carried out on an arm’s length basis. 5. For each loan referred to in Part XI.B. Related Party Transactions a. that has been repaid or will be repaid at or before the close of the offer, disclose whether or not the loan was made on an arm’s length basis; b. that is to be repaid, whether partly or wholly, after the close of the offer, disclose (i) whether or not the loan was made on an arm’s length basis; and (ii) when the loan is intended or required to be repaid; or c. that has been proposed, disclose the procedure which will be undertaken to ensure that such loan will be made on an arm’s length basis. 6. Where transactions or loans referred to in Part XI.B. Related Party Transactions are similar and recurring in nature or could otherwise be grouped in a meaningful manner, the information required with respect to Part XI.B. Related Party Transactions shall be provided on an aggregate basis, if the aggregate of these transactions or loans are material in the context of the offer. XI. INTERESTS OF EXPERTS AND COUNSEL If any of the experts, counselors, underwriter or other financial adviser named in the registration statement has a material direct or indirect economic interest in the issuer, or an interest that depends on the success of the issuer’s offering or listing or otherwise has a material conflict of interest in rendering its advice or opinion, the nature and terms of that interest or conflict of interest shall be disclosed.

11 XII. FINANCIAL INFORMATION A. Consolidated Statements and Other Financial Information 1. The registration statement must contain comparative consolidated financial statements that cover the latest two financial years (or such shorter period that the issuer has been in operation). The last year of audited financial statements may not be older than fifteen months before the date of submission of registration statement. Such financial statements shall be audited by auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list. 2. Where a common control combination involving the issuer has occurred at any time during the latest two financial years, the financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part shall be prepared to show the combined financial information of the issuer and the common control entities or businesses as if the common control combination had taken place at the beginning of the latest two financial years or at the time when the common control entities or businesses first came under common control, whichever date is the later. For the purpose of this item, “common control combination” means a business combination in which all the combining entities or businesses are under common control. Such consolidated financial statements shall be audited by auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list. In case of acquisition of entities not previously under common control, the consolidated financial statement shall include operating results of such entities from the beginning of the year such entities are acquired to illustrate full year operating results. Such consolidated financial statement does not need to be audited, but shall be verified by the third party, such as the financial adviser on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list. 3. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part must be a. prepared in accordance with the International Financial Reporting Standards and International Accounting Standards, or such comprehensive body of accounting standards as the International Accounting Standards Board may adopt from time to time (referred to in this Part as IFRS); and b. audited in accordance with the International Standards on Auditing, or such comprehensive body of auditing standards as may be adopted by the International Auditing and Assurance Standards Board from time to time (referred to in this Item as ISA). 4. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part must be accompanied by a. an audit report or audit reports covering each of the financial statements; and b. a statement identifying the auditors who audited the financial statements and the membership or memberships of each auditor in any professional body or bodies. The financial statements to be provided under paragraph 1 of this Part shall comprise such items as may be required by IFRS. 5. The last year of audited financial statements may not be older than fifteen months before the date of submission of registration statement. 6. The registration statement shall contain such consolidated interim financial statements which must be prepared in accordance with IFRS. If the date of submission of the registration statement is later than five months after the end of the most recent completed financial year for which audited financial statements have been prepared, provide the interim financial statements of the issuer or, where the issuer is a holding company, of the group in accordance with the following paragraph

12 a. If the date of submission of the registration statement is later than five months but equal or not later than eight months: interim financials for at least the first three months of the current financial year is required; b. If the date of submission of the registration statement is later than eight months but equal or not later than eleven months: interim financials for at least the first six months of the current financial year is required; or c. If the date of submission of the registration statement is later than eleven months but equal or not later than fifteen months: interim financials for at least the first nine months of the current financial year (or the previous financial year as the case may be) is required. Interim financial statements shall be reviewed by the auditor on the Office of the Securities and Exchange Commission’s approved list, but need not be audited. 7. In the case of transactions that might affect the assets and liabilities and earnings of the issuer, provide such pro forma financial information to show how the transactions might have affected the assets and liabilities and earnings of the issuer. In case the issuer would like to provide projected / forecasted financial statements which is merely optional, the issuer shall properly state the reasonable assumptions, including explanation of calculation methods on setting up such assumptions. 8. Where there has been any material change to the issuer’s accounting policies, provide a summary of the material change and the reason for and quantitative impact of such change on the financial results of the issuer or, if the issuer is a holding company, of the group for each of the financial years for which financial statements are provided pursuant to paragraph 1 of this Part. 9. Provide information on any legal or arbitration proceedings, including those relating to bankruptcy, receivership or similar proceedings which may have, or have had in the twelve months immediately preceding the date of registration statement, significant effects on the issuer’s financial position or profitability. This includes governmental proceedings pending or known to be contemplated. 10. Describe the issuer’s policy on dividend distribution or, if it does not have a fixed policy, state so. B. Significant Changes Disclose whether or not any significant change has occurred which may have a material effect on the financial position and results of the issuer since the date of the annual financial statements, and/or since the date of the most recent interim financial statements, if any, included in the registration statement. If there is no such change, provide an appropriate negative statement. XIII. ADDITIONAL INFORMATION A. Memorandum and Articles of Association Indicate where the information about the issuer’s objectives and purposes may be found in the issuer’s memorandum and articles of association. If applicable, provide information about the register and the entry number for the issuer. B. Material Contracts Provide a brief summary of the material contracts that is outside its ordinary course of business, but the terms of that contract can have a significant impact on the operations and profitability of the business. Information include dates, parties, general nature of the contracts, terms and conditions, and amount of any consideration passing to or from the issuer or any other member of the group.

13 C. Exchange Controls To the extent that the governmental laws, decrees, regulations or other legislations of the issuer’s Home Country may restrict the import or export of capital, or affect the issuer’s ability to make payment to non-resident holders, they shall be disclosed in the registration statement. D. Statement by Experts If the registration statement indicates that a statement or report included in it can be attributed to such an Expert, the person’s name, business address and qualifications shall be disclosed. The registration statement shall indicate that the statement or report, in the form and context in which it is included, has been included with the consent of that person, who has authorized the contents of that portion of the registration statement. E. Sign Offs or Consents from the Financial Adviser Providing Service to the Issuer in the Preparation of the Registration Statement Where the financial adviser in preparing the registration statement is named in the registration statement, include a statement that the person has given, and has not withdrawn, his written consent to being named in the registration statement or provide signing off by such person. F. Documents for Public Inspection The issuer shall provide an indication of where the documents (or copies thereof) concerning the issuer, which are referred to in the registration statement may be inspected. Exhibits and documents on display generally, if not provided in English, either an English translation of the full text or a summary thereof shall be provided. These documents include a. the constituent documents of the issuer; b. every material contract referred to in the registration statement or, where the contract is not reduced into writing, a memorandum giving full particulars thereof; c. the directors’ service contracts referred to in the registration statement; d. every report, memorandum, letter, valuation, statement or other documents by any expert any part of which is included or referred to in the registration statement; e. if the issuer is not the holding company of a group, the audited financial statements of the issuer for each of the financial years for which audited financial statements of the issuer have been included in the registration statement; f. if the issuer is the holding company of a group, the respective audited financial statements of the entities or businesses in the group (being entities or businesses which have audited financial statements) for each of the financial years for which audited financial statements of the issuer have been included in the registration statement; g. if the issuer is the holding company of a pro forma group and pro forma financial statements have been included in the registration statement, the respective audited financial statements of the entities or businesses in the pro forma group (being entities or businesses which have audited financial statements), other than the entities or businesses referred to in sub-paragraph (f), for the financial year in respect of which pro forma financial statements have been included in the registration statement; h. any interim financial statements of the issuer, group or pro forma group, as the case may be, which are included in the registration statement; i. Debt Securities Holders Representative Appointing Agreement; j. Terms and conditions; and

14 k. Disclose key financial ratio (Refer to Notification of the Capital Market Supervisory Board No. TorJor. 44/2556 Re: Rules, Conditions and Procedures for Disclosure regarding Financial and Non-financial Information of Securities Issuers) G. Others A. On the front cover of the registration statement, provide statements that: a. “The documents for public inspection are available for inspection throughout the duration of the program.”; b. “Form 69-FD-BASE, as well as Form 69-FD-SUPPLEMENT issued since Form 69-FD-BASE was published, are available for inspection as long as offers are made under the program.”; and c. “Information about debt securities and the public offering excluded from Form 69-FD-BASE shall be published from time to time in Form 69-FD-PRICING in relation to each offer of debt securities under the program.” B. Other information required by the relevant regulators. … …

15 Certification of the Accuracy of Information 1. The Case of Securities Offering by Foreign Company 1.1 Offer made in Home country simultaneously or in proximate period: the registration statement must be certified by authorized signatories in accordance with laws or regulations of Home Regulator or Home Exchange (if any) or certified by authorized directors including official seal of the company (if any) 1.1.1 In case the offering made in ASEAN member country under ACMF’s MR Prospectuses Framework The company shall confirm that details of information is not less than the most recent information prepared and disclosed by the foreign company to its Home Regulator or the Home Exchange. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that 1) there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading and 2) financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown that the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer are correctly and accurately presented in all material respects. 1.1.2 In other cases The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. “I, as an authorized signatory of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

16 2. The Case of Securities Offering by Thai Company Offer made in ASEAN member country simultaneously or in proximate period under ACMF’s MR Prospectuses Framework. The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. 2.1 The Case of Securities Offering by Listed Company on the Stock Exchange of Thailand Authorized directors or the person who holds the highest executive position and is authorized by authorized directors must sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading (if the authorized directors do not hold the highest executive position or the highest executive position in the accounting line of work, one of the persons who holds those positions must also sign his/her name). 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. “I, as a authorized directors/ the person who holds the highest executive position / the top financial position in an organization of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

17 2.2 The Case of Securities Offering by Non-Listed Company Directors, the person who holds the highest executive position and the person who holds the top executive position in the accounting line of work are required to sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto “I, as a director/ the person who holds the highest executive position/the person who holds the top executive position in the accounting line of work, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … …

18 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 1. … … … 2. … … … [Seal]

19 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 3. … … … 4. … … … [Seal]

Form 69-FD-MTN Part 2 : Form 69-FD-PRICING Commercial Name of the Issuer… Offering to… Features of Debt Securities i.e. interest rate / offering unit / total principle amount /par value per unit / offering price per unit etc. Credit Rating… Financial Adviser… Underwriter… Representative of Debt Securities Holders… Registrar and Paying Agent… Warnings: “Prior to making an investment decision, investors should exercise their own judgment when considering detailed information relating to the issuing company of the securities and the conditions of securities, including the suitability for investment and the relevant risk exposure. The effectiveness of this registration statement neither represents that the Ministry of Finance of Thailand, the Securities and Exchange Commission or the Office of the Securities and Exchange Commission have suggested investment in the offered securities; nor contain any assurance in relation to the value or returns on the offered securities; nor shall they certify the accuracy and completeness of information contained in the registration statement. The liability for certification of the accuracy and completeness of information contained in the registration statement is vested in the securities offeror. If the registration statement contains any false statements or omits to state any material information which should have been disclosed, the securities holders shall be entitled to claim damages from the securities offeror or the securities owners pursuant to section 82 of the Securities and Exchange Act B.E. 2535 (1992) within one year from the date on which the fact that the registration statement contained false information becomes known or should have been known, but not exceeding two years from the effective date of registration statement.”

2 I. DESCRIPTION OF THE DEBT SECURITIES A. Economic Terms of the Debt Securities 1. Provide information about the terms of the debt securities that will be offered, such as the interest and any other payments (e.g., premium) that will be paid on the debt securities, the maturity date, and provisions relating to redemption, amortization, and retirement of the debt securities. 2. Indicate whether the debt securities are registered or bearer securities, the total nominal amount of the debt securities as well as the individual face value of each type of debt securities offered or listed. 3. Provide information about the form of the security, such as whether investors can obtain physical certificates or whether their interests will be recorded via a book-entry system. 4. Indicate the total nominal amount, the individual face value, the interest to be paid during the life of the debt securities, and the dates on which such payments are due. 5. Describe any arrangement for transfer and any transfer restriction of the debt securities. 6. Disclose the currency the debt securities are denominated as well as the currency in which any amount payable on the debt securities. In case the payments on the debt securities are payable in two or more currencies, indicate whether any person holds an option to determine the currency conversion, as well as the basis for that determination. 7. Where not all of the debt securities being offered are guaranteed, provide a statement for a non-guaranteed portion. B. Covenants Relating to the Issuance of the Debt Securities 1. Provide information of the covenants that are aimed at protecting debt securities holders, under which the issuer is required to take or refrain from taking certain actions. Examples of the covenants include a. prohibition on the payment of dividends if certain conditions are met in order to prevent depletion of the issuer’s funds that are available to pay debt securities holders; b. provision requiring the issuer to maintain certain financial ratios; c. provision that restrict the issuer from creating additional debt under certain conditions; d. provision that restricts the issuer from creating a lien on its assets or that of its subsidiaries so that other creditors obtain a senior position to the debt securities holder offered under the registration statement; e. prohibition on issuing other types of securities under certain circumstances to prevent the issuer from taking unreasonably burdensome indebtedness or obligations; f. covenant concerning subsequent issues of other forms or series of debt securities; and g. covenant concerning any right to create additional charges over any of the assets. 2. For secured debt securities, other covenants may include a. provision requiring the maintenance of properties; b. provision permitting or restricting the withdrawal of cash deposited as a basis for the issuance of additional securities; and c. provision regarding the release or substitution of assets securing the issue.

3 D. Liens In case of issuing secured debt securities, disclose the kind and priority of any lien securing the issue, as well as the principal properties or assets subject to the lien include a. the aggregate value of the tangible assets which have been charged to secure the repayment of all or any money payable in respect of the secured debt securities; and b. where any of the above tangible assets are in the form of real property, provide information on report of valuation of interest of the issuer and each of its guarantors in each property. Such report shall be made by an independent qualified valuer and shall be dated not more than six months before date of lodgment of registration statement. E. Subordination and Limitation of Rights 1. The ability of debt securities holders to enforce their rights as creditors of the issuer depends on whether other security holders or creditors have claims that would be viewed as senior, as having priority, or otherwise limiting the rights of the debt securities holders to any payment on the debt securities. 2. Provide information about the existence or possible creation of other securities and other indebtedness with seniority to the debt securities. If the rights of the debt securities holders will be subordinated to other securities holders or creditors, identify, as of the most recent practicable date, the aggregate amount of outstanding indebtedness that is senior to the subordinated debt securities. Also, disclose whether there is any limitation on the creation of additional senior indebtedness. 3. Indicate whether the rights evidenced by the debt securities are or may be materially limited or qualified by the rights of any other class of securities. F. Default Include information about the general types of events that would constitute a default, as well as the remedies that would be available in the event of default. G. Consequences of a Failure to Make Payment Disclose any consequence of a failure to make payment, which may not constitute an event of default, the consequences of such failure and the available remedies under either the terms of the debt securities or the applicable law. H. Meeting of Debt Securities Holders Disclose details relating to the requirements for convening, attending or voting at a meeting of debt securities holders, if such a meeting can be held. Disclose the conditions governing the manner in which such a meeting would be convened, such as quorum requirements, the conditions for being allowed to attend the meeting and the minimum number of votes required to adopt certain types of resolutions. I. Modification of Terms Disclosure of any provision relating to how the terms of the debt securities or rights of the debt securities holders may be modified. J. Paying Agent Identify name and address of the issuer’s appointed entity who is responsible for making payments on the debt securities, and a contact person for collection of any payments due. K. Credit Rating 1. Provide information about the credit rating that has been given to the issuer or the issue upon the request or with the cooperation of the issuer, including name of the

4 credit rating agency, the credit rating (including whether it is a short-term or long-term credit rating) and date on which the credit rating was given. 2. If the issuer or its guarantor has been given a credit rating, disclose whether or not the issuer, its guarantor or any of their related parties had paid any fee or benefit of any kind to the credit rating agency in consideration for the credit rating. L. Applicable Law Identify the law applicable to the debt securities being publicly offered and/or listed. II. MARKETS A. Identity of Exchanges and Regulated Markets. Identify all the exchanges and/or regulated markets on which the debt securities are listed and/or admitted to trading, or are intended to be listed or admitted to trading. In the latter case, indicate the dates on which the debt securities will be listed and/or admitted to trading. B. Entities Providing Liquidity. If any entity has made a firm commitment to act as intermediary for the debt securities in secondary market trading, such as market maker providing liquidity through bid and offer rates, disclose the name and address of the entity and the main terms of its commitment to provide investors with useful information about the potential secondary market liquidity of the debt securities. In some circumstances, the issuer may act in this capacity, and investors would find this information very relevant. III. INFORMATION ABOUT THE PUBLIC OFFERING A. Offer Statistics Provide information about the size of the issuer’s public offering, including the offer price or the method of determining the price and the number of securities to be offered. B. Pricing 1. Disclose the information about the yield and the method by which the price has been determined. 2. If the offering price has not already determined, indicate how the price will be disclosed to the public. C. Method and Expected Timetable 1. Provide information about the manner in which the debt securities will be offered and the relevant dates of the public offering. 2. Disclose the time period during which the offer will be opened, and to whom. 3. If the offering period may be extended or shortened, disclose details about the method by which the offering period may be extended or shortened and the duration of possible extension, as well as how this information will be made public. 4. In case the exact dates of the offering period are not known, disclose the arrangements for announcing the definitive dates. 5. Disclose other relevant details about participating in the public offering. For instance, the registration statement shall indicate how investors may pay for the debt securities, as well as the time limits for making any payment. 6. Where applicable, methods of and time limits for a. the delivery of prospectus evidencing title to the securities being offered (including temporary prospectus of title, if applicable) to subscribers or purchasers; and b. the book-entry transfers of the securities being offered in favor of subscribers or purchasers.

5 D. Underwriting Arrangement 1. Disclose the names and addresses of the entities underwriting the public offering, as well as describe the material features of the underwriting relationship. 2. Where not all of the debt securities being offered are underwritten, provide a statement of a non-underwritten portion. 3. Indicate whether the amount of the offering could be increased, such as by the exercise of an underwriter’s over-allotment option and state the exercise period and amount granted under such option. 4. Disclose underwriters’ financial interest in the success of public offering and listing (For example - “firm commitment offering” or “best efforts”). If the underwriter has a material relationship with the issuer, disclose the nature and terms of that relationship. 5. If other parties are involved in distributing the debt securities to the public, briefly outline the plan of distribution and indicate the amount of any debt securities that are to be offered other than through the underwriters. The disclosure shall include terms relating to any volume limitations on sales and conditions under which the agreement may be terminated. If known, disclose the identity of the broker(s) or dealer(s) that will participate in the public offering, as well as the amount of debt securities to be offered through each. E. Targeted Investors 1. Disclose if the issuer expects to offer debt securities to certain selected investors. Identify any group of targeted potential investors to whom the debt securities are being offered, noting any allocation that is reserved to any group of targeted investors. 2. If the offering is being made simultaneously in the markets of two or more countries and if a tranche has been or is being reserved for certain markets, provide information about the tranche and details of any other allocation arrangement. F. Expenses of the Issue 1. Disclose the expenses to be paid in relation to the public offering to enable investors and others to assess how much of the offering proceeds will be available for the issuer. 2. Disclose a reasonably itemized statement of the major categories of expenses incurred in connection with the issuance and distribution of the debt securities to be offered. (in absolute terms and as a percentage of the total amount of the offer) For example, this could include the total amount of the discounts or commissions agreed to by the underwriters or other placement or selling agents and the issuer or offeror, as well as the percentage that the commissions represent of the total amount of the offering. 3. Disclose if parties other than the issuer are paying the expenses, such as the underwriters or selling securities holders. G. Reasons for the Offer and Use of Proceeds 1. The registration statement shall disclose the following a. Estimated net amount and percentage of the proceeds broken down into each principal intended use thereof. If the anticipated proceeds will not be sufficient to fund all the proposed purposes, the order of priority of such purpose shall be given, as well as the amount and sources of other funds needed. Disclose also how the proceeds will be used pending their eventual utilization for the proposed purposes;

6 b. If the issuer has no specific plan for the proceeds, it shall discuss the principal reasons for the offering; and c. Where the offer is not fully underwritten on a firm commitment basis, state the minimum amount must be raised by the offer of securities for the offer to be preceded. 2. If the proceeds are being used directly or indirectly by the issuer to acquire assets, other than in the ordinary course of business, describe these assets and their costs. 3. If the assets have been or will be acquired from affiliates of the issuer or their associates, disclose the persons from whom they will be acquired and how the cost to the issuer will be determined. 4. Indicate if the proceeds have been or will be used to acquire assets from related parties, and whether the acquisition will be transacted on an arm’s length basis. 5. If the proceeds may or will be used to finance acquisitions of other businesses, give a brief description of such businesses and information on the status of the acquisitions. 6. If the issuer intends to use any material part of the proceeds to discharge, reduce or retire other indebtedness, provide information about the interest rate and maturity of that indebtedness. For indebtedness incurred within the past twelve months, indicate how the proceeds of that indebtedness were made use of. 7. Disclose the amount and percentage of the debt securities beneficially held by each selling securities holder before and immediately after the offering indicates whether or not the selling securities holders intend to resell all or a large portion of their interests in that class of securities through the offering. IV. ADDITIONAL INFORMATION A. On the front cover of Form 69-FD-PRICING, provide statements that: 1. “This offer is made on the basis of information contained in Form 69-FD-PRICING as well as in Form 69-FD-BASE and Form 69-FD-SUPPLEMENT, if any, in respect of the MTN Program”; 2. “Copies of Form 69-FD-BASE and Form 69-FD-SUPPLEMENT, if any, and Form 69-FD-PRICING are available for collection at the times and places specified in this statement”; and 3. “A copy of Form 69-FD-PRICING has been registered by the [insert name of the relevant regulator] together with Form 69-FD-BASE The effectiveness of Form 69-FD-PRICING neither represent that [insert name of the relevant regulator] have suggested investment in the debt securities; nor contain any assurance in relation to the value or returns on the debt securities; nor shall certify the accuracy and completeness of information contained in Form 69-FD-PRICING. Registration of Form 69-FD-PRICING and Form 69-FD-BASE by the [insert name of the relevant regulator] does not imply that the legal or regulatory requirements have been complied with. The [insert name of the relevant regulator] has not, in any way, considered the merits of the debt securities being offered for investment” B. Key Financial ratio ( Refer to Notification of the Capital Market Supervisory Board No. TorJor. 44/2556 Re: Rules, Conditions and Procedures for Disclosure regarding Financial and Non-financial Information of Securities Issuers ) ; C. Other information required by the relevant regulators for that particular offer of debt securities. … …

7 Certification of the Accuracy of Information 1. The Case of Securities Offering by Foreign Company 1.2 Offer made in Home country simultaneously or in proximate period: the registration statement must be certified by authorized signatories in accordance with laws or regulations of Home Regulator or Home Exchange (if any) or certified by authorized directors including official seal of the company (if any) 1.2.1 In case the offering made in ASEAN member country under ACMF’s MR Prospectuses Framework The company shall confirm that details of information is not less than the most recent information prepared and disclosed by the foreign company to its Home Regulator or the Home Exchange. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that 1) there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading and 2) financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown that the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer are correctly and accurately presented in all material respects. 1.1.2 In other cases The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. “I, as an authorized signatory of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

8 2. The Case of Securities Offering by Thai Company The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. “I, as a directors/ the top financial position in an organization of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

9 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 1. … … … 2. … … … [Seal]

1 Form 69-FD-MTN Part 3 : Form 69-FD-SUPPLEMENT Commercial Name of the Issuer… Offering to… Types of Debt Securities … Size of MTN Program… Financial Adviser… Underwriter… Representative of Debt Securities Holders… Registrar and Paying Agent… - provide a statement that the information in Form 69-FD-SUPPLEMENT submitted to the Office of the Securities and Exchange Commission is considered to be a part of Form 69-FD-BASE which becomes effective on … [effective date of Form 69-FD -BASE] …

2 SUPPLEMENTARY INFORMATION A. Update the information in Form 69-PO-BASE. B. Provide the information about material events occurred during the program which may materially affect investors’ investment decision such as 1. serious damages 2. changing in issuer’s objects or the nature of business 3. events of default 4. entering into an agreement entrusting other persons with power in whole or in part in the management of the company 5. changing in credit rating of the issuer’s debt securities 6. expanding the amount of debt securities to be offered under the MTN Program … …

3 Certification of the Accuracy of Information Signed by authorized signatory of the issuer 1. In cases of the offer made in ASEAN member country simultaneously or in proximate period under ACMF’s MR Prospectuses framework The company shall confirm that details of information is not less than the most recent information prepared and disclosed by the foreign company to its Home Regulator or the Home Exchange. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that 1) there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading and 2) financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown that the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer are correctly and accurately presented in all material respects. 2. In other foreign issuer cases The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. “I, as an authorized signatory of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents either contain any false or misleading statement in materiality or omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer correctly and completely in all material respects. Name Position Company Signature 1. … … … … 2. … … … … 3. … … … … [Seal]

4 3. The Case of Securities Offering by Thai Company Offer made in ASEAN member country simultaneously or in proximate period under ACMF’s MR Prospectuses Framework. The company shall certify in the following form to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto. 3.1 The Case of Securities Offering by Listed Company on the Stock Exchange of Thailand Authorized directors or the person who holds the highest executive position and is authorized by authorized directors must sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading (if the authorized directors do not hold the highest executive position or the highest executive position in the accounting line of work, one of the persons who holds those positions must also sign his/her name). 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. “I, as a authorized directors/ the person who holds the highest executive position / the top financial position in an organization of the issuer , have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer and its subsidiaries correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 4. … … … … 5. … … … … 6. … … … … [Seal]

5 3.2 The Case of Securities Offering by Non-Listed Company Directors, the person who holds the highest executive position and the person who holds the top executive position in the accounting line of work are required to sign their names, including official seal of the company (if any) to confirm that details of information is not less than the most recent information prepared. They have to certify that information in the registration statement, appendices and attachments is correct, accurate and complete. In addition, authorized signatories must also confirm that there is no false or misleading statement or other facts which if omitted, would make any statement in the registration statement false or misleading in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement thereto 3. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser “I, as a director/ the person who holds the highest executive position/the person who holds the top executive position in the accounting line of work, have duly examined the information contained in this registration statement, appendices and attachments hereto. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared and that the financial statements and financial information referred to in this registration statement have shown the financial status, the operational performance and the cash flow of the issuer correctly and completely in all material respects.” Name Position Company Signature 2. … … … … 2. … … … … 3. … … … …

6 4. Certification of Accuracy of Information by Financial Adviser Authorized persons who can sign to bind the financial adviser providing service to the issuer in the preparation of the registration statement shall sign their names, including official seal of the company (if any), in the following form in order to certify the accuracy of information disclosed in this registration statement. “I, as a financial adviser of the issuer, have duly examined the information contained in this registration statement. I hereby certify that all of the aforementioned documents contain the information which is correct, accurate and complete in all respects. I also certify further that the said documents neither contain any false or misleading statement in materiality nor omission of any material statement that ought to be declared.” Name Position Signature 1. … … … 2. … … … [Seal]

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (รายครั้ง) (แบบ 69-PP-SUKUK) / (Form 69-PP-SUKUK) บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย ชื่อเฉพาะของศุกูก ลักษณะที่สําคัญของศุกูก รายละเอียดอื่นๆ แบบ 69-PP-SUKUK ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการสนอขายตราสารหนี้ต่อผู้ลงทุนสถาบัน (Institutional Investor “II”) ผู  ลงทุ นรายใหญ พิเศษ (Ultra high Net-Worth Investors :“UHNW”) และ ผู้ลงทุนรายใหญ (High Net Worth Investors :“HNW”) ขอมูลศุกูกที่เสนอขาย - ลักษณะที่สําคัญของศุกูกที่เสนอขาย เชน รูปแบบศุกูก ทรัพย์สินที่ใชอางอิง (กรณีศุกูกไม่มีประกัน ต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็นหลักประกันของศุกูกแต่อยางใด ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ยง ในระดับเดียวกับเจ้าหนี้สามัญของบริษัท) จํานวน ผลตอบแทน อายุ บุคคลที่สามารถซื้อศุกูก ขอจํากัดการโอน ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ หลักประกันหรือผู้ค้ําประกัน (ถามี) - รายละเอียดที่สําคัญอื่นๆ เชน ผู้ระดมทุน ศุกูกทรัสตี ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาชะรีอะฮ ผู้จัดการ การรับประกันการจําหนาย ผู้ ประกันการจําหนาย วันที่ แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก มีผลใชบังคับ เงื่ อนไขการยกเลิกการเสนอขายกรณีที่ มีจํานวนศุกูกที่ ขายได้นอยกวาจํานวนศุกูกขั้ นต่ํา ที่ผู้ระดมทุนกําหนด เป็นตน - กรณีจะเสนอขายเฉพาะ II หรือ UHNW/HNW สามารถปรับสวนที่เกี่ยวของกับผู้ลงทุนในแบบแสดง รายการขอมูลให้สอดคลองกับกลุ่มผู้ลงทุนที่จะเสนอขายได้ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ระดมทุน และทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดงวา

2 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือรับรอง ความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรอง ความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้เป็นความรับผิดชอบของ ผู้ระดมทุนและทรัสตี ผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอ ขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รู หรือควร ได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ

3 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. ขอมูลผู้ระดมทุนและรายละเอียดศุกูกที่เสนอขาย ให้ เปดเผยขอมูลผู้ ระดมทุน รายละเอียดศุกูกที่เสนอขาย ดังนี้ 1.1 สรุปขอมูลสําคัญของศุกูก (factsheet) ในกรณีการเสนอขายศุกูก ซึ่งไม่ได้กําหนดให้ต้องมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือแต่ผู้ออกศุกูกสมัครใจ ที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของศุกูก ผู้ออกศุกูกหรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่อประกอบ การเสนอขายศุกูกนั้น ให้ระบุวาผู้ออกศุกูกจะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุของ ศุกูกหรือไม่ด้วย 1.2 ระบุรายการอยางนอย ตามมาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) ทั้งนี้ ในสวนที่กี่ยวของกับ ขอมูลของผู้ระดมทุน อาจเปดเผยโดยอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป หรือแบบแสดง รายการขอมูลได้ ตามวิธีการดังต่อไปนี้ (1) กรณี อางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําปลาสุด งบการเงินประจํางวดการบัญชีลาสุด และงบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือ (2) กรณี อางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูล ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลในกรณีที่ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้เคยยื่น แบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวไวสําหรับการเสนอขายศุกูกในกรณีทั่วไป (public offering) และปจจุบัน แบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวยังมีผลใชบังคับอยู่ ทั้งนี้ การอางอิงขอมูลตาม (1) หรือ (2) สามารถระบุแหลงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงาน หรือ เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณี ที่มีขอมูลของผู้ระดมทุนที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ และยังไม่ได้เปดเผย ในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป หรือแบบแสดงรายการขอมูลขางตน ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมด้วย โดยอาจระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ และให้สรุปสาระสําคัญของขอมูล ประกอบด้วย รายการขอมูลเพิ่มเติม (1) ในการเปดเผยขอมูลตาม 1.2 ขางตน หากผู้ระดมทุนเป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ในประเทศไทย ให้แสดงขอมูลของสาขาธนาคารตางประเทศ (“สํานักงานสาขา”) และระบุเพิ่มเติมขอมูลของ สํานักงานใหญ (หมายถึงธนาคารตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชีในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขาเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้

4 - ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ระดมทุน เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ระดมทุนล้มละลาย ซึ่งผู้ถือศุกูกอาจไม่สามารถขอรับชําระหนี้หรือ ฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ นอกจากนี้ หากมีการเปดเผย ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวาอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ ตามศุกูกของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดกรณีล้มละลาย (2) ในกรณีที่ ผู้ ระดมทุนเป็นบริษัทที่ จัดตั้ งในประเทศไทยและมิได้มีหุ นจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ให้ระบุประเภทงบการเงินและ ระยะเวลาที่ผู้ระดมทุนต้องสงงบการเงินต่อหนวยงานทางการ ซึ่งเป็นผู้กํากับดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ ระดมทุนเป็นบริษัทตางประเทศ (ไม่รวมสาขาธนาคารตางประเทศ) ให้ระบุประเภทงบการเงิน และระยะเวลาที่ผู้ระดมทุนต้องสงงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ในตางประเทศที่บริษัทมีหุนเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียน หรือต่อหนวยงานทางการในตางประเทศที่บริษัทตางประเทศมีหน้าที่สงงบการเงินดังกลาว (3) ให้แนบรางสัญญากอตั้ งทรัสตและรางสัญญาแต่งตั้ งทรัสตีเป็นเอกสารประกอบ การยื่นแบบ 69-PP-SUKUK นี้ด้วย (4) ในกรณีผู้ระดมทุนเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูล ดังต่อไปนี้ - สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (5) กรณีผู้ ระดมทุนเป็นกิจการตางประเทศ ให้เปดเผยความเสี่ ยงเพิ่ มเติมเกี่ ยวกับ เรื่องดังต่อไปนี้ - การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหาความแตกตางของ กฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี) ด้วย - ผลกระทบที่ผู้ถือศุกูกของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมายของประเทศ ที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุมการเขาออกเงิน ระหวางประเทศ (ถามี) - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

5 - ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจาก ผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค - ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี) 1.3 ระบุปจจัยความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในศุกูก 1.4 รายละเอียดของศุกูกที่เสนอขาย (1) กรณีศุกูกมีอัตราผลตอบแทนลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่ อนไขขางตนแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ ผู้ ลงทุนจะได้รับ ไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกศุกูกเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน (2) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (3) การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบาย เพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะ และ ความเสี่ยงสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน 2. รายการเฉพาะกรณีเสนอขายศุกูก HNW และ UHNW 2.1 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียดวิธีการ คํานวณแสดงตามภาคผนวก 2.2 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในศุกูกที่ เฉพาะเจาะจงของผู้ระดมทุน เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลง ฐานะการเงิ น หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant ตามสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีหลักประกันที่มีจํานวนและมูลคาเคลื่อนไหว หรือไม่แนนอน (เชน สินคาคงคลัง สิทธิเรียกรองตามสัญญากู) การพึ่งพาการระดมทุนจากตราสารหนี้ เป็นตน 2.3 เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืม จากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นและ การผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลั ง 3. ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้ระบุชื่ อ สถานที่ ตั้ งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมด ผู้ถือหุน กรรมการและผู้บริหาร และรายละเอียดของกองทรัสตของทรัสตีผู้ออกศุกูก

6 สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก รายละเอียดโครงสรางศุกูก 1. รายละเอียดทรัพย์สินที่ใชอางอิง ให้เปดเผยถึงรายละเอียดของทรัพย์สินที่ ใชในการอางอิงสําหรับการออกศุกูกในครั้ งนี้ โดยให้เปดเผยถึงลักษณะของทรัพย์สิน และมูลคาตามบัญชีของทรัพย์สินดังกลาว 2. โครงสรางศุกูก ให้อธิบายวาการออกศุกูกในครั้ งนี้มีโครงสรางที่สําคัญ ขั้ นตอน และกระบวนการตั้งแต่ การยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน การขายใบทรัสต การตั้งกองทรัสต การโอนทรัพย์สินเขากองทรัสต (อธิบายตามลําดับขั้ นตอนที่ เกิดขึ้ นกอนหลัง โดยควรมีแผนภาพประกอบคําอธิบายด้วย เพื่ อให้งาย ต่อการทําความเขาใจของผู้ลงทุน) วิธีการเรียกเก็บกระแสรายรับจากสินทรัพย์ที่ใชอางอิง เพื่อมาชําระ ผลตอบแทนศุกูก และกระบวนการหากเกิดเหตุผิดนัดชําระหนี้หรือเมื่อศุกูกสิ้นอายุ 3. สรุปสาระสําคัญของสัญญาที่เกี่ยวของ ให้สรุปสาระสําคัญของรางสัญญากอตั้งทรัสตและสัญญาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการออกศุกูก โดยอยางนอยให้สรุปภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ระดมทุน ทรัสตีผู้ออกศุกูก และศุกูกทรัสตี ตามที่ระบุไว ในสัญญากอตั้งทรัสต เหตุผิดนัดชําระหนี้ 4. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ให้เปดเผยขอมูลอื่นที่เกี่ยวของที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ ในกรณีออกและเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (“green sukuk”) ศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม (“social sukuk”) และศุกูกเพื่อความยั่งยืน (“sustainability sukuk”) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green sukuk social sukuk และ sustainability sukuk และมาตรฐานนิยาม และหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับ สากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายศุกูกดังกลาว ตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) ห รื อ มำ ต ร ฐำ น International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards ( ASEAN SBS) ห ร ื อ มำ ตร ฐำ น International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน

7 (ค) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) ห รื อมาตรฐา น International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือวิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงินที่ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการ ติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่นของบริษัท ให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายศุกูก เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของศุกูก เชน รายงานการใชเงินที่ได้มา จากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และ ยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายศุกูก ซึ่งควรจัดให้ มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน

8 สวนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของขอมูล ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจ จากกรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน ของผู้ ระดมทุนและทรัสตีผู้ ออกศุกูก ลงลายมือชื่ อ 2 พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี ) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้ว และด้วย ความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้ รับมอบอํานาจ] ของผู้ ระดมทุ น/ ทรัสตีผู้ออกศุกูก ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏ ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิง ขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ออกตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

9 สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายศุกูก 1. รายละเอียดของศุกูกที่เสนอขาย (1) ให้ แสดงผลการจั ดอั นดั บความนาเชื่ อถื อ รวมทั ้ งรายละเอี ยดการวิ เคราะห การจั ดอั นดับ ความนาเชื่อถือของศุกูกที่เสนอขาย (2) ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญ ของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน (3) ในกรณีศุกูกมีอัตราผลตอบแทนลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่ อนไขขางตนแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ ไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกศุกูกเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน 2. ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นต น) 3. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายศุกูกผานผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์หรือผู้คาหลักทรัพย์หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลั กษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยง ทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะ ความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้คาหลักทรัพย์) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยง ทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะ ความสัมพันธไวด้วย

10 (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาหลักทรัพย์ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้เสนอขายศุกูกกับผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์/ผู้คาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาศุกูก ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาศุกูกที่ผู้เสนอขายศุกูกจะได้รับ หลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูกไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายศุกูก ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายศุกูก โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรศุกูก ให้ระบุหลักการจัดสรรศุกูกให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวนศุกูก ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนศุกูกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อศุกูก การกําหนดจํานวนในการจองซื้อศุกูกต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ชื่อบริษัทเงินทุนหรือธนาคารพาณิชยที่เป็นตัวแทนรับเงินคาจองซื้อศุกูก วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อศุกูกคืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงิ นคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อศุกูกในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับการจัดสรรศุกูก (11) วิธีการสงมอบศุกูก ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 4. ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุน ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกันมีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย

11 สวนที่ 5 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก/การเสนอขายศุกูก) 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ ที่ ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ ที่ ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ 3 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ระดมทุน/ ทรัสตีผู้ออกศุกูก ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏ ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้เฉพาะกรณีที่มีการอางอิง ขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือ ทางจิต ผู้ออกตราสารหนี้ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 3 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

12 2. การรับรองการปฏิบั ติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้ อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกศุกูกในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จั ดทําขึ ้ นอยำงสมเหตุสมผล และมีการอธิ บายผลกระทบต อผู้ ออกศุ กู กหรื อผู  ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้มีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของ ผู้ออกศุกูกในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกศุกูกในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ ที ่ ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุ คคลอื่ นที่ มีความเชี่ ยวชาญในดำนนั้น มาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ ปรีกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ ปรีกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

13 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง )

14 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest cove rage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มี ภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

15 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

16 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนขอ งผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุ นรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงินประเภท เดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จั ดทํางบระหวางปสําหรับงวดป กอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

17 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชี ปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางต นหากไม่สามารถคํานวณได้

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) (แบบ 69-PP-MTN-SUKUK) แบบ 69-PP-MTN-SUKUK ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการสนอขายศุกูกต่อสถาบันหรือ ผู้ลงทุนรายใหญพิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ ในลักษณะโครงการ มี 3 สวน ดังต่อไปนี้ สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING-SUKUK ใชสําหรับการยื่นประกอบกับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ครั้งแรก และสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งต่อไป โดยอางอิงจากสวนที่ 1 ที่ได้ยื่นไวในครั้งแรก และอางอิงขอมูลในสวนที่ 3 การปรับปรุงขอมูลกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนดไว สวนที่ 3: แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK ใชสําหรับการปรับปรุงขอมูลกรณีเกิดเหตุการณตามที่ กําหนดไวตามสวนนี้

2 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายแบบโครงการศุกูกที่จะเสนอขายในรอบ 2 ป (Medium Term Note Program : “MTN”) - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของโครงการศุกูกที่เสนอขาย เชน ชื่อโครงการ ประเภท ชนิด รูปแบบศุกูก ทรัพย์สิน ที่ใชอางอิง (กรณีศุกูกไม่มีประกันต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็นหลักประกันของศุกูกแต่อยางใด ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ยงในระดับเดียวกับเจ้าหนี้สามัญของบริษัท) จํานวน มูลคาเสนอขายรวม บุคคลที่เสนอ ขายศุกูกให้ ขอจํากัดการโอน วันที่ได้รับอนุญาต วันเริ่มเสนอขาย และวันสิ้นสุดการเสนอขายตามโครงการ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือรับรอง ความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้เป็นความรับผิดชอบ ของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รู หรือควรได้รู วาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ”

3 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. ขอมูลผู้ระดมทุนและรายละเอียดศุกูกที่เสนอขาย ให้เปดเผยขอมูลผู้ระดมทุน รายละเอียดศุกูกที่เสนอขาย ดังนี้ 1.1 ระบุรายการอยางนอย ตามมาตรา 69(1) ถึง (10) และมาตรา 70(1) ถึง (8) (ในสวนที่ไม่เกี่ยวของกับ การเสนอขาย) ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวของกับขอมูลของผู้ระดมทุน อาจเปดเผยโดยอางอิงขอมูลจากแบบแสดง รายการขอมูลประจําปหรือแบบแสดงรายการขอมูลได้ตามวิธีการดังต่อไปนี้ (1) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบรายการขอมูลประจําป ให้อางอิงจากแบบรายการขอมูลประจําปลาสุด งบการเงินประจํางวดการบัญชีลาสุด และ งบการเงินรายไตรมาสลาสุด หรือ (2) กรณีอางอิงขอมูลจากแบบแสดงรายการขอมูล ให้อางอิงจากแบบแสดงรายการขอมูลในกรณีที่ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้เคยยื่น แบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวไวสําหรับการเสนอขายศุกูกในกรณีทั่วไป (public offering) และปจจุบัน แบบแสดงรายการขอมูลดังกลาวยังมีผลใชบังคับอยู่ ทั้งนี้ การอางอิงขอมูลตาม (1) หรือ (2) สามารถระบุแหลงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบ ได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงานหรือเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นตน นอกจากนี้ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ระดมทุนที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ และยังไม่ได้ เปดเผยในแบบรายการขอมูลประจําปหรือแบบแสดงรายการขอมูลขางตน ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติมด้วย โดยอาจระบุแหลงอางอิงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ และให้สรุปสาระสําคัญของ ขอมูลประกอบด้วย 1.2 รายการขอมูลเพิ่มเติม (1) ในการเปดเผยขอมูลตาม 1.1 ขางตน หากผู้ระดมทุนเป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ในประเทศไทย ให้แสดงขอมูลของสาขาธนาคารตางประเทศ (“สํานักงานสาขา”) และระบุเพิ่มเติมขอมูล ของสํานักงานใหญ (หมายถึงธนาคารตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูล การประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชีในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของ สํานักงานใหญ (ถามี) ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขาเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูก นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ - ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ระดมทุน เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน - ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ระดมทุนล้มละลาย ซึ่งผู้ถือศุกูกอาจไม่สามารถขอรับชําระหนี้ หรือฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ นอกจากนี้ หากมีการเปดเผย

4 ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวาอาจไม่สะทอนความสามารถในการชําระหนี้ ตามศุกูกของสํานักงานสาขาโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดกรณีล้มละลาย (2) ในกรณีที่ ผู้ ระดมทุนเป นบริษัทที่ จัดตั้ งในประเทศไทยและมิได้มีหุ นจดทะเบี ยน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเป็นสาขาธนาคารตางประเทศ ให้ระบุประเภทงบการเงินและ ระยะเวลาที่ผู้ระดมทุนต้องสงงบการเงินต่อหนวยงานทางการ ซึ่งเป็นผู้กํากับดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ระดมทุนเป็นบริษัทตางประเทศ (ไม่รวมสาขาธนาคารตางประเทศ) ให้ระบุประเภท งบการเงินและระยะเวลาที่ผู้ระดมทุนต้องสงงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ในตางประเทศที่บริษัทมีหุน เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน หรือต่อหนวยงานทางการในตางประเทศที่ บริษัทตางประเทศมีหน้าที่ สงงบการเงินดังกลาว (3) ให้แนบรางสัญญากอตั้งทรัสตและรางสัญญาแต่งตั้งทรัสตีเป็นเอกสารประกอบการยื่น แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) นี้ด้วย (4) ให้ แนบรำงข อกําหนดสิ ทธิ สําหรั บโครงการ MTN เป นเอกสารประกอบการยื่น แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) นี้ด้วย (5) ในกรณีผู้ระดมทุนเป็นกิจการตางประเทศ ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ดังต่อไปนี้ - การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิ จการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหาความแตกตางของ กฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย - ผลกระทบที่ผู้ถือศุกูกของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมายของประเทศ ที่เกี่ยวของกับกิจการนั้น มีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุมการเขาออก เงินระหวางประเทศ (ถามี) - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ - ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือการตัดสินใจของผู้ลงทุน อยางมีนัยสําคัญ - ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยง จากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค - ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี ) (6) ในกรณีผู้ระดมทุนเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ - สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

5 2. รายการเฉพาะกรณีเสนอขายศุกูก HNW และ UHNW 2.1 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก 2.2 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในศุกูกที่เฉพาะเจาะจงของ ผู้ระดมทุน เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant กับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของ ผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาดหรือกรณีบุคคลค้ําประกัน การพึ่งพาการระดม ทุนจากตราสารหนี้ เป็นตน 2.3 เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืมจาก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นและ การผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง

6 สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก 1. ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมด ผู้ถือหุน กรรมการและผู้บริหาร และรายละเอียด ของกองทรัสตของทรัสตีผู้ออกศุกูก 2. ขอมูลเกี่ยวกับโครงการศุกูกที่ จะเสนอขาย - รายละเอียดของโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย อธิบายรายละเอียดโครงสรางศุกูกที่จะเสนอขายภายใตโครงการพอสังเขปโดยอธิบายถึงทรัพย์สิน ที่คาดวาจะใชอางอิง โครงสราง ขั้นตอน และกระบวนการ ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่น ที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขายให้สรุป ลักษณะสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน - ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี ) เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน 3. ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ ในกรณีที่ โครงการศุกูกอาจมีการเสนอขายศุกูกเพื่ ออนุรักษ์สิ่ งแวดลอม (“green sukuk”) ศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม (“social sukuk”) และศุกูกเพื่อความยั่งยืน (“sustainability sukuk”) ให้เปดเผย ขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green sukuk social sukuk และ sustainability sukuk และมาตรฐาน นิยามและหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ หรือระดับสากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายศุกูกดังกลาวตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) หรื อมาตรฐาน International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) หรื อมาตรฐาน International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน

7 (ค) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือวิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงินที่ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึง วิธีการติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่นของ บริษัทให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายศุกูก เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของศุกูก เชน รายงานการใชเงินที่ ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายศุกูก ซึ่งควรจัดให้มี การรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกศุกูกยังไม่สามารถระบุขอมูลตาม (1) - (5) ผู้ออกสามารถเปดเผยขอมูลขั้นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่นแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง

8 สวนที่ 3 รับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจาก กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ 2 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี ) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ระดมทุน/ ทรัสตีผู้ออกศุกูก ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดง ให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มี การอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาว ไม่สามารถ ลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุ กูก (แล้วแต่กรณี) ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาว ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลหรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผัน จากสํานักงาน 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมูล

9 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี ) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ออกศุกูกในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือ ผู้ลงทุนอยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูกมีการระบุนโยบายและแผนการ ประกอบธุรกิจของผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูกในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เช น “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก …(ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับ ความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ออกศุกูกในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้ )” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง…ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก …ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี ” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิตที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

10 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 6 ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สิ นทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

11 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest cove rage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มี ภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย ( รวมคาบําเหน็จ ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

12 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่ มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

13 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุ นรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางป สําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

14 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารงอัตราสวน ทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการ ตามตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

15 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING-SUKUK บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของศุกูกที่เสนอขาย เชน ศุกูกที่ออกเป็นไปตามหลักการประเภทใดของศาสนา อิสลาม ทรัพย์สินที่ใชอางอิง (โดยกรณีศุกูกไม่มีประกันต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็น หลักประกันของศุกูก ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ ยงในระดับเดียวกับเจ้าหนี้สามัญของผู้ระดมทุน) จํานวน ผลตอบแทน อายุ บุคคลที่สามารถซื้อศุกูก (เฉพาะกรณีที่ไม่ได้เสนอขายต่อบุคคลทั่วไป) ผลการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ หลักประกันหรือผู้ค้ําประกัน (ถามี) - รายละเอียดที่สําคัญอื่นๆ เชน ทรัสตีผู้ออกศุกูก ศุกูกทรัสตี ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาชะรีอะฮ ผู้จัดการการรับประกันการจําหนาย ผู้ประกันการจําหนาย วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ศุกูกมีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขายกรณีที่มีจํานวนศุกูกที่ขายได้นอยกวาจํานวนศุกูก ขั้นต่ําที่ ผู้ระดมทุนกําหนด เป็นตน - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลตามแบบแสดงรายการขอมูลที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับ เมื่อวันที่ (ระบุ) รวมทั้งขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ ยื่ นมากอนหน้าภายใตโครงการนี้ถือเป็นขอมูลสวนหนึ่งของ แบบ แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 2 : 69-PP-PRICING-SUKUK) ฉบับนี้ด้วย” ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดง วาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือ รับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด

16 ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ”

17 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. สรุปขอมูลสําคัญของศุกูก (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของศุกูกที่เสนอขายในครั้งนั้น โดยจัดทําตามแบบ ที่กําหนดในประกาศที่เกี่ยวของ 2. ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับ สํานักงาน เป็นตน) 3. ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย (1) ขอมูลเกี่ยวกับการนําเงินไปใช (วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินและระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ) สําหรับการเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk ให้เปดเผย วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) จากศุกูกที่เสนอขาย โดยระบุรายละเอียด การใชเงิน ซึ่งเป็นประโยชนต่อสิ่งแวดลอม ชวยพัฒนาสังคม หรือสงเสริมความยั่ งยืนแล้วแต่กรณี ทั้ งนี้ ในกรณีที่ ผู้ ออกศุกูกเพิ่ มเติมหรือแกไขขอมูลศุกูกในแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ให้ เป ดเผยวำอำงอิ งจากข อมูลในแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ผู้ออกศุกูกเคยได้ยื่นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่ แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ (2) เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียด วิธีการคํานวณแสดงตามภาคผนวก (3) ให้แนบรางสัญญากอตั้ งทรัสตเพิ่ มเติมสําหรับการเสนอขายในครั้ งนี้ และในกรณี เสนอขายศุกูกต่อผู้ลงทุนรายใหญ หรือผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้ระบุวารางสัญญากอตั้งทรัสตสําหรับการ เสนอขายในครั้งนี้มีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงจากขอกําหนดสิทธิที่เป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-PP-MTN- SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK)  ไม่แตกตาง  แตกตาง ให้ระบุรายละเอียดที่แตกตางกั น * หมายเหตุ * ในกรณีที่รางสัญญากอตั้งทรัสตที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก ฉบับนี้ มีสาระสําคัญแตกตางจากขอกําหนดสิทธิฉบับที่ได้ยื่นต่อสํานักงานพรอมแบบ 69-PP-BASE-SUKUK ทรัสตี ผู้ออกศุกูกต้องดําเนินการยื่น แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) ชุดใหม ต่อสํานักงาน

18 (4) รายละเอียดโครงสรางศุกูก 1) รายละเอียดทรัพย์สินที่ใชอางอิง ให้เปดเผยถึงรายละเอียดของทรัพย์สินที่ใชในการอางอิงสําหรับการออกศุกูกในครั้งนี้ โดยให้เปดเผยถึงลักษณะของทรัพย์สิน และมูลคาตามบัญชีของทรัพย์สินดังกลาว 2) โครงสรางศุกูก ให้อธิบายวาการออกศุกูกในครั้งนี้มีโครงสรางที่สําคัญ ขั้นตอน และกระบวนการตั้งแต่ การยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน การขายใบทรัสต การตั้งกองทรัสต การโอนทรัพย์สินเขากองทรัสต (อธิบายตามลําดับขั้นตอนที่เกิดขึ้นกอนหลัง โดยควรมีแผนภาพประกอบคําอธิบายด้วย เพื่อให้งายต่อ การทําความเขาใจของผู้ลงทุน) วิธีการการเรียกเก็บกระแสรายรับจากสินทรัพย์ที่ใชอางอิงเพื่อมาชําระ ผลตอบแทนศุกูก และกระบวนการหากเกิดเหตุผิดนัดชําระหนี้หรือเมื่อศุกูกสิ้นอายุ 3) รายละเอียดของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ให้ระบุชื่อของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ประวัติการศึกษา ความรูความสามารถ และประวัติ ในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาชะรีอะฮ 4) สรุปสาระสําคัญของสัญญาที่เกี่ยวของ ให้สรุปสาระสําคัญของรางสัญญากอตั้งทรัสตและสัญญาอื่ น ๆ ที่เกี่ยวของกับ การออกศุกูก โดยอยางนอยให้สรุปภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ระดมทุน ทรัสตีผู้ออกศุกูก ศุกูกทรัสตี และผู้ถือศุกูก ตามที่ระบุไวในสัญญากอตั้งทรัสต เหตุผิดนัดชําระหนี้ 5) ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ให้เปดเผยขอมูอื่นที่เกี่ยวของที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน - กรณีเสนอขายผู้ลงทุนทั่วไป 1. ขอมูลทั่วไป ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท 2. ผู้ถือหุน ให้ระบุรายชื่อกลุ่มผู้ถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก พรอมทั้งจํานวนหุน ที่ถือและสัดสวนการถือหุนลาสุด ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุนของผู้ที่เกี่ยวของ และผู้ถือหุนที่อยู่ภายใต ผู้มีอํานาจควบคุมเดียวกันเป็นกลุ่มเดียวกัน 3. รายชื่อกรรมการและผู้บริหาร ให้ระบุรายชื่อและคาตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร

19 - กรณีเสนอขายผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญหรือผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมด ผู้ถือหุน กรรมการและผู้บริหาร และรายละเอียด ของกองทรัสตของทรัสตีผู้ออกศุกูก - กรณีศุกูกมีอัตราผลตอบแทนลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทน ที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้วทําให้ลตอบแทนที่ผู้ลงทุน จะได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจ เกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกศุกูกเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน - กรณีผู้ระดมทุนเป็นริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูล ดังต่อไปนี้ 1. สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 2. สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3. สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 3 ต่อหนี้สินที่ มีภาระดอกเบี้ย - การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควร อธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะและความเสี่ยงของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะและความเสี่ยงสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทน และการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน 4. ขอมูลการเสนอขาย ให้เปดเผยขอมูลที่มีรายละเอียดการจอง การจําหนาย และการจัดสรร 4.1 ในกรณีเสนอขายต่อประชาชนทั่วไปหรือผู้ลงทุนรายใหญหรือผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้ (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายศุกูกผานผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ หรือผู้คาหลักทรัพย์หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท 3 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา ( lease) เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

20 นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะ ที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้คาหลักทรัพย์) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูก ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้เสนอขายศุกูกกับผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์/ผู้คาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขและคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาศุกูก ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาศุกูก ที่ผู้เสนอขายศุกูกจะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูกไวด้วย (5) คำใชจายในการเสนอขายศุกูก ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายศุกูกโดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรศุกูก ให้ระบุหลักการจัดสรรศุกูกให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือ จํานวนศุกูกที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนศุกูกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุรายละเอียดเกี่ ยวกับระยะเวลาการจองซื้ อศุกูก การกําหนดจํานวน ในการจองซื้อศุกูกต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ชื่อบริษัทเงินทุนหรือธนาคารพาณิชยที่เป็น ตัวแทนรับเงินคาจองซื้อศุกูก วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อศุกูกคืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้ อศุกูกในกรณีที่ ผู้ จองซื้อ ไม่ได้รับการจัดสรรศุกูก (11) วิธีการสงมอบศุกูก ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ (12) ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงิน มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุน ระหวางกัน มีกรรมการรวมกันเป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย

21 4.2 ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) (2) ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน

22 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ ที่ ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ ที่ ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ 4 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี ) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือ ไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดง ให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มี การอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาว ไม่สามารถ ลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาว ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลหรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจาก สํานักงาน 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมู ล

23 2 . การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน ให้ผู้ มีอํานาจลงนามผูกพันที่ ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่ อ พรอมทั้ งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูลโดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของการออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ แล้ว และด้วยความระมัดระวัง ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวนไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่น สําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุนในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐาน ได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ระดมทุนหรือผู้ลงทุนอยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ ผู้ ระดมทุนมีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ ระดมทุนในอนาคต ในแบบแสดงรายการขอมูล)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล บางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง… ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก … (ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของ ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุ ขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

24 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สิ นที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง )

25 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย ( รวมคาบําเหน็จ ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

26 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

27 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุ นรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงินประเภท เดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวำงปสําหรับงวด ปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

28 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชี ปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางต นหากไม่สามารถคํานวณได้

29 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุชื่อและรายละเอียดที่สําคัญโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ยื่นต่อสํานักงานในครั้งนี้ ให้ถือเป็นสวนหนึ่งของขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) ที่มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) ด้วย”

30 สวนที่ 1 รายการขอมูล ขอมูลเพิ่มเติมที่สําคัญ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ระดมทุนหรือขอมูลศุกูกที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน อยางมีนัยสําคัญในกรณีดังต่อไปนี้ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP- BASE-SUKUK) และแบบ 69-PP-MTN -SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ผานมา (1) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนประสบความเสียหายอยางรายแรง (2) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนหยุดประกอบกิจการทั้งหมด หรือบางสวน (3) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคหรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (4) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนทําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมด หรือบางสวน ในการบริหารงานของบริษัท (5) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการรวมทุน ควบรวมกิจการ กระทําหรือถูกกระทํา อันมีลักษณะเป็นการครอบงํา หรือถูกครอบงํากิจการตามมาตรา 247 (6) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการฟนฟูกิจการ (7) เหตุการณใด ๆ ที่เป็นเงื่อนไขที่จะทําให้ผู้ถือศุกูกถือเป็นเหตุให้ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือ ผู้ระดมทุนผิดขอตกลงตามตราสาร (events of default) (8) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนผิดขอตกลงในการชําระหนี้ตามตราสาร (default) (9) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหาร โครงสราง การถือหุนอยางมีนัยสําคัญ หรือมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมของทรัสตี ผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุน (10) ตราสารหนี้หรือศุกูกของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนถูกปรับลดผลการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ (11) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการสงงบการเงินและแบบ 56-1 ของของกองทรัสต หรือผู้ระดมทุนให้สํานักงาน หนวยงานทางการ ซึ่งเป็นผู้ กํากับดูแลการดําเนินงานโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย (ในกรณีที่นําสงงบการเงินหรือแบบ 56-1 ต่อสํานักงานแล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN- SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PP-SUPPLEMENT-SUKUK) แล้ว) (12) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเพิ่มทุนหรือลดทุนจดทะเบียน (13) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (14) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีแผนการลงทุนที่สําคัญ (15) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนได้มาหรือสูญเสียไป ซึ่งสัญญาการคาที่สําคัญ (16) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีขอพิพาทที่อาจสงผลกระทบทําให้สวนของผู้ถือหุน ลดลงเกินกวารอยละ 5

31 (17) ทรัสตีผู้ ออกศุกูกหรือผู้ ระดมทุนจะมีการเพิ่ มหรือลดมูลคาการเสนอขายของศุกูก จากที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายศุกูก ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ โดยเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แกไข มติคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุนที่เคยอนุมัติ ให้ออกศุกูกที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายศุกูก ซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ (18) ทรัสตีผู้ออกศุกูกมีการเปลี่ยนแปลงศุกูกทรัสตี โดยหากศุกูกทรัสตีมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ ของทรัสตี ผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุน ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวด้วย (19) เพิ่มการเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk โดยให้ ระบุขอมูลตามที่กําหนดในแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) ในสวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก ขอ 3 ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย (1) – (5) (20) เพิ่มรายละเอียดหรือแกไขขอมูลที่เปดเผยในแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) สําหรับกรณีเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk : แบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PP-BASE-SUKUK) ในสวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียด โครงสรางศุกูก ขอ 3 ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย (1) – (5) (21) ขอมูลของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผย ไวในแบบแสดงรายการขอมูลที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรกอยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูลที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรก อยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน เชน ปจจัยความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลง งบการเงิน มีขอสังเกตของผู้สอบบัญชี เป็นตน วิธีการเปดเผยขอมูล ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติม โดยเลือกวิธีการ ดังนี้  (1) แสดงรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมดังกลาว  (2) ให้อางอิงจากขอมูลที่ ทรัสตีผู้ ออกศุกูกหรือผู้ ระดมทุนเคยได้ยื่ นต่อสํานักงาน หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และให้ถือวาขอมูลดังกลาวเป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING-SUKUK (ในกรณีที่มีการอางอิงขอมูลดังกลาว ให้สรุปขอมูล วันที่เผยแพร และระบุแหลงอางอิงขอมูล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงาน เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเว็บไซต์ของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนเป็นตน)

32 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจ จากกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกลงลายมือชื่อ 5 พรอมทั้ง ประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวัง ในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน/ ผู้รับมอบอํานาจ] ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ขาพเจ้าขอรับรองวาขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการ ขอมูลฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบ ต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้นเชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดง รายการขอมูลฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถ ลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวย ทางรางกายหรือทางจิต ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อ ในแบบแสดงรายการขอมูล หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมูล

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (แบบ 69-PO-SUKUK)/ (Form 69-PO-SUKUK) บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ เสนอขายศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุลักษณะที่ สําคัญของศุกูกที่ เสนอขาย เชน ศุกูกที่ ออกเป็นไปตามหลักการประเภทใดของ ศาสนาอิสลาม ทรัพย์สินที่ใชอางอิง (โดยกรณีศุกูกไม่มีประกันต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็น หลักประกันของศุกูก ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ยงในระดั บเดียวกับเจ้าหนี้สามัญของผู้ระดมทุน) จํานวน ผลตอบแทน อายุ บุคคลที่สามารถซื้อศุกูก (เฉพาะกรณีที่ไม่ได้เสนอขายต่อบุคคลทั่วไป) ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ หลักประกันหรือผู้ค้ําประกัน (ถามี) - รายละเอียดที่สําคัญอื่นๆ เชน ผู้ระดมทุน ศุกูกทรัสตี ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาชะรีอะฮ ผู้จัดการ การรับประกันการจําหนาย ผู้ประกันการจําหนาย วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขายกรณีที่มีจํานวนศุกูกที่ขายได้นอยกวาจํานวนศุกูกขั้นต่ําที่ผู้ระดมทุนกําหนด เป็นตน ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือรับรอง ความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้เป็นความรับผิดชอบ ของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รู

2 หรือควรได้รู วาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ”

3 สารบัญ หน้า สวนที่ 1 รายการขอมูล 4 สวนที่ 2 ขอมูลสรุป (executive summary) 5 สวนที่ 3 ขอมูลผู้ระดมทุน 6 สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก 8 สวนที่ 5 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก (ให้เปดเผยเฉพาะกรณีที่ ทรัสตีผู้ออกศุกูกเป็นนิติบุคคล 10 แยกตางหากจากผู้ระดมทุน) สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) 11 สวนที่ 7 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายศุกูก 14 สวนที่ 8 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายศุกูก) 16 เอกสารแนบ 1 รางสัญญากอตั้งทรัสต เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหารและผู้ มีอํานาจควบคุมของผู้ระดมทุน เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอยของผู้ระดมทุน เอกสารแนบ 4 งบการเงิน เอกสารแนบ 5 อื่นๆ ภาคผนวก ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ

4 สวนที่ 1 รายการขอมูล สรุปขอมูลสําคัญของตราสาร (factsheet) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของตราสารหนี้ที่เสนอขาย โดยจัดทําตามแบบที่กําหนด ในประกาศที่เกี่ยวของ ในกรณีการเสนอขายศุกูก ซึ่งไม่ได้กําหนดให้ต้องมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือแต่ผู้ออกศุกูกสมัครใจ ที่จะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของศุกูก ผู้ออกศุกูกหรือผู้ค้ําประกันการชําระหนี้ เพื่อประกอบ การเสนอขายศุกูกนั้น ให้ระบุวาผู้ออกศุกูกจะจัดให้มีการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยางต่อเนื่องตลอดอายุ ของศุกูกหรือไม่ด้วย

5 สวนที่ 2 ขอมูลสรุป (executive summary) 1. ให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลผู้ระดมทุนในสวนที่ 3 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูกในสวนที่ 4 และขอมูล เกี่ยวกับการเสนอขายศุกูกในสวนที่ 6 โดยยอ เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจภาพรวมของการดําเนินธุรกิจของผู้ระดมทุน โครงสรางศุกูก รายละเอียดการเสนอขาย 2. ให้แสดงขอมูลเกี่ยวกับการนําเงินไปใช (วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินและระยะเวลา ที่ใชเงินโดยประมาณ) 3. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้ เงินตนหรือดอกเบี้ ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้ เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นและการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 4. กรณีผู้ ระดมทุนเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ 4.1 สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 4.2 สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 4.3 สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ผู้ลงทุนควรอานรายละเอียดขอมูลในสวนที่ 3 ถึงสวนที่ 6 กอนตัดสินใจจองซื้อศุกูก) 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา (lease) เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

6 สวนที่ 3 ขอมูลผู้ระดมทุน ขอมูลต่อไปนี้ให้เปดเผยถึงขอมูลของผู้ระดมทุน (originator) โดยไม่จําเป็นต้องเปดเผยขอมูล ของทรัสตีผู้ ออกศุกูก ยกเวนหัวขอที่กําหนดให้ต้องเปดเผยขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูกด้วย ทั้งนี้ ขอมูล ที่กําหนดให้เปดเผยเป็นเพียงขอมูลขั้นต่ํา ผู้ระดมทุนควรพิจารณาเปดเผยขอมูลรายละเอียดอื่น ๆ ที่ชวยทําให้ ผู้ลงทุนเขาใจและเห็นภาพธุรกิ จของผู้ระดมทุนได้ชัดเจนขึ้น 1. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ระดมทุ น 1.1 ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน แบงเป็น 2 กรณี ดังนี้ (1) กรณีผู้ ระดมทุนมีหน้าที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลประจําปต่อสํานักงาน หรือเพิ่ งยื่น แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้/ศุกูกต่อประชาชน และแบบแสดงรายการขอมูลดังกลาว มีผลใชบังคับไม่เกิน 1 ป ให้ผู้ระดมทุนเปดเผยขอมูลตามที่ ได้เคยเปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูล ประจําปงวดปลาสุดหรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้/ศุกูกที่เคยจัดสงต่อสํานักงานและ ปรับปรุงขอมูลดังกลาวให้เป็นปจจุบันด้วย รวมทั้งให้เปดเผยขอมูลคําอธิบายและการวิเคราะหของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสม ตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย (2) กรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ผู้ระดมทุนเปดเผยขอมูลที่เป็นปจจุบัน โดยมีหัวขอและรายละเอียด เป็นไปตามแบบแสดงรายการขอมูลประจําปโดยอนุโลม รวมถึงให้แสดงขอมูลจากงบการเงินและอัตราสวน ทางการเงินที่สําคัญที่สะทอนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทยอย อยางนอยต้องมีขอมูลเปรียบเทียบ 2 ปที่ผานมา (เป็นงบการเงินปลาสุดที่ผานการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและงบการเงินปยอนหลังอีกหนึ่งป) ทั้งนี้ ให้เปดเผยขอมูล MD&A สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 1.2 ให้เพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ระดมทุน (กรณีที่ออกเป็นศุกูกไม่มีประกัน) และ ยอดหนี้คงคางในการออกหุนกูหรือตั๋วเงินครั้งกอน 1.3 เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียดวิธีการ คํานวณแสดงตามภาคผนวก 1.4 ให้เปดเผยขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในศุกูกที่เฉพาะเจาะจงผู้ ระดมทุน เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะ การเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant กับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยง ของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาดหรือกรณีบุคคลค้ําประกัน การพึ่งพาการระดมทุนจากศุกูกและความเสี่ยง จากความสัมพันธที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผู้ระดมทุนและศุกูกทรัสตี

7 รายการขอมูลเพิ่มเติม 1. หากผู้ระดมทุนเป็นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย (“สํานักงานสาขา”) การเปดเผย ขอมูลตาม 1.1 และ 1.2 ขางตน ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของสํานักงาน ใหญ (หมายถึง ธนาคารตางประเทศทั้งองคกร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุปขอมูลการประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชีในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้งแสดงขอผูกพันตามขอกําหนดสิทธิที่ระบุวาสํานักงานสาขาจะดํารงฐานะการชําระหนี้ให้ไม่ได้รับ ผลกระทบจากการที่สํานักงานสาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบงบการเงินของสํานักงานสาขา เป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก นอกจากนี้ ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ 1.1 ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถในการชําระหนี้ ของผู้ ระดมทุน เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน 1.2 ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ระดมทุนล้มละลาย ซึ่งผู้ถือศุกูกอาจไม่สามารถขอรับชําระหนี้หรือ ฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้งนี้ หากมีการเปดเผยอันดับ ความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ อาจไม่สะทอนความสามารถในการคืนเงินลงทุน และจายผลประโยชนตอบแทนของสํานักงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดกรณีล้มละลาย 2. หากผู้ระดมทุนเป็นกิจการตางประเทศ ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ 2.1 การดําเนินคดีทางกฎหมายกับกิจการตางประเทศ เนื่องจากไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหาความแตกตางของ กฎหมายที่ใชบังคับ ซึ่ งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย 2.2 ผลกระทบที่ผู้ถือศุกูกของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมายของประเทศ ที่เกี่ยวของกับกิจการนั้นมีขอจํากัดในการสงเงินออกนอกประเทศ หรือขอจํากัดในการควบคุมการเขาออกเงิน ระหวางประเทศ (ถามี) 2.3 ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และ การสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ 2.4 ขอจํากัดหรือความเสี่ ยงอื่ นใดที่ อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิหรือการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนอยางมีนัยสําคัญ 2.5 ความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจาก ผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค 2.6 ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี)

8 สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก 1. รายละเอียดโครงสรางศุกูก 1. รายละเอียดทรัพย์สินที่ใชอางอิง ให้เปดเผยถึงรายละเอียดของทรัพย์สินที่ใชในการอางอิงสําหรับการออกศุกูกในครั้งนี้ โดยให้เปดเผย ถึงลักษณะของทรัพย์สิน และมูลคาตามบัญชีของทรัพย์สินดังกลาว 2. โครงสรางศุกูก ให้อธิบายวาการออกศุกูกในครั้งนี้มีโครงสรางที่สําคัญ ขั้นตอน และกระบวนการตั้งแต่การยื่น คําขออนุญาตต่อสํานักงาน การขายใบทรัสต การตั้งกองทรัสต การโอนทรัพย์สินเขากองทรัสต (อธิบาย ตามลําดับขั้นตอนที่เกิดขึ้นกอนหลัง โดยควรมีแผนภาพประกอบคําอธิบายด้วย เพื่อให้งายต่อการทําความเขาใจ ของผู้ลงทุน) วิธีการการเรียกเก็บกระแสรายรับจากสินทรัพย์ที่ใชอางอิงเพื่อมาชําระผลตอบแทนศุกูก และ กระบวนการหากเกิดเหตุผิดนัดชําระหนี้หรือเมื่อศุกูกสิ้นอายุ นอกจากนี้ ให้ระบุความเสี่ยงสําคัญที่เกี่ยวของ กับศุกูกด้วย 3. รายละเอียดของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ให้ระบุชื่อของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ประวัติการศึกษา ความรูความสามารถ และประวัติในการทําหน้าที่ เป็นที่ปรึกษาชะรีอะฮ 4. สรุปสาระสําคัญของสัญญาที่เกี่ยวของ ให้สรุปสาระสําคัญของรางสัญญากอตั้งทรัสตและสัญญาอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการออกศุกูก โดยอยางนอย ให้สรุปภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ระดมทุน ทรัสตีผู้ออกศุกูก ศุกูกทรัสตี และผู้ถือศุกูก ตามที่ระบุไว ในสัญญากอตั้งทรัสต เหตุผิดนัดชําระหนี้ นอกจากนี้ หากศุกูกทรัสตีมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ระดมทุน ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวไวด้วย 5. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ให้เปดเผยขอมูลอื่นที่เกี่ยวของที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน 2. ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ ในกรณีออกและเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (“green sukuk”) ศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม (“social sukuk”) และศุกูกเพื่อความยั่งยืน (“sustainability sukuk”) ให้เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรับ green sukuk social sukuk และ sustainability sukuk และมาตรฐานนิยาม และหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมที่ยั่งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับ สากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายศุกูกดังกลาวตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) ห รื อ มำ ต ร ฐำ น International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน

9 (ข) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) ห รื อมาตรฐา น International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) (3) กระบวนการที่ใชในการประเมินและคัดเลือกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือวิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริหารจัดการเงินที่ ได้จากการระดมทุน (management of proceeds) โดยแสดงถึง วิธีการติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงินอื่นของบริษัท ให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชีทรัพย์สินอื่ น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายศุกู ก เป็นตน (5) การรายงานและชองทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการภายหลังการเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของศุกูก เชน รายงานการใชเงินที่ได้มา จากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวนเงินที่ใช และ ยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายศุกูก ซึ่งควรจัดให้ มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน

10 สวนที่ 5 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก (ให้เปดเผยเฉพาะกรณีที่ ทรัสตีผู้ออกศุกูกเป็นนิติบุคคลแยกตางหากจากผู้ระดมทุน) 1. ขอมูลทั่วไป ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท 2. ผู้ถือหุน ให้ระบุรายชื่ อกลุ มผู้ ถือหุ นที่ ถือหุ นสูงสุด 10 รายแรก พรอมทั้ งจํานวนหุ นที่ถือและสัดสวน การถือหุนลาสุด ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุนของผู้ที่เกี่ยวของ และผู้ถือหุนที่อยู่ภายใตผู้มีอํานาจควบคุม เดียวกันเป็นกลุ่มเดียวกัน 3. รายชื่อกรรมการและผู้บริหาร ให้ระบุรายชื่อและคาตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร 4. รายละเอียดของกองทรัสตของบริษัท - ให้ระบุวาบริษัทมีกองทรัสต ทั้งหมดกี่กอง แต่ละกองออกศุกูกใด (ให้ระบุชื่อเฉพาะของศุกูก) - ให้ระบุวาทรัพย์สินในแต่ละกองทรัสต คืออะไร

11 สวนที่ 6 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการทุกคนและผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินของ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก ลงลายมือชื่อ 2 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูก โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้วและ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน] ของผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) หรือผู้ ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูล ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูก ได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบ การเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ได้เปดเผยขอมูลในสวน ที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยอยางถูกต้องครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบ การควบคุมภายในที่ ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูล การประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีแล้ว ซึ่งครอบคลุมถึง ขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมี ผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏ ในแหลงขอมูลที่ ผู้ ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถ วน ของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้ )” 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

12 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออก ศุกูกต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้ ออกตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

13 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของการออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานข อมูลในแบบแสดงรายการข อมู ลการเสนอขายศุกู กฉบั บนี้ แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุนในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จั ดทําขึ ้ นอยำงสมเหตุ สมผล และมีการอธิ บายผลกระทบต อผู้ ระดมทุ นหรื อผู  ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ระดมทุนมีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุน ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมู ลการเสนอขายศุกูก)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เว นแต่ ข อมู ลในเรื ่ อง … ของแบบแสดงรายการข อมูลการเสนอขายศุกู กนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก … (ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ระดมทุน/ผู้เสนอขายศุกูก (แล้วแต่กรณี) ในการตรวจสอบขอมูล ในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่ งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่ อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. หมายเหตุ *หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ที่ ปรีกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

14 สวนที่ 7 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายศุกูก 1. รายละเอียดของศุกูกที่เสนอขาย (1) ให้แสดงผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือ รวมทั้งรายละเอียดการวิเคราะหการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ของศุกูกที่เสนอขาย (2) ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจำยผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของ สัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน (3) ในกรณีศุกูกมีอัตราผลตอบแทนลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่ อนไขขางตนแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับ ไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกศุกูกเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน 2. ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน) 3. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายศุกูกผานผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ หรือผู้ คาหลักทรัพย์ หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้คาหลักทรัพย์) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุ นระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาหลักทรัพย์ ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้เสนอขายศุกูกกับผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์/ผู้คาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวกับเงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาศุกูก ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาศุกูกที่ผู้เสนอขายศุกูกจะได้รับ หลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูกไวด้วย

15 (5) คาใชจายในการเสนอขายศุกูก ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายศุกูก โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรศุกูก ให้ระบุหลักการจัดสรรศุกูกให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวนศุกูก ที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนศุกูกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อศุกูก การกําหนดจํานวนในการจองซื้อศุกูกต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ชื่อบริษัทเงินทุนหรือธนาคารพาณิชยที่เป็นตัวแทนรับเงินคาจองซื้อศุกูก วิธีการ และเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อศุกูกคืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อศุกูกในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับการจัดสรรศุกูก (11) วิธีการสงมอบศุกูก ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ 4. ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุน ในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย

16 สวนที่ 8 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายศุกูก) 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้ มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันของ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก ลงลายมือชื่อ 3 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้ว และ ด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ระดมทุน/ ทรัสตีผู้ออกศุกูก ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏ ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิง ขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออก ศุกูกต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาว ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือทางจิต ผู้ ออกตราสารหนี้ ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน 3 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้กําหนด

17 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สิ นที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย ( 8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) ( 2 ) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง ) (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท .

18 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest cove rage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มี ภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

19 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ ( รอยละ ) ( รายได้รวมงวดปจจุบัน - รายได้รวมงวดกอน ) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total rec eivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

20 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 5 ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่ น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับกําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคาคงเหลือ) / หนี้สิ นหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงินประเภท เดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่ บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวางป สําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

21 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชีปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารงอัตราสวน ทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) (แบบ 69-PO-MTN-SUKUK) แบบ 69-PO-MTN-SUKUK ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการสนอขายศุกูกต่อประชาชนทั่วไป ในลักษณะโครงการ มี 3 สวน ดังต่อไปนี้ สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK ใชสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งแรก สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING-SUKUK 1 ใชสําหรับการยื่ นประกอบกับการยื่ นแบบแสดงรายการ ขอมูลครั้งแรก และสําหรับการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลครั้งต่อไป โดยอางอิงจากสวนที่ 1 ที่ได้ยื่นไว ในครั้งแรก และอางอิงขอมูลในสวนที่ 3 การปรับปรุงขอมูลกรณีเกิดเหตุการณตามที่กําหนดไว สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK ใชสําหรับการปรับปรุงขอมูลกรณีเกิดเหตุการณตามที่ กําหนดไวตามสวนนี้ หมายเหตุ 1 ในกรณีครั้งใดเสนอขายศุกูกต่อเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญและผู้ลงทุนรายใหญ พิเศษ ให้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PP-MTN-SUKUK (สวนที่ 2 : แบบ 69-PP-PRICING-SUKUK) ได้โดยอนุโลม

2 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายแบบโครงการศุกูกที่จะเสนอขายในรอบ 2 ป (Medium Term Note Program : “MTN”) - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของโครงการศุกูกที่เสนอขาย เชน ชื่อโครงการ ประเภท ชนิด รูปแบบศุกูก ทรัพย์สินที่ใชอางอิง (กรณีศุกูกไม่มีประกันต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็นหลักประกันของ ศุกูกแต่อยางใด ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ยงในระดับเดียวกับเจ้าหนี้ สามัญของบริษัท) จํานวน มูลคาเสนอขายรวม บุคคลที่เสนอขายศุกูกให้ ขอจํากัดการโอน วันที่ได้รับอนุญาต วันเริ่มเสนอขาย และวันสิ้นสุดการเสนอขาย ตามโครงการ ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกันราคา หรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือ รับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด ทั้ งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกู กนี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความ หรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ตาม มาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ ได้รูหรือควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จ หรือขาดขอความที่ควรต้องแจง ในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ”

3 สารบัญ หน้า สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (executive summary) 4 สวนที่ 2 ขอมูลผู้ระดมทุน 5 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก 7 สวนที่ 4 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก (ให้เปดเผยเฉพาะกรณีที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกเป็นนิติบุคคลแยก 9 ตางหากจากผู้ระดมทุน) สวนที่ 5 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) 10 เอกสารแนบ 1 รางสัญญากอตั้งทรัสต เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ระดมทุน เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอยของผู้ระดมทุน เอกสารแนบ 4 งบการเงิน เอกสารแนบ 5 อื่นๆ ภาคผนวก ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ

4 สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (executive summary) 1. ให้สรุปสาระสําคัญของขอมูลผู้ระดมทุนและขอมูลเกี่ยวกับโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย ในสวนที่ 2 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูกในสวนที่ 3 เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจภาพรวมของการดําเนินธุรกิจของ ผู้ระดมทุน โครงสรางศุกูก รายละเอียดการเสนอขาย 2. เปดเผยประวัติผิดนัดชําระหนี้เงินตนหรือดอกเบี้ ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้ เงินกูยืมจากธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะ จัดตั้งขึ้นและการผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามขอกําหนดสิทธิ 3 ปยอนหลัง 3. กรณีผู้ระดมทุนเป็นบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้ 3.1 สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สิ นที่มีภาระดอกเบี้ย 3.2 สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3.3 สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 1 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย) (ผู้ลงทุนควรอานรายละเอียดขอมูลในสวนที่ 2 และสวนที่ 3 กอนตัดสินใจจองซื้อศุกูก) 1 เชน หนี้สินจากสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมบริษัทที่เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

5 สวนที่ 2 ขอมูลผู้ระดมทุน ขอมูลต่อไปนี้ให้เปดเผยถึงขอมูลของผู้ระดมทุน (originator) โดยไม่จําเป็นต้องเปดเผยขอมูล ของทรัสตีผู้ ออกศุกูก ยกเวนหัวขอที่กําหนดให้ต้องเปดเผยขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูกด้วย ทั้งนี้ ขอมูล ที่กําหนดให้เปดเผยเป็นเพียงขอมูลขั้นต่ํา ผู้ระดมทุนควรพิจารณาเปดเผยขอมูลรายละเอียดอื่น ๆ ที่ชวยทําให้ ผู้ลงทุนเขาใจและเห็นภาพธุรกิจของผู้ระดมทุนได้ชัดเจนขึ้น 1. ขอมูลเกี่ยวกับผู้ระดมุทน ฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน แบงเป็น 2 กรณี ดังนี้ 1.1 กรณีผู้ระดมทุนมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลประจําปต่อสํานักงาน หรือเพิ่งยื่นแบบแสดง รายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้ /ศุกูกต่อประชาชน และแบบแสดงรายการข อมูลดังกลำว มีผลใชบังคับไม่เกิน 1 ป ให้ผู้ระดมทุนเปดเผยขอมูลตามที่ได้เคยเปดเผยในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป งวดปลาสุด หรือแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายตราสารหนี้/ศุกูกที่เคยจัดสงต่อสํานักงานและปรับปรุง ข อมู ลดั งกลำวให้ เป นป จจุ บั นด วย รวมทั ้ ง ให้ เป ดเผยข อมู ลคําอธิ บายและการวิ เคราะห ของ ฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และ ผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาสลาสุดด้วย 1.2 กรณีอื่นนอกจาก 1.1 ให้ผู้ระดมทุนเปดเผยขอมูลที่เป็นปจจุบัน โดยมีหัวขอและรายละเอียด เป็นไปตามแบบแสดงรายการขอมูลประจําปโดยอนุโลม รวมถึง ให้แสดงขอมูลจากงบการเงินและอัตราสวน ทางการเงินที่ สําคัญที่สะทอนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในธุรกิจหลักของผู้ ระดมทุนและ บริษัทยอย อยางนอยต้องมีขอมูลเปรียบเทียบ 2 ปที่ผานมา (เป็นงบการเงินปลาสุดที่ผานการตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและงบการเงินปยอนหลังอีกหนึ่งป) ทั้งนี้ ให้เปดเผย ขอมูล MD&A สําหรับงบการเงินรายไตรมาสลาสุด และผลการดําเนินงานสะสมตั้งแต่ตนปบัญชีถึงไตรมาส ลาสุดด้วย นอกจากรายการตามขอ 1.1 หรือ 1.2 แล้ว ให้ผู้ระดมทุนเปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย (1) ขอมูลเกี่ยวกับภาระผูกพันในทรัพย์สินของผู้ระดมทุน (กรณีที่ออกเป็นศุกูกไม่มีประกัน) และ ยอดหนี้คงคางในการออกหุนกูหรือตั๋วเงินครั้งกอน (2) อัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียดวิธีการ คํานวณแสดงตามภาคผนวก (3) ขอมูลความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจและการลงทุนในศุกูกที่เฉพาะเจาะจงของผู้ระดมทุน เชน การเปลี่ยนโครงสรางธุรกิจ การเปลี่ยนโครงสรางการบริหาร ขอพิพาททางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงฐานะ การเงิน หรือใกลถึงจุดดํารง financial covenant กับสถาบันการเงิน ขอสังเกตของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยง ของหลักประกันกรณีไม่มีราคาตลาด หรือกรณีบุคคลค้ําประกัน การพึ่งพาการระดมทุนจากตราสารหนี้ และ ความเสี่ยงจากความสัมพันธที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผู้ระดมทุนและศุกูกทรัสตี

6 รายการขอมูลเพิ่มเติม (1) หากผู้ ระดมทุ นเป นสาขาธนาคารตางประเทศในประเทศไทย (“สํานั กงานสาขา”) การเปดเผยขอมูลตาม 1.1 และ 1.2 ขางตน ให้เปดเผยขอมูลของสํานักงานสาขาเป็นหลัก และระบุขอมูลของ สํานั กงานใหญ (หมายถึ ง ธนาคารตางประเทศทั ้ งองค กร) ประกอบ โดยแสดงเฉพาะสรุ ปข อมูล การประกอบธุรกิจ ตัวเลขรายการบัญชีในงบการเงินที่สําคัญ และผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของ สํานักงานใหญ (ถามี) รวมทั้งแสดงขอผูกพันตามขอกําหนดสิทธิที่ระบุวาสํานักงานสาขาจะดํารงฐานะ การชําระหนี้ให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการที่สํานักงานสาขาจะสงเงินออกไปให้สํานักงานใหญ ทั้งนี้ ให้แนบ งบการเงินของสํานักงานสาขาเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก นอกจากนี้ ให้เป ดเผยขอมูลเพิ่มเติมดั งนี้ (1.1) ความเสี่ยงเกี่ยวกับขอจํากัดทางกฎหมายในดานตาง ๆ ที่กระทบต่อความสามารถ ในการชําระหนี้ของผู้ระดมทุน เชน กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับหลักตางตอบแทน (1.2) ความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ระดมทุนล้มละลาย ซึ่งผู้ถือศุกูกอาจไม่สามารถขอรับชําระหนี้ หรือฟ้องบังคับชําระหนี้จากทรัพย์สินของสํานักงานสาขาและสํานักงานใหญ ทั้งนี้ หากมีการเปดเผยอันดับ ความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญ ให้ระบุคําเตือนวา ผลการจัดอันดับความนาเชื่อถือของสํานักงานใหญอาจ ไม่ สะท อนความสามารถในการคื นเงิ นลงทุ นและจำยผลประโยชน ตอบแทนของสํานั กงานสาขา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดกรณีล้มละลาย (2) หากผู้ระดมทุนเป็นกิจการตางประเทศ ให้เปดเผยความเสี่ยงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ (2.1) การดําเนินคดี ทางกฎหมายกั บกิ จการตางประเทศ เนื ่ องจากไม่ ได้ มีถิ ่ นที่ อยู่ ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องรองบังคับคดีต่อกิจการดังกลาว และปญหา ความแตกตางของกฎหมายที่ใชบังคับซึ่งเป็นกฎหมายตางประเทศ (ถามี ) ด้วย (2.2) ผลกระทบที่ผู้ถือศุกูกของกิจการตางประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมายของประเทศ ที ่ เกี ่ ยวข องกับกิจการนั ้ นมี ข อจํากั ดในการส งเงิ นออกนอกประเทศ หรือข อจํากั ดในการควบคุม การเขาออกเงินระหวางประเทศ (ถามี) (2.3) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา และการสงมอบหลักทรัพย์ รวมทั้งวิธีการโอนหลักทรัพย์ (2.4) ขอจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใชสิทธิ หรือการตัดสินใจ ของผู้ลงทุนอยางมี นัยสําคัญ (2.5) ความเสี่ ยงของประเทศคู่ สัญญา โดยครอบคลุมถึงความเสี ่ ยงของภาครัฐบาล ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่อง และความเสี่ยงดานเศรษฐกิจมหภาค (2.6) ผู้ค้ําประกันที่อยู่ในตางประเทศ (ถามี )

7 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก 1. ขอมูลเกี่ยวกับโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย 1.1 รายละเอียดของโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย อธิบายรายละเอียดโครงสรางศุกูกที่จะเสนอขายภายใตโครงการพอสังเขปโดยอธิบายถึงทรัพย์สิน ที่คาดวาจะใชอางอิง โครงสราง ขั้นตอน และกระบวนการ ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่น ที่สําคัญที่ควรอธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะสําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและมูลคาทรัพย์สินที่ ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน ทั้งนี้ กรณีที่ศุกูกทรัสตีมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ระดมทุน ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวไวด้วย 1.2 ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี ) เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน 2. ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย ให้เปดเผยรายละเอียด ดังนี้ ในกรณีที่โครงการศุกูกอาจมีการเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม (“green sukuk”) ศุกูก เพื่อพัฒนาสังคม (“social sukuk”) และศุกูกเพื่อความยั่งยืน (“sustainability sukuk”) ให้เปดเผยขอมูล เพิ่มเติมดังนี้ (1) มาตรฐานสําหรั บ green sukuk social sukuk และ sustainability sukuk และ มาตรฐานนิยามและหมวดหมู่ โครงการหรือกิจกรรมที่ ยั่ งยืน (Taxonomy) (ถามี) ซึ่ งเป็นที่ ยอมรับ ในระดับประเทศหรือระดับสากล ที่นํามาใชอางอิงในการขออนุญาตเสนอขายศุกูกดังกลาว ตามแต่กรณีดังนี้ (ก) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดลอม เชน มาตรฐาน ASEAN Green Bond Standards (ASEAN GBS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Green Bond Principles (ICMA GBP) เป็นตน (ข) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อพัฒนาสังคม เชน มาตรฐาน ASEAN Social Bond Standards (ASEAN SBS) ห ร ื อมำ ต รฐำ น International Capital Market Association Social Bond Principles (ICMA SBP) เป็นตน (ค) กรณีการเสนอขายศุกูกเพื่อความยั่งยืน เชน มาตรฐาน ASEAN Sustainability Bond Standards (ASEAN SUS) หรือมาตรฐาน International Capital Market Association Sustainability Bond Guidelines (ICMA SBG) เป็นตน (2) วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds)

8 (3) กระบวนการที ่ ใช ในการประเมิ นและคั ดเลื อกโครงการ (process for project evaluation and selection) โดยระบุกระบวนการและปจจัยที่ใชในการพิจารณา รวมทั้งมาตรฐานหรือ วิธีการรับรองอื่นใด ที่ใชอางอิง (4) การบริ หารจั ดการเงิ นที ่ ได้ จากการระดมทุ น (management of proceeds) โดยแสดงถึงวิธีการติดตามการใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุนในโครงการและวิธีการแบงแยกเงินออกจากเงิน อื่นของบริษัทให้เห็นอยางชัดเจน เชน การนําเงินที่ได้จากการระดมทุนแยกเป็นบัญชีตางหากจากบัญชี ทรั พยสินอื่น ๆ (sub-account) ของผู้เสนอขายศุกูก เป็นตน (5) การรายงานและช องทางการเป ดเผยข อมู ลเกี ่ ยวกั บการดําเนิ นการภายหลัง การเสนอขาย (reporting) โดยให้เปดเผยรายงานประเภทตาง ๆ จนกวาจะครบอายุของศุกูก เชน รายงาน การใชเงินที่ได้มาจากการระดมทุน หรือรายงานความคืบหน้าของโครงการวาดําเนินการถึงขั้นตอนใด จํานวน เงินที่ใช และยอดคงเหลือ เป็นตน รวมทั้งชองทางการเปดเผยขอมูล เชน บนเว็บไซต์ของผู้เสนอขายศุกูก ซึ่งควรจัดให้มีการรายงานอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เป็นตน ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกศุกูกยังไม่สามารถระบุขอมูลตาม (1) - (5) ผู้ออกสามารถเปดเผยขอมูล ขั้นต่ําได้ พรอมระบุวาจะเปดเผยขอมูลให้ผู้ลงทุนรับทราบโดยการยื่นแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK) กอนการเสนอขายแต่ละครั้ง

9 สวนที่ 4 ขอมูลทรัสตีผู้ออกศุกูก (ให้เปดเผยเฉพาะกรณีที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกเป็นนิติบุคคลแยกตางหากจากผู้ระดมทุน) 1. ขอมูลทั่วไป ให้ระบุชื่ อ สถานที่ ตั้ งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท 2. ผู้ถือหุน ให้ระบุรายชื่ อกลุ่มผู้ ถือหุนที่ ถือหุ นสูงสุด 10 รายแรก พรอมทั้งจํานวนหุ นที่ถือ และสัดสวน การถือหุนลาสุด ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุนของผู้ที่เกี่ยวของ และผู้ถือหุนที่อยู่ภายใตผู้มีอํานาจควบคุม เดียวกันเป็นกลุ่มเดียวกัน 3. รายชื่อกรรมการและผู้บริหาร ให้ระบุรายชื่อและคาตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร 4. รายละเอียดของกองทรัสตของบริษัท - ให้ระบุวาบริษัทมีกองทรัสตทั้งหมดกี่กอง แต่ละกองออกศุกูกใด (ให้ระบุชื่อเฉพาะของศุกูก) - ให้ระบุวาทรัพย์สินในแต่ละกองทรัสตคืออะไร

10 สวนที่ 5 การรับรองความถูกต้องของขอมูล (สวนขอมูลของผู้ระดมทุ น/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก 1. ให้ กรรมการทุกคนและผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน ของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก ลงลายมือชื่อ 2 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายศุกูกโดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ [กรรมการ/ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและ การเงิน] ของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้า ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุ กู ก ได้ แสดงข อมู ลอยำงถู กต องครบถ วนในสาระสําคั ญเกี ่ ยวกั บฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ได้เปดเผยขอมูล ในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยอยางถูกต้อง ครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูล การประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีแล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏ 2 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมูล

11 ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่ มี การอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ* 1. 2. 3. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้ นแล้ว ผู้ ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อ ได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทาง รำงกายหรื อทางจิ ต ผู  ระดมทุ น/ทรั สตี ผู  ออกศุ กู กไม่ จําต องจั ดให้ บุ คคลดั งกลำวลงลายมื อชื ่ อในแบบ แสดงรายการขอมูลและรางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผัน จากสํานักงาน

12 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของการออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้ สอบทานข อมู ลในแบบแสดงรายการข อมู ลการเสนอขายศุ กู กฉบั บนี ้ แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิ จารณานโยบายและแผนการประกอบธุ รกิ จของผู  ระดมทุ นในอนาคตแล้ว เห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ระดมทุนหรือผู้ลงทุน อยางชัดเจนเพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ระดมทุนมีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุน ในอนาคตในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดงรายการ ขอมูลการเสนอขายศุกูกบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่ อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถให้ความเห็นได้ เนื่องจาก … (ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือ ไม่ได้รับความรวมมือจากผู้บริหารของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ในการตรวจสอบขอมูล ในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้นมาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่ อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ ที่ขาพเจ้าใช ขอมูลจาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ ปรึกษาทางการเงิน ต้องจัดให้บุคคลนั้ นลงลายมือชื่ อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่ อได้เกิดจาก การที่บุคคลดังกลาวอยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกาย หรือ ทางจิ ตที่ ปรึกษาทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่ อในแบบแสดงรายการขอมูลและ รางหนังสือชี้ชวน หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

13 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม (debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 6 ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8 ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงิ นที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง )

14 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย ( รวมคาบําเหน็จ ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

15 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ (รอยละ) (รายได้รวมงวดปจจุบัน-รายได้รวมงวดกอน) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

16 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) ( 6 ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุ นรวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทางการเงิน ตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลาตั้งแต่ ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํางบระหวำงป สําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายในหมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย)

17 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชี ปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

18 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING-SUKUK บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุลักษณะที่สําคัญของศุกูกที่เสนอขาย เชน ศุกูกที่ออกเป็นไปตามหลักการประเภทใดของศาสนา อิสลาม ทรัพย์สินที่ใชอางอิง (โดยกรณีศุกูกไม่มีประกันต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่ใชอางอิงไม่ถือเป็น หลักประกันของศุกูก ผู้ลงทุนยังคงมีความเสี่ยงในระดับเดียวกับเจ้าหนี้สามัญของผู้ระดมทุน) จํานวน ผลตอบแทน อายุ บุคคลที่สามารถซื้อศุกูก (เฉพาะกรณีที่ไม่ได้เสนอขายต่อบุคคลทั่วไป) ผลการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ หลักประกันหรือผู้ค้ําประกัน (ถามี) - รายละเอียดที่สําคัญอื่นๆ เชน ทรัสตีผู้ออกศุกูก ศุกูกทรัสตี ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาชะรีอะฮ ผู้จัดการ การรับประกันการจําหนาย ผู้ประกันการจําหนาย วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ เงื่อนไขการยกเลิกการเสนอขายกรณีที่มีจํานวนศุกูกที่ขายได้นอยกวาจํานวนศุกูกขั้นต่ําที่ผู้ระดมทุนกําหนด เป็นตน - ให้ ระบุขอความวา “ขอมูลตามแบบแสดงรายการขอมูลที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ยื่นต่อสํานักงานและมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) รวมทั้งขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO- SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ยื่นมากอนหน้าภายใตโครงการนี้ถือเป็นขอมูลสวนหนึ่งของแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING-SUKUK) ฉบับนี้ด้วย” ให้มีคําเตือนผู้ลงทุนวา “กอนตัดสินใจลงทุน ผู้ ลงทุนต้องใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูกและเงื่อนไขของศุกูก รวมทั้งความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยง ที่เกี่ยวของเป็นอยางดี การมีผลใชบังคับของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้ มิได้เป็นการแสดงวา คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุนในศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้ประกัน

19 ราคาหรือผลตอบแทนของศุกูกที่เสนอขาย หรือมิได้รับรองวาศุกูกที่เสนอขายเป็นไปตามหลักชะรีอะฮ หรือ รับรองความครบถวนและถูกต้องของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกแต่อยางใด ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกนี้เป็นความรับผิดชอบ ของผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีขอความหรือรายการที่เป็นเท็จ หรือขาดขอความ ที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ ผู้ถือศุกูกที่ ได้ซื้อศุกูกไม่เกินหนึ่งปนับแต่วันที่ แบบแสดงรายการขอมูล การเสนอขายศุกูกนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายผู้ระดมทุนและทรั สตีผู้ออกศุกูกได้ตามมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปนับแต่วันที่ได้รู หรือ ควรได้รูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกเป็นเท็จหรือขาดขอความที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ แต่ไม่เกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูกมีผลใชบังคับ

20 สวนที่ 1 รายการขอมูล 1. สรุปขอมูลสําคัญของศุกูก (factsheet ) ให้จัดทําแบบ factsheet ที่มีรายละเอียดของศุกูกที่เสนอขายในครั้งนั้น โดยจัดทําตามแบบที่กําหนด ในประกาศที่เกี่ยวของ 2. ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย (ถามี เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน) 3. ให้เปดเผยขอมูลดังต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย (1) ขอมูลเกี่ยวกับการนําเงินไปใช (วัตถุประสงคการใชเงิน จํานวนเงินและระยะเวลาที่ใชเงิน โดยประมาณ) สําหรับการเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk ให้ เป ดเผย วัตถุประสงคการใชเงินที่ได้จากการระดมทุน (use of proceeds) จากศุกูกที่เสนอขาย โดยระบุรายละเอียด การใชเงินซึ่งเป็นประโยชนต่อสิ่งแวดลอม ชวยพัฒนาสังคม หรือสงเสริมความยั่งยืน แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ออกศุกูกเพิ่มเติมหรือแกไขขอมูลศุกูกในแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO- SUPPLEMENT-SUKUK) ให้เปดเผยวาอางอิงจากขอมูลในแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69- PO-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ผู้ออกศุกูกเคยได้ยื่ นต่อสํานักงาน พรอมระบุวันที่แบบ 69-PO-MTN- SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ใชอางอิงดังกลาวมีผลใชบังคับ (2) เปดเผยอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ โดยรายละเอียดวิธี การคํานวณแสดงตามภาคผนวก (3) ให้แนบรางสัญญากอตั้งทรัสตเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายในครั้งนี้ และในกรณีเสนอขายศุกูก ต่อประชาชนทั่วไปและผู้ลงทุนรายใหญพิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญให้ระบุวารางสัญญากอตั้งทรัสต สําหรับการเสนอขายในครั้งนี้มีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงจากขอกําหนดสิทธิที่เป็นสวนหนึ่งของ แบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK )  ไม่แตกตาง  แตกตาง ให้ระบุรายละเอียดที่แตกตางกัน * หมายเหตุ * ในกรณีที่รางสัญญากอตั้งทรัสตที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก ฉบับนี้ มีสาระสําคัญแตกตางจากขอกําหนดสิทธิฉบับที่ได้ยื่นต่อสํานักงานพรอม แบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) ทรัสตีผู้ ออกศุกูกต้องดําเนินการยื่ น แบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) ชุดใหมต่อสํานักงาน

21 (4) รายละเอียดโครงสรางศุกูก  รายละเอียดทรัพย์สินที่ใชอางอิง ให้เปดเผยถึงรายละเอียดของทรัพย์สินที่ใชในการอางอิงสําหรับการออกศุกูกในครั้ งนี้ โดยให้เปดเผยถึงลักษณะของทรัพย์สิน และมูลคาตามบัญชีของทรัพย์สินดังกลาว  โครงสรางศุกูก ให้อธิบายวาการออกศุกูกในครั้งนี้มีโครงสรางที่สําคัญ ขั้นตอน และกระบวนการตั้งแต่การยื่น คําขออนุญาตต่อสํานักงาน การขายใบทรัสต การตั้งกองทรัสต การโอนทรัพย์สินเขากองทรัสต (อธิบาย ตามลําดับขั้นตอนที่เกิดขึ้นกอนหลัง โดยควรมีแผนภาพประกอบคําอธิบายด้วย เพื่อให้งายต่อการทําความเขาใจ ของผู้ลงทุน) วิธีการการเรียกเก็บกระแสรายรับจากสินทรัพย์ที่ใชอางอิงเพื่อมาชําระผลตอบแทนศุกูก และ กระบวนการหากเกิดเหตุผิดนัดชําระหนี้ หรือเมื่อศุกูกสิ้นอายุ  รายละเอียดของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ให้ระบุชื่อของที่ปรึกษาชะรีอะฮ ประวัติการศึกษา ความรูความสามารถ และประวัติในการทําหน้าที่ เป็นที่ปรึกษาชะรีอะฮ  สรุปสาระสําคัญของสัญญาที่เกี่ยวของ ให้สรุปสาระสําคัญของรางสัญญากอตั้งทรัสตและสัญญาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการออกศุกูก โดยอยางนอยให้สรุปภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ระดมทุน ทรัสตีผู้ออกศุกูก ศุกูกทรัสตี และผู้ถือศุกูก ตามที่ระบุไวในสัญญากอตั้งทรัสต เหตุผิดนัดชําระหนี้  ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ให้เปดเผยขอมูลอื่นที่เกี่ยวของที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน - กรณีเสนอขายผู้ลงทุนทั่วไป 1. ขอมูลทั่วไป ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท 2. ผู้ถือหุน ให้ระบุรายชื่อกลุ่มผู้ถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก พรอมทั้งจํานวนหุนที่ถือและ สัดสวนการถือหุนลาสุด ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุนของผู้ที่เกี่ยวของ และผู้ถือหุนที่อยู่ภายใตผู้มีอํานาจ ควบคุมเดียวกันเป็นกลุ่มเดียวกัน 3. รายชื่อกรรมการและผู้บริหาร ให้ระบุรายชื่อและคาตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร

22 - กรณีเสนอขายผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ หรือผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้ระบุชื่อ สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Home Page (ถามี) จํานวนและชนิดของหุนที่จําหนายได้แล้วทั้งหมด ผู้ถือหุน กรรมการและ ผู้บริหาร และรายละเอี ยดของกองทรัสตของทรัสตีผู้ออกศุกูก - กรณีศุกูกมีอัตราผลตอบแทนลักษณะอื่นที่ไม่ใชแบบคงที่ ให้แสดงอัตราผลตอบแทน ที่แทจริง (Internal Rate of Return : IRR) ไวด้วย หากเกิดเงื่อนไขขางตนแล้วทําให้ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุน จะได้รับไม่เทากับอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว เชน - กรณีมีเงื่อนไขการเลื่อนจายดอกเบี้ย ให้แสดง IRR สําหรับกรณีเลวรายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เชน ผู้ออกศุกูกเลื่อนการชําระดอกเบี้ยทุกงวด โดยจายชําระเพี ยงครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถถอน เป็นตน - กรณีผู้ ระดมทุนเป็นริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป ให้เปดเผยขอมูล ดังต่อไปนี้ 1. สัดสวนการออกตราสารหนี้ ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 2. สัดสวนการกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 3. สัดสวนหนี้สินอื่น ๆ ที่มีภาระดอกเบี้ย 3 ต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - การเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่ศุกูกที่เสนอขายมีรายละเอียดอื่นที่สําคัญที่ควร อธิบายเพิ่มเติมจากขอมูลในหน้าแรก เพื่อให้ผู้ลงทุนเขาใจลักษณะของศุกูกที่เสนอขาย ให้สรุปลักษณะ สําคัญของศุกูกที่เสนอขายเพิ่มเติมด้วย เชน วิธีการในการจายผลตอบแทนและการชําระหนี้ ประเภทและ มูลคาทรัพย์สินที่ใชเป็นหลักประกัน ขอมูลผู้ค้ําประกัน (ให้แสดงขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ของผู้ค้ําประกัน) และสรุปสาระสําคัญของสัญญาค้ําประกัน (กรณีเป็นการค้ําประกัน) เป็นตน 4. ขอมูลการเสนอขาย ให้เปดเผยขอมูลที่มีรายละเอียดการจอง การจําหนาย และการจัดสรร 4.1 ในกรณีเสนอขายต่อประชาชนทั่วไปหรือผู้ลงทุนรายใหญหรือผู้ลงทุนรายใหญพิเศษ ให้เปดเผย ขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้ (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้ระบุวาเป็นการเสนอขายศุกูกผานผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ หรือ ผู้คาหลักทรัพย์หรือไม่ (2) ผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้จัดจําหนาย) ให้ระบุ (ก) ผู้ประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ข) ผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท (ค) ตัวแทนผู้จัดจําหนาย ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท 3 เชน หนี้สินจากสัญญาเชา (lease) เงินกูยืมบริษัทที่ เกี่ยวของ เป็นตน (ให้ระบุรายการ)

23 นอกจากนี้ หากผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจ กอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (3) ผู้คาหลักทรัพย์ (กรณีผานผู้คาหลักทรัพย์) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากผู้คาหลักทรัพย์มีความเกี่ยวของกับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพันธไวด้วย (4) เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูก ให้ระบุขอตกลงระหวางผู้เสนอขายศุกูกกับผู้จัดจําหนายหลักทรัพย์/ผู้คาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขและคาตอบแทนในการจัดจําหนายหรือการคาศุกูก ทั้งนี้ ให้แสดงจํานวนเงินคาศุกูก ที่ผู้เสนอขายศุกูกจะได้รับหลังจากหักคาตอบแทนในการจัดจําหนาย/คาศุกูกไวด้วย (5) คาใชจายในการเสนอขายศุกูก ให้ระบุจํานวนประกอบรายการที่เป็นคาใชจายทั้งหมดในการเสนอขายศุกูก โดยสังเขป (6) วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการขอรับหนังสือชี้ชวน เชน วัน เวลา สถานที่ เป็นตน (7) วิธีการจัดสรรศุกูก ให้ระบุหลักการจัดสรรศุกูกให้แกผู้จองซื้อ โดยระบุชื่อกลุ่มบุคคล และสัดสวน หรือจํานวน ศุกูกที่จะได้รับจัดสรรอยางชัดเจน หากมีการแบงจํานวนศุกูกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนตางประเทศ ให้ระบุด้วย (8) วันและวิธีการจองและการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาการจองซื้อศุกูก การกําหนดจํานวนในการจองซื้อ ศุกูกต่อราย วิธีการชําระเงินคาจองซื้อศุกูก ชื่อบริษัทเงินทุนหรือธนาคารพาณิชย ที่เป็นตัวแทนรับเงิน คาจองซื้อศุกูก วิธีการและเงื่อนไขในการถอนเงินคาจองซื้อศุกูกคืน (9) การจัดสรรในกรณีที่มีผู้จองซื้ อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย ให้ระบุการจัดสรรกรณีที่มีผู้จองซื้อศุกูกเกินกวาจํานวนศุกูกที่เสนอขาย (10) วิธีการคืนเงินคาจองซื้อศุกูก ให้ระบุวิธีการและระยะเวลาในการคืนเงินคาจองซื้อศุกูกในกรณีที่ผู้จองซื้อไม่ได้รับ การจัดสรรศุกูก (11) วิธีการสงมอบศุกูก ให้ระบุวิธีการ และระยะเวลาในการสงมอบ

24 (12) ที่ปรึกษาทางการเงิน (ถามี) ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท นอกจากนี้ หากที่ปรึกษาทางการเงิน มีความเกี่ยวของ กับผู้ระดมทุนในลักษณะที่อาจกอให้เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (เชน มีการถือหุนระหวางกัน มีกรรมการรวมกัน เป็นเจ้าหนี้ เป็นตน) ให้เปดเผยลักษณะความสัมพั นธไวด้วย 4.2 ในกรณีเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (1) วิธีการเสนอขายศุกูก ให้เปดเผยขอมูลขั้นต่ําตามมาตรา 69(10) (2) ขอจํากัดการโอนศุกูกที่เสนอขาย เชน ขอจํากัดการโอนศุกูกที่ได้จดทะเบียนไวกับสํานักงาน เป็นตน

25 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล 1. ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงินที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันของ ผู้ระดมทุนและทรัสตีผู้ออกศุกูก ลงลายมือชื่อ 4 พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัด ระวังในฐานะ [กรรมการมีอํานาจลงนามผูกพัน / ผู้รับมอบอํานาจ] ของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการ ขอมูลได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และ กระแสเงินสดของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ได้เปดเผยขอมูล ในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยอยางถูกต้อง ครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูล การประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้ สอบบัญชีแล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่ มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ออกศุกูกตามที่ ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย ศุกูกฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้ามีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูล ที่ อางอิงนั้ น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดงให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขาย 4 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมูล

26 ศุกูกฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุน สามารถตรวจสอบได้)” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. 3. หมายเหตุ  หากในวันที่ ยื่ นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่ อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตี ผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาว ไม่สามารถ ลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาว ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลหรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผัน จากสํานักงาน

27 2. การรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงิน ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ พรอมทั้งประทับตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูลโดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของการออกศุกูก ขอรับรองวาขาพเจ้า (1) ได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวัง ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้องครบถวนไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่น สําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ (2) ได้พิจารณานโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุนในอนาคตแล้วเห็นวา สมมติฐานได้จัดทําขึ้นอยางสมเหตุสมผล และมีการอธิบายผลกระทบต่อผู้ระดมทุนหรือผู้ลงทุนอยางชัดเจน เพียงพอ (เฉพาะกรณีที่ผู้ระดมทุนมีการระบุนโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของผู้ระดมทุนในอนาคต ในแบบแสดงรายการขอมูล)” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินไม่สามารถตรวจสอบขอมูลที่เกี่ยวของกับแบบแสดง รายการขอมูลบางสวน หรือเห็นวาขอมูลบางสวนไม่ถูกต้องครบถวน ให้อธิบายเงื่อนไขไวเพิ่มเติม เชน “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ที่ขาพเจ้าไม่สามารถ ให้ความเห็นได้ เนื่องจาก … (ไม่มีขอมูลเพียงพอที่จะตรวจสอบ หรือไม่ได้รับความรวมมือ จากผู้บริหารของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ในการตรวจสอบขอมูลในเรื่องนี้)” หรือ “เวนแต่ขอความในหน้า…ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาควรใชขอความ…แทน” ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินนําขอมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้น มาอางอิง ให้ระบุขอความเพิ่มเติม ดังนี้ “เวนแต่ขอมูลในเรื่อง … ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ที่ขาพเจ้าใชขอมูล จาก … ซึ่งขาพเจ้าเห็นวาเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอยางดี” ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. หมายเหตุ * หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถ ลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ที่ปรึกษาทางการเงินต้องจัดให้บุคคลนั้น ลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวยทางรางกายหรือทางจิต ที่ปรึกษา ทางการเงินไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูล หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็น และสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน

28 ภาคผนวก วิธีการคํานวณอัตราสวนทางการเงิน (key financial ratio) แบงตามประเภทธุรกิจ อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมและบริการทั่วไป (1) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (2) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (4) ความสามารถในการชําระภาร ะผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) (5) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) (เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สินระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ป ) * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย (8) เงินกูยืมจากสถาบันการเงินต่อหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย (รอยละ) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน * 100 / หนี้สินทั้งหมดที่มี ภาระดอกเบี้ย 2. กลุ่มธนาคารพาณิชย (1) อัตราสวนสินทรัพย์สภาพคลองเพื่อรองรับ สถานการณดานสภาพคลองที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (สินทรัพย์สภาพคลอง / ประมาณการกระแสเงินสดไหล ออกสุทธิใน 30 วัน ภายใตสถานการณดานสภาพคลอง ที่มีความรุนแรง) (2) อัตราสวนแหลงเงินที่มีความมั่นคงและ ความต้องการแหลงเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท. (แหลงเงินที่มีความมั่นคง / ความต้องการแหลงเงินที่มี ความมั่นคง )

29 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (3) เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . (4) เงินกองทุนทั้งสิ้น (CAR ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ธปท . 3. กลุ่มบริษัทหลักทรัพย์ (1) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิต่อหนี้สินทั่วไป และทรัพย์สินที่ต้องวางเป็นประกัน (NCR) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ ก.ล.ต. (2) อัตราสวนสภาพคลอง ( current ratio) (เทา) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (3) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ( interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (4) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (5) ความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (debt service coverage ratio : DSCR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / (หนี้สินระยะสั้ นที่มีภาระดอกเบี้ย + หนี้สิน ระยะยาวที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนด ภายใน 1 ป ) (6) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (7) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 4. กลุ่มธุรกิจประกันชีวิต (1) อัตราสวนเงินกองทุนต่อเงินทุนที่ต้อง ดํารงตามกฎหมาย (CAR Ratio) (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ. (2) สินทรัพย์ลงทุนต่อสํารองประกันภัย (รอยละ) สินทรัพย์ลงทุน * 100 / เงินสํารองประกันภัย (3) อัตราการเปลี่ยนแปลงเงินกองทุน (รอยละ) คํานวณตามเกณฑ คปภ . (4) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุน (ROE) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สวนของ ผู้ถือหุนรวม ( เฉลี่ย ) (5) คาใชจายในการรับประกันภัย (รวมคาบําเหน็จ) ต่อเบี้ยรับประกันภัยสุทธิ (รอยละ) คาใชจายในการรับประกันภัย ( รวมคาบําเหน็จ ) * 100 / เบี้ยรับประกันภัยสุทธิ

30 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ 5. กลุ่มธุรกิจลีสซิ่ง (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอนดอกเบี้ย จาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ ( NPL ratio) (รอยละ) สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / สินเชื่อรวม (5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) (6) อัตราการเติบโตของรายได้ ( รอยละ ) ( รายได้รวมงวดปจจุบัน - รายได้รวมงวดกอน ) * 100 / รายได้รวมงวดกอน 6. บริษัทในกลุ่มสินเชื่อสวนบุคคล (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัด จําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม (4) สัดสวนสินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ (NPL Ratio) (รอยละ) เงินให้สินเชื่อที่ไม่กอให้เกิดรายได้ * 100 / เงินให้สินเชื่อ รวม (5) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม (allowance for doubtful account to total receivables ratio) (รอยละ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ * 100 / เงินให้สินเชื่อรวม

31 อัตราสวนทางการเงิน สูตรการคํานวณ (6) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) 7. บริษัทในกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ (1) ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย (interest coverage ratio : ICR) (เทา) กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนาย / ดอกเบี้ยจาย (2) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได้ คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (interest bearing debt to EBITDA ratio) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (3) หนี้สินรวมต่อสวนของผู้ถือหุนรวม ( debt to equity : D/E ratio) ( เทา) หนี้สินรวม / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 4 ) หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อสวนของ ผู้ถือหุนรวม (interest bearing debt to equity : IBD/E ratio) ) (เทา) หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ย / สวนของผู้ถือหุนรวม ( 5 ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (รอยละ) กําไร กอนหักดอกเบี้ยและภาษี * 100 / สินทรัพย์รวม ( เฉลี่ย ) หมายเหตุ : 1) สามารถเปดเผยอัตราสวนทางการเงินอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม เชน EBITDA margin ratio (รอยละ) เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย / รายได้รวม เป็นตน สําหรับกิจการในกลุ่มพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ให้เปดเผยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio) (เทา) เทากับ (สินทรัพย์หมุนเวียน-สินคา คงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มเติมด้วย 2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (holding company) ให้พิจารณาเปดเผยอัตราสวนทาง การเงินตามธุรกิจหลักของกลุ่ม 3) การแสดงขอมูล key financial ratio งวดลาสุดที่มีขอมูลไม่ครบ 1 ป หากเปรียบเทียบขอมูลในงบการเงิน ประเภทเดียวกัน เชน D/E ratio, ICR และ Current ratio เป็นตน ให้ใชงบการเงินงวดลาสุด (รอบระยะเวลา ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาสลาสุด) ในการคํานวณ ยกเวนการเปรียบเทียบระหวางงบการเงิน เชน ROA, ROE และ DSCR เป็นตน ให้ใชขอมูลยอนหลัง 4 ไตรมาส เพื่อให้เปรียบเทียบกันได้ กรณีชวงเวลาใดที่บริษัทไม่ได้จัดทํา งบระหวางปสําหรับงวดปกอน ให้จัดทํา key financial ratio โดยใชขอมูลเฉพาะงวดลาสุด และอธิบายใน หมายเหตุเพิ่มเติม ตัวอยาง ณ ไตรมาส 3 ป 25XX - การคํานวณ ROA เทากับ กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษียอนหลัง 4 ไตรมาส หารด้วย สินทรัพย์รวม(เฉลี่ย) 4) ในการคํานวณดอกเบี้ยจาย (I ที่เป็นตัวหารในสูตรคํานวณ ICR) ให้รวมคาใชจายดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ และคาใชจายดอกเบี้ยสวนที่บันทึกเป็นตนทุนสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วย

32 5) ระบุขอกําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามขอกําหนดสิทธิ และอัตราสวนดังกลาว ณ รอบปบัญชี ปจจุบัน และเปดเผยสูตรการคํานวณนั้น ทั้งนี้ หากไม่มีขอกําหนดดังกลาว ให้ระบุวา “ไม่มีขอกําหนดในการดํารง อัตราสวนทางการเงิน” 6) ในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้เป็นบริษัทตางประเทศ ยกเวนไม่ต้องคํานวณอัตราสวนทางการเงินบางรายการตาม ตารางขางตนหากไม่สามารถคํานวณได้

33 แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายศุกูก (MTN) สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของผู้ระดมทุน) … บริษัท … (ชื่อไทย/อังกฤษของทรัสตีผู้ออกศุกูก) … เสนอขาย … … … - ให้ระบุชื่ อและรายละเอียดที่สําคัญโครงการศุกูกที่จะเสนอขาย - ให้ระบุขอความวา “ขอมูลสวนที่ปรับปรุงตามแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ทรัสตีผู้ออกศุกูกได้ยื่นต่อสํานักงานในครั้งนี้ ให้ถือเป็นสวนหนึ่งของขอมูลตามแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) ที่มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ (ระบุ) ด้วย”

34 สวนที่ 1 รายการขอมูล ขอมูลเพิ่มเติมที่สําคัญ ในกรณีที่มีขอมูลของผู้ระดมทุนหรือขอมูลศุกูกที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน อยางมีนัยสําคัญในกรณีดังต่อไปนี้ และยังไม่ได้เปดเผยในแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO- BASE-SUKUK) และแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK) ที่ผานมา (1) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนประสบความเสียหายอยางรายแรง (2) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนหยุดประกอบกิจการทั้งหมด หรือบางสวน (3) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคหรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (4) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนทําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมด หรือบางสวน ในการบริหารงานของบริษัท (5) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการรวมทุน ควบรวมกิจการ กระทําหรือถูกกระทํา อันมีลักษณะเป็นการครอบงํา หรือถูกครอบงํากิจการตามมาตรา 247 (6) ทรัสตีผู้ ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการฟนฟูกิจการ (7) เหตุการณใด ๆ ที่เป็นเงื่อนไขที่จะทําให้ผู้ถือศุกูกถือเป็นเหตุให้ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือ ผู้ระดมทุนผิดขอตกลงตามตราสาร (events of default) (8) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนผิดขอตกลงในการชําระหนี้ตามตราสาร (default) (9) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหาร โครงสราง การถือหุนอยางมีนัยสําคัญ หรือมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมของทรัสตีผู้ออกศุกูก หรือผู้ระดมทุน (10) ตราสารหนี้หรือศุกูกของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนถูกปรับลดผลการจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ (11) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการสงงบการเงินและแบบ 56-1 ของกองทรัสตหรือ ผู้ระดมทุนให้สํานักงาน หนวยงานทางการซึ่งเป็นผู้ กํากับดูแลการดําเนินงานโดยตรง หรือกระทรวงพาณิชย (ใน กรณีที่นําสงงบการเงินหรือแบบ 56-1 ต่อสํานักงานแล้ว ให้ถือวาได้เปดเผยขอมูลตามแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 3 : แบบ 69-PO-SUPPLEMENT-SUKUK) แล้ว) (12) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเพิ่มทุนหรือลดทุนจดทะเบียน (13) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี (14) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีการทํารายการระหวางกันที่เพิ่มขึ้นจากที่เคยเปดเผยไว (15) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีแผนการลงทุนที่สําคัญ (16) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนได้มาหรือสูญเสียไปซึ่งสัญญาการคาที่สําคัญ

35 (17) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนมีขอพิพาทที่อาจสงผลกระทบทําให้สวนของผู้ถือหุน ลดลงเกินกวารอยละ 5 (18) ทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนจะมีการเพิ่มหรือลดมูลคาการเสนอขายของศุกูก จากที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายศุกูกซึ่งได้ยื่นแบบแสดงรายการขอมูล ในลักษณะโครงการ โดยเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แกไข มติคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุนที่เคย อนุมัติให้ออกศุกูกที่เคยระบุไวในโครงการ สําหรับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายศุกูกซึ่งได้ยื่นแบบแสดง รายการขอมูลในลักษณะโครงการ (19) ทรัสตีผู้ออกศุกูกมีการเปลี่ยนแปลงศุกูกทรัสตี โดยหากศุกูกทรัสตีมีสถานะเป็นเจ้าหนี้ ของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุน ให้เปดเผยความสัมพันธดังกลาวด้วย (20) เพิ ่ มการเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk โดย ให้ระบุขอมูลตามที่กําหนดในแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) ในสวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงสรางศุกูก ขอ 2 ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย (1) – (5) (21) เพิ่มรายละเอียดหรือแกไขขอมูลที่เปดเผยในแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) สําหรับกรณีเสนอขาย green sukuk, social sukuk และ sustainability sukuk : แบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 1 : แบบ 69-PO-BASE-SUKUK) ในสวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียด โครงสรางศุกูก ขอ 2 ขอมูลอื่น ๆ ของศุกูกที่เสนอขาย (1) – (5) (22) ขอมูลของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผย ไวในแบบแสดงรายการขอมูลที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรกอยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนที่มีความแตกตางจากขอมูลที่เคยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูลที่เคยยื่นต่อสํานักงานในครั้งแรก อยางมีนัยสําคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน เชน ปจจัยความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลง งบการเงิน มีขอสังเกตของผู้สอบบัญชี เป็นตน วิธีการเปดเผยขอมูล ให้เปดเผยขอมูลดังกลาวเพิ่มเติม โดยเลือกวิธีการ ดังนี้  (1) แสดงรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมดังกลาว  (2) ให้อางอิงจากขอมูลที่ ทรัสตีผู้ ออกศุกูกหรือผู้ ระดมทุนเคยได้ยื่ นต่อสํานักงาน หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และให้ถือวาขอมูลดังกลาวเป็นสวนหนึ่งของแบบ 69-PO-MTN-SUKUK (สวนที่ 2 : แบบ 69-PO-PRICING-SUKUK) (ในกรณีที่มีการอางอิงขอมูลดังกลาว ให้สรุปขอมูล วันที่เผยแพร และระบุแหลงอางอิงขอมูลซึ่ งผู้ ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ เชน เว็บไซต์ของสํานักงาน เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือเว็บไซต์ของทรัสตีผู้ออกศุกูกหรือผู้ระดมทุนเป็นตน)

36 สวนที่ 2 การรับรองความถูกต้องของขอมูล ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก ให้กรรมการทุกคน และผู้ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุด ในสายงานบัญชีและการเงิน ของผู้ ระดมทุนและทรัสตีผู้ ออกศุกูก ลงลายมือชื่อ 5 พรอมทั้ งประทับ ตราบริษัท (ถามี) ในแบบแสดงรายการขอมูล โดยให้ใชขอความและรูปแบบ ดังนี้ “ขาพเจ้าได้สอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัด ระวังในฐานะ [กรรมการ / ผู้ ที่ดํารงตําแหนงไม่ต่ํากวาผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชี และการเงิน] ของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ขาพเจ้าขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกต้อง ครบถวน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด หรือไม่ขาดขอมูลที่ควรต้องแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจ้าขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการ ขอมูล ได้แสดงขอมูลอยางถูกต้องครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยแล้ว (2) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อให้แนใจวาผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ได้เปดเผยขอมูล ในสวนที่เป็นสาระสําคัญทั้งของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอยอยางถูกต้อง ครบถวนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจ้าได้แจงขอมูล การประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ … ต่อผู้สอบบัญชีแล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) และบริษัทยอย ทั้งนี้ การรับรองความถูกต้องของขอมูลขางตนครอบคลุมถึงขอมูลของผู้ระดมทุน/ ทรัสตีผู้ออกศุกูกตามที่ปรากฏในแหลงขอมูลที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ตามที่ระบุไวในแบบแสดง รายการขอมูลฉบับนี้ ในการอางอิงแหลงขอมูลดังกลาว ขาพเจ้า (ผู้ ระดมทุน/ทรัสตีผู้ ออกศุกู ก) มีความรับผิดชอบต่อความถูกต้องครบถวนของขอมูลที่อางอิงนั้น เชนเดียวกับการนําขอมูลมาแสดง ให้ปรากฏในแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ (ให้ระบุขอความตามวรรคนี้ เฉพาะกรณีที่มีการอางอิงขอมูล จากแหลงขอมูลใด ๆ ที่ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ )” 5 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลและหนังสือชี้ชวนให้เป็นไปตาม หลักเกณฑคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาด้วยขอกําหนดที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายศุกูก และการเปดเผยขอมูล

37 ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ * 1. 2. 3. * หมายเหตุ หากในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลต่อสํานักงาน มีเหตุจําเป็นที่ทําให้บุคคลใด ยังไม่สามารถลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการขอมูลได้ เมื่อเหตุดังกลาวหมดสิ้นแล้ว ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ต้องจัดให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที เวนแต่เหตุที่ทําให้บุคคลดังกลาวไม่สามารถลงลายมือชื่อ ได้เกิดจากการที่บุคคลดังกลาว อยู่ในภาวะไม่สามารถรูผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บปวย ทางรางกายหรือทางจิต ผู้ระดมทุน/ทรัสตีผู้ออกศุกูก (แล้วแต่กรณี) ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อ ในแบบแสดงรายการขอมูล หรือเป็นกรณีอื่นใดที่มีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผอนผันจากสํานักงาน