Mon Nov 14 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5


ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5

ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5 เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ประกอบมาตรา 16 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบ โดยทั่วกันว่า กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ตามมติเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2565 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19 ได้ดาเนินการกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ ที่ออกภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19 โดยการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสำหรับ ปรับโครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5 ซึ่งมีเงื่อนไข และสาระสำคัญ ดังนี้ 1 . กระทรวงการคลังได้ดาเนินการจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อความยั่งยืนสาหรับปรับ โครงสร้างหนี้ (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด - 19) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 5 ( ESGLB 376 A ) วงเงิน 35,000 ล้านบาท (สามหมื่นห้าพันล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นพันธบัตรรุ่นใหม่ ( New Issue ) 1.2 พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ 14.75 ปี โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจานวน ในวันที่ 17 มิถุนายน 2580 และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับ วันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทยให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทาการถัดไป โดยการจ่ายคืนเงินต้นพันธบัตร แบบมีใบตราสารจะจ่ายให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ผู้รับหลักประกันตามที่ตกลงกัน หรือผู้รับตามที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด ทั้งนี้ ตามรายชื่อทางทะเบียนของธนาคารแห่งประเท ศไทย โดยไม่ต้องนาใบตราสารมาเวนคืน เว้นแต่กรณีมีเหตุจาเป็นหรือมีข้อสงสัย ธนาคารแห่งประเทศไทย อาจขอเวนคืนใบตราสารเพื่อตรวจสอบก็ได้ สำหรับพันธบัตรแบบไร้ใบตราสารจะจ่ายให้กับ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ตามรายชื่อที่ได้รับแจ้งจากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย ) จากัด ซึ่งเป็นรายชื่อ ณ สิ้นวันทาการสุดท้ายก่อนวันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายคืนเงินต้นตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศกาหนด 1.3 พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.390 ต่อปี คานวณจากมูลค่าของ พันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณดอกเบี้ยในวันที่ 19 กันยายน 2565 ถึงวันก่อนวันไถ่ถอน พันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน การคานวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี 365 วัน แล้วนับตามจานวน ้ หนา 10 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 269 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 พฤศจิกายน 2565

วันที่เกิดขึ้นจริง เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง จ่ายดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ 17 ธันวาคม 2565 โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมี อายุอยู่ให้แบ่งจ่ายดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ วันที่ 17 มิถุนายน และ 17 ธันวาคม ของทุกปี สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะจ่าย ณ วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกาหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เลื่อน ไปจ่ายในวันทาการถัดไป โดยไม่นับวันหยุดตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยดังกล่าวเข้ารวม เพื่อคานวณดอกเบี้ยในงวดที่ถึงกาหนดจ่ายดอกเบี้ย ยกเว้นการจ่ายดอกเบี้ยงวดสุดท้ายให้คานวณ ดอกเบี้ยจนถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลที่เลื่อนออกไป ทั้งนี้ การจ่ายดอกเบี้ยพันธบัตรแบบมีใบตราสารจ ะจ่ายให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ผู้รับหลักประกันตามที่ตกลงกัน หรือผู้รับตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกาหนด ทั้งนี้ ตามรายชื่อ ทางทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย สำหรับพันธบัตรแบบไร้ใบตราสารจะจ่ายตามรายชื่อที่ได้รับแจ้ง จากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย ) จากัด ซึ่งเป็นรายชื่อ ณ สิ้นวันทาการสุดท้าย ก่อนวันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายดอกเบี้ยตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด 2 . การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลในครั้งนี้ดำเนินการผ่านผู้จัดจำหน่าย ซึ่งผู้ที่ได้รับ การจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ส ถาบันการเงินอื่น Contractual Savings Funds และบริษัทประกัน 3 . การจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ 2 ดาเนินการเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2565 จำนวน 35,000 ล้านบาท (สามหมื่นห้าพันล้านบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่าย พันธบัตรรัฐบาล ดังนี้ วันที่จ ําหน่ําย วันที่ชําระเงิน วงเงิน จ ําหน่ําย (ล้ํานบําท) จ ํานวนเงินที่ได้รับ (บําท) ส่วนเพิ่ม/(ส่วนลด) (บําท) ดอกเบี้ยจ่ําย รับล่วงหน้ํา (บําท) 13 กันยายน 2565 19 กันยายน 2565 35,000 35,000,000,000.00 - - 4 . พันธบัตรรัฐบาลที่ออกในครั้งนี้ มีรายละเอียดและเงื่อนไข ดังนี้ 4 . 1 เป็นพันธบัตรชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละ 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) 4 . 2 การโอนกรรมสิทธิ์หรือการใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้เป็นหลักประกัน กรณีพันธบัตร แบบมีใบตราสารให้ถื อปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย สาหรับพันธบัตรแบบไร้ใบตราสารให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ทั้งนี้ ไม่สามารถกระทาได้ตั้งแต่วัดปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายคืนเงินต้ นตามที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด 4 . 3 กรณีที่มีการออกใบพันธบัตรรัฐบาล มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกากับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว ้ หนา 11 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 269 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 พฤศจิกายน 2565

5 . การจาหน่ายพันธบัตรรัฐบาลในครั้งนี้มีค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ดังต่อไปนี้ 5 . 1 ค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ จัดจำหน่าย จำนวน 3 แห่ง ประกอบด้วย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และธนาคาร สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จากัด (มหาชน) ในจานวนรวมทั้งสิ้นเท่ากับอัตราร้อยละ 0 . 03 (ศูนย์จุดศูนย์สาม) ของจำนวนรวมของมูลค่าเงินต้นที่ตราไว้ของพันธบัตรทั้งหมดที่จำหน่ายได้ 5 . 2 ค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ สำหรับธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตร ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตร ( 2 ) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตร ในอัตราไม่เกินร้อยละ 0 . 03 (ศูนย์จุดศูนย์สาม) ของดอกเบี้ยที่จ่ายและเงินต้นพันธบัตรที่จ่ายคืน ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 256 5 บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง รักษาราชการแทน รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 269 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 พฤศจิกายน 2565