Sun Nov 13 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม พ.ศ. 2565


ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม พ.ศ. 2565

ประกาศ สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 และข้อ 34.1.4 แห่งประกาศคณะกรรมการหลักป ระกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2564 สานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม พ.ศ. 2565 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคั บตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สำนักงาน ” หมายความว่า สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ หน่วยบริกา ร ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำ นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รักษาการตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 5 ให้การบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม เป็นรายการการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตามประกาศนี้ ้ หนา 41 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565

ข้อ 6 การจ่ายค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 6.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่มีคุณสมบัติตามข้อบ่งชี้ และไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ 6.2 เป็นหน่วยบริการรับส่งต่อที่มีศักยภาพการให้บริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม ตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ 6.3 การให้บริการกรณีผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 55 ปี ที่วินิจฉัยเป็นข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิหรือข้อเข่าเสื่อมไม่ทราบสาเหตุ ให้ดาเนินการขออนุมัติก่อนการผ่าตัด ตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 สำนักงานจะจ่ายค่าใช้จ่ายตำมรายการบริการและอัตราการจ่าย ดังนี้ 7.1 กรณีผ่าตัดที่มีการรักษาเป็นผู้ป่วยใน สานักงานจะจ่ายตามระบบกลุ่มวินิจฉัย โรคร่วม ( DRGs ) คานวณอัตราจ่ายตามค่าน้าหนักสัมพัทธ์ที่ปรับด้วยวันนอน ( adjRW ) ตามรายการ เงื่อนไขและอัตราการจ่าย ดังต่อไปนี้ 7.1.1 บริการในเขต อัตราที่ได้รับต่อหนึ่งหน่วยสัมพัทธ์ขึ้นอยู่กับวงเงิน ระดับเขตของแต่ละเขตและผลงานการส่งข้อมูลผู้ป่วยในแต่ละเดือน ภายใต้ระบบ DRGs with Global Budget สำหรับหน่วยบริการของรัฐมีการปรับลดค่าแรง 7.1.2 บริการนอกเขต หน่วยบริการทุกสังกัดที่ให้บ ริการจะได้รับค่าใช้จ่าย ด้วยอัตรา 9 , 600 บาทต่อหนึ่งหน่วยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับด้วยวันนอน ( adjRW ) โดยไม่ปรับลดค่าแรง 7.2 ค่าใช้จ่ายกรณีอุปกรณ์และอวัยวะเทียม จ่ายเพิ่มเติมกรณีอุปกรณ์และอวัยวะเทียม ให้หน่วยบริการตามระบบ Point system with ceiling ตามค่าใช้จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กาหนดตาม ประกาศสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยรายการอุปกรณ์ อวัยวะเทียมและข้อบ่งชี้ ในการบำบัดรักษาโรค โดยหน่วยบริการไม่สามารถเรียกเก็บส่วนต่างจากเงินเรียกเก็บและเงินค่าอุปกรณ์ จากผู้รับบริการได้ หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 8 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูล ตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ตามเอกสารหมายเลข 4 แนบท้ายประกาศนี้ ผ่านระบบโปรแกรมอีเคลม ( e - Claim ) มายังสำนักงาน หรือเชื่อมต่ อข้อมูลจากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสำนักงาน หรือผ่านระบบ โปรแกรมอื่นตามที่สำนักงานกำหนด ้ หนา 42 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565

หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 9 สำนักงานจะดาเนินการประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ เป็นรายเดือน โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 9.1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (ข้อมูล A : accept ) สานักงานจะจ่าย ค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 9.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านจากการตรวจสอบเบื้องต้น (ข้อมูล C : cancel ) หน่วยบริการ สามารถแก้ไขและส่งเข้าในระบบของสำนักงานอีกครั้ง 9.3 ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล Deny ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวน เพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามที่สำนักงานกำหนด ข้อ 10 สำนักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ โดยตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ดังนี้ 10.1 เวชระเบียนผู้ป่วยในที่มีบันทึกการบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม และแบบบันทึก สรุปการจำหน่ายผู้ป่วย ใช้แบบมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข หรือตามที่หน่วยบริการกำหนด 10.2 เวชระเบียนผู้ป่วยใน เอกสารหลักฐานที่มีบันทึกเวชระ เบียนการวินิจฉัย ของแพทย์ หลักฐานสนับสนุนการวินิจฉัยและผลการตรวจภาพรังสีข้อเข่า ที่เป็นไปตามข้อบ่งชี้ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ 10.3 เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการตรวจสอบการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในระบบ DRGs ตามแนวทางการตร วจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายร่วม 3 กองทุน 10.4 ผลการตรวจภาพรังสีข้อเข่าก่อนและหลังการผ่าตัด 10.5 บันทึกการผ่าตัด ที่มีการผ่าตัดรักษาข้อเข่า และมีการบันทึกการใช้อุปกรณ์ อวัยวะเทียม ตามรายการที่ขอเบิกค่าใช้จ่าย 10.6 หลักฐานข้อมูล serial number หรือ barcode ของอุปกรณ์ รวมทั้งสติกเกอร์ ของอุปกรณ์และอวัยวะเทียม ข้อ 11 สำนักงานกำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการ ทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 11.1 พบเวชระเบียนผู้ป่วยในที่มีบันทึกการบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม และแบบบันทึก สรุปการจำหน่ายผู้ป่วยใช้แบบมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขหรือตามที่หน่วยบริการกำหนด 11.2 พบเวชระเบียนผู้ป่วยใน เอกสารหลักฐานที่มีบันทึกเวชระเบียนการวินิจฉัย ของแพทย์ หลักฐานสนับสนุนการ วินิจฉัยและผลการตรวจภาพรังสีข้อเข่าที่เป็นไปตามข้อบ่งชี้ และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ ้ หนา 43 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565

11.3 พบการได้รับอนุมัติก่อนการผ่าตัด ( Pre - Authorized ) ในกรณีที่ผู้ป่วย อายุน้อยกว่า 55 ปี ที่วินิจฉัยเป็นข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิหรือข้ อเข่าเสื่อมไม่ทราบสาเหตุ ( Primary or Unspecified Knee OA ) 11.4 เกณฑ์ในการตรวจสอบการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในระบบ DRGs ตรวจสอบ ตามเกณฑ์ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานตามแนวทางการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายร่วม 3 กองทุน 11.5 ตรวจสอบรหัสโรคและหัตถการตามแนวทางมาตรฐานในการให้รหัสโรค และหัตถการ 11.6 ผลการตรวจภาพรังสีข้อเข่าก่อนและหลังการผ่าตัด 11.7 พบบันทึกการผ่าตัดที่มีการผ่าตัดรักษาข้อเข่าและมีการบันทึกการใช้อุปกรณ์ อวัยวะเทียม ตามรายการที่ขอเบิกค่าใช้จ่าย 11.8 พบหลักฐานข้อ มูล serial number หรือ barcode ของอุปกรณ์รวมทั้ง สติกเกอร์ของอุปกรณ์และอวัยวะเทียม 11.9 พบอุปกรณ์ตามรายการที่หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย มีข้อบ่งชี้และ ลักษณะอุปกรณ์ตรงตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยรายการอุปกรณ์ อวัยวะเทีย ม และข้อบ่งชี้ในการบำบัดรักษาโรค 11.10 พบข้อเข่าเทียมในภาพรังสีข้อเข่าหลังการผ่าตัด บทเฉพาะกาล ข้อ 12 ให้การดาเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณสุข กรณีบริการผ่าตัดข้อเข่าเทียม ตามประกาศนี้หรือ ตามแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565 ที่ได้ดาเนินการ มาก่อนประกาศนี้ใช้บังคับให้ถือว่าเป็นการดาเนินการตามประกาศนี้ด้วย ประกาศ ณ วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 256 5 จเด็ จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 44 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 268 ง ราชกิจจานุเบกษา 14 พฤศจิกายน 2565

เอกสาร หมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี บริการผ่าตัดข้อเข่า เทียม พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 2 สิงหำคม พ .ศ. 2565 ผู้มีสิทธิรับบริการผ่าตัดรักษาข้อเข่า เ ทียม มีข้อบ่งชี้ และไม่มีลักษณะ ต้อง ห้าม ดังนี้ 1 . การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ( Total Knee Arthroplasty, TKA ) ต้องมีข้อบ่งชี้ และไม่มี ลักษณะ ต้อง ห้าม ดังนี้ 1.1 ผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 55 ปี ขึ้นไป มีข้อบ่งชี้ดังนี้ ( 1 ) การเสื่อมของข้อเข่าอย่างน้อย 2 compartment ( at least bicompartmental knee osteoarthritis ) ( 2 ) ภาพรังสีด้านหน้า - หลัง ที่ถ่ายในท่ายืนลงน้า หนัก แสดงช่องว่างของข้อเข่าอย่างน้อย ด้านหนึ่งแคบลงมากกว่า 50% ( Narrowing joint space more than 50% of at least one compartment of the knee from standing weight bearing antero - posterior view of knee radiograph ) หรือภาพรังสี แสดงข้อเข่าเสื่อมระยะ 3 หรือ 4 ( Kellgren – Lawrence stage III or IV ) ( 3 ) ผู้ป่วยได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีไม่ใช้ยาและวิธีใช้ยา และ/หรือ ฉีดยา สเตียรอยด์ เข้าข้อแล้วไม่ได้ผลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ( failure of conservative treatment ) 1.2 ผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 55 ปี มีข้อบ่งชี้ดังนี้ ( 1 ) การเสื่อมของข้อเข่าอย่างน้อย 2 compartment ( at least bicompartmental knee osteoarthritis ) ( 2 ) ภาพรังสีด้านหน้า – หลัง ที่ถ่ายในท่ายืนลงน้าหนักแสดงช่องว่างของข้อเข่าอย่างน้อย ด้านหนึ่งหายไป ( obliterated joint space of at least one compartment of the knee from standing weight bearing antero - posterior view of knee radiograph ) กรณี มีความคลุมเครือ อาจมีการวินิจฉัยเพิ่มเติมด้วย MRI เพื่อยืนยันว่ามีการสึกของกระดูก อ่อนทั้งหมดของบริเวณผิวข้อส่วนนั้น ( Full thickness cartilage loss ) ( 3 ) ผู้ป่วยได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีไม่ใช้ยาและวิธีใช้ยา และ/หรือ ฉีดยาสเตียรอยด์ เข้าข้อแล้วไ ม่ได้ผลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ( failure of conservative treatment ) ( 4 ) มีข้อบ่งชี้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( ก ) 2 nd Knee OA สาเหตุจากการติดเชื้อ ( ข ) 2 nd Knee OA สาเหตุจากอุบัติเหตุ ( ค ) 2 nd Knee OA สาเหตุจากโรคไขข้ออักเสบ ( inflammatory joint disease ) ( ง ) 2 nd Knee OA สาเหตุจากกระดูกตาย ( osteonecrosis ) ( จ ) ข้อเข่าผิดรูปมาก โดยมีมุมข้อเข่า ( Tibiofemoral angle ) ในระนาบซ้าย - ขวา ( Frontal plane ) ผิดจากปกติมากกว่า 20 องศา 1.3 การผ่าตัด …

  • 2 - 1.3 การผ่าตัดเปลี่ยน ข้อเข่าเทียมทั้งข้อในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ต้องไม่มีลักษณะ ต้อง ห้าม ( contraindication ) อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) มีการติดเชื้อที่ข้อเข่าที่ยังไม่ได้รับการรักษาให้หายขาด ( recent or current knee infection ) ( 2 ) มีการติดเชื้อที่ตาแหน่งอื่นๆ ของร่างกายที่อาจก่อให้เกิดการแพร่กระจายมาติดข้อเข่า ( remote source of ongoing infection ) ( 3 ) ระบบโครงสร้างที่ใช้ในการเหยียดข้อเข่าซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อ quadriceps กระดูกสะบ้า และ patellar tendon ขาดความต่อเนื่อง หรือระบบโครงสร้างเหล่านี้ไม่สามารถทำงานได้อย่าง ปกติ ( extensor mechanism discontinuity or seve re dysfunction ) ( 4 ) มีความผิดรูปของข้อเข่าในลักษณะแอ่นซึ่งเป็นผลมาจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง ( recurvatum deformity secondary to neuromuscular weakness ) 2 . การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วนด้านใน ( Medial Unicompartmental Knee Arthroplasty, UKA ) 2.1 การผ่ำตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วนด้านใน ต้องมีข้อบ่งชี้ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ผิวข้อเข่าเสื่อมเฉพาะด้านในเท่านั้น ( 2 ) เอ็นข้อเ ข่าทั้งหมดทำงานเป็นปกติ ( 3 ) พิสัย การเหยียดและการงอข้อเข่าดี 2.2 การผ่าตั ดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วนด้านใน ต้องไม่มีลักษณะ ต้อง ห้าม ( contraindication ) อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ( 1 ) น้ำหนักมากกว่า 95 กิโลกรัม ( 2 ) มีอาการปวดบริเวณลูกสะบ้า ( patellofemoral pain ) ( 3 ) มีการเสื่อมของข้อเข่าด้านตรงข้าม ( contralateral tibiofemoral joint involvement ) ( 4 ) ข้อเข่าเสื่อมที่มีสาเหตุมาจากโรคไขข้ออักเสบ เช่น โรครูมาตอยด์ โรคเก๊าท์ ( Inflammatory arthritis ) ( 5 ) มีภาวะข้อเข่าไม่มั่นคงจากเส้นเอ็นไขว้หน้าฉีกขาดหรือหย่อน ( symptomatic ACL insufficiency ) ( 6 ) มีภาวะข้อเข่าไม่มั่นคงจากเอ็นประกอบเข่าด้านข้างฉีกขาดหรือหย่อน ( collateral ligament insufficiency ) ( 7 ) มุมข้อเข่าผิดรูป ในแนว varus มากกว่า 10 องศา ( varus deformity > 10 degrees ) ( 8 ) ข้อเข่าเหยียดไม่สุด มีการติดหรือยึดมากกว่า 10 องศา ( flexion contractur e > 10 degrees ) 3 . การผ่าตัด …

  • 3 - 3 . การผ่าตัดจัดแนวกระดูกหน้าแข้งด้านบน ( high tibial osteotomy ) 3.1 การผ่าตัดจัดแนวกระดูกหน้าแข้งด้านบน ต้องมีข้อบ่งชี้ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ผิวข้อเข่าเสื่อมเพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น ( 2 ) เอ็นยึดข้อเข่าและหมอนรองข้อเข่าทำงานเป็นปกติ ( 3 ) พิสัยการขยับของข้อเข่ามากกว่าหรือเท่ากับ 90 องศา ( 4 ) ไม่มี การยึดติดของข้อเข่า ทั้งการเหยียดและการงอ 3.2 การผ่าตัดจัดแนวกระดูกหน้าแข้งด้านบน ต้องไม่มีลักษณะ ต้อง ห้าม ( contraindication ) อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ข้อ เข่าที่มีการเสื่อมของผิวข้อเข่าทุกส่วน ( diffuse arthritis ) ( 2 ) ข้อเข่าเสื่อมที่มีการเคลื่อนของแนวกระดูกหน้าแข้งออกจากกระดูกต้นขาเป็นระยะทาง ที่มาก ( marked tibiofemoral subluxation ) ( 3 ) ข้อเข่าเสื่อมที่มีสาเหตุมาจากโรคไขข้ออักเสบ เช่น โรครูมาตอยด์ โรคเก๊าท์ ( Inflammatory arthritis ) ( 4 ) ผู้ป่วย เคยได้รับการตัดหมอนรองกระดูกข้อเข่า ( Post meniscectomy )

เอกสาร หมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ สาธารณสุข กรณี บริการผ่าตัดข้อเข่า เทียม พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 2 สิงหำคม พ.ศ. 2565 หน่วยบริการเป็นหน่วยบริการรับส่งต่อทั่วไปในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่มีศักยภาพ การบริการผ่าตัดรักษาข้อเข่าเทียม ดังนี้ 1 . มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสือวุฒิบัตร หรือ หนังสืออนุมัติจากแพทยสภาสาขาศัลยศาสตร์ ออร์โธปิดิกส์ ซึ่งปฏิบัติงานประจา ( Full time ) ตั้งแต่การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด การดูแลหลังผ่าตัด และการติดตามการรักษาหลังผ่าตัด 2 . มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนั งสือวุฒิบัตร หรือ หนังสืออนุมัติจากแพทยสภาสาขาวิสัญญี วิทยา ซึ่งปฏิบัติงานประจำ ( Full time ) หรือปฏิบัติงานบางเวลา ( Part time ) 3 . มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสือวุฒิบัตร หรือ หนังสืออนุมัติจากแพทยสภาสาขา อายุรแพทย์ ทั่วไป ซึ่งปฏิบัติงานประจา ( Full time ) หรือปฏิบัติงานบางเวลา ( Part time ) ตั้งแต่การประเมิน และการเตรียมผู้ป่วย ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงหลังผ่าตัด 4 . มี สถานที่รองรับบริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ แผนกผู้ป่วยนอก แผนกผู้ป่วยใน 5 . มี ห้องผ่าตัดพร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือที่จาเป็นตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการ ส่งต่อแผนกห้องผ่าตัด 6 . มีห้องผู้ป่วยวิกฤตตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อแผนกผู้ป่วยวิกฤต พร้อมรองรับผู้ป่วยในกรณีฉุกเฉิน 7 . มีบริการรังสีวินิจฉัยที่ได้มาต รฐานหรือตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ แผนกรังสีวินิจฉัย 8 . มีแพทย์เวชศาสตร์ ฟื้นฟู หรือแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือนักกายภาพบาบัดให้บริการกายภาพบาบัด หรือให้บริการผู้ป่วยหลังผ่าตัด ให้ หน่วยบริการที่จะให้บริการ แจ้งความประสงค์และประเมินตนเองพร้อมหลักฐานตามที่ กาหนด ก่อนเริ่มปีงบประมาณ หรือก่อนให้บริการผ่าตัดรักษาข้อเข่าเสื่อมในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

เอกสาร หมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี บริการผ่าตัดข้อเข่า เทียม พ.ศ. 256 5 ลง วันที่ 2 สิงหำคม พ.ศ. 2565 การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ( Total Knee Arthropla sty, TKA ) ในผู้ป่วยอายุ น้อยกว่า 55 ปี ที่วินิจฉัยเป็นข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิหรือข้อเข่าเสื่อมไม่ทราบสาเหตุ ( Primary or Unspecified Knee OA ) ให้ดาเนินการขออนุมัติก่อนการผ่าตัด ( Pre - Authorized ) โดยหน่วยบริการ บันทึกข้อมูลพร้อมแนบเอกสาร ประกอบการพิจารณาผ่านโปรแกรมที่กาหนด ได้แก่ เอกสาร/หลักฐานป ระกอบการพิจารณา โดยต้องได้รับการ รับรอง/ลงนามจากแพทย์ผู้รักษา ดังนี้ 1. สำเนาเวชระเบียนประวัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม 2. ภาพถ่าย X - Rays antero - posterior view ณ วันที่วินิจฉัยว่าต้องได้รับการผ่าตัดข้อเข่าเสื่อม

  • 2 - แบบขออนุมัติผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ( Pre - Authorized TKA Form ) ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ/ไม่ทราบสาเหตุ( Primay or Unspecified Knee OA ) ที่มีอายุน้อยกว่า 55 ปี (อายุน้อยกว่า 55 ปี นับจากวันเกิด ถึง วันที่สั่งแผนการรักษาด้วยการผ่าตัด) ชื่อหน่วยบริการ … รหัส … … … ชื่อผู้ป่วย … นามสกุล … วัน/เดือน/ปีเกิด … อายุ … ปี เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง PID □□□□□□□□□□□□□ HN … … … AN … … … การวินิจฉัยโรค [ ] Primay Knee OA [ ] Unspecified Knee OA ข้อเข่าข้าง [ ] ซ้าย [ ] ขวา [ ] ทั้งสองข้าง แผนการรักษา วันที่สั่งแผนการรักษาด้วยการผ่าตัด … … … กำหนดวันที่จะผ่าตัด.. … … … เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา (ส่งเป็น electronic file ) [ ] ภาพถ่าย x - rays antero - posterior view ณ วันที่วินิจฉัยว่าต้องได้รับการผ่าตัด [ ] สำเนาเวชระเบียนประวัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ( indication ) ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ( Total Knee Arthroplasty, TKA ) ในผู้ป่วย ข้อเข่าเสื่อม อายุน้อยกว่า 55 ปี มี ไม่มี 1. มีการเสื่อมของข้อเข่าอย่างน้อย 2 compartment ( at least bicompartmental knee osteoarthritis ) [ ] [ ] 2 . ภาพรังสีด้านหน้า - หลังที่ถ่ายในท่ายืนลงน้ำหนักแสดง ช่องว่างของข้อเข่าอย่างน้อยด้านหนึ่งหายไป ( obliterated joint space of at least one compartment of the knee from s tanding weight bearing antero - posterior view of knee radiograph ) กรณีมีความคลุมเครือ อาจมีการวินิจฉัยเพิ่มเติม ด้วย MRI เพื่อยืนยันว่ามีการสึกของกระดูกอ่อนทั้งหมดของบริเวณผิวข้อส่วนนั้น ( Full thickness cartilage loss ) (กรณีมีความคลุมเครือ) [ ] [ ] [ ] [ ] 3 . ผู้ป่วยได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีไม่ใช้ยาและวิธีใช้ยา และ/หรือฉีดยาสเตียรอยด์เข้าข้อแล้วไม่ได้ผล เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ( failure of conservative treatment ) [ ] [ ] ความเห็นเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อพิจารณา … … … .. …

  • 3 - … .. … แพทย์ผู้รักษา ( ผู้ ขออนุมัติ) … ( ใส่เล ขที่ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ) วัน/เดือน/ปี ที่ขออนุมัติ … ผลการพิจารณา Pre - Authorized [ ] อนุมัติ [ ] ไม่อนุมัติ เหตุผล … … … … ข้อสังเกตอื่นๆ … … … … … ผู้อนุมัติ … … … คณะ กรรมการพิจารณาอนุมัคิ อนุมัติก่อนการผ่าตัด วัน/เดือน/ปีที่อนุมัติ … … .. หมายเหตุ : โปรดเก็บแบบฟอร์มผลการพิจารณา อนุมัติผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ ( Pre - Authorized TKA Form ) ในเวชระเบียนของผู้ป่วย

เอกสาร หมายเลข 4 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ สาธารณสุข กรณี บริการผ่าตัดข้อเข่า เทียม พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 2 สิงหำคม พ.ศ. 2565 ชุดข้อมูลมาตรฐาน ( Standard data set ) สำหรับบริการผ่าตัดข้อเข่า เทียม ประกอบด้วย 1 . โครงสร้างชุดข้อมูลเพื่อการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ( e - Claim ) ได้แก่ 1 . 1 แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล ( INS ) 1 . 2 แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง ( PAT ) 1 . 3 แฟ้มข้อมูลที่ 7 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยใน ( IPD ) 1 . 4 แฟ้มข้อมูลที่ 8 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ ( IRF ) 1 . 5 แฟ้มข้อมูลที่ 9 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน ( IDX ) 1 . 6 แฟ้มข้อมูลที่ 10 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลหัตถการผู้ป่วยใน ( IOP ) 1 . 7 แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) ( CHA ) 1 . 8 แฟ้มข้อมูลที่ 13 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และรับส่งเพื่อรักษา ( AER ) 1 . 9 แฟ้มข้อมูลที่ 14 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด ( ADP ) หมายเหตุ กรณีมีการเบิกรายการนอกเหนือจากประกาศ ให้อ้างอิงตามประกาศสานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่ งชาติ เรื่อง โครงสร้างชุดข้อมูลเพื่อการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ( e - Claim )

  • 2 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล ( INS ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม INSyymm . dbf / INSyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 INSCL สิทธิการรักษาที่ใช้ UCS = สิทธิ UC OFC = ข้าราชการ SSS = ประกันสังคม LGO = อปท NHS = สิทธิเจ้าหน้าที่ สปสช. Text ( 3 BYTE ) Y UCS ต้องมีค่า เป็นฟิลด์หลักที่ใช้ในการนำเข้า ข้อมูลตามสิทธิ 3 SUBTYPE ระดับสิทธิของหลักประกัน Text ( 2 BYTE ) 89 4 CID หมายเลขบัตรเพื่อตรวจสอบ Text ( 16 BYTE ) 39201XXXXXXXX รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 5 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 6 DATEEXP วันเดือนปีที่หมดสิทธิ ปีมีค่าเป็น ค.ศ. Date 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 7 HOSPMAIN รหัสหน่วยบริการประจำ Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข

  • 3 - No Name Description Data Type Required Example Remark 8 HOSPSUB รหัสหน่วยบริการปฐมภูมิ Text ( 5 BYTE ) 09756 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการเขต กทม. ต้องมีค่า 9 GOVCODE รหัสหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text ( 6 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 10 GOVNAME ชื่อหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text ( 255 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 11 PERMITNO รหัส Claim Code / เลขอนุมัติ/ เลข Approve code Text ( 30 BYTE ) PP1007991295 022692915 UCS = เลข Authen OFC = เลข approve / เลขอนุมัติ 12 DOCNO เลขที่หนังสือ กรณีใช้หนังสือรับรองสิทธิ Text ( 30 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 13 OWNRPID เลขประจำตัวประชาชนของผู้มีสิทธิข้าราชการ/ อปท Text ( 13 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 14 OWNNAME ชื่อ นามสกุลของผู้มีสิทธิข้าราชการ/อปท Text ( 255 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 15 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ

  • 4 - No Name Description Data Type Required Example Remark 16 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 17 SUBINSCL ประเภทสิทธิของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางประเภทสิทธิ) Text ( 2 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 18 RELINSCL ความสัมพันธ์ของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางความสัมพันธ์) Text ( 1 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 19 HTYPE ประเภทสถานพยาบาลที่รักษา 1 = Main Contractor 2 = Sub Contractor 3 = Supra Contractor 4 = Excellent 5 = Super tertiary Text ( 1 BYTE ) 1 SSS

  • 5 - No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 2 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 3 CHANGWAT ตามรหัสมหาดไทย Text ( 2 BYTE ) 92 มอก. 1099 - 2535 4 AMPHUR ตามรหัสมหาดไทย Text ( 2 BYTE ) 08 มอก. 1099 - 2535 5 DOB บันทึกวันเดือนปีเกิด ปี มีค่าเป็น ค.ศ. Date Y 19850917 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 SEX รหัสเพศ 1 = เพศชาย 2 = เพศหญิง Text ( 1 BYTE ) Y 2 7 MARRIAGE รหัสสถานภาพสมรส 1 = โสด 2 = สมรส 3 = หม้าย 4 = หย่า 5 = แยกกันอยู่ 6 = สมณะ 9 = ไม่ทราบ Text ( 1 BYTE ) 2 8 OCCUPA อาชีพ Text ( 3 BYTE ) 900 ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง ( PAT ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม PATyymm . dbf / PATyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  • 6 - No Name Description Data Type Required Example Remark 9 NATION สัญชาติ Text ( 3 BYTE ) Y 099 10 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text ( 13 BYTE ) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 11 NAMEPAT ชื่อ – สกุล ผู้ป่วย โดยใช้รูปแบบ : ชื่อ (เว้นวรรค) นามสกุล , คำนำหน้าชื่อ Text ( 36 BYTE ) Y ชื่อตัวอย่าง นามสกุล ตัวอย่าง,นาง 12 TITLE คำนำหน้า Text ( 30 BYTE ) Y นาง 13 FNAME ชื่อ Text ( 40 BYTE ) Y ชื่อตัวอย่าง 14 LNAME นามสกุล Text ( 40 BYTE ) Y นามสกุลตัวอย่าง 15 IDTYPE ประเภทบัตร 1 = บัตรประชาชน 2 = หนังสือเดินทาง 3 = หนังสือต่างด้าว 4 = หนังสือ / เอกสารอื่นๆ 5 = บัตร ปกส. ต่างด้าว Text ( 1 BYTE ) Y 1

  • 7 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 7 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยใน ( IPD ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม IPDyymm . dbf / IPDyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEADM วันรับเข้าในโรงพยาบาล บันทึก ปี ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TIMEADM เวลารับเขำ บันทึกเป็นชั่วโมง นาที ตามนาฬิกา ในระบบคอมพิวเตอร์ Text ( 4 BYTE ) Y 1030 5 DATEDSC วันจำหน่าย บันทึกปีในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210821 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 TIMEDSC เวลาจาหน่าย บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกาในระบบคอมพิวเตอร์ Text ( 4 BYTE ) Y 1000 7 DISCHS สถานภาพ การจำหน่ายผู้ป่วย ( File : DisChS ) Text ( 1 BYTE ) Y 2 8 DISCHT วิธีการจำหน่ายผู้ป่วย ( File : DisChT ) Text ( 1 BYTE ) Y 1 9 WARDDSC ตึกที่จำหน่ายผู้ป่วยใช้รหัสที่โรงพยาบาลตั้งขึ้น ( File : Clinic ) Text ( 4 BYTE ) 10 DEPT แผนกที่รักษาผู้ป่วยเป็นหลัก Text ( 2 BYTE )

  • 8 - No Name Description Data Type Required Example Remark 11 ADM_W น้ำหนักแรกรับ (บันทึกข้อมูลเป็นกิโลกรัม เช่น 2 . 4 ) Number ( 5,2 BYTE ) Y 65 . 00 12 UUC การใช้สิทธิ 1 = ใช้สิทธิ 2 = ไม่ใช้สิทธิ ไม่ขอเบิก Text ( 1 BYTE ) Y 1 13 SVCTYPE ประเภทบริการ/รักษา I = IPD A = Ambulatory Care Text ( 1 BYTE ) Y A

  • 9 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 8 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ ( IRF ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม IRFyymm . dbf / IRFyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 REFER รหัสสถานพยาบาลหรือคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งต่อ Text ( 5 BYTE ) Y / N 10683 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 3 REFERTYPE ประเภทการส่งต่อ ( 1 = รับเข้า , 2 = ส่งออก) Text ( 1 BYTE ) Y / N 2

  • 10 - No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 DIAG วินิจฉัยโรค ตามรหัส ICD 10 Text ( 7 BYTE ) Y E119 3 DXTYPE ชนิดของโรค ระบุ 1 = Primary Diagnosis 2 = โรคร่วม ( Co morbidity ) 3 = โรคแทรกซ้อน ( Complication ) 4 = อื่นๆ ( Others ) 5 = สาเหตุภายนอก ( External Cause ) Text ( 1 BYTE ) Y 1 4 DRDX แพทย์ผู้วินิจฉัย ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวช กรรม Text ( 6 BYTE ) ว. XXXXX เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ แพทย์ ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 9 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน ( IDX ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม IDXyymm . dbf / IDXyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  • 11 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 10 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลหัตถการผู้ป่วยใน ( IOP ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม IOPyymm . dbf / IOPyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 2 OPER รหัสหัตถการตาม ICD 9 CM Text ( 7 BYTE ) Y 8952 3 OPTYPE ชนิดของหัตถการ ระบุ 1 = Principal procedure 2 = secondary procedure 3 = Others Text ( 1 BYTE ) 4 DROPID แพทย์ที่ทำหัตถการ ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวชกรรม (สามารถใช้ชื่อ DROP หรือ DROPID ได้) Text ( 6 BYTE ) ว. XXXXX เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ แพทย์ 5 DATEIN วันเดือนปีที่เริ่มทำหัตถการ บันทึกปีในค่า ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 TIMEIN เวลาเริ่ม บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกาใน ระบบคอมพิวเตอร์ Text ( 4 BYTE ) Y 1030 7 DATEOUT วันเดือนปีที่ทาหัตถการสิ้นสุด บันทึกปีในค่าค.ศ. Date 20210821 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 8 TIMEOUT เวลาสิ้นสุด บันทึกเป็น ชั่วโมง นาที ตามนาฬิกา ในระบบคอมพิวเตอร์ Text ( 4 BYTE ) 1000

  • 12 - No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATE วันที่คิดค่ารักษา วันที่จำหน่าย หรือวันที่ผู้ป่วย เปลี่ยนสิทธิการรักษา บันทึกปีในค่า ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 CHRGITEM ชนิดของบริการที่คิดค่ารักษา ตามรหัสที่ กำหนด Text ( 2 BYTE ) Y C 1 ใช้รหัสแบบละเอียด ตามภาคผนวก 5 AMOUNT จำนวนเงิน คำรักษาของบริการรายการนั้น เป็น บาท Number ( 12,2 BYTE ) Y 110.00 6 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text ( 13 BYTE ) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 7 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) ( CHA ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม CHAyymm . dbf / CHAyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  • 13 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 13 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และรับส่งเพื่อรักษา ( AER ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม AERyymm . dbf / AERyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 AUTHAE Claim code (ที่ได จากการแจ ง ที่ web สปสช.) Text ( 12 BYTE ) 5 AEDATE วันที่เกิดอุบัติเหตุ Date 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 AETIME เวลาที่เกิดอุบัติเหตุ Text ( 4 BYTE ) 1000 7 AETYPE สิทธิการรักษาอื่น กรณีอุบัติเหตุ V = ใช้ พรบ. ผู้ประสบภัยจากรถ O = ใช้ พรบ. กองทุนเงินทดแทน B = ใช้ทั้ง พรบ. ผู้ประสบภัย และ พรบ. กองทุน เงินทดแทน Text ( 1 BYTE ) V 8 REFER_NO เลขที่ใบส่งต่อ (เพิ่มเติม) Text ( 20 BYTE ) Y / N สพ 0032 . 101 . 7 / 1 . OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 2 . หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี 9 REFMAINI รหัสโรงพยาบาลที่ส่งผู้ป่วยมารับการรักษา ( Refer In ) Text ( 5 BYTE ) Y / N 11267 1 . OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 2 . หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี

  • 14 - No Name Description Data Type Required Example Remark 10 IREFTYPE รหัสวัตถุประสงค์ ของการรับ Refer ตำแหน่งที่ 1 = วินิจฉัย ตำแหน่งที่ 2 = รักษา ตำแหน่งที่ 3 = รับไว รักษาต่อเนื่อง ตำแหน่งที่ 4 = ตามความต้องการของผู้ป่วย 1 = มี 0 = ไม มี Text ( 4 BYTE ) Y / N 1100 เช่น 1100 = วินิจฉัย + รักษา 11 REFMAINO รหัสโรงพยาบาลที่ส่งต่อไป ( Refer Out ) Text ( 5 BYTE ) Y / N 11267 12 OREFTYPE รหัสวัตถุประสงค์ ของการ Refer ออก ตำแหน่งที่ 1 = วินิจฉัย ตำแหน่งที่ 2 = รักษา ตำแหน่งที่ 3 = รับไว รักษาต่อเนื่อง ตำแหน่งที่ 4 = ตามความต้องการของผู้ป่วย 1 = มี 0 = ไม มี Text ( 4 BYTE ) Y / N 1100 เช่น 1100 = วินิจฉัย + รักษา 13 UCAE รหัส บ งบอกการรักษากรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน A = อุบัติเหตุ( Accident / Accident + Emergency ) E = ฉุกเฉิน ( Emergency ) ว่าง = ไม เป็น A / E I = OP Refer ในจังหวัด O = OP Refer ข้ามจังหวัด C = ย้ายหน่วยบริการเกิดสิทธิทันที Z = บริการเชิงรุก Text ( 1 BYTE ) Y / N A 1 . OPBKK มีค่ากรณี optype 0,1 - OPTYPE = 0,1 >>UCAE = null - OPTYPE = 2,3 >>UCAE = A / E 2 . หน่วยบริการอื่น ตามจริงถ้ามี

  • 15 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 EMTYPE รหัสข้อบ่งชี้ของกรณีฉุกเฉินตามเงื่อนไข 1 = ต องการรักษาเป็นการด วน 2 = ต องผ่าตัดด่วน 3 = โรคที่คณะกรรมการกาหนด Text ( 1 BYTE ) 1 15 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 16 AESTATUS สถานะของการแจ้งกลับกรณี A / E Text ( 1 BYTE ) ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล 17 DALERT วันที่แจ้ง Date ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล 18 TALERT เวลาที่แจ้ง Text ( 4 BYTE ) ปัจจุบันยังไม่มีการรับข้อมูล

  • 16 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 14 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด ( ADP ) คาอธิบายอย่างย่อ แฟ้ม ADPyymm . dbf / ADPyymm . txt เจ้าของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) Y 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TYPE 1 = HC ( OPD ) 2 = Instrument (หมวด 2 ) 3 = ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัดหมวด 4 = ค่าส่งเสริมป้องกัน/บริการเฉพาะ 5 = Project code 6 = การรักษามะเร็งตามโปรโตคอล 7 = การรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสีวิทยา 8 = OP REFER และ รายการ Fee Schedule (สามารถใช้ชื่อ TYPE หรือ TYPEADP ได้) 9 = ตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีพิเศษอื่นๆ (หมวด 9 ) 10 = ค่าห้อง/ค่าอาหาร (หมวด 1 ) 11 = เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (หมวด 5 ) 12 = ค่าบริการทันตกรรม (หมวด 13 ) 13 = ค่าบริการฝังเข็ม (หมวด 15 ) Text ( 2 BYTE ) Y 16 รายละเอียดตามภาคผนวก

  • 17 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 = บริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต (หมวด 6 ) 15 = ตรวจวินิ จฉัยทางเทคนิคการแพทย์และ พยาธิวิทยา (หมวด 7 ) 16 = ค่าตรวจวินิจฉัยและรักษาทางรังสีวิทยา (หมวด 8 ) 17 = ค่าบริการทางการพยาบาล (หมวด 12 ) 18 = อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ (หมวด 10 ) 19 = ทำหัตถการและวิสัญญี (หมวด 11 ) 20 = ค่าบริการทางกายภาพบำบัดและเวช กรรมฟื้นฟู (หมวด 14 ) 5 CODE รหัสตามที่ สปสช. กำหนด สามารถใส รหัสตาม เงื่อนไข Text ( 30 BYTE ) Y 41003 6 QTY หน่วยนับ เป็นจานวนครั้งหรือจำนวนเม็ด ของ อุปกรณ์บำบัดรักษา และจำนวนยาที่ใช้ Number ( 4 BYTE ) Y 3 7 RATE ราคาต่อหน่วย Number ( 12,2 BYTE ) Y 250 . 00 8 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 9 CAGCODE กรณี Type = 7 Bd = Bladder Text ( 10 BYTE ) Bd Type = 7 UCS / SSS

  • 18 - No Name Description Data Type Required Example Remark Br = Breast Ch = Cholangiocarcinoma Cr = Colon & Rectum Cx = Cervix Es = Esophagus Ln = Lung ( Non small cell ) Lu = Lung ( Small cell ) Na = Nasopharynx Ov = Ovary Ps = Prostate Gca = มะเร็งทั่วไป 10 DOSE ขนาด  10 (เว้นวรรค) mg  20 (เว้นวรรค) mg Text ( 10 BYTE ) 10 mg SSS 11 CA_TYPE ประเภทการรักษามะเร็ง V = Visit Text ( 1 BYTE ) V SSS 12 SERIALNO หมายเลข Serial Number ของอวัยวะเทียม/ อุปกรณ์บำบัดรักษา ( Instrument ) Text ( 24 BYTE ) UCS 13 TOTCOPAY จำนวนเงินรวม หน่วยเป็นบาท ในส่วนที่เบิก ไม่ได้ Number ( 12,2 BYTE ) 0 . 00 14 USE_STATUS 1 = ใช้ในโรงพยาบาล 2 = ใช้ที่บ้าน Text ( 1 BYTE ) 1 OFC / LGO กรณีที่ Type = 11 (เวชภัณฑ์ที่ ไม่ใช่ยา) จะต้องกาหนดค่าดังกล่าวนี้

  • 19 - No Name Description Data Type Required Example Remark 15 TOTAL จำนวนเงินรวมที่ขอเบิกของรายการนั้น Number ( 12,2 BYTE ) 2800 . 00 16 QTYDAY จำนวนวันที่ขอเบิก สำหรับสิทธิ UC ใช้ในกรณี ที่ Type = 3 (ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัด หมวด) และมีการเบิกรายการ Morphine หรือ Oxygen Number ( 3 BYTE ) UCS 17 TMLTCODE รหัสการตรวจ ตามบัญชีรายการ TMLT ที่ ประกาศโดย สมสท. Text ( 15 BYTE ) 350501 OFC 18 STATUS1 ผลการตรวจ LAB COVID 1 = Positive 2 = Negative Text ( 1 BYTE ) 1 19 BI ค่า Barthel ADL Index Number ( 3 BYTE ) 999 ใส่ตัวเลขจำนวน 3 หลัก 20 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text ( 5 BYTE ) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 21 ITEMSRC ประเภทรหัส: 1 = รหัสหน่วยบริการ 2 =รหัสกรมบัญชีกลาง/รหัสที่สปสช.กำหนด Number ( 1 BYTE ) 2 OPBKK กรณีที่ไม่มีฟิลด์นี้ ระบบจะค้นรหัสจาก Lookup โดยให้ความสาคัญกับรหัสกรมบัญชีกลาง/ รหัสที่สปสช.กำหนด ก่อน 22 PROVIDER ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้อง ตามเลขที่ใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรม * PROVIDER รหัสผู้ให้บริการ กรณีที่ไม่มีข้อมูลให้ละเป็นค่าว่างได้ Text ( 15 BYTE ) OPBKK 23 GRAVIDA ครรภ์ที่ VARCHAR ( 2 BYTE ) 2 บันทึกการตั้งครรภ์ครั้งที่ กำหนดเป็นตัวเลข ไม่เกิน 2 หลัก

  • 20 - No Name Description Data Type Required Example Remark 24 GA_WEEK อายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้งแรก (สัปดาห์) VARCHAR ( 2 BYTE ) 44 บันทึกอายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้ง แรก เป็นรายสัปดาห์ กำหนดเป็นตัวเลขไม่ เกิน 2 หลัก ตั้งแต่ 1 ถึง 44 สัปดาห์ 25 DCIP / E_screen รหัสค่าการคัดกรอง DCIP / E screen VARCHAR ( 2 BYTE ) 28 บันทึกรหัสค่าการคัดกรอง DCIP / E screen โดยกำหนดเป็นตัวเลขไม่เกิน 2 หลัก ดังนี้ 28 = positive 29 = negative 30 = not done 26 LMP วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย Date 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ.

  • 21 - 2 . รหัสโรคและรหัสหัตถการ ลำดับ อายุผู้ ป่วย ICD 10 ICD 9 Instruments หมายเหตุ 1 อายุ ≥ 55 ปี M 172 , M 173 , M 174 , M 175 81.54 , 81.55 , 00.80 , 00.81 , 00.82 , 00.83 , 00.84 7004 A, 7005 A ไม่ต้อง Pre - autorize ( PA ) 2 อายุ < 55 ปี M 170 , M 171 , M 179 81.54 , 81.55 , 00.80 , 00.81 , 00.82 , 00.83 , 00.84 7004 A, 7005 A ต้องมี Pre - autorize ( PA )