Thu Nov 24 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พ.ศ. 2565


ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พ.ศ. 2565

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) พ.ศ. 2565 ด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) ได้รับการปรับสถานะจาก “ โรคติดต่ออันตราย ” เป็น “ โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ” ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และเพื่อให้บัญชียาหลัก แห่งชาติ มีการกาหนดรายการยาในการแก้ไขปัญหาสุขภาพทันต่อวิทยาการของข้อมูลเกี่ยวกับยา ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับการบริหารจัดการมาตรการต่าง ๆ ของโรคติดเชื้อ COVID - 19 ในประเทศไทย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 8 (4) ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการ พัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ใช้รายการยาสำหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) ในบัญชี แนบท้ายประกาศนี้ เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 25 6 5 อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ้ หนา 90 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 274 ง ราชกิจจานุเบกษา 25 พฤศจิกายน 2565

คําชี้แจง แนบท้ําย ประกําศคณะกรรมกํารพัฒนําระบบยําแห่งชําติ เรื่อง บัญชียําหลักแห่งชําติ ส ําหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนํา 2019 ( COVID - 19 ) พ.ศ. 2565 เพื่อให้การดำเนินการ ช่วงเปลี่ยนผ่านของ การจัดการมาตรการต่าง ๆ ของโรคติดเชื้อ COVID - 19 ในประเทศไทยให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ จึงเห็นควรให้รายการยา สำหรับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) ที่แนบท้ายประกาศฉบับนี้ จัดเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ สาหรับโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข ภายใต้เงื่อนไขบัญชียาพิเศษ โดย 1 . รายการยา สาหรับโรคติดเชื้อ COVID - 19 ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริงที่ ว่า หลักฐานเชิงประจักษ์ ทางวิทยาศาสตร์ยังมีข้อจากัดที่จะใช้ในการพิจารณาเข้าสู่บัญชีปกติ ซึ่ง เมื่อ ประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ ( risk and benefit) ของยาแล้ว พบ ว่า “ ประโยชน์ ” มากกว่า “ ความเสี่ยง ” 2. ต้องมีการติดตามผลของ ประสิทธิศักย์ ความปลอดภัย เพื่อนำมาใช้ท บทวนสถานะ การบรรจุอยู่ในบัญชีอย่างน้อยทุ ก 6 เดือน หรือเมื่อมีข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ที่ เปลี่ยนไปจากที่พิจารณาไว้เดิม

รายการยา สำหรับโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) ในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข แนบท้ายประกำศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ สาหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID - 19 ) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 1. Fav ipiravir tab ( เฉพาะ 200 mg) เงื่อนไข ใช้สาหรับทารกและเด็กที่ติดเชื้อ COVID - 19 และมีอาการ ซึ่งไม่สามารถใช้ยาอื่นได้ 2. Nirmatrelvir + R itonavir tab (150 mg + 100 mg) (co - packaged for oral use) เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ใหญ่และเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้ นไปที่มีน้าหนักมากกว่า 40 กิโลกรัม ที่ติดเชื้อ COVID - 19 และ มีอาการระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเสี่ยงสูงต่อการดาเนินไปของโรคที่รุนแรง รวมถึงมีความเสี่ยงสูง ต่อการรักษาตัวในโรงพยาบาล และมีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต 3. Remdesivir sterile pwdr, sterile sol เงื่อนไข 1. ใช้สาหรับเด็กอายุตั้งแต่ 28 วันขึ้นไปและมีน้าหนักอย่างน้อย 3 กิโลกรัม ที่ติดเชื้อ COVID - 19 ที่มีอาการ ระดับรุนแรง 2. ใช้สำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป ที่ติดเชื้อ COVID - 19 และ มีอาการระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเสี่ยงสูงต่อการดาเนินไปขอ งโรคที่รุนแรง รวมถึ งมีความเสี่ยงสูงต่อการรักษาตัว ในโรงพยาบาล และมีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต 3. ใช้สาหรับหญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ที่ติดเชื้อ COVID - 19 และ มีอาการระดับรุนแรง หรือ มีอาการระดับ เล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเสี่ยงสูงต่อการดำเนินไปของโรคที่รุนแรง รวมถึงมีความเสี่ ยงสูงต่อการรักษาตัว ใน โรงพยาบาล และมีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต 4. ใช้สำหรับผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อ COVID - 19 และ มีอาการระดับรุนแรง หรือมีอาการระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเสี่ยงสูงต่อการดาเนินไปของโรคที่รุนแรง รวมถึงมีความเสี่ยงสูงต่อการรักษำตัวในโรงพยาบาล และ มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต หมายเหตุ ปัจจัยเสี่ยงหรือโรคร่วมสำคัญสำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป ได้แก่ 1. โรคอ้วน (น้ำหนักเทียบกับความสูง ( weight for height) มากกว่า + 3 standar d deviations (SD) ) 2. โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง รวมทั้งหอบหืดที่มีอาการปานกลางหรือรุนแรง 3. โรคหัวใจและหลอดเลือด 4. โรคหลอดเลือดสมอง 5. โรคไตวายเรื้อรัง 6. โรคมะเร็งและภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ 7. โรคเบาหวาน 8. กลุ่มโรคพันธุกรรมรวมทั้งกลุ่มอาการดาวน์ เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางระบบประสาทอย่างรุนแรง และ เด็ก ที่มีพัฒนาการช้า 4. Molnupiravir …

  • 2 - 4. Molnupiravir cap ( เฉพาะ 200 mg) เงื่อนไข ใช้สาหรับผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อ COVID - 19 และมีอาการระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเสี่ยงสูงต่อการ ดาเนินไปของโรคที่รุนแรง รวมถึงมีความเสี่ยงสูงต่อการรักษาตัวในโรงพยาบาล แ ละมีความเสี่ยงสูงต่อการ เสียชีวิต เฉพาะกรณีที่ใช้ยา nirmatrelvir + ritonavir และ remdesivir ไม่ได้ 5. Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) sterile pwdr, sterile sol เงื่อนไข 1. ใช้สาหรับรักษากลุ่มอาการอักเสบหลายระบบ ( multisystem inflammatory synd rome in children; MIS - C) ในเด็ก ที่ติดเชื้อ COVID - 19 โดยแนว ทางกากับการใช้ยาให้เป็นไปตามที่ ราชวิทยาลัย สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางวิชาชีพทางการแพทย์ประกาศกำหนด 2. ใช้สาหรับรักษาภาวะ vaccine - induced thrombotic thrombocytopenia (VITT) หลังฉีดวัคซีนป้องกัน COVID - 19 โดยแนวทางกำกับการใช้ยาให้เป็นไป ตามที่ราชวิทยาลัย สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง วิชาชีพทางการแพทย์ประกาศกาหนด 3. ใช้สาหรับเด็กที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ที่เกิดภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกัน COVID - 19 ชนิด messenger ribo nucleic acid ( mRNA ) โดยแนวทางกำกับการใช้ยาให้เป็นไป ตามที่ ราชวิทยาลัย สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางวิชาชีพทางการแพทย์ประกาศกาหนด