ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการแบ่งส่วนงานและหน้าที่ส่วนงาน พ.ศ. 2565
ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการแบ่งส่วนงานและหน้าที่ส่วนงาน พ.ศ. 2565
ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการแบ่งส่วนงานและหน้าที่ส่วนงาน พ.ศ. 2 565 โดยเป็นการสมควรให้การบริหารสำนักงานตามโครงสร้างและการแบ่งส่วนงานมีความเป็นอิสระ คล่องตัว สอดคล้องกับภารกิจขององค์กร ภายใต้ความรับผิดชอบต่อการขับเคลื่อนตามนโยบายรัฐบาล โดยคำนึงถึงความถูกต้องตามกฎหมายและธรรมาภิบาล อาศัยอานาจตามความในมาตรา 19 (16) มาตรา 21 และมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ประกอบกับมติคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชำติ จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการแบ่งส่วนงานและหน้าที่ส่วนงาน พ.ศ. 2565” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับได้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วย การแบ่งส่วนงานและหน้าที่ส่วนงาน พ.ศ. 2559 ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ สำนักงาน ” หมายความว่า สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ “ ผู้อำนวยการ ” หมายความว่า ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ “ กองทุนหมู่บ้าน ” หมายความว่า กองทุนหมู่บ้านหรือกองทุนชุมชนเมืองแล้วแต่กรณี ข้อ 5 ให้สานักงาน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและ พัฒนากองทุนหมู่บ้าน การส่งเสริม และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของประเทศให้มีการยกระดับขึ้น โดยการสนับสนุนให้มีการจัดหาระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนากองทุนหมู่บ้าน สานักงาน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อ งในสานักงาน เพื่อให้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องและเกิดความยั่งยืน โดยมีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ศึกษาและจัดทาข้อเสนอเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์มาตรการและแนวทางการบริหาร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติและสำนักงานเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 2 ) ศึกษาและจัดทาข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดหาแหล่งเงินทุน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ของประเทศ การจัดหารายได้ขององค์กรเพื่อลดการพึ่งพางบประมาณภาครัฐโดยการประสานหน่วยงาน ของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้านการพัฒนา ในการนาไปเป็นกรอบแนวทางในการเชื่อมโยง การดาเนิน งานร่วมกันอย่างเป็นระบบและรูปธรรมเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ( 3 ) พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนากองทุนหมู่บ้านและเศรษฐกิจฐานราก ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การพัฒนาอาชีพ การออมเงิน การบริหารจัดการ เงินกองทุนหมู่บ้าน การฟ้องร้องดา เนินคดี การประนอมข้อพิพาท เพื่อสร้างขีดความสามารถให้แก่ กลไกการขับเคลื่อน คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ( 4 ) จัดทายุทธศาสตร์ด้านสารสนเทศและดิจิทัลในระยะสั้น ระยะยาว พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผนการพัฒนำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( 5 ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประเมิน พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในการพัฒนา กองทุนหมู่บ้าน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน และการยกระดับการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านอย่างเป็นระบบ และมาตรฐาน ( 6 ) ฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน ลูกจ้าง เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้านและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งการให้ ความร่วมมือทางวิชาการที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้าน และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่หน่วยงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ( 7 ) ปฏิบั ติการอื่นใด ตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจของสำนักงาน หรือตามที่ คณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ข้อ 6 เพื่อให้เหมาะสมกับภารกิจของสำนักงานที่กาหนดไว้ในข้อ 5 จึงแบ่งส่วนงาน ในสำนักงาน ดังต่อไปนี้ ก. หน่วยงานบริหารส่วนกลาง (1) ฝ่ายอำนวยการ (2) ฝ่ายตรวจสอบภายใน (3) ฝ่ายประชาสัมพันธ์และกิจกรรมเพื่อสังคม (4) ฝ่ายการเงินและการบัญชี (5) ฝ่ายกฎหมาย (6) ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (7) ฝ่ายพัฒนากองทุนหมู่บ้านและเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
(8) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ (9) ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล (10) ฝ่ายยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ (11) กลุ่มงานเลขานุการ ข. หน่วยงานบริหารส่วนภูมิภาค ( 1 ) สำนักงาน สาขาเขต ( 2 ) ศูนย์ประสานงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง จังหวัด ข้อ 7 ฝ่ายอำนวยการ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารทรัพย์สิน และจัดซื้อจัดจ้างตามระ เบียบว่าด้วยการพัสดุ ( 2 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานธุรการกลาง ( 3 ) บริหารอาคารสำนักงาน ( 4 ) ควบคุมการใช้งานยานพาหนะ บำรุงรักษาและงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านการประกันภัยทรัพย์สิน ( 6 ) จัดประชุม สนับสนุนและประสานการดาเนินงานให้ แก่คณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานที่คณะกรรมการแต่งตั้ง ( 7 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอานวยการ การบริการทั่วไปให้แก่คณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานที่คณะกรรมการแต่งตั้ง ( 8 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 8 ฝ่ายตรวจสอบภายใน มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณ การบริหารการเงินและการบัญชี บริหารพัสดุและทรัพย์ สิน ( 2 ) ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลและตัวเลข เสนอแนะวิธีหรือ มาตรการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน ตลอดจนวิธีป้องกันการรั่วไหลหรือทุจริตเกี่ยวกับการเงินและ ทรัพย์สินของสำนักงาน ( 3 ) ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 9 ฝ่ายประชาสัมพันธ์และกิจกรรมเพื่อสังคม มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สื่อสารองค์กรและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารธุรกิจของสานักงานและกองทุนหมู่บ้านไปยัง กลุ่มเป้าหมาย ทั้งภายในองค์กร และบุคคลภายนอก ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 2 ) จัดทำยุทธศาสตร์ด้านการประชาสัมพันธ์ ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการสร้างชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดี และงานอื่น ๆ ที่ประธาน กรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติมอบหมาย สนับสนุนและประสานการดาเนินงานให้แก่ ผู้อำนวยการ ทั้งด้านการประสานเชื่อมโยงส่วนงานที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารนโยบาย ตลอดจน การติดตำม เร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย ( 4 ) จัดทาและดาเนินการให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่เป็นการช่วยเหลือสังคม กองทุนหมู่บ้านและประชาชน ( 5 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 1 0 ฝ่ายการเงินและการบัญชี มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารแผนงานและงบประมาณ ดาเนินการเกี่ยวกับการรับ - จ่ายเงิน ( 2 ) จัดทำและควบคุมบัญชี ( 3 ) จัดทำงบการเงิน ( 4 ) จัดทำรายงานทางบัญชี ( 5 ) จัดทำบัญชีทรัพย์สิน ( 6 ) ปฏิบัติงานร่วมกั บหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 11 ฝ่ายกฎหมาย มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) จัดทำระเบียบและกฎหมายของสำนักงาน ( 2 ) รับรองสถานภาพกองทุนหมู่บ้าน ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดตั้ง การจดทะเบียนนิติบุคคล การยุบรวม เลิก แยกบางส่วน กองทุนหมู่บ้าน ( 4 ) ออกมาตรฐานจริยธรรมนักตรวจสอบบัญชี ( 5 ) ดาเนินการเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญาที่กระทำโดยผู้อำนวยการหรือคณะกรรมการมอบหมาย ( 6 ) ให้ความช่วยเหลือกรณีมีข้อพิพาทของกองทุนหมู่บ้าน ( 7 ) ให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ ( 8 ) ติดตามและตรวจสอบการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน สถาบันการเงินชุมชนที่ส่งเสริม การจัดตั้งโดยสำนักงานภายใต้ระเบียบ คำสั่งและประกาศที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 9 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 12 ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ศึกษา วิเคราะห์ บริหาร พัฒนา และออกแบบระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหมู่บ้าน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและการบริหารสำนักงาน ( 2 ) กาหนดรูปแบบ วิธีการ และขั้นตอนการจัดเก็บ การประมวลผล และการใช้ประโยชน์ จากระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ( 3 ) จัดทำระบบฐานข้อมูลทะเบียนกองทุนหมู่บ้าน ทะเบียนสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ( 4 ) ศึกษาและจัดทำนโยบายและแผนแม่บทการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล ของสำนักงา น ( 5 ) กากับดูแลระบบสารสนเทศและระบบเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศของสานักงาน และสำนักงาน สาขาเขต ( 6 ) ดาเนินการจัดหา การซ่อมบารุงรักษาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล ของสำนักงาน ( 7 ) จัดทำและการจัดหาเครื่องมือหรือโปรแกรมสนับสนุนให้ฝ่ายงานที่ เกี่ยวข้อง ( 8 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 13 ฝ่ายวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานวิชาการ การวิจัยและการพัฒนาระบบงาน ( 2 ) บริหารจัดการองค์ความรู้ ( 3 ) การจัดหาและพัฒนาองค์ความรู้ การสร้างองค์ความรู้ การรวบรวมองค์ความรู้ สะสม และสังเคราะห์การประยุกต์ใช้ และเผยแพร่องค์ความรู้ และให้บริการทางวิชาการ ( 4 ) ประเมินผล การวัดผล การสรุปผล ( 5 ) จัดทำความร่วมมือเพื่อการวิจัย การ นำผลการวิจัยนำไปสู่การพัฒนาในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 6 ) พัฒนาบุคคลากรในด้านการจัดทำผลงานวิชาการ การวิจัย การจัดทำสถิติข้อมูล การวัด ประสิทธิภาพบุคลากร การให้คำแนะนำ การเสนอแนะการปฏิบัติงานด้านวิชาการ การวิจัยที่เกี่ยวข้อง ( 7 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
ข้อ 1 4 ฝ่ายพัฒนากองทุนหมู่บ้านและเสริมสร้างศักยภาพชุมชน มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) วางแผนกลยุทธ์และแผนการปฏิบัติงาน ( 2 ) จัดทำกระบวนการ ขั้ นตอนและวิธีการในพื้นที่ตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ งานพัฒนาศักยภาพกองทุนหมู่บ้าน ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการนิเทศและการออกหน่วยเคลื่อนที่เพื่อการเสนอแนะและการแก้ไขปัญหา กองทุนหมู่บ้าน ( 4 ) ปฏิบัติการกิจกรรมพิเศษ เพื่อการรณรงค์ การนาร่องหรือศูนย์การเรียนรู้งานกองทุน ตามหลักศาสนาอิสลาม ( 5 ) พัฒนาศักยภาพเครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน ( 6 ) ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านและเป็นกลไกของการขับเคลื่อน การพัฒนากองทุนหมู่บ้าน ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเครือข่ายกองทุนหมู่ บ้าน และการเชื่อมโยง การเรียนรู้ การเงิน สวัสดิภาพและสวัสดิการกองทุนหมู่บ้าน ( 7 ) พัฒนาระบบและจัดทำรายงานที่เกี่ยวข้อง ( 8 ) กากับ ดูแล และประสานแผนการปฏิบัติงานกับหน่วยงานส่วนภูมิภาค ส่งเสริมและ สนับสนุนการปฏิบัติงาน รวมถึงการติดตามและเร่งรัดการปฏิบัติงำนกับส่วนภูมิภาค ( 9 ) จัดทายุทธศาสตร์ แผนแม่บทและกาหนดทิศทางการขับเคลื่อนกลไก การเสริมสร้าง ศักยภาพชุมชนในภาพรวม วิเคราะห์ ติดตามและนิเทศการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานส่วนภูมิภาค ( 10 ) จัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชนและสรุปรายงานผล ประสานเชื่อมโยงภาคี เครือข่ายและอาสาสมัคร ( 11 ) รวบรวมข้อมูล สถิติ ข่าวสารการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนข้อมูลการจัดทา รายงานประจำปี เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารสู่ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ( 12 ) สนับสนุนการจัดตั้งและการขับเคลื่อนอาสาสมัคร ( 13 ) จัดทำและดาเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ( 14 ) บูรณาการและขับเคลื่อนการดำเนินโครงการและกิจกรรม ถอดบทเรียนองค์ความรู้และ เผยแพร่ผลงานความสำเร็จในการดาเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของสำนักงาน ( 15 ) ออกใบอนุญาตและประกาศมาตรฐานวิชาชีพผู้ตรวจสอบบัญชี ( 16 ) ปฏิบัติงา นร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
ข้อ 15 ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ศึกษา วิจัยและการจัดทำยุทธศาตร์การพัฒนาบุคลากรระยะยาว แผนการพัฒนาบุคลากร ประจำปี ( 2 ) จัดทำแผนความก้าวหน้าทางอาชีพให้กับบุคลากร ( 3 ) วางแผนด้านอัตรากาลัง การบริหารและจัดระบบงานบุคคล ( 4 ) จัดทำระบบสารสนเทศและการจัดทำรายงานผลด้านบุคลากรและลูกจ้างทุกประเภท ( 5 ) ฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ( 6 ) จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมพนักงานแต่ละระดับ การจัดบุคลากร เข้ารับฝึกอบรม การจัดหาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร ( 7 ) กาหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัติในการรับสมัครบุคคลเข้าปฏิบัติงานเป็นพนักงาน หรือ ลูกจ้างของสำนักงาน รวมไปถึงการกาหนดหลักเกณฑ์การเลื่อนระดับพนักงานทุกตาแหน่ง ( 8 ) สรรหา แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ สับเปลี่ยนตำแหน่งการสืบทอดตำแหน่งพนักงาน ของสำนักงาน ( 9 ) ดาเนินการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเข้าเป็นพนักงานสำนักงาน ( 10 ) จัดทำข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการให้แก่พนักงาน ( 11 ) เสนอให้รางวัล บาเหน็จความชอบ การสร้างขวัญและกาลังใจแก่พนักงาน รวมไปถึง การออกแบบและจัดหาชุดปฏิบัติงานหรือชุดฟอร์มต่าง ๆ ที่ระเบียบกาหนด ( 12 ) ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ( 13 ) ทดสอบสมรรถนะพนักงานและการเสนอความเห็นต่อผู้บริหารในการปรับเปลี่ยนหรือ สับเปลี่ยนตาแหน่งตามความสามารถและตาแหน่งที่ว่าง ( 14 ) ส่งเสริมวินัยพนั กงาน การรับเรื่องร้องทุกข์ การดาเนินการทางวินัยพนักงาน และ งานพิทักษ์ระบบคุณธรรม ( 15 ) ส่งเสริมจรรยาบรรณที่ดีของพนักงาน หากพนักงานที่ไม่รักษาจรรยาบรรณต่อหน้าที่ ต่อผู้บังคับบัญชา ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อผู้มาติดต่องาน ให้เสนอต่อผู้บังคับบัญชาพิจารณาตั้งแต่ การว่ากล่าวตักเตือน การย้ายเปลี่ยนงาน เปลี่ยนตาแหน่งและความรับผิดชอบ การย้ายออกจากพื้นที่ ที่มีความขัดแย้ง และดาเนินการอื่น ๆ เพื่อธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณที่ดีของพนักงาน ( 16 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 1 6 ฝ่ายยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 1 ) เสนอแนะและกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบายด้านการพัฒนากองทุนหมู่บ้านและการพัฒนา เศรษฐ กิจฐานราก หรือการพัฒนาในมิติการเชื่อมโยงกับกรอบแผนพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาของรัฐบาล ในด้านต่าง ๆ ( 2 ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าหมายและภารกิจ ของสำนักงาน ( 3 ) จัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือการจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน ตามโครงการ ( 4 ) จัดหารายได้ แสวงหารายได้ ทำบันทึกข้อตกลงเพื่อการได้มาซึ่งรายได้ การศึกษา กำหนดแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) ศึกษา วิเคราะห์และกลั่นกรองข้อมูลข่าวสาร รวมถึงให้ข้อมูลเสนอแนะ การจัดทารายงาน ประจำปีต่อคณะกรรมการ ( 6 ) กากับ ควบคุม นิเทศการดาเนินงานของฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัด และเป้าประสงค์ของสำนักงาน ( 7 ) ควบคุมวินัยทางการเงินและการคลัง การใช้จ่ายเงินงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมไป ถึงการจัดทาข้อเสนอแนะ และให้ความเห็นในการระงับการดาเนินการที่จะ ก่อให้เกิดความเสียหาย ทั้งนี้ จะต้องเป็นไปโดยปราศจากอคติและเป็นไปตามหลักการและเหตุผล ทางวิชาการ สถิติ ข้อมูลสนับสนุนอย่างเหมาะสม ( 8 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่ นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 1 7 กลุ่มงานเลขานุการ เป็นกลุ่มงานที่ขึ้นตรงกับผู้อำนวยการ มีหน้าที่เกี่ยวกับ การประสานการดาเนินงานและปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามที่ผู้อำนวยการ มอบหมาย ข้อ 18 สำนักงาน สาขาเขต มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) บริหารจัดการความรู้ทั้งการจัดหา พัฒนา และรวบรวมองค์ความรู้ ( 2 ) สร้าง สะสม และสังเคราะห์ประยุกต์ใช้และเผยแพร่องค์ความรู้ จัดการเรียนรู้แก่กองทุน หมู่บ้าน และเครือข่าย ( 3 ) จัดเก็บ รวบรวม และจัดทาฐานข้อมูล การประมวล สังเคราะห์ และเชื่อมโยงข้อมูล ให้สำนักงานส่วนกลางและบริการข้อมูลพื้นฐานเพื่อการเผยแพร่ ( 4 ) จัดทำแผนปฏิบัติภายใต้กระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการตามเป้าหมายและยุทธศาสตร์ ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 5 ) การดาเนินงานตามแผนงาน กิจกรรมและโครงการของสำนักงาน ( 6 ) สนับสนุนและติดตามการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านร่วมกับคณะอนุกรรมการสนับสนุน ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ ( 7 ) ติดตาม นิเทศ ให้คำแนะนำการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้าน สถาบันการเงินชุมชน ที่ส่งเสริมการจัดตั้งขึ้นโดยสำนักงาน ( 8 ) ติดตาม นิเทศ ให้คำแนะนำการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและเครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน ( 9 ) ออกคาสั่งให้เรียกคืนเงินงบประมาณ การระงับ ยับยั้งการดาเนินการของกองทุนหมู่บ้าน และเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย ( 10 ) ขับเคลื่อนโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ย วข้อง ทั้งในภารกิจของสานักงาน หรือ ดาเนินการร่วมกับหน่วยงานอื่นทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมที่ส่งผลต่อการพัฒนาชุมชนโดยภาพรวม ( 11 ) ประสานเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายและอาสาสมัครที่จัดตั้งตามนโยบาย ( 12 ) ประสานและบูรณาการเพื่อการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด อำเภอหรือองค์กรอื่น ๆ ( 13 ) ให้คาปรึกษาข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับงานกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบ ข้อเท็จจริง ประนอมข้อพิพาทในพื้นที่ความรับผิดชอบ ( 14 ) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และให้บริการทางวิชาการในพื้นที่ ( 15 ) การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานสารบร รณ ธุรการ การจัดการทรัพย์สิน พัสดุ งบประมาณ การเงินและการบัญชีของสำนักงานสาขาเขต ( 16 ) ดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมวินัยพนักงาน การรับเรื่องร้องทุกข์ การดำเนินการ ทางวินัยพนักงานในพื้นที่ความรับผิดชอบ การว่ากล่าวตักเตือน การลงโทษทางวินัย สาหรับกา รลงโทษ ทางวินัยในชั้นที่ต่ากว่าการปลดออกหรือไล่ออก หากมีการแต่งตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัยพนักงาน ที่มีความเห็นให้ปลดออกหรือไล่ออกให้เสนอผู้อำนวยการให้พิจารณาลงโทษพนักงานผู้ที่กระทำผิดวินัย ( 17 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมจรรยาบรรณที่ดีของพนักงาน หากพนักงานที่ไม่รักษา จรรยาบรรณต่อหน้าที่ ต่อผู้บังคับบัญชา ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อผู้มาติดต่องาน สามารถลงโทษตั้งแต่ การว่ากล่าวตักเตือน การย้ายเปลี่ยนงานความรับผิดชอบ การย้ายออกจากพื้นที่ที่มีความขัดแย้ง ( 18 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการโยกย้ายพนักงาน เกลี่ยอั ตรากาลังภายในพื้นที่ความรับผิดชอบ ของสำนักงาน สาขาเขต รวมไปถึงเสนอความเห็นให้มีการโยกย้ายพนักงานที่มีความผิดวินัย ผิดจรรณยาบรรณออกนอกพื้นที่ระหว่างการตรวจสอบข้อเท็จจริง ( 19 ) ทดสอบสมรรถนะพนักงานและรายงานความเห็นต่อสานักงาน ส่วนกลาง ในการปรับเปลี่ยน หรือสับเปลี่ยนตาแหน่งในพื้นที่ความรับผิดชอบตามความสามารถและตาแหน่งที่ว่าง ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
( 20 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 19 ศูนย์ประสานงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง จังหวัด ให้อยู่ภายใต้การกากับ ของสำนักงาน สาขาเขต มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ประสาน ติดตาม ตรวจสอบ ให้คาแนะนาและช่วยเหลืองานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหมู่บ้าน และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในจังหวัด ( 2 ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 20 การแบ่งส่วนงานของสานักงาน และสายการบังคับบัญชาของสานักงาน ให้เป็นไป ตามแผนภูมิโครงสร้างองค์กร ตามเอกสารแนบท้ายระเบียบนี้ สาหรับการแบ่ง ยุบรวม ยกเลิกหรือ เพิ่มเติมส่วนงานย่อยภายในฝ่ายให้ผู้อำนวยการมีอำนาจกำหนดโดยออกเป็นคาสั่ง ให้ผู้อานวยการแบ่งงานให้รองผู้อานวยการ ผู้ช่วยผู้อานวยการ มีหน้าที่และอานาจในการกากับ ควบคุม ดูแลและกลั่นกรองการดาเนินงานของฝ่ายและสำนักงาน สาขาเขต โดยออกเป็นคาสั่ง ชื่ อตาแหน่งงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ และคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง ให้ผู้อำนวยการมีอำนาจ กำหนดให้มีหรือยุบตาแหน่งตามความเหมาะสมและจำเป็น โดยออกเป็นคาสั่ง การกำหนดตาแหน่งตามวรรคสาม จะต้องอยู่ภายใต้กรอบอัตรากำลังตามที่คณะกรรมการกำหนด ข้อ 21 การเทียบตาแหน่งที่กาหนดขึ้นในข้อ 20 วรรคสาม ให้ผู้อานวยการมีอานาจกาหนดให้มี หรือยุบตาแหน่งตามความเหมาะสมและจำเป็น โดยออกเป็นคาสั่ง ข้อ 22 การกำหนดจำนวนสำนักงาน สาขาเขต และพื้นที่ความรับผิดชอบสำนักงาน สาขาเขต ให้ผู้อำนวยการกาหนด โดยออกเป็นประกาศ ข้อ 23 ให้ผู้อำนวยการรายงานผลการดำเนินการตามข้อ 2 0 ข้อ 21 ข้อ 22 ให้คณะกรรมการทราบ ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 25 6 5 สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 275 ง ราชกิจจานุเบกษา 28 พฤศจิกายน 2565
เอกสารแนบท้ายระเบียบ แผนภูมิโครงสร้างสานักงาน คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ ฝ่าย อานวยการ ฝ่ายการเงินและ การบัญชี ฝ่าย กฎหมาย ฝ่ายประชาสัมพันธ์และ กิจกรรมเพื่อสังคม ฝ่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่าย วิจัยและ พัฒนาองค์ความรู้ ฝ่าย พัฒนากองทุน หมู่บ้าน และ เสริมสร้างศักยภาพชุมชน ฝ่าย บริหาร ทรัพยากร บุคคล ฝ่าย ยุทธศาสตร์ และ แผนกลยุทธ์ ศูนย์ประสานงานกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมืองจังหวัด กลุ่มงานเลขานุการ คณะอนุกรรมการ ตรวจสอบ คณะอนุกรรมการ ต่างๆ ผู้ช่วย ผอ.สทบ. สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชน เมืองแห่งชาติ สาขาเขต หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานส่ วนภูมิภาค ผู้อานวยการสำนักงาน รองผู้อานวยกำร สทบ. รองผู้อานวยกำร สทบ. รองผู้อานวยกำร สทบ. ฝ่าย ตรวจสอบภายใน