ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน พ.ศ. 2565
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน พ.ศ. 2565
ประกาศ สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุน หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 และข้อ 20.10.5 แห่งประกาศคณะกรรมการหลั กประกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ สาหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2565 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 9 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน พ .ศ. 2565 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สำนักงาน ” หมายความว่า สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ การดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ” หมายความว่า การให้บริการสาธารณสุขกรณีผู้ป่วยใน ของหน่วยบริการ ณ สถานที่พำ นักของผู้รับบริการนอกหน่วยบริการ โดยมีมาตรฐานการดูแล ตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รักษาการตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 5 การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ให้เป็นไป ตาม หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 45 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565
5.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่เป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ 5.2 เป็นการให้บริการแบบผู้ป่วยในแก่ผู้รับบริการที่ได้รับการวินิจฉัยโรคตามกลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการ ตามข้อบ่งชี้ในแนวทางและมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยในที่บ้านที่กระทรวงสาธา รณสุขกำหนด และมีรหัสโรค ( ICD - 10 ) ตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ทั้งในโรคหลักและโรคร่วม 5.3 เป็นหน่วยบริการภาครัฐที่สามารถให้บริการผู้ป่วยใน และผ่านเกณฑ์ประเมิน ศักยภาพการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด สำหรับหน่วยบริการ ที่ให้บริการผ่าตัดไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันต้องผ่านการประเมินการให้บริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ ตามมาตรฐานกรมการแพทย์ด้วย ข้อ 6 สานักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตามระบบการวินิจฉัยโรคร่วม ( Diagnostic Related Groups : DRGs ) คำนวณอัตราจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว ( AdjRW ) อัตราที่ได้รับต่อหนึ่ง หน่วยสัมพัทธ์ขึ้นอยู่กับวงเงินระดับเขตของแต่ละเขตและผลงานการส่งข้อมูลผู้ป่วยในแต่ละเดือน โดยจะได้รับค่าชดเชยเบื้องต้นด้วยอัตรา 8 , 350 บาทต่อหนึ่งหน่วยน้าหนักสัมพัทธ์ที่ปรั บค่าแล้ว ก่อนมีการปรับลดค่าแรง หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 7 ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานเอกสารการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้หน่วยบริการจัดให้มีการพิสูจน์ตัวตนของผู้รับบริการเพื่อยืนยันการใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ โดยดำเนินการในวันที่เริ่มให้การดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ข้อ 8 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูล ตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ผ่านระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ ( e - Claim ) มายังสำนักงาน ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ หรือเชื่อมต่อข้อมูล จากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสำนักงาน ร่วมกับบันทึกข้อมูลรายงานสุขภาพประจาวันของผู้ป่วย ในที่บ้าน ผ่านโปรแกรม ที่สามารถรายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้าน หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 9 สานักงานจะนับวันนอนแบบต่อเนื่องกัน ตั้งแต่วันที่ผู้ป่วยเข้ารับบริการผู้ป่วยใน ณ หน่วยบริการ และสถานที่พานักของผู้รับบริการนอกหน่วยบริการ จนกระทั่งผู้ป่วยถูกจาหน่าย ออกจากบริการผู้ป่วยใน กรณีที่ไม่พบการบันทึกข้อมูลรายงานสุขภาพประจาวันของผู้ป่วยในที่บ้าน ในระหว่างการรับบริการ สานักงานจะถือว่าไม่มีการให้บริการในวันดังกล่าว โดยหน่วยบริการจะต้อง บันทึกเป็นวันลากลับบ้าน ( leave day ) ้ หนา 46 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565
ข้อ 10 สำนักงานสามารถปฏิเสธการจ่ายค่าใช้จ่ายในกรณีต่อไปนี้ 10.1 กลุ่มโรค หรือกลุ่มอาการของผู้รับบริการไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนด ในแนวทางและมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยในที่บ้าน ของกระทรวงสาธารณสุข 10.2 เป็นผู้รับ บ ริ การ กลุ่ม เ ป้าหมายผู้ป่วยระยะกลางที่พ้นระยะ วิก ฤตที่มีอาการคงที่ และอยู่ระหว่างรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ระยะกลาง ยกเว้นในกรณีที่ผู้ป่วยดังกล่าว มีอาการเจ็บป่วยที่ต้องได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยในตามที่กาหนดในแนวทางและมาตรฐานการดูแลผู้ป่วย ในที่บ้าน ของกระทรวงสาธารณสุข 10.3 เป็นผู้รับบริการแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่บ้าน ยกเว้นในกรณีที่ผู้ป่วยดังกล่าวมีอาการเจ็บป่วยที่ต้องได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยในตามที่กาหนดในแนวทาง และมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยในที่บ้าน ของกระทรวงสาธารณสุข ข้ อ 11 สานักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการเป็นรายเดือน โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 11.1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (ข้อมูล A : accept ) สำนักงาน จะจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 11.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านจากการตรวจสอบเบื้องต้น (ข้อมูล C : cancel ) หน่วยบริการ สามารถแก้ไขและส่งมาในระบบของสำนักงานอีกครั้ง 11.3 ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล deny ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวน เพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 12 สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ โดยตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ดังนี้ 12.1 ในช่วงเวลาที่เป็นการรักษาในโรงพยาบาล เอกสารหลักฐานที่จะตรวจสอบ คือเอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยใน รายละเอียดตามหนังสือแนวทางการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน การเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ร่วม 3 กองทุน 12.2 ในช่วงเวลาที่เป็นการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน เอกสารหลักฐานที่จะตรวจสอบ ดังนี้ 12.2.1 เอกสารหลักฐานเวชระเบียน หลักฐานการวินิจฉัยโรค กลุ่มโรค กลุ่มอาการและข้อบ่งชี้การดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกำหนด 12.2.2 เอกสารหลักฐานการแสดงความยินยอมของผู้รับบริการการดูแล แบบผู้ป่วยในที่บ้าน 12.2.3 เอกสารหลักฐานบันทึกการซักประวัติ บันทึกการตรวจร่างกาย บันทึกคาสั่งการรักษา และบันทึกค วามก้าวหน้าหรือการดาเนินโรค บันทึกในโปรแกรมที่สามารถ รายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกำหนด ้ หนา 47 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565
12.2.4 เอกสารหลักฐานบันทึกทางการพยาบาล ที่บันทึกในโปรแกรม ที่สามารถรายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกำหนด 12.2.5 เอกสารหลักฐานบันทึกการปรึกษาโรคระหว่างแผนกหรือกลุ่มงาน ของแพทย์ บันทึกการทำหัตถการ (ถ้ามี) 12.2.6 เอกสารหลักฐานการประเมินผู้ป่วยในระหว่างอยู่ที่บ้าน ที่บันทึก ในโปรแกรมที่สามารถรายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกาหนด ซึ่งอาจเป็นการประเมินทางโทรศัพท์ติดตามอาการหรือการใช้วิดีโอสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต หรือการตรวจประเมินผู้ป่วยในที่บ้าน 12.3 เอกสารหลักฐานสรุปการจำหน่าย ( Discharge summary ) ข้อ 1 3 สำนักงานกำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการ ทางการแพทย์ ของหน่วยบริการ ดังนี้ 13.1 พบหลักฐานการยืนยันตัวตนผู้รับบริการ 13.2 พบเอกสารหลักฐานสรุปการจำหน่าย ( Discharge summary ) 13.3 ในช่วงเวลาที่เป็นการรักษาในโรงพยาบาลตรวจพบเอกสารหลักฐานผู้ป่วยใน ที่สอดคล้องกับการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน 13.4 ในช่ วงเวลาที่เป็นการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน เกณฑ์ในการตรวจสอบ ดังนี้ 13.4.1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียน ที่มีหลักฐานการวินิจฉัยโรค กลุ่มโรค กลุ่มอาการและข้อบ่งชี้การดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ตามที่สานักงานกาหนดตามเอกสาร หมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ และต้ องไม่เข้าเงื่อนไขการปฏิเสธการจ่ำยค่าใช้จ่ายตามที่สานักงาน กำหนด 13.4.2 พบหลักฐานการบันทึกการวินิจฉัยโรค การให้รหัสโรค รหัสหัตถการ ตามกลุ่มโรคกลุ่มอาการที่สำนักงานกำหนด 13.4.3 พบเอกสารหลักฐานการแสดงความยินยอมของผู้รับบริการการดูแล แบบผู้ป่วยในที่บ้าน 13.4.4 พบหลักฐานเอกสารหลักฐานบันทึกการซักประวัติ บันทึก การตรวจร่างกาย บันทึกคาสั่งการรักษา และบันทึกความก้าวหน้าหรือการดาเนินโรค ที่บันทึกใน โปรแกรมที่สามารถรายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกำหนด 13.4.5 พบหลักฐานบันทึ กทางการพยาบาล บันทึกในโปรแกรมที่สามารถ รายงานข้อมูลสุขภาพประจำวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สำนักงานกำหนด 13.4.6 พบเอกสารหลักฐานบันทึกการปรึกษาโรคระหว่างแผนกหรือ กลุ่มงานของแพทย์ บันทึกการทำหัตถการ (ถ้ามี) ้ หนา 48 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565
13.4.7 พบเอกสารหลักฐานการประเมินผู้ป่วยในระหว่างอยู่ที่บ้าน บันทึกในโปรแกรมที่สามารถรายงานข้อมูลสุขภาพประจาวันของผู้ป่วยในที่บ้านตามที่สานักงานกาหนด ซึ่งอาจเป็นการประเมินทางโทรศัพท์ติดตามอาการหรือการใช้วิดีโอสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต หรือการ ตรวจประเมินผู้ป่วยในที่บ้าน 13.4.8 การตรวจสอบวันนอนในช่วงเวลาที่เป็นการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน ที่จะพิจารณาว่าเป็นวันที่มีการให้บริการ จะต้องพบบันทึกข้อมูลรายงานสุขภาพประจาวันของผู้ป่วย ในที่บ้านในวันดังกล่าว กรณีที่ไม่พบการบันทึกข้อมูลรายงานสุ ขภาพประจาวันของผู้ป่วยในที่บ้าน ในระหว่างการรับบริการ สำนักงานจะถือว่าเป็นการลากลับบ้าน ( leave day ) 13.5 เกณฑ์ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการสาธารณสุขตามแนวทาง การพิจารณาเอกสารประกอบการตรวจสอบเวชระเบียน กรณีผู้ป่วยใน ตามหนังสือแนวทางการตรวจสอบ เอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ร่วม 3 กองทุน 13.6 ตรวจสอบรหัสโรคและหัตถการตามแนวทางมาตรฐานในการให้รหัสโรคและ หัตถการ กรณีที่จ่ายตามระบบการวินิจฉัยโรคร่วม ( Diagnostic Related Groups : DRGs ) ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 256 5 จเด็ จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 49 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565
เอกสาร หมายเลข 1 แนบท้ายประกาศ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อ บริการสาธารณสุข กรณีการ ดูแลแบบ ผู้ป่วยในที่บ้าน พ.ศ . 2565 ลงวันที่ 29 กันยายน 2565 รหัสโรค ( ICD - 10 ) ส ําหรับ กลุ่มโรคหรือกลุ่มอํากําร ที่ สํามํารถเข้ํารับ กํารดูแลแบบ ผู้ป่วยในที่บ้ําน มีดังต่อไปนี้ กลุ่มโรค/กลุ่มอํากําร รหัสโรค ( ICD - 10 ) ข้อบ่งชี้ 1 . โรคเบาหวาน ( diabetes mellitus ) ที่ มีภาวะน้ำตาล ใน เลือดสูง - E10. 0 - E10.9 Insulin - dependent diabetes mellitus - E11. 0 - E11.9 Non - insulin - dependent diabetes mellitus - E12. 0 - E12.9 Malnutrition - related diabetes mellitus - E13. 0 - E13.9 Other specified diabetes mellitus - E14. 0 - E14.9 Unspecified diabetes mellitus - ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร ( fasting plasma glucose ) > 300 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ( 300 mg/dL ) หรือระดับฮีโมโกลบินเอวันซี ( A1C) > 11 % และมีความจำเป็นต้อง ติดตามระดับน้าตาล ในเลือด อย่างน้อย 2 - 4 ครั้งต่อวัน - ผู้ป่วยไม่อยู่ในภาวะ diabetic ketoacidosis (DKA), hyperglycemic hyperosmolar state (HHS) ยกเว้นเป็นกรณี step down ภายหลังจากรักษา ภาวะ แทรกซ้อนเฉียบพลันเรียบร้อยแล้ว - ผู้ป่วยไม่อยู่ในภาวะ hypoglycemic coma 2 . โรคความดันโลหิตสูง ( severe hypertensi on ) - I10 Essential (primary) hypertension - ผู้ป่วยมี systolic blood pressure > 140 mmHg or diastolic blood pressure > 90 mmHg และ มีความจำเป็นต้องติดตามความดันโลหิตอย่างน้อย วันละ 4 ครั้ง - ผู้ป่วยไม่อยู่ใน ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากความ ดันโลหิตสูงรุนแรง เช่น hypertensive emergency, heart failure, severe pre - eclampsia ยกเว้นเป็นกรณี step down ภายหลัง จากรักษาภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันเรียบร้อยแล้ว - ผู้ป่วยยังมีความดันโลหิตสูงภายหลัง ภาวะเจ็บป่วย เฉียบพลันดีขั้นแล้ว เช่น อัมพฤกษ์หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ปอดอักเสบติดเชื้อ 3 . โรคแผลกดทับและพื้นที่กด ทับ ( d ecubitus ulcer and pressure area ) - L89.0 Stage I decubitus ulcer and pressure area - L89.1 Stage II decubitus ulcer and pressure area - L89.2 Stage III decubitus ulcer and pressure area - ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการติดเชื้อ ในกระแสเลือด - มีการทาแผลโดยบุคลากรวิชาชีพ หรือญาติที่ผ่านการ สอนโดยบุคลากรวิชาชีพ และมีการประเมินโดย บุคลากรวิชาชีพ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
-
2 - กลุ่มโรค/กลุ่มอํากําร รหัสโรค ( ICD - 10 ) ข้อบ่งชี้ - L89.3 Stage IV decubitus ulcer and pressure area 4 . โรค ติดเชื้อในระบบทางเดิน ปัสสาวะ ( urinary tract infection ) - N10 Acute tubulo - interstitial nephritis - ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการติดเชื้อใน กระแสเลือด - ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะชนิดฉีด และมี ความจำเป็นต้องได้รับการติดตามสัญญาณชีพอย่าง น้อยวันละ 3 ครั้ง 5 . โรคปอดอักเสบ ( pneumonia ) - J10.0 Influenza with pneumonia, other influenza virus identified - J11.0 Influenza with pneumonia, virus not identified - J12.0 - J12.9 Viral pneumonia, not elsewhere classified - J13 Pneumonia due to Streptococcus pneumoniae - J14 Pneumonia due to Haemophilus influ enzae - J15 .0 - J15.9 Bacterial pneumonia, not elsewhere classified - J16 .0 Chlamydial pneumonia - J16.8 Pneumonia due to other specified infectious organisms - J17* Pneumonia in diseases classified elsewhere - J18.0 Bronchopneumonia, unspecified - J18.1 Lobar pneumonia, unspecified - ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการติดเชื้อใน กระแสเลือด - ผู้ป่วยไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น severe pneumonia ยกเว้นเป็นกรณี step down ภายหลังจากรักษาเฉียบพลันเรียบร้อยแล้ว - ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะชนิดฉีด หรือการ รักษาด้วยออกซิเจน และมีความจำเป็นต้องได้รับ การติดตามสัญญาณชีพอย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง
-
3 - กลุ่มโรค/กลุ่มอํากําร รหัสโรค ( ICD - 10 ) ข้อบ่งชี้ - J18.2 Hypostatic pneumonia, unspecified - J18.8 Other pneumonia, organism unspecified - J18.9 Pneumonia, unspecified 6 . โรคไส้ติ่งอักเสบ เฉียบพลัน (acute appendicitis) ภายหลัง ได้รับ การผ่าตัด - K35.8 Acute appendicitis, other and unspecified - ผู้ป่วยได้รับการประเมินความเสี่ยงก่อนการผ่าตัดโดย วิสัญญีแพทย์ตามแนวทางของ American Society of Anesthesiologists (ASA classification) ที่มี ระดับ ASA 1 - 3 - ผู้ป่วยและญาติ ที่ร่วมดูแลภายหลังการผ่าตัด ได้รับ คำแนะนาในการดูแลหลังการผ่าตัดตั้งแต่ก่อนการ ผ่าตัดโดยทีมพยาบาล ( ODS nurse manager) - ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดไส้ติ่งแบบเปิด ( open appendectomy) หรือการผ่าตัดไส้ติ่งผ่าน กล้อง ( laparoscopic appendectomy) ใน โรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินการให้บริการผ่าตัด แบบวันเดียวกลับตามมาตรฐานกรมการแพทย์ - ผู้ป่วย ไม่มีภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัด 7. โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) - U07.1 COVID - 19, virus identified - U07.2 COVID - 19, virus not identified - ผู้ป่วยโควิด 19 ที่วินิจฉัยใหม่ตามเกณฑ์การวินิจฉัย หรือเป็นผู้ป่วยโควิด 19 ที่ step down หลังเข้ารับ การรักษาที่สถานที่รัฐจัดให้หรือ ใน โรงพยาบาล อย่างน้อย 7 วัน แล้วแพทย์เห็นว่าสามารถดูแลแบบ ผู้ป่วยในที่บ้านด้วย วิธี home isolation ได้ - ผู้ป่วยไม่อยู่ในภาวะปอดอักเสบรุนแรง เช่น หายใจ เร็วกว่า 25 ครั้งต่อนาที ในผู้ใหญ่ oxygen saturation น้อยกว่า 94 %
เอกสาร หมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 29 กันยายน 2565 ชุดข้อมูลมําตรฐําน ( Standard data set ) ประกอบด้วยโครงสร้ํางชุดข้อมูลเพื่อกํารเรียกเก็บ ค่ําใช้จ่ํายเพื่อบริกํารสําธํารณสุข ( e - Claim ) ได้แก่ แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล ( INS ) แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง ( PAT ) แฟ้มข้อมูลที่ 7 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยใน ( IPD ) แฟ้มข้อมูลที่ 8 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ ( IRF ) แฟ้มข้อมูลที่ 9 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน ( IDX ) แฟ้มข้อมูลที่ 10 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลหัตถการผู้ป่วยใน ( IOP ) แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) ( CHA ) แฟ้มข้อมูลที่ 13 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และรับส่งเพื่อรักษา ( AER ) แฟ้มข้อมูลที่ 14 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด ( ADP ) แฟ้มข้อมูลที่ 15 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลกรณีที่ผู้ป่วยมีการลากลับบ้าน ( Leave day) (LVD) แฟ้มข้อมูลที่ 16 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการใช้ยา ( DRU ) หมายเหตุ กรณีมีการเบิกรายการนอกเหนือจากประกาศ ให้อ้างอิงตามประกาศสำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย โครงสร้างชุดข้อมูลเพื่อการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ( e - Claim )
-
2 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมู ลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล (INS) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม INSyymm.dbf / INSyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 INSCL สิทธิการรักษาที่ใช้ UCS = สิทธิ UC OFC = ข้าราชการ SSS = ประกันสังคม LGO = อปท NHS = สิทธิเจ้าหน้าที่ สปสช. Text (3 BYTE) Y UCS ต้องมีค่า เป็นฟิลด์หลักที่ใช้ในการนำเข้า ข้อมูลตามสิทธิ 3 SUBTYPE ระดับสิทธิของหลักประกัน Text (2 BYTE) 89 4 CID หมายเลขบัตรเพื่อตรวจสอบ Text (16 BYTE) 39201XXXXXXXX รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 5 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text (5 BYTE) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 6 DATEEXP วันเดือนปีที่หมดสิทธิ ปีมีค่าเป็น ค.ศ. Date 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 7 HOSPMAIN รหัสหน่วยบริการประจำ Text (5 BYTE) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข
-
3 - No Name Description Data Type Required Example Remark 8 HOSPSUB รหัสหน่วยบริการปฐมภูมิ Text (5 BYTE) 09756 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการเขต กทม. ต้องมีค่า 9 GOVCODE รหัสหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text (6 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 10 GOVNAME ชื่อหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text (255 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 11 PERMITNO รหัส Claim Code / เลขอนุมัติ / เลข Approve code Text (30 BYTE) Y PP1007991295 022692915 UCS = เลข Authen OFC = เลข approve/ เลขอนุมัติ 12 DOCNO เลขที่หนังสือ กรณีใช้หนังสือรับรองสิทธิ Text (30 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 13 OWNRPID เลขประจำตัวประชาชนของผู้มีสิทธิข้าราชการ / อปท Text (13 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 14 OWNNAME ชื่อ นามสกุลของผู้มีสิทธิข้าราชการ / อปท Text (255 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 15 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ
-
4 - No Name Description Data Type Required Example Remark 16 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text (15 BYTE) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 17 SUBINSCL ประเภทสิทธิของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางประเภทสิทธิ) Text (2 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 18 RELINSCL ความสัมพันธ์ของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางความสัมพันธ์) Text (1 BYTE) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 19 HTYPE ประเภทสถานพยาบาลที่รักษา 1= Main Contractor 2= Sub Contractor 3= Supra Contractor 4= Excellent 5= Super tertiary Text (1 BYTE) 1 SSS
-
5 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง (PAT) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม PATyymm.dbf / PATyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text (5 BYTE) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 2 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 3 CHANGWAT ตามรหัสมหาดไทย Text (2 BYTE) 92 มอก. 1099 - 2535 4 AMPHUR ตามรหัสมหาดไทย Text (2 BYTE) 08 มอก. 1099 - 2535 5 DOB บันทึกวันเดือนปีเกิด ปี มีค่าเป็น ค.ศ. Date Y 19850917 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 SEX รหัสเพศ 1 = เพศชาย 2 = เพศหญิง Text (1 BYTE) Y 2 7 MARRIAGE รหัสสถานภาพสมรส 1 = โสด 2 = สมรส 3 = หม้าย 4 = หย่า 5 = แยกกันอยู่ 6 = สมณะ 9 = ไม่ทราบ Text (1 BYTE) 2
-
6 - No Name Description Data Type Required Example Remark 8 OCCUPA อาชีพ Text (3 BYTE) 900 9 NATION สัญชาติ Text (3 BYTE) Y 099 10 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text (13 BYTE) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 11 NAMEPAT ชื่อ – สกุล ผู้ป่วย โดยใช้รูปแบบ : ชื่อ (เว้นวรรค) นามสกุล , คำนำหน้าชื่อ Text (36 BYTE) Y ชื่อตัวอย่าง นามสกุล ตัวอย่าง,นาง 12 TITLE คำนำหน้า Text (30 BYTE) Y นาง 13 FNAME ชื่อ Text (40 BYTE) Y ชื่อตัวอย่าง 14 LNAME นามสกุล Text (40 BYTE) Y นามสกุลตัวอย่าง 15 IDTYPE ประเภทบัตร 1 = บัตรประชาชน 2 = หนังสือเดินทาง 3 = หนังสือต่างด้าว 4 = หนังสือ / เอกสารอื่นๆ 5 = บัตร ปกส. ต่างด้าว Text (1 BYTE) Y 1
-
7 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 7 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยใน (IPD) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม IPDyymm.dbf / IPDyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEADM วันรับเข้าในโรงพยาบาล บันทึก ปี ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TIMEADM เวลารับเขำ บันทึกเป็นชั่วโมง นาที ตามนาฬิกา ในระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) Y 1030 5 DATEDSC วันจำหน่าย บันทึกปีในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210821 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 TIMEDSC เวลาจาหน่าย บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกาในระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) Y 1000 7 DISCHS สถานภาพ การจำหน่ายผู้ป่วย ( File:DisChS) Text (1 BYTE) Y 2 8 DISCHT วิธีการจำหน่ายผู้ป่วย ( File:DisChT) Text (1 BYTE) Y 1 9 WARDDSC ตึกที่จำหน่ายผู้ป่วยใช้รหัสที่โรงพยาบาลตั้งขึ้น ( File:Clinic) Text (4 BYTE) 10 DEPT แผนกที่รักษาผู้ป่วยเป็นหลัก Text (2 BYTE) 11 ADM_W น้ำหนักแรกรับ (บันทึกข้อมูลเป็นกิโลกรัม เช่น 2.4) Number (5,2 BYTE) Y 65.00
-
8 - No Name Description Data Type Required Example Remark 12 UUC การใช้สิทธิ 1 = ใช้สิทธิ 2 = ไม่ใช้สิทธิ ไม่ขอเบิก Text (1 BYTE) Y 1 13 SVCTYPE ประเภทบริการ/รักษา I = IPD A = Ambulatory Care Text (1 BYTE) Y A ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 8 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ (IRF) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม IRFyymm.dbf / IRFyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 REFER รหัสสถานพยาบาลหรือคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งต่อ Text (5 BYTE) Y/N 10683 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 3 REFERTYPE ประเภทการส่งต่อ ( 1 = รับเข้า , 2 = ส่งออก) Text (1 BYTE) Y/N 2
-
9 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 9 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน (IDX) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม IDXyymm.dbf / IDXyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 DIAG วินิจฉัยโรค ตามรหัส ICD 10 Text (7 BYTE) Y E119 3 DXTYPE ชนิดของโรค ระบุ 1 = Primary Diagnosis 2 = โรคร่วม ( Co morbidity) 3 = โรคแทรกซ้อน (Complication) 4 = อื่นๆ ( Others) 5 = สาเหตุภายนอก ( External Cause) Text (1 BYTE) Y 1 4 DRDX แพทย์ผู้วินิจฉัย ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวช กรรม Text (6 BYTE) ว. XXXXX เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ แพทย์
-
10 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 10 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลหัตถการผู้ป่วยใน (IOP) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม IOPyymm.dbf / IOPyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 OPER รหัสหัตถการตาม ICD 9 CM Text (7 BYTE) Y HOMEWARD 3 OPTYPE ชนิดของหัตถการ ระบุ 1 = Principal procedure 2 = secondary procedure 3 = Others Text (1 BYTE) 4 DROPID แพทย์ที่ทำหัตถการ ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวชกรรม (สามารถใช้ชื่อ DROP หรือ DROPID ได้) Text (6 BYTE) ว. XXXXX เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ แพทย์ 5 DATEIN วันเดือนปีที่เริ่มทำหัตถการ บันทึกปีในค่า ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 TIMEIN เวลาเริ่ม บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกาใน ระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) Y 1030 7 DATEOUT วันเดือนปีที่ทาหัตถการสิ้นสุด บันทึกปีในค่าค.ศ. Date 20210821 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 8 TIMEOUT เวลาสิ้นสุด บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกา ในระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) 1000
-
11 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) (CHA) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม CHAyymm.dbf / CHAyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATE วันที่คิดค่ารักษา วันที่จำหน่าย หรือวันที่ผู้ป่วย เปลี่ยนสิทธิการรักษา บันทึกปีในค่า ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 CHRGITEM ชนิดของบริการที่คิดค่ารักษา ตามรหัสที่ กำหนด Text (2 BYTE) Y C 1 ใช้รหัสแบบละเอียด ตามภาคผนวก 5 AMOUNT จำนวนเงิน คำรักษาของบริการรายการนั้น เป็น บาท Number (12,2 BYTE) Y 110.00 6 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text (13 BYTE) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 7 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text (15 BYTE) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD
-
12 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 13 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และรับส่งเพื่อรักษา (AER) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม AERyymm.dbf / AERyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 AUTHAE Claim code ( ที่ได จากการแจ ง ที่ web สปสช.) Text (12 BYTE) 5 AEDATE วันที่เกิดอุบัติเหตุ Date 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 AETIME เวลาที่เกิดอุบัติเหตุ Text (4 BYTE) 1000 7 AETYPE สิทธิการรักษาอื่น กรณีอุบัติเหตุ V = ใช้ พรบ. ผู้ประสบภัยจากรถ O = ใช้ พรบ. กองทุนเงินทดแทน B = ใช้ทั้ง พรบ. ผู้ประสบภัย และ พรบ. กองทุน เงินทดแทน Text (1 BYTE) V 8 REFER_NO เลขที่ใบส่งต่อ (เพิ่มเติม) Text (20 BYTE) Y/N สพ 0032.101.7/ 1. OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 2. หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี 9 REFMAINI รหัสโรงพยาบาลที่ส่งผู้ป่วยมารับการรักษา ( Refer In) Text (5 BYTE) Y/N 11267 1. OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 2. หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี
-
13 - No Name Description Data Type Required Example Remark 10 IREFTYPE รหัสวัตถุประสงค์ ของการรับ Refer ตำแหน่งที่ 1 = วินิจฉัย ตำแหน่งที่ 2 = รักษา ตำแหน่งที่ 3 = รับไว รักษาต่อเนื่อง ตำแหน่งที่ 4 = ตามความต้องการของผู้ป่วย 1 = มี 0 = ไม มี Text (4 BYTE) Y/N 1100 เช่น 1100 = วินิจฉัย + รักษา 11 REFMAINO รหัสโรงพยาบาลที่ส่งต่อไป ( Refer Out) Text (5 BYTE) Y/N 11267 12 OREFTYPE รหัสวัตถุประสงค์ ของการ Refer ออก ตำแหน่งที่ 1 = วินิจฉัย ตำแหน่งที่ 2 = รักษา ตำแหน่งที่ 3 = รับไว รักษาต่อเนื่อง ตำแหน่งที่ 4 = ตามความต้องการของผู้ป่วย 1 = มี 0 = ไม มี Text (4 BYTE) Y/N 1100 เช่น 1100 = วินิจฉัย + รักษา 13 UCAE รหัส บ งบอกการรักษากรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน A = อุบัติเหตุ( Accident / Accident + Emergency) E = ฉุกเฉิน ( Emergency ) ว่าง = ไม เป็น A / E I = OP Refer ในจังหวัด O = OP Refer ข้ามจังหวัด C = ย้ายหน่วยบริการเกิดสิทธิทันที Z = บริการเชิงรุก Text (1 BYTE) Y/N A 1. OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 - OPTYPE = 0,1 >>UCAE = null - OPTYPE = 2,3 >>UCAE = A / E 2. หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี
-
14 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 EMTYPE รหัสข้อบ่งชี้ของกรณีฉุกเฉินตามเงื่อนไข 1 = ต องการรักษาเป็นการด วน 2 = ต องผ่าตัดด่วน 3 = โรคที่คณะกรรมการกาหนด Text (1 BYTE) 1 15 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text (15 BYTE) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 16 AESTATUS สถานะของการแจ้งกลับกรณี A/E Text (1 BYTE) ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล 17 DALERT วันที่แจ้ง Date ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล 18 TALERT เวลาที่แจ้ง Text (4 BYTE) ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล
-
15 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 14 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด (ADP) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม ADPyymm.dbf / ADPyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TYPE 1 = HC (OPD) 2 = Instrument ( หมวด 2 ) 3 = ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัดหมวด 4 = ค่าส่งเสริมป้องกัน / บริการเฉพาะ 5 = Project code 6 = การรักษามะเร็งตามโปรโตคอล 7 = การรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสีวิทยา 8 = OP REFER และ รายการ Fee Schedule ( สามารถใช้ชื่อ TYPE หรือ TYPEADP ได้) 9 = ตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีพิเศษอื่นๆ ( หมวด 9 ) 10 = ค่าห้อง / ค่าอาหาร ( หมวด 1 ) 11 = เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ( หมวด 5 ) 12 = ค่าบริการทันตกรรม ( หมวด 13 ) 13 = ค่าบริการฝังเข็ม ( หมวด 15 ) Text (2 BYTE) Y 16 รายละเอียดตามภาคผนวก
-
16 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 = บริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต ( หมวด 6 ) 15 = ตรวจวินิจฉัยทางเทคนิคการแพทย์และ พยาธิวิทยา ( หมวด 7 ) 16 = ค่าตรวจวินิจฉัยและรักษาทางรังสีวิทยา ( หมวด 8 ) 17= ค่าบริการทางการพยาบาล ( หมวด 12 ) 18 = อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ ( หมวด 10 ) 19 = ทำหัตถการและวิสัญญี ( หมวด 11 ) 20 = ค่าบริการทางกายภาพบำบัดและเวช ก รรมฟื้นฟู ( หมวด 14 ) 5 CODE รหัสตามที่ สปสช. กำหนด สามารถใส รหัสตาม เงื่อนไข Text (30 BYTE) Y 41003 6 QTY หน่วยนับ เป็นจานวนครั้งหรือจำนวนเม็ด ของ อุปกรณ์บำบัดรักษา และจำนวนยาที่ใช้ Number (4 BYTE) Y 3 7 RATE ราคาต่อหน่วย Number (12,2 BYTE) Y 250.00 8 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text (15 BYTE) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD
-
17 - No Name Description Data Type Required Example Remark 9 CAGCODE กรณี Type = 7 Bd = Bladder Br = Breast Ch = Cholangiocarcinoma Cr = Colon & Rectum Cx = Cervix Es = Esophagus Ln = Lung (Non small cell) Lu = Lung (Small cell) Na = Nasopharynx Ov = Ovary Ps = Prostate Gca = มะเร็งทั่วไป Text (10 BYTE) Bd Type = 7 UCS/SSS 10 DOSE ขนาด 10 (เว้นวรรค) mg 20 (เว้นวรรค) mg Text (10 BYTE) 10 mg SSS 11 CA_TYPE ประเภทการรักษามะเร็ง V = Visit Text (1 BYTE) V SSS 12 SERIALNO หมายเลข Serial Number ของอวัยวะเทียม/ อุปกรณ์บำบัดรักษา (Instrument) Text (24 BYTE) UCS 13 TOTCOPAY จำนวนเงินรวม หน่วยเป็นบาท ในส่วนที่เบิก ไม่ได้ Number (12,2 BYTE) 0.00 14 USE_STATUS 1 = ใช้ในโรงพยาบาล 2 = ใช้ที่บ้าน Text (1 BYTE) 1 OFC/LGO กรณีที่ Type = 11 ( เวชภัณฑ์ที่ ไม่ใช่ยา) จะต้องกาหนดค่าดังกล่าวนี้
-
18 - No Name Description Data Type Required Example Remark 15 TOTAL จำนวนเงินรวมที่ขอเบิกของรายการนั้น Number (12,2 BYTE) 2800.00 16 QTYDAY จำนวนวันที่ขอเบิก สำหรับสิทธิ UC ใช้ในกรณี ที่ Type = 3 (ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัด หมวด) และมีการเบิกรายการ Morphine หรือ Oxygen Number (3 BYTE) UCS 17 TMLTCODE รหัสการตรวจ ตามบัญชีรายการ TMLT ที่ ประกาศโดย สมสท. Text (15 BYTE) 350501 OFC 18 STATUS1 ผลการตรวจ LAB COVID 1 = Positive 2 = Negative Text (1 BYTE) 1 19 BI ค่า Barthel ADL Index Number (3 BYTE) 999 ใส่ตัวเลขจำนวน 3 หลัก 20 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text (5 BYTE) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 21 ITEMSRC ประเภทรหัส : 1 = รหัสหน่วยบริการ 2 = รหัสกรมบัญชีกลาง/รหัสที่สปสช.กำหนด Number (1 BYTE) 2 OPBKK กรณีที่ไม่มีฟิลด์นี้ ระบบจะค้นรหัสจาก Lookup โดยให้ความสาคัญกับรหัสกรมบัญชีกลาง/ รหัสที่สปสช.กำหนด ก่อน 22 PROVIDER ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้อง ตามเลขที่ใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรม *PROVIDER รหัสผู้ให้บริการ กรณีที่ไม่มีข้อมูลให้ละเป็นค่าว่างได้ Text (15 BYTE) OPBKK 23 GRAVIDA ครรภ์ที่ VARCHAR (2 BYTE) 2 บันทึกการตั้งครรภ์ครั้งที่ กำหนดเป็นตัวเลข ไม่เกิน 2 หลัก
-
19 - No Name Description Data Type Required Example Remark 24 GA_WEEK อายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้งแรก (สัปดาห์) VARCHAR (2 BYTE) 44 บันทึกอายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้ง แรก เป็นรายสัปดาห์ กำหนดเป็นตัวเลขไม่ เกิน 2 หลัก ตั้งแต่ 1 ถึง 44 สัปดาห์ 25 DCIP/E_screen รหัสค่าการคัดกรอง DCIP/E screen VARCHAR (2 BYTE) 28 บันทึกรหัสค่าการคัดกรอง DCIP/E screen โดยกำหนดเป็นตัวเลขไม่เกิน 2 หลัก ดังนี้ 28 = positive 29 = negative 30 = not done 26 LMP วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย Date 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ.
-
20 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 15 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลกรณีที่ผู้ป่วยมีการลากลับบ้าน ( Leave day) (LVD) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม LVDyymm.dbf / LVDyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 SEQLVD ลำดับของการลากลับบ้าน Text (3 BYTE) Y 1 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOUT วันเดือนปีที่ลากลับบ้านบันทึก ปี ในค่า ค.ศ. Date Y 20211002 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TIMEOUT เวลาสิ้นสุด บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตาม นาฬิกาในระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) Y 1000 5 DATEIN วันเดือนปีที่เข้ารับบริการบันทึก ปี ในค่า ค.ศ. Date Y 20211005 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 TIMEIN เวลาเริ่ม บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกา ในระบบคอมพิวเตอร์ Text (4 BYTE) Y 0600 7 QTYDAY หน่วย เป็นจำนวนวัน ในการลากลับบ้านของ ผู้ป่วย Text (3 BYTE) Y 3
-
21 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 16 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการใช้ยา (DRU) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม DRUyymm.dbf DRUyymm.txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text (5 BYTE) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 2 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text (15 BYTE) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 3 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text (15 BYTE) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 4 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text (5 BYTE) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 5 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text (13 BYTE) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 6 DATE_SERV วันที่ที่รับบริการ บันทึก ปีในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD) โดยปีเป็น ค.ศ. 7 DID รหัสยาที่หน่วยบริการใช้ ( WorkingCode) Text (30 BYTE) Y 1460048 Working Code Hospital Drug Code 8 DIDNAME ชื่อยาที่ใช้อยู่ปัจจุบันสัมพันธ์กับ DID Text (255 BYTE) Y siMETHICONE (C) 80 mg 9 AMOUNT จำนวนยาที่จ่าย Text (12 BYTE) Y 10 10 DRUGPRICE ราคาขายต่อหน่วย Text (14 BYTE) Y 1 11 DRUGCOST ราคาทุน Text (14 BYTE) 1 12 DIDSTD รหัสยาที่กำหนดเป็น 24 หลัก หากไม่ทราบรหัส ผู้ผลิตให้ใส่ 0 ต่อท้าย 5 หลัก ให้ครบ 24 หลัก Text (24 BYTE) 101254000053991120 381775 ใช้กรณีแพทย์แผนไทย
-
22 - No Name Description Data Type Required Example Remark 13 UNIT หน่วยนับของยาที่ใช้ในการจ่ายยา เช่น เม็ด ขวด Text (20 BYTE) Y เม็ด 14 UNIT_PACK ขนาดบรรจุต่อหน่วยนับที่แสดงใน Field UNIT ใช้สาหรับยาที่มีการแบ่งบรรจุเพื่อการจ่ายยาที่ เหมาะสม เช่น ยาน้ำ หรือ ยากลุ่มที่มีทะเบียน ยา เดียวกันแต่มีขนาดบรรจุต่างกันของบางบริษัท Text (20 BYTE) 1x เม็ด กรณีที่ไม่มีข้อมูล ให้เป็นค่าว่างได้ 15 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text (15 BYTE) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 16 DRUGREMARK กรณีที่รายการยาเป็นยานอกบัญชียาหลัก จะต้องระบุ รหัสเหตุผลการใช้ยา EA : เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาหรือแพ้ยา ที่สามารถใช้ได้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ EB : ผลการรักษาไม่บรรลุเป้าหมายแม้ว่าได้ใช้ ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติครบตามมาตรฐาน การรักษาแล้ว EC : ไม่มีกลุ่มยาในบัญชียาหลักแห่งชาติให้ใช้ แต่ผู้ป่วยมีความจำเป็นในการใช้ยานี้ ตามข้อ บ่งชี้ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ED : ผู้ป่วยมีภาวะหรือโรคที่ห้ามใช้ยาในบัญชี อย่างสมบูรณ์ หรือมีข้อห้ามการใช้ยาในบัญชี ร่วมกับยาอื่น ที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้อย่างหลัก เลี่ยงไม่ได้ Text (2 BYTE) EC กรณีที่ไม่มีข้อมูล ให้เป็นค่าว่างได้
-
23 - No Name Description Data Type Required Example Remark EE : ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติมีราคาแพงกว่า (ในเชิงความคุ้มค่า) EF : ผู้ป่วยแสดงความจำนงต้องการ (เบิกไม่ได้) PA : ยากลุ่ มที่ต้องขออนุมัติก่อนการใช้ ( PA) เช่น ยามะเร็ง 6 ชนิด ยารักษากลุ่มโรครูมาติก และโรคสะเก็ดเงิน 2 ชนิด 17 PA_NO เลขที่ได้รับการอนุมัติ จากระบบขออนุมัติใช้ยา ควบคุมเฉพาะ Text (9 BYTE) zLi8bWk67 กรณีที่ไม่มีข้อมูล ให้เป็นค่าว่างได้ 18 TOTCOPAY จำนวนเงินรวม หน่วยเป็นบาทในส่วนที่เบิก ไม่ได้ Number (12,2 BYTE) 0.00 19 USE_STATUS หมวดรายการยา 1 = ใช้ในโรงพยาบาล 2 = ใช้ที่บ้าน 3 = ยาเกิน 2 สัปดาห์ (กลับบ้าน) 4 = ยาโรคเรื้อรัง (กลับบ้าน) Text (1 BYTE) Y 1 20 TOTAL จำนวนเงินรวมที่ขอเบิกของรายการนั้น Number (12,2 BYTE) 10.00 21 SIGCODE รหัสวิธีใช้ยา (ถ้ามี) Text (50 BYTE) 22 SIGTEXT วิธีใช้ยา (ถ้ามี) Text (255 BYTE) 23 PROVIDER เภสัชกรที่จ่ายยา ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวชกรรม Text (15 BYTE) OPBKK กรณีที่ไม่มีข้อมูล ให้เป็นค่าว่างได้