ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (GDM) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 2565
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (GDM) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 2565
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรกาหนดการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่าง ตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอดในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้การจ่ายเงินกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 และข้อ 59.1 แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดาเนิ นงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ สาหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. 2564 สานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงอ อกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 2565 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ สานักงาน ” หมายความว่า สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึง สำนักงานสาขา “ ผู้รับบริการ ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ “ หน่วยบริการ ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วย หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ ค่าใช้จ่าย ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการมีสิทธิได้รั บจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด ข้อ 4 ให้เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รักษาการตามประกาศนี้ หมวด 1 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ้ หนา 32 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565
ข้อ 5 ให้การบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัย ว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด เป็นรายการบริการการจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขตามประกำศนี้ ข้อ 6 การจ่ายค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 6.1 เป็นการให้บริการแก่ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 6.2 หน่วยบริการที่ให้บริการและมีสิทธิรับค่าใช้จ่าย ดังนี้ 6.2.1 กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นหน่วยบริการรับส่งต่อทั่วไป ที่มีศักยภาพ โดยผ่านการรับรองจากสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย 6.2.2 บริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) เป็นหน่วยบริการที่มีศักยภาพ ตามเอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ 6.3 การให้บริการของหน่วยบริการ ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 สำนักงานจ่ายค่าใช้จ่ายตามรายการบริการและอัตราในแต่ละรายการ ดังต่อไปนี้ 7.1 กรณีการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ( T 1 DM ) เป็นการ จ่ายแบบเหมาจ่าย ดังนี้ 7.1.1 ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เหมาจ่าย 1 ครั้ง ตามเดือนที่เข้ารับบริการตามปีงบประมาณปัจจุบัน ในอัตรา ดังนี้ (1) เดือนตุลาคม เหมาจ่ายอัตรา 13 , 636 บาทต่อราย (2) เดือนพฤศจิกายน เหมาจ่ายอัตรา 12 , 636 บาทต่อราย (3) เดือนธันวาคม เหมาจ่ายอัตรา 11 , 636 บาทต่อราย (4) เดือนมกราคม เหมาจ่ายอัตรา 10 , 636 บาทต่อราย (5) เดือนกุมภาพันธ์ เหมาจ่ายอัตรา 9 , 636 บาทต่อราย (6) เดือนมีนาคม เหมาจ่ายอัตรา 8 , 636 บาทต่อราย (7) เดือนเมษายน เหมาจ่ายอัตรา 7 , 636 บาทต่อราย (8) เดือนพฤษภาคม เหมาจ่ายอัตรา 6 , 636 บาทต่อราย (9) เดือนมิถุนายน เหมาจ่ายอัตรา 5 , 636 บาทต่อราย (10) เดือนกรกฎาคม เหมาจ่ายอัตรา 4 , 636 บาทต่อราย (11) เดือนสิงหาคม เหมาจ่ายอัตรา 3 , 636 บาทต่อราย (12) เดือนกันยายน เหมาจ่ายอัตรา 2 , 636 บาทต่อราย 7.2 กรณีการให้บริการแก่ผู้รับบริการหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์ จ่ายแบบเหมาจ่ายครั้งเดียวในอัตรา 4 , 700 บาทต่อกา รตั้งครรภ์ ้ หนา 33 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565
7.3 กรณีการให้บริการแก่ผู้รับบริการหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) จ่ายแบบเหมาจ่ายครั้งเดียวในอัตรา 16 , 850 บาทต่อการตั้งครรภ์ หมวด 2 วิธีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 8 ให้หน่วยบริการที่ให้บริการบันทึกและส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่าย หรือส่งข้อมูล ตามชุดข้อมูลมาตรฐาน ตามเอกสารหมายเลข 3 แนบท้ายประกาศนี้ ผ่านระบบโปรแกรมอีเคลม ( e - Claim ) มายังสานักงาน หรือเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลของหน่วยบริการกับสานักงาน หรือ ระบบโปรแกรมอื่นตามที่สานักงานกาหนด หมวด 3 เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ข้อ 9 สำนักงานจะประมวลผลและแจ้งรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการ โดยรายงานการจ่ายค่าใช้จ่ายจะแสดงสถานะข้อมูล ดังนี้ 9.1 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้ น (ข้อมูล A : accept ) สานักงานจะจ่าย ค่าใช้จ่าย ให้หน่วยบริการตามที่ประมวลผลได้ 9.2 ข้อมูลที่ไม่ผ่านจากการตรวจสอบเบื้องต้น (ข้อมูล C : cancel ) หน่วย บริการสามารถแก้ไขและส่งเข้าในระบบของสำนักงานอีกครั้ง 9.3 ข้อมูลปฏิเสธการจ่าย (ข้อมูล Deny ) หน่วยบริการสามารถขอทบทวน เพื่อขอรับค่าใช้จ่ายตามแนวทางที่กาหนด ข้อ 10 สานักงานจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ โดยตรวจสอบหลักฐานการให้บริการ ดังนี้ 10.1 กรณีการให้บริการเบาหวานชนิดที่ 1 ( T 1 DM ) 10.1.1 เอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ที่มีหลักฐานการวินิจฉัย โรคเบาหวานชนิดที่ 1 10.1.2 เอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้าตาลในเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเองสำหรับเบาหวานชนิดที่ 1 10.1.3 เอกสารหลักฐานผลการตรวจน้ำตาล 10.1.4 เอกสารหลักฐานผล HbA 1 C, Microalbuminuria, Lipid profile 10.1.5 เอกสารหลักฐานตรวจจอประสาทตาและตรวจเท้าเบาหวาน 10.2 หญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์ ้ หนา 34 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565
10.2.1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่มีหลักฐานวินิจฉัย โรคเบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์และหลักฐานการฝากครรภ์ 10.2.2 เอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้ำตาลในเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเองสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ที่เป็นเบาหวาน 10.2.3 เอกสารหลักฐานผลตรวจน้ำตาล 10.2.4 เอกสารหลักฐานผลตรวจความทนทานต่อน้าตาล ( Oral Glucose Tolerance Test : OGTT ) ภายในระยะเวลา 1 - 3 เดือน หลังคลอด 10.3 กรณีหญิงตั้งครรภ์เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) 10.3.1 เอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่วินิจฉัยโรคเบาหวาน ก่อนตั้งครรภ์และหลักฐานการฝากครรภ์ 10.3.2 เอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้าตาลเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเองสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่เป็ นเบาหวาน 10.3.3 เอกสารหลักฐานผลตรวจ HbA 1 c และผลตรวจน้ำตาล ข้อ 11 สานักงานกาหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบเวชระเบียน หรือข้อมูลการให้บริการ ทางการแพทย์ของหน่วยบริการ ดังนี้ 11.1 กรณีการให้บริการเบาหวานชนิดที่ 1 ( T 1 DM ) 11.1.1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ที่มีหลักฐานการวินิจฉัย โรคเบาหวานชนิดที่ 1 11.1.2 พบเอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้ำตาลในเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเองสำหรับเบาหวานชนิดที่ 1 11.1.3 พบเอกสำรหลักฐานผลการตรวจน้ำตาล 11.1.4 พบเอกสารหลักฐานผล HbA 1 C, Microalbuminuria, Lipid profile 11.1.5 พบเอกสารหลักฐานตรวจจอประสาทตาและตรวจเท้าเบาหวาน 11.2 หญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์ 11.2.1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่มีหลักฐานวินิจฉัย โรคเบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์และหลักฐานการฝากครรภ์ 11.2.2 พบเอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้าตาลในเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเองสำหรับหญิงตั้ง ครรภ์ที่เป็น เบาหวาน 11.2.3 พบเอกสารหลักฐานผลตรวจน้ำตาล 11.2.4 พบเอกสารหลักฐานผลตรวจความทนทานต่อน้ำตาล ( Oral Glucose Tolerance Test : OGTT ) ภายในระยะเวลา 1 - 3 เดือน หลังคลอด ้ หนา 35 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565
11.3 กรณีหญิงตั้งครรภ์เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) 11.3.1 พบเอกสารหลักฐานเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่วินิจฉัยโรคเบาหวาน ก่อนตั้งครรภ์และหลักฐานการฝากครรภ์ 11.3.2 พบเอกสารหลักฐานหน่วยบริการฝึกทักษะให้แก่ผู้รับบริการ ได้แก่ วิธีตรวจและประเมินผลระดับน้าตาลในเลือด รวมถึงวิธีการดูแลตนเอ งสาหรับหญิงตั้งครรภ์ ที่เป็นเบาหวาน 11.3.3 พบเอกสารหลักฐานผลตรวจ HbA 1 c และผลตรวจน้ำตาล บทเฉพาะกาล ข้อ 12 ให้การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแล หญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด ตามประกาศนี้หรือตามแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ได้ดาเนินการมาก่อนประกาศนี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นกา รดาเนินการตามประกาศนี้ด้วย ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 25 6 5 จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ้ หนา 36 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565
เอกสาร หมายเลข 1 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อ บริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2565 แบบประเมินตนเองเพื่อประเมินศักยภาพในการให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน* *โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ( Diabetes in pregnancy ) หมายถึง gestational diabetes ( GDM ) และ pregestational diabetes ( PDM ) คำชี้แจง: โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยบริการ ตามรายละเอียดดังนี้ 1 . ข้อมูลทั่วไป ชื่อหน่วยบริการ … … … รหัสหน่วย… . … จังหวัด… เขต … 2 . ความพร้อมด้านบุคลากร คุณสมบัติบุคลากร คุณสมบัติ จ ํานวนบุคลํากรที่มี ประสบกํารณ์ด้ํานกําร ดูแล GDM หรือ PDM (คน) ประสบกํารณ์ด้ํานกําร ดูแล GDM มีประสบการณ์อย่าง น้อย 1 ปี (ทาเครื่องหมาย หากมีบุคลากรที่มี คุณสมบัติ) มีประสบกํารณ์ด้ําน กํารดูแล PDM (ทาเครื่องหมาย หากมีบุคลากรที่มี คุณสมบัติ) หมําย เหตุ 1 . แพทย์ทั่วไป อํายุรแพทย์ หรือแพทย์สําขําต่อมไร้ท่อ (มี ข้อใด ข้อหนึ่ง) 1 . 1 แพทย์ทั่วไป 1 . 2 อายุรแพทย์ 1 . 3 อายุรแพทย์สาขาต่อมไร้ ท่อฯ ไม่ต้องตอบ ไม่ต้องตอบ
คุณสมบัติ จ ํานวนบุคลํากรที่มี ประสบกํารณ์ด้ํานกําร ดูแล GDM หรือ PDM (คน) ประสบกํารณ์ด้ํานกําร ดูแล GDM มีประสบการณ์อย่าง น้อย 1 ปี (ทาเครื่องหมาย หากมีบุคลากรที่มี คุณสมบัติ) มีประสบกํารณ์ด้ําน กํารดูแล PDM (ทาเครื่องหมาย หากมีบุคลากรที่มี คุณสมบัติ) หมําย เหตุ 2 . สูตินรีแพทย์ 3 . พยําบําล 4 . โภชนํากร นักโภชนํากําร นักก ําหนดอําหําร (มี ข้อใด ข้อหนึ่ง) 4 . 1 นักโภชนาการ 4 . 2 โภชนากร 4 . 3 นักกาหนดอาหาร คุณสมบัติได้ strip for GDM หรือ pregestational DM : มีบุคลากรข้อ 1 หรือ 2 ร่วมกับ 3 หรือ 4 ที่มีคุณสมบัติตามที่ กำหนด 3 . ศักยภาพของหน่วยบริการ หัวข้อ มี ไม่มี 1 . การควบคุมระดับน้าตาลและการรักษาด้วยอินซูลิน 2 . ให้ความรู้เกี่ยวกับการนับคาร์โบไฮเดรต และอาหารที่เหมาะสมระหว่าง การตั้งครรภ์ 3 . การติดตามระดับน้าตาลในเลือด 4 . การติดตามภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และให้การ ดูแลรักษา หรือส่งต่ออย่างเหมาะสม 5 . มีระบบเพื่อให้มี การควบคุมและติดตามการใช้แผ่นตรวจน้ำตาลตามที่ใช้ จริง ที่สามารถตรวจสอบได้ คุณสมบัติได้ strip for GDM หรือ pregestational DM : ต้องมีศักยภาพข้อ 1 - 5
เอกสาร หมายเลข 2 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อ บริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2565 การจัดบริการกรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัย ว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด ดังนี้ 1. กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 1 จัดบริการดังนี้ 1.1 มีการสอนและประเมินศักยภาพการดูแลตนเองให้ผู้รับบริการ 1.2 ให้การดูแลรักษาผู้รับบริการตามคู่มือ พัฒนาระบบเเละเครือข่าย Thailand Type 1 DM Network and Registry สาหรับ เครือข่ายบริบาลเเละการลงทะเบียนเบาหวานชนิดที่ 1 เเละเบาหวานวินิจฉัย ก่อนอายุ 30 ปี ประเทศไทย Thai Type 1 Diabetes and Diabetes diagnosed before Age 30 years Registry, Care and Network ( T 1 DDAR CN ) ของสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมาคมต่อมไร้ท่อเด็กและวัยรุ่นไทย สานักงานหลักประกั น สุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข รวมถึงการตรวจระดับ ketone ด้วย ketostrip 1.3 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจาปี ได้แก่ HbA 1 c , Microalbumi n uria , Lipid profile , ตรวจตาและตรวจเท้าเบาหวาน 2 . บริการดูแล กรณีตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์ และการ ตรวจหลังคลอด จัดบริการดังนี้ 2.1 มีการ สอน ทักษะการตรวจระดับน้าตาลในเลือดด้วยตัวเอง การประเมินผลเลือดและ การดูแลตนเอง ให้กับผู้รับบริการ 2.2 ตรวจน้ำตาล 2.3 ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อ ทดสอบความทนทานต่อน้าตาล ( Oral Glucose Tolerance Test : OGTT ) หลังคลอดภายในระยะเวลา 1 - 3 เดือน เป็นการเจาะเลือดตรวจระดับน้ำตาลก่อนดื่ ม สารละลาย น้ำตาลกลูโคส 75 กรัม ที่ศูนย์ ( 0 ) นาที และหลังดื่มสารละลายน้าตาลกลูโคสเมื่อครบ 2 ชั่วโมง และให้บันทึก ผลการทดสอบเป็น ปกติ หรือ prediabetes (กลุ่ม Impaired fasting plasma glucose หรือ impaired glucose tolerance test ) หรือ เป็นเบาหวาน 3 . บริการดูแล กรณี หญิงตั้งครรภ์ ที่ เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) จัดบริการ ดังนี้ 3.1 มี การ สอน ทักษะการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตัวเอง การประเมินผลเลือดและ การดูแลตนเอง ให้กับผู้รับบริการ 3.2 การตรวจ HbA 1 c 3.3 ตรวจน้ำ ตาล
เอกสาร หมายเลข 3 แนบท้ายประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจ่ายค่าใช้จ่าย เพื่อ บริการสาธารณสุข กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจหลังคลอด พ.ศ. 256 5 ลงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2565 ชุดข้อมูลมําตรฐําน ( Standard data set ) กรณีบริการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และบริการ ดูแลกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์และการตรวจ หลังคลอด ประกอบด้วย 1. โครงสร้ํางชุดข้อมูลเพื่อกํารเรียกเก็บค่ําใช้จ่ํายเพื่อบริกํารสําธํารณสุข ( e - Claim ) ได้แก่ แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล ( INS ) แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง ( PAT ) แฟ้มข้อมูลที่ 3 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการมารับบริการผู้ป่วยนอก ( OPD ) แฟ้มข้อมูลที่ 5 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยนอก ( ODX ) แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) ( CHA ) แฟ้มข้อมูลที่ 14 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด ( ADP ) หมายเหตุ กรณีมีการเบิกรายการนอกเหนือจากประกาศ ให้ อ้างอิงตามประกาศสำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง โครงสร้างชุดข้อมูลเพื่อการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ( e - Claim )
-
2 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 1 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล ( INS ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม INSyymm . dbf / INSyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 INSCL สิทธิการรักษาที่ใช้ UCS = สิทธิ UC OFC = ข้าราชการ SSS = ประกันสังคม LGO = อปท NHS = สิทธิเจ้าหน้าที่ สปสช. Text ( 3 BYTE ) Y UCS ต้องมีค่า เป็นฟิลด์หลักที่ใช้ในการนำเข้า ข้อมูลตามสิทธิ 3 SUBTYPE ระดับสิทธิของหลักประกัน Text ( 2 BYTE ) 89 4 CID หมายเลขบัตรเพื่อตรวจสอบ Text ( 16 BYTE ) 39201 XXXXXXXX รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 5 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 6 DATEEXP วันเดือนปีที่หมดสิทธิ ปีมีค่าเป็น ค.ศ. Date 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ.
-
3 - No Name Description Data Type Required Example Remark 7 HOSPMAIN รหัสหน่วยบริการประจำ Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 8 HOSPSUB รหัสหน่วยบริการปฐมภูมิ Text ( 5 BYTE ) 09756 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการเขต กทม. ต้องมีค่า 9 GOVCODE รหัสหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text ( 6 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 10 GOVNAME ชื่อหน่วยงานต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ Text ( 255 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 11 PERMITNO รหัส Claim Code / เลขอนุมัติ/ เลข Approve code Text ( 30 BYTE ) PP 1007991295 022692915 UCS = เลข Authen OFC = เลข approve / เลขอนุมัติ 12 DOCNO เลขที่หนังสือ กรณีใช้หนังสือรับรองสิทธิ Text ( 30 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 13 OWNRPID เลขประจำตัวประชาชนของผู้มีสิทธิข้าราชการ/ อปท Text ( 13 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client
-
4 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 OWNNAME ชื่อ นามสกุลของผู้มีสิทธิข้าราชการ/อปท Text ( 255 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 15 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลข นี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 16 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 17 SUBINSCL ประเภทสิทธิของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางประเภทสิทธิ) Text ( 2 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 18 RELINSCL ความสัมพันธ์ของเจ้าของสิทธิ กรณีใช้หนังสือ รับรองสิทธิ (อ้างอิง ตารางความสัมพันธ์) Text ( 1 BYTE ) ปัจจุบันไม่มีข้อมูลนี้ เนื่องจากกรณีขอเลข อนุมัติจากหนังสือรับรองสิทธิ ดำเนินการ ผ่านโปรแกรม NHSO Client 19 HTYPE ประเภทสถานพยาบาลที่รักษา 1 = Main Contractor 2 = Sub Contractor 3 = Supra Contractor 4 = Excellent 5 = Super tertiary Text ( 1 BYTE ) 1 SSS
-
5 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 2 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยกลาง ( PAT ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม PATyymm . dbf / PATyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HCODE รหัสสถานพยาบาล Text ( 5 BYTE ) Y 11413 รหัสสถานพยาบาล 5 หลักตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 2 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 3 CHANGWAT ตามรหัสมหาดไทย Text ( 2 BYTE ) 92 มอก. 1099 - 2535 4 AMPHUR ตามรหัสมหาดไทย Text ( 2 BYTE ) 08 มอก. 1099 - 2535 5 DOB บันทึกวันเดือนปีเกิด ปี มีค่าเป็น ค.ศ. Date Y 19850917 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 6 SEX รหัสเพศ 1 = เพศชาย 2 = เพศหญิง Text ( 1 BYTE ) Y 2 7 MARRIAGE รหัสสถานภาพสมรส 1 = โสด 2 = สมรส 3 = หม้าย 4 = หย่า Text ( 1 BYTE ) 2
-
6 - No Name Description Data Type Required Example Remark 5 = แยกกันอยู่ 6 = สมณะ 9 = ไม่ทราบ 8 OCCUPA อาชีพ Text ( 3 BYTE ) 900 9 NATION สัญชาติ Text ( 3 BYTE ) Y 099 10 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text ( 13 BYTE ) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 11 NAMEPAT ชื่อ – สกุล ผู้ป่วย โดยใช้รูปแบบ : ชื่อ (เว้นวรรค) นามสกุล , คำนำหน้าชื่อ Text ( 36 BYTE ) Y ชื่อตัวอย่าง นามสกุล ตัวอย่าง,นาง 12 TITLE คำนำหน้า Text ( 30 BYTE ) Y นาง 13 FNAME ชื่อ Text ( 40 BYTE ) Y ชื่อตัวอย่าง 14 LNAME นามสกุล Text ( 40 BYTE ) Y นามสกุลตัวอย่าง 15 IDTYPE ประเภทบัตร 1 = บัตรประชาชน 2 = หนังสือเดินทาง 3 = หนังสือต่างด้าว 4 = หนังสือ / เอกสารอื่นๆ 5 = บัตร ปกส. ต่างด้าว Text ( 1 BYTE ) Y 1
-
7 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 3 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการมารับบริการผู้ป่วยนอก ( OPD ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม OPDyymm . dbf / OPDyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text ( 5 BYTE ) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TIMEOPD เวลาที่บันทึก เป็น ชั่วโมง นาที Text ( 4 BYTE ) Y 1306 5 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 6 UUC การใช้สิทธิ 1 = ใช้สิทธิ 2 = ไม่ใช้สิทธิ ไม่ขอเบิก Text ( 1 BYTE ) Y 1 7 DETAIL อาการสำคัญ Text ( 255 BYTE ) ปวดหลังร้าวลงขาขวา Free - text OPBKK
-
8 - No Name Description Data Type Required Example Remark 8 BTEMP อุณหภูมิร่างกาย NUMBER ( 3 , 1 BYTE ) 37 . 0 OPBKK 9 SBP ความดันโลหิตค่าตัวบน NUMBER ( 3 BYTE ) 118 OPBKK 10 DBP ความดันโลหิตค่าตัวล่าง NUMBER ( 3 BYTE ) 70 OPBKK 11 PR อัตราการเต้นหัวใจ NUMBER ( 3 BYTE ) 88 OPBKK 12 RR อัตราการหายใจ NUMBER ( 3 BYTE ) 22 OPBKK 13 OPTYPE ประเภทการให้บริการ 0 = Refer ในบัญชีเครือข่ายเดียวกัน 1 = Refer นอกบัญชีเครือข่าย 2 = AE ในบัญชีเครือข่าย 3 = AE นอกบัญชีเครือข่าย 4 = OP พิการ 5 = OP บัตรตัวเอง 6 = Clearing House ศบส 7 = OP อื่นๆ ( Individual data ) 8 = ผู้ป่วยกึ่ง OP / IP ( NONI ) 9 = บริการแพทย์แผนไทย Text ( 2 BYTE ) 3 OPBKK
-
9 - No Name Description Data Type Required Example Remark 14 TYPEIN ประเภทการมารับบริการ 1 = มารับบริการเอง 2 = มารับบริการตามนัดหมาย 3 = ได้รับการส่งต่อจากสถานพยาบาลอื่น 4 = ได้รับการส่งตัวจากบริการ EMS Text ( 1 BYTE ) 1 OPBKK 15 TYPEOUT สถานะผู้ป่วยเมื่อเสร็จสิ้นบริการ 1 = จำหน่ายกลับบ้าน 2 = รับไว้รักษาต่อ IP 3 = Refer ต่อ 4 = เสียชีวิต 5 = เสียชีวิตก่อนมาถึง 6 = เสียชีวิตระหว่างส่งต่อไปยังที่อื่น 7 = ปฏิเสธการรักษา 8 = หนีกลับ Text ( 1 BYTE ) 1 OPBKK
-
10 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 5 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลวินิจฉัยโรคผู้ป่วยนอก ( ODX ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม ODXyymm . dbf / ODXyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 DATEDX วันเดือนปีที่วินิจฉัยโรค บันทึก ป ในค่า ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 3 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text ( 5 BYTE ) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 4 DIAG วินิจฉัยโรค ตามรหัส ICD 10 Text ( 7 BYTE ) Y E 119 5 DXTYPE ชนิดของโรค ระบุ 1 = Primary Diagnosis 2 = โรคร่วม ( Co morbidity ) 3 = โรคแทรกซ้อน ( Complication ) 4 = อื่นๆ ( Others ) 5 = สาเหตุภายนอก ( External Cause ) Text ( 1 BYTE ) Y 1 6 DRDX แพทย์ผู้วินิจฉัย ตามเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ เวช กรรม Text ( 6 BYTE ) ว. XXXXX เลขที่ใบประกอบวิชาชีพแพทย์ 7 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text ( 13 BYTE ) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง
-
11 - No Name Description Data Type Required Example Remark 8 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD
-
12 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูลที่ 12 มาตรฐานแฟ้มข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) ( CHA ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม CHAyymm . dbf / CHAyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATE วันที่คิดค่ารักษา วันที่จำหน่าย หรือวันที่ผู้ป่วย เปลี่ยนสิทธิการรักษา บันทึกปีในค่า ค.ศ. Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 CHRGITEM ชนิดของบริการที่คิดค่ารักษา ตามรหัสที่ กำหนด Text ( 2 BYTE ) Y C 1 ใช้รหัสแบบละเอียด ตามภาคผนวก 5 AMOUNT จำนวนเงิน คำรักษาของบริการรายการนั้น เป็น บาท Number ( 12 , 2 BYTE ) Y 110 . 00 6 PERSON_ID รหัสประจำตัวประชาชนตามสำนักทะเบียน ราษฎร์ Text ( 13 BYTE ) Y 1111111111111 รหัสบัตรประจำตัวประชาชนตามกรมการ ปกครอง 7 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD
-
13 - ชื่อข้อมูล แฟ้มข้อมูล ที่ 14 มาตรฐาน แฟ้มข้อมูลค่าใช้จ่าย เพิ่ม และบริการที่ยัง ไม่ได้ จัดหมวด ( ADP ) คําอธิบํายอย่ํางย่อ แฟ้ม ADPyymm . dbf / ADPyymm . txt เจ้ําของข้อมูล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ No Name Description Data Type Required Example Remark 1 HN หมายเลขประจำตัวผู้รับบริการ Text ( 15 BYTE ) Y 0025568 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยนอกของแต่ ละสถานบริการ 2 AN หมายเลขประจำตัวผู้ป่วยใน ไม่ควรใช้ หมายเลขนี้ซ้ำ Text ( 15 BYTE ) 640002737 หมายเลขประจำตัวของผู้ป่วยในของแต่ละ สถานบริการ 3 DATEOPD วันที่ที่รับบริการ บันทึก ป ในค่าเป็น ค.ศ. Date Y 20210402 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ. 4 TYPE 1 = HC ( OPD ) 2 = Instrument (หมวด 2 ) 3 = ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัดหมวด 4 = ค่าส่งเสริมป้องกัน/บริการเฉพาะ 5 = Project code 6 = การรักษามะเร็งตามโปรโตคอล 7 = การรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสีวิทยา 8 = OP REFER และ รายการ Fee Schedule (สามารถใช้ชื่อ TYPE หรือ TYPEADP ได้) 9 = ตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีพิเศษอื่นๆ (หมวด 9 ) Text ( 2 BYTE ) Y 16 รายละเอียดตามภาคผนวก
-
14 - No Name Description Data Type Required Example Remark 10 = ค่าห้อง/ค่าอาหาร (หมวด 1 ) 11 = เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (หมวด 5 ) 12 = ค่าบริการทันตกรรม (หมวด 13 ) 13 = ค่าบริการฝังเข็ม (หมวด 15 ) 14 = บริการโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต (หมวด 6 ) 15 = ตรวจวินิจฉัยทางเทคนิคการแพทย์และ พยาธิวิทยา (หมวด 7 ) 16 = ค่าตรวจวินิจฉัยและรักษาทางรังสีวิทยา (หมวด 8 ) 17 = ค่าบริการทางการพยาบาล (หมวด 12 ) 18 = อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ (หมวด 10 ) 19 = ทำหัตถการและวิสัญญี (หมวด 11 ) 20 = ค่าบริการทางกายภาพบำบัดและเวช กรรมฟื้นฟู (หมวด 14 ) 5 CODE รหัสตามที่ สปสช. กำหนด สามารถใส รหัสตาม เงื่อนไข Text ( 30 BYTE ) Y 41003 6 QTY หน่วยนับ เป็นจานวนครั้งหรือจำนวนเม็ด ของ อุปกรณ์บำบัดรักษา และจำนวนยาที่ใช้ Number ( 4 BYTE ) Y 3
-
15 - No Name Description Data Type Required Example Remark 7 RATE ราคาต่อหน่วย Number ( 12 , 2 BYTE ) Y 250 . 00 8 SEQ รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม Text ( 15 BYTE ) Y 640921034436 รหัสการบริการที่กำหนดโดยโปรแกรม เรียงลาดับไม่ซ้ากัน จะต้องมีทุกแฟ้มที่ เกี่ยวข้องกับแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยนอก ใช้ เชื่อมโยงกับแฟ้ม OPD 9 CAGCODE กรณี Type = 7 Bd = Bladder Br = Breast Ch = Cholangiocarcinoma Cr = Colon & Rectum Cx = Cervix Es = Esophagus Ln = Lung ( Non small cell ) Lu = Lung ( Small cell ) Na = Nasopharynx Ov = Ovary Ps = Prostate Gca = มะเร็งทั่วไป Text ( 10 BYTE ) Bd Type = 7 UCS / SSS
-
16 - No Name Description Data Type Required Example Remark 10 DOSE ขนาด 10 (เว้นวรรค) mg 20 (เว้นวรรค) mg Text ( 10 BYTE ) 10 mg SSS 11 CA_TYPE ประเภทการรักษามะเร็ง V = Visit Text ( 1 BYTE ) V SSS 12 SERIALNO หมายเลข Serial Number ของอวัยวะเทียม/ อุปกรณ์บำบัดรักษา ( Instrument ) Text ( 24 BYTE ) UCS 13 TOTCOPAY จำนวนเงินรวม หน่วยเป็นบาท ในส่วนที่เบิก ไม่ได้ Number ( 12 , 2 BYTE ) 0 . 00 14 USE_STATUS 1 = ใช้ในโรงพยาบาล 2 = ใช้ที่บ้าน Text ( 1 BYTE ) 1 OFC / LGO กรณีที่ Type = 11 (เวชภัณฑ์ ที่ไม่ใช่ยา) จะต้องกาหนดค่าดังกล่าวนี้ 15 TOTAL จำนวนเงินรวมที่ขอเบิกของรายการนั้น Number ( 12 , 2 BYTE ) 2800 . 00 16 QTYDAY จำนวนวันที่ขอเบิก สำหรับสิทธิ UC ใช้ในกรณี ที่ Type = 3 (ค่าบริการอื่นๆ ที่ยังไม่ได้จัด หมวด) และมีการเบิกรายการ Morphine หรือ Oxygen Number ( 3 BYTE ) UCS
-
17 - No Name Description Data Type Required Example Remark 17 TMLTCODE รหัสการตรวจ ตามบัญชีรายการ TMLT ที่ ประกาศโดย สมสท. Text ( 15 BYTE ) 350501 OFC 18 STATUS 1 ผลการตรวจ LAB COVID 1 = Positive 2 = Negative Text ( 1 BYTE ) 1 19 BI ค่า Barthel ADL Index Number ( 3 BYTE ) 999 ใส่ตัวเลขจำนวน 3 หลัก 20 CLINIC รหัสคลินิกที่รับบริการ Text ( 5 BYTE ) 00100 5 หลัก ตามภาคผนวก 21 ITEMSRC ประเภทรหัส: 1 = รหัสหน่วยบริการ 2 =รหัสกรมบัญชีกลาง/รหัสที่สปสช.กำหนด Number ( 1 BYTE ) 2 OPBKK กรณีที่ไม่มีฟิลด์นี้ ระบบจะค้นรหัสจาก Lookup โดยให้ความสาคัญกับรหัสกรมบัญชีกลาง/ รหัสที่สปสช.กำหนด ก่อน 22 PROVIDER ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้อง ตามเลขที่ใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรม * PROVIDER รหัสผู้ให้บริการ กรณีที่ไม่มีข้อมูลให้ละเป็นค่าว่างได้ Text ( 15 BYTE ) OPBKK 23 GRAVIDA ครรภ์ที่ VARCHAR ( 2 BYTE ) 2 บันทึกการตั้งครรภ์ครั้งที่ กำหนดเป็นตัวเลข ไม่เกิน 2 หลัก
-
18 - No Name Description Data Type Required Example Remark 24 GA_WEEK อายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้งแรก (สัปดาห์) VARCHAR ( 2 BYTE ) 44 บันทึกอายุครรภ์ปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจครั้ง แรก เป็นรายสัปดาห์ กำหนดเป็นตัวเลขไม่ เกิน 2 หลัก ตั้งแต่ 1 ถึง 44 สัปดาห์ 25 DCIP / E_screen รหัสค่าการคัดกรอง DCIP / E screen VARCHAR ( 2 BYTE ) 28 บันทึกรหัสค่าการคัดกรอง DCIP / E screen โดยกำหนดเป็นตัวเลขไม่เกิน 2 หลัก ดังนี้ 28 = positive 29 = negative 30 = not done 26 LMP วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย Date Y 20210809 กำหนดรูปแบบเป็น “ ปีเดือนวัน ” ( YYYYMMDD ) โดยปีเป็น ค.ศ.
-
1 9 - 2 . รหัสโรค และข้อมูลที่จ ําเป็น ดังนี้ 2.1 บริการกรณีผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ( T 1 DM ) รหัส ICD 10 โรคหลัก หรือโรครอง คือ E 1 0 .* เบาหวานชนิดที่ 1 ทุกอายุ หรือ P 70.2 Neonatal DM หรือ E 89.1 Postprocedural hypo - insulinemia 2.2 บริการดูแลกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน ( GDM ) ในระหว่างตั้งครรภ์ รหัส ICD 10 โรคหลัก หรือโรครอง คือ O 24.4 Diabetes mellitus arising in pregnancy หรือ O 24.9 Diabetes mellitus in pregnancy, unspecified และข้อมูล ประจำเดือนครั้งสุดท้าย ( last menstrual period : LMP ) 2.3 บริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ ( Pregestational DM ) ตั้งครรภ์ รหัส ICD 10 โรคหลัก หรือโรครอง คือ O 24. 0 Pre - existing diabetes mellitus, insulin - dependent ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และตั้งครรภ์ O 24.1 Pre - existing diabetes mellitus, non - insulin - dependent หรือ O 24.3 Pre - existing diabetes mellitus, unspecified และข้อมูล ประจำเดือนครั้งสุดท้าย ( last menstrual period : LMP )