Thu Nov 03 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 208/2565 เรื่อง ประเภทของภาชนะ มาตรฐานของภาชนะ การจัดให้มีและการรับรองการใช้รหัสสหประชาชาติ (United Nation Mark) และข้อปฏิบัติในการบรรจุสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้


ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 208/2565 เรื่อง ประเภทของภาชนะ มาตรฐานของภาชนะ การจัดให้มีและการรับรองการใช้รหัสสหประชาชาติ (United Nation Mark) และข้อปฏิบัติในการบรรจุสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้

ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 208 / 25 65 เรื่อง ประเภทของภาชนะ มาตรฐานของภาชนะ การจัดให้มีและการรับรองการใช้รหัสสหประชาชาติ ( United Nation Mark ) และข้อปฏิบัติในการบรรจุสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ อาศัยอานาจตามความในข้อ 5 และข้อ 17 ของกฎกระทรวงการดำเนินการสาหรับสิ่งของ ที่อาจทาให้เกิดอันตรายขึ้นได้ พ.ศ. 2564 ประกอบกับมาตรา 190 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือ ในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อกาหนดประเภทของภาชนะ มาตรฐาน ของภาชนะ การจัดให้มีและการรับรองการใช้รหัสสหประชาชาติ ( United Nation Mark ) และข้อปฏิบัติ ในการบรรจุสิ่งของที่อาจทาให้เกิดอันตรายขึ้นได้ เพื่อให้การปฏิบัติตามบทบัญญัติของประม วลข้อบังคับ ว่าด้วยการขนส่งสิ่งของที่อาจทาให้เกิดอันตรายขึ้นได้ทางน้าระหว่างประเทศ ( International Maritime Dangerous Goods Code ( IMDG Code )) ซึ่งกาหนดโดยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและเหมาะสม อธิบดีกรมเจ้าท่า จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 ประเภทของภาชนะ มาตรฐานของภาชนะ การจัดให้มีและการรับรองการใช้รหัส สหประชาชาติ ( United Nation Mark ) ให้เป็นตามภาคผนวก 1 ที่แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 3 การบรรจุสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ในภาชนะ ให้เป็นตามภาคผนวก 2 ที่แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 การทดสอบภาชนะ ให้เป็นไปตามภาคผนวก 3 ที่แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 2 0 กันยายน พ.ศ. 256 5 สมพงษ์ จิรศิริเลิศ รองอธิบดี รักษาราชการแทน อธิบดีกรมเจ้าท่า ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 261 ง ราชกิจจานุเบกษา 4 พฤศจิกายน 2565

ภาคผนวก 1 ประเภทของภาชนะ มาตรฐานของภาชนะ การจัดให้มี และการรับรองการใช้รหัสสหประชาชาติ ( United Nation Mark ) ให้ใช้ตัวเลขตามที่กำ หนดข้างล่างนี้สำ หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ชนิดต่าง ๆ 1. ถัง ( Drum ) 2. (สํารองไว้) หมายเหตุ : เปิดช่องสํารองไว้เมื่อ IMO มีการเพิ่มเติม 3. เจอรี่แคน ( Jerrican ) 4. กล่อง ( Box ) 5. ถุง ( Bag ) 6. ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ ( Composite packaging ) ให้ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ตามที่กำ หนดข้างล่างนี้สำ หรับวัสดุชนิดต่าง ๆ A เหล็กกล้า (ทุกประเภทและที่ผิวหน้ามีการปรับสภาพ) B อลูมิเนียม C ไม้ธรร มชาติ D ไม้อัด ( Plywood ) F ไม้อัดจากเศษไม้ ( Reconstituted wood ) G แผ่นไฟเบอร์ ( Fibreboard ) H วัสดุที่ทํา จากพลาสติก ( Plastics material ) L วัสดุที่ทํา จากสิ่งทอ ( Textile ) M กระดาษหลายชั้น N โลหะอื่น (นอกเหนือจากเหล็กกล้าและอลูมิเนียม) P แก้ว กระเบื้องเคลือบ หรือหิน หมายเหตุ : วัสดุพลาสติกนั้น จะรวมถึงวัสดุโพลิเมอร์อื่น ๆ เช่น ยาง

2 ตารางข้างล่างนี้แสดงรหัสที่ใช้ สา หรับระบุประเภทของ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ วัสดุที่ นา มาใช้ในการผลิต และการจัดประเภท ตารางนี้ยังอ้างถึงข้อที่แนะนา เกี่ยวกับ ข้อกำ หนดที่เหมาะสมที่ต้องใช้ ชนิด วัสดุที่นํามาผลิต ประเภท รหัส ข้อที่ 1. ถัง A . เหล็กกล้า ด้านบนเปิดไม่ได้ 1 A 1 1 ด้านบนเปิดได้ 1A2 B . อลูมิเนียม ด้านบนเปิดไม่ได้ 1B1 2 ด้านบนเปิดได้ 1B2 D . ไม้อัด - 1D 5 G . แผ่นไฟเบอร์ - 1G 7 H . พลาสติก ด้านบนเปิดไม่ได้ 1H1 8 ด้านบนเปิดได้ 1H2 N โลหะอื่น (นอกเหนือจาก เหล็กกล้าและอลูมิเนียม) ด้านบนเปิดไม่ได้ 1N1 3 ด้านบนเปิดได้ 1N2 2 . ( สํารอง ไว้ ) หมายเหตุ : เปิดช่องสํารองไว้เมื่อ IMO มีการเพิ่มเติม 3 . เจอรี่แคน A . เหล็กกล้า ด้านบนเปิดไม่ได้ 3A1 4 ด้านบนเปิดได้ 3A2 B . อลูมิเนียม ด้านบนเปิดไม่ได้ 3B1 4 ด้านบนเปิดได้ 3B2 H . พลาสติก ด้านบนเปิดไม่ได้ 3H1 8 ด้านบนเปิดได้ 3H2 4 . กล่อง A . เหล็กกล้า - 4 A 14 B . อลูมิเนียม - 4B 14 C . ไม้ธรรมชาติ ทั่วไป 4C1 9 ผนังที่ป้องกันการเล็ดลอด ของสาร 4C2 D . ไม้อัด - 4D 10 F . ไม้อัดจากเศษไม้ - 4F 11 G . แผ่นไฟเบอร์ - 4G 12 H . พลาสติก ยืดตัวได้ 4H1 13 คงรูป 4H2 N โลหะอื่น (นอกเหนือจาก เหล็กกล้าและอลูมิเนียม) - 4N 14

3 ชนิด วัสดุที่นํามาผลิต ประเภท รหัส ข้อที่ 5. ถุง H . พลาสติกทอ ไม่มีตัวบุหรือตัวเคลือบภายใน 5H1 16 ป้องกันการเล็ดลอดของสาร 5H2 กันน้ํา 5H3 H . ฟิล์มพลาสติก - 5H4 17 L . วัสดุสิ่งทอ ไม่มีตัวบุหรือตัวเคลือบภายใน 5L1 15 ป้องกันการเล็ดลอดของสาร 5L2 กันน้ํา 5L3 M . กระดาษ หลายชั้น 5M1 18 หลายชั้น กันน้ํา 5M2 6 . ภาชนะ และบรรจุ ภัณฑ์ ประกอบ H . ภาชนะปิดพลาสติก ใน ถัง เหล็กกล้า 6HA1 19 ในกล่องเหล็กกล้าโปร่งหรือทึบ 6HA2 19 ใน ถัง อลูมิเนียม 6HB1 19 ในกล่องอลูมิเนียมโปร่งหรือ ทึบ 6HB2 19 ในกล่องไม้ทึบ 6HC 19 ใน ถัง ไม้อัด 6HD1 19 ในกล่องไม้อัดทึบ 6HD2 19 ใน ถัง ไฟเบอร์ 6HG1 19 ในกล่องไฟเบอร์ 6HG2 19 ใน ถัง พลาสติก 6HH1 19 ในกล่องพลาสติกคงรูป 6HH2 19 P . แก้ว กระเบื้องเคลือบหรือหิน ใน ถัง เหล็กกล้า 6PA1 20 ในกล่องเหล็กกล้าโปร่งหรือทึบ 6PA2 20 ใน ถัง อลูมิเนียม 6PB1 20 ในกล่องอลูมิเนียมโปร่งหรือ ทึบ 6PB2 20 ในกล่องไม้ทึบ 6PC 20 ใน ถัง ไม้อัด 6PD1 20 ในตะกร้าหวาย 6PD2 20 ใน ถัง ไฟเบอร์ 6PG1 20 ในกล่องไฟเบอร์ 6PG2 20 ในภาชนะพลาสติกที่ยืดได้ 6PH1 20 ในภาชนะพลาสติกคงรูป 6PH2 20

ภาคผนวก 2 ข้อกำหนดสำ หรับ การบรรจุสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ ในภาชนะ 1 . ถัง เหล็ก 1A1 ถัง เหล็กด้านหัวออกไม่ได้ 1A2 ถัง เหล็กด้านหัวออกได้ 1 . 1 ส่วนลําตัวและส่วนหัวและท้ายของ ถัง ต้องทํา จากแผ่นเหล็กชนิดที่เหมาะสมและความหนาที่เพียงพอ กับขนาดความจุและการใช้งานของ ถัง นั้น หมายเหตุ : ในกรณีของ ถัง เหล็กที่มีส่วนประกอบของคาร์บอน “ ที่เหมาะสม ” ถูกระบุใน ISO 3573 : 1999 ” Hot rolled carbon steel sheet of commercial and drawing qualities ” และ ISO 3574 : 1999 ” Cold - reduced carbon steel sheet of commerc ial and drawing qualities ” สํา หรับ ถัง เหล็กที่มีส่วนประกอบ ของคาร์บอนที่มีความจุต่ํา กว่า 100 ลิตร “ ที่เหมาะสม ” ที่นอกเหนือจากมาตรฐานที่กล่าวข้างต้นจะถูกระบุใน ISO 11949 : 1995 ” Cold - reduced electro lytic tinplate ” , ISO 11950 : 1995 ” Cold - reduced electrolytic chromium / chromium oxide - coated steel ” และ ISO 11951 : 1995 ” Cold - reduced blackplate in coil form for the production of tinplate or electrolytic chromium / chromiumoxide coated steel ” 1 . 2 ถัง ที่ใช้บรรจุของเหลวมากกว่า 40 ลิตร รอยตะเข็บของส่วน ลํา ตัวจะต้องทํา การเชื่ อม สํา หรับ ถัง ที่ใช้ บรรจุของแข็งหรือของเหลวที่มีความจุที่ 40 ลิตรหรือน้อยกว่า รอยตะเข็บที่ส่วนลํา ตัวสามารถใช้การต่อตะเข็บ โดยเครื่องจักรหรือโดยการเชื่อม 1 . 3 ตะเข็บส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้องใช้การต่อตะเข็บโดยเครื่องจักรหรือโดยการเชื่ อม อาจเสริมให้ แข็งแรงเพิ่มขึ้นโดยใช้ขอบวงแหวน 1 . 4 ถัง ที่มีความจุมากกว่า 60 ลิตร โดยทั่วไปส่วนของลํา ตัวจะต้องมีห่วงแบบขยายรอบ ถัง สํา หรับกลิ้งอย่าง น้อยที่สุด 2 ห่วง หรืออีกแบบหนึ่งเป็นห่วงแบบสองตัวแยกออกจากกัน จะต้องยึดกับตัว ถัง อย่าง แน่นหนาและไม่สำมารถเลื่อนได้ ห่ วงสํา หรั บกลิ้ งต้องไม่ทํา การเชื่อมแบบจุด 1 . 5 ถัง 1A1 ที่มีช่องเปิดสํา หรับบรรจุถ่ายออกและระบายที่ส่วนลํา ตัวหรือที่ส่ วนปลายทั้งสองของ ถัง ที่มีหัว ถอด ออกไม่ได้จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 7 ซม. ถัง ที่มีขนาดของช่องเปิดใหญ่กว่านี้จะถือได้ว่าเป็น ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ ( 1A2 ) ฝาปิดของช่องเปิดที่ส่วนลําตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้องถูกออกแบบและ ใช้ได้โดย ถัง นั้นยังคงความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งปกติหน้าแปลน ฝาปิดจะต้องต่อตะเข็บโดยเครื่องจักรหรือโดยการเชื่อม ต้องใช้ปะเก็น หรื อวัสดุติดผนึกอื่นร่วมกับฝาปิด ยกเว้น ฝาปิดนั้นมีการกันการรั่วไหลได้อยู่แล้ว 1 . 6 ฝาปิดของ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ ( 1A2 ) จะต้องถูกออกแบบและนํา มาใช้โดยฝาปิดนั้นจะต้อง คงความสามารถในการยึดแน่น และตัว ถัง ต้องป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งปกติโดยใช้ปะเก็นหรือ วัส ดุติดผนึกร่วมกับ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ 1 . 7 ถ้ำหากวัสดุที่ใช้ในการทํา ส่ วนลํา ตัว ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง อุปกรณ์ปิด และชิ้นส่วนอื่นที่ติดอยู่ ( fitting ) ไม่สามารถเข้ากันได้กับสารที่บรรจุต้องมีการเคลือบป้องกันส่วนภายในหรือการปรับสภาพภายใน ที่เหมาะสม การเคลือบและการปรับสภาพต้องดํา รงคุณสมบัติในการป้องกันภายใต้สภาวะการขนส่งปกติได้ 1 . 8 ความจุสูงสุดของ ถัง : 450 ลิตร 1 . 9 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 2 . ถัง อลูมิเนียม 1 B 1 ถัง อลูมิเนียมหัวถอดออกไม่ได้ 1 B 2 ถัง อลูมิเนียมหัวถอดออกได้

2 2.1 ส่วนลํา ตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้องสร้างโดยใช้อลูมิเนียมที่มี ความบริสุทธิ์อย่างน้อยร้อยละ 99 หรือโลหะผสมที่มีอลูมิเนียมเป็นหลัก วัสดุที่ใช้ต้องเหมาะสมและความหนาพอเพียงกับขนาดความจุและ การใช้ งาน 2.2 รอยตะเข็บทั้งหมดต้องทํา การเชื่อม และรอยตะเข็บหัวและท้ายของ ถัง (ถ้ามี) จะต้องเสริมความแข็งแรง ด้วยวงแหวน 2.3 ถัง ที่มีความจุมากกว่า 60 ลิตร โดยทั่วไปส่วนของลํา ตัวจะต้องมีห่วงแบบขยายรอบ ถัง สํา หรับกลิ้งอย่าง น้อยที่สุด 2 ห่วง หรืออีกแบบหนึ่งเป็นห่วงแบบสองตัวแยกออกจากกัน จะต้องยึดกับตัว ถัง อย่าง แน่นหนาและไม่สามารถเลื่อนได้ ห่ วงสํา หรับกลิ้งต้องไม่ทํา การเชื่อมแบบจุด 2.4 ถัง 1 B 1 ที่มีช่องเปิดสํา หรับบรรจุถ่ายออกและระบายที่ส่วนลํา ตัวหรือที่ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง ที่มีหัว ถอดออกไม่ได้จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 7 ซม. ถัง ที่มีขนาดของช่องเปิดใหญ่กว่านี้จะถือได้ว่าเป็น ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ (1 B 2) ฝาปิดของช่องเปิดที่ส่วนลํา ตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้อง ถูกออกแบบและใช้ได้โดย ถัง นั้นยังคงความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะ การขนส่งปกติหน้าแปลนฝาปิดจะต้องต่อตะเข็บโดยเครื่องจักรหรือโดยการเชื่อม ต้องใช้ปะเก็น ห รือวัสดุติด ผนึกอื่นร่วมกับฝาปิด ยกเว้นฝาปิดนั้นมีการกันการรั่วไหลได้อยู่แล้ว 2.5 ฝาปิดของ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ (1 B 2) จะต้องถูกออกแบบและนํา มาใช้โดยฝาปิดนั้นจะต้อง คงความสามารถในการยึดแน่น และตัว ถัง ต้องป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งปกติโดยใช้ปะเก็นหรือ วั สดุติดผนึกร่วมกับ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ 2.6 ความจุสูงสุดของ ถัง : 450 ลิตร 2.7 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 3 . ถัง โลหะอื่นที่มิใช่เหล็กหรืออลูมิเนียม 1 N 1 ถัง โลหะถอดหัวออกไม่ได้ 1 N 2 ถัง โลหะถอดหัวออกได้ 3.1 ส่วน ลําตัว และส่ วนปลายทั้งส องของ ถัง จะต้องสร้ำงโดยใช้ โลหะห รือโลหะผสม ที่นอกเหนือจากเหล็ก หรือ อลูมิเนียม วัสดุที่ใช้ต้องเหมาะสมและความหนาพอเพียงกับขนาดความจุและการใช้งาน 3.2 รอยตะเข็บหัวและท้ายของ ถัง (ถ้ำ มี ) จะต้องเสริมความแข็งแรงด้วยวงแหวน รอยตะเข็บทั้งหมด (ถ้ามี) จะต้องต่อกัน (การเชื่อม การบัดกรี ฯลฯ) เป็นไปตามหลักวิชาการและวิธีการสํา หรับโลหะและโลหะผสม 3.3 ถัง ที่มีความจุมากกว่า 60 ลิตร โดยทั่วไปส่วนของลํา ตัวจะต้องมี ห่ วงแบบขยายรอบ ถัง สํา หรับกลิ้ง อย่างน้อยที่สุด 2 ห่วง หรืออีกแบบหนึ่งเป็นห่วงแบบสองตัวแยกออกจากกัน จะต้องยึดกับตัว ถัง อย่าง แน่นหนาและไม่สามำรถเลื่อนได้ ห่วงสํา หรับกลิ้งต้องไม่ทํา การเชื่อมแบบจุด 3.4 ถัง 1 N 1 ที่มีช่องเปิดสํา หรับบรรจุถ่ายออกและระบายที่ส่วนลํา ตัวหรือที่ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง ที่มีหัว ถอดออกไม่ได้จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 7 ซม. ถัง ที่มีขนาดของช่องเปิดใหญ่กว่านี้จะถือได้ว่าเป็น ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ (1 N 2) ฝาปิดของช่องเปิดที่ส่วนลํา ตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้อง ถูกออกแบบและใช้ได้โดย ถัง นั้นยังคงความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะ การขนส่งปกติหน้าแปลนฝาปิดจะต้องต่อกัน (การเชื่อม การบัดกรี ฯลฯ) เป็นไปตามหลักวิชากา รและวิธีการ สํา หรับโลหะ และโลหะผสมซึ่งรอยต่อของตะเข็บจะต้องป้องกันการรั่วซึม ต้องใช้ปะเก็นหรือวัสดุติดผนึก ร่วมกับฝาปิด ยกเว้นฝาปิดนั้นมีการกันการรั่วไหลได้อยู่แล้ว 3.5 ฝาปิดของ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ (1 N 2) จะต้องถูกออกแบบและนํา มาใช้โดยฝาปิดนั้นจะต้อง คงความสามารถในการยึดแน่น และตัว ถัง ต้องป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งป กติโดยใช้ปะเก็น หรือวัสดุติดผนึก ร่วมกับ ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ 3.6 ความจุสูงสุดของ ถัง : 450 ลิตร 3.7 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม

3 4 . เจอรี่แคน ( Jerrican ) เหล็กหรืออลูมิเนียม 3 A 1 เหล็กกล้า หัวถอดออกไม่ได้ 3 A 2 เหล็กกล้า หัวถอดออกได้ 3 B 1 อลูมิเนียม หัวถอดออกไม่ได้ 3 B 2 อลูมิเนียม หัวถอดออกได้ 4.1 ส่วนลํา ตัวและส่วนปลายทั้งสองของเจอรี่แคนจะต้องสร้างโดยใช้แผ่นเหล็กหรืออลูมิเนียมที่มีความ บริสุทธิ์อย่างน้อย 99% หรือโลหะผสมที่มีอลูมิเนียมเป็นหลัก วัสดุที่ใช้ต้องเหมาะสมและความหนาพอเพียง กับขนาดความจุและการใช้งานของเจอรี่แคน 4.2 ขอบด้านบนและล่างของเจอรี่แคนที่เป็นเหล็กจะต้องต่อรอยตะเข็บโดยใช้เครื่องจักรหรือการเชื่อม รอยต่อ ตะเข็บของส่วนลํา ตัวของเจอรี่แคนเหล็กที่ใช้บรร จุของเหลวมากกว่า 40 ลิตร จะต้องต่อด้วยการเชื่อม สํา หรับเจอรี่แคน ที่ใช้บรรจุของแข็งหรือของเหลวที่มีความจุเท่ากับหรือน้อยกว่า 40 ลิตร รอยตะเข็บที่ส่วนลําตัว จะเป็นรอยต่อตะเข็บโดยเครื่องจักรหรือโดยการเชื่อมก็ได้สํา หรับเจอรี่แคนอลูมิเนียมรอยตะเข็บทั้งหมดจะต้อง ต่อ โดยวิธีการเชื่อม ขอบบนถัง (ถ้ามี) จะต้องเสริมความแข็งแรงด้วยวงแหวนเสริมแรงต่างหาก 4.3 ช่องเปิดของเจอรี่แคนที่มีหัวถอดออกไม่ได้ (3 A 1 และ 3 B 1) จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 7 ซม. เจอรี่แคนที่มีขนาดของช่องเปิดใหญ่กว่านี้จะถือได้ว่าเป็นเจอรี่แคนที่มีหัวถ อดออกได้ (3 A 2 และ 3 B 2) ฝาปิดจะต้องถูกออกแบบและใช้ได้โดยเจอรี่แคนนั้นยังคงความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหล ภายใต้สภาวะการขนส่งปกติต้องใช้ปะเก็นหรือวัสดุติดผนึกร่วมกับฝาปิด ยกเว้นฝาปิดนั้นมีการกันการรั่วไหลได้ อยู่แล้ว 4.4 ถ้าหากวัสดุที่ใช้ในการ ทํา ส่วนลํา ตัว ส่วนปลายทั้งสองของเจอรี่แคน อุปกรณ์ปิด และชิ้นส่วนอื่นที่ติดอยู่ ( fitting ) ไม่สามารถเข้ากันได้กับสารที่บรรจุต้องมีการเคลือบป้องกันส่วนภายในหรือการปรับสภาพภายใน ที่เหมาะสม การเคลือบและการปรับสภาพต้องดํา รงคุณสมบัติในการป้องกันภายใต้สภาวะการขนส่งปกติไ ด้ 4.5 ความจุสูงสุด: 60 ลิตร 4.6 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 120 กิโลกรัม 5 . ถัง ที่ทำ ด้วยไม้อัด ( plywood ) 1 D 5.1 ไม้ที่ใช้ต้องถูกบ่มมาอย่างดีทํา ให้แห้งเชิงพาณิชย์และไม่มีข้อบกพร่องใดซึ่งอาจมีผลต่อการทํา หน้าที่ ตามวัตถุประสงค์นั้นลดลง ถ้าใช้วัสดุอื่นที่นอกเหนือไปจากไม้อัดมาทํา ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง จะต้องมีคุณภาพ เ ช่นเดียวกับไม้อัดดังกล่าวนี้ด้วย 5.2 ต้องนํา ไม้อัดจํา นวนสองชั้นขึ้นไปเป็นอย่างน้อยมาทํา ส่วนลํา ตัว และต้องอย่างน้อยสามชั้นมาทํา ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง แต่ละชั้นของไม้อัดที่นํา มาทํา ถัง ต้องวางให้ลำยไม้ไขว้กันและทาด้วยกาวที่ทนน้ํา 5.3 ส่วนลํา ตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง และรอยต่อต้องออกแบบให้เหมาะสมกับความจุของ ถัง และ การใช้งาน 5.4 เพ ื ่ อ ป้องกันการเล็ดลอดของผง ฝาต้องบุโดยกระดาษคราฟท์หรือวัสดุที่ทัดเทียมกัน โดยต้องยึดติดให้ แน่นและมีขนาดเต็มพื้น ที่ขอบด้านนอกของเส้นรอบวงของฝาปิด 5.5 ความจุสูงสุด: 250 ลิตร 5.6 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 6 . (สำรองไว้) หมายเหตุ : เปิดช่องสํารองไว้เมื่อ IMO มีการเพิ่มเติม

4 7 . ถัง ไฟเบอร์ 1 G 7.1 ส่วนลําตัวต้องประกอบด้วยชั้นกระดาษหนาและแผ่นไฟเบอร์หลาย ๆ แผ่น (ไม่มีลอน) ยึดติดด้วยกาว จนแน่นอัดให้เรียบทับกัน และอาจมีชั้นป้องกันที่ทํา จากสิ่งต่อไปนี้หนึ่งชั้นหรือมากกว่าคือ ยางมะตอย กระดาษ คราฟท์ที่ฉาบด้วยขี้ผึ้ง แผ่นฟอยล์โลหะ วัสดุพลาสติก ฯลฯ 7.2 ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง ต้องทํา จากไม้ธรรมชาติแผ่นไฟเบอร์โลหะ ไม้อัด พลาสติกหรือวัสดุอื่น ที่เหมาะสมและอาจมีชั้นป้องกันที่ทํา จากสิ่งต่อไปนี้หนึ่งชั้นหรือมากกว่าคือ ยางมะตอย กระดาษคราฟท์ ที่ฉาบ ด้วยขี้ผึ้งแผ่ นฟอยล์ โลหะ วัสดุพลาสติก ฯลฯ 7.3 ส่วนลําตัวและส่วนปลายทั้งสองของ ถัง และรอยต่อต้องถูกออกแบบให้เหมาะสมกับความจุและการใช้งาน 7.4 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ประกอบขึ้นต้องกันน้ํา ได้อย่างเหมาะสม จะได้ไม่ทํา ให้แผ่นที่อัดไว้หลุดออกมา ภายใต้สภาวะปกติในการขนส่ง 7.5 ความจุสูงสุด: 450 ลิตร 7.6 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 8 . ถัง และเจอรี่แคนพลาสติก ( Jerrican plastic ) 1 H 1 ถัง หัวถอดออกไม่ได้ 1 H 2 ถัง หัวถอดออกได้ 3 H 1 เจอรี่แคน หัวถอดออกไม่ได้ 3 H 2 เจอรี่แคน หัวถอดออกได้ 8.1. ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นี้ต้องผลิตจากวัสดุพลาสติกที่เหมาะสม และมีความแข็งแรงเหมาะสม กับความจุและการใช้งานยกเว้น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ทํา จากพลาสติกที่นํา กลับมาใช้ใหม่ ซึ่งเป็น วัสดุที่ได้มา จาก ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรมที่ใช้แล้ว นํา มาทํา ความสะอาดและเตรียมนํา เข้ากระบวนการ เพื่อทํา เป็น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ใหม่ ห้ามใช้วัสดุอื่นที่ใช้แล้วนอกจากเศษพลาสติกที่เหลือจากขบวนการผลิต เดียวกันนี้ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นี้ต้องมีความทนทานต่อการอายุการใช้งานเหมาะสม และการเสื่อมเนื่องจาก สารที่บรรจุไว้หรือรังสีอั ล ตราไวโอเลต การซึมของสารที่บรรจุอยู่ภายในหีบห่อหรือวัสดุพลาสติกที่ผ่านการ นํา มาใช้ใหม่ซึ่งนํา มาผลิตเป็น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ใหม่ต้องไม่ทํา ให้เกิดอันตรายภายใต้สภาวะการขนส่งป กติ 8.2 ถ้าหากต้องมีการป้องกันรังสีอั ลตราไวโอเลต ต้องมีการเพิ่มผงคาร์บอน ( Carbon black ) หรือพิกเมนต์ ( pigment ) อื่นที่เหมาะสมหรือตัวยับยั้ง สารที่เติมเข้าไปในนี้ต้องสามารถเข้ากันได้กับสิ่งที่บรรจุและยังคงรักษา คุณสมบัติการใช้งานตลอดอายุการใช้งานของ ภาชนะและบร รจุภัณฑ์ นั้น ถ้าหากใช้ผงคาร์บอน พิกเมนต์ ( pigment ) หรือตัวยับยั้ง นอกเหนือไปจากที่ผู้ผลิตใช้ตามต้นแบบที่ได้ผ่านการทดสอบอาจยกเว้นการทดสอบ ใหม่ได้หากว่ามีสัดส่วนของผงคาร์บอน ไม่มากกว่าร้อยละ 2 โดยมวล หรือผงสีมีสั ดส่วนไม่มากกว่าร้อยละ 3 โดยมวล สํา หรับสัดส่วนของตั วยับยั้งที่ป้องกันรังสีอั ลตราไวโอเลตไม่มีข้อจํากัด 8.3 สารปรุงแต่งนอกเหนือจากที่ใช้สํา หรับป้องกันรังสีอั ลตราไวโอเลต อาจรวมอยู่ในส่วนประกอบของวัสดุ พลาสติกที่ทํา ขึ้นได้ต่อเมื่อสารปรุงแต่งต้องไม่มีผลเสียกับคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของวัสดุที่ใช้ทํา ภาชนะ และบรรจุ ภัณฑ์ ในกรณีนี้อาจยกเว้นการทดสอบใหม่ 8.4 ความหนาของผนัง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ทุก ๆ จุด ต้องเหมาะสมกับความจุและการใช้งาน โด ย ต้อง คํา นึงถึงความเค้นที่แต่ละจุดจะได้รับ 8.5 ช่องเปิดสํา หรับบรรจุถ่ายออกและระบายที่ส่วนลํา ตัวหรือที่ส่วนปลายทั้งสองของ ถัง ที่มีหัวถอดออก ไม่ได้ (1 H 1) และเจอรี่แคน (3 H 1) จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 7 ซม. ถัง และเจอรี่แคนที่มีขนาดของ ช่องเปิดใหญ่กว่านี้จะถือได้ว่าเป็น ถัง ที่มีหัวถอดออกได้ (1 H 2 และ 3 H 2) ฝาปิดของช่องเปิดที่ส่วนลํา ตัวและส่วน ป ลำ ย ทั้ ง ส อ ง ข อ ง ถั ง แ ล ะ เ จ อ รี่ แ ค น จ ะ ต้ อ ง ถู ก อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ใ ช้ ไ ด้ โ ด ย ถั ง แ ล ะ เ จ อ รี่ แ ค น นั้ น

5 ยังคงความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งปกติต้องใช้ปะเก็น หรือวัสดุ ติดผนึกร่วมกับฝาปิดยกเว้นฝาปิดนั้นมีการกันการรั่วไหลได้อย่างเหมาะสม 8.6 ฝาปิดสํา หรับ ถัง และเจอรี่แคนที่หัวถอดออกได้ (1 H 2 และ 3 H 2) ต้องถูกออกแบบและยังคง ความสามารถในการยึดแน่นและป้องกันการรั่วไหลภายใต้สภาวะการขนส่งปกติต้องใช้ปะเก็นกับ ถัง และ เจอรี่แคนที่หัวถอดออกได้ทุกแบบ ยกเว้นการออกแบบ ถัง หรือเจอรี่แคนที่หัวถอดออกได้มีการป้องกัน การรั่วไหลได้อย่างเหมาะสม 8. 7 ความจุสูงสุดของ ถัง และเจอรี่ แคน: 1 H 1 , 1 H 2: 450 ลิตร 3 H 1 , 3 H 2: 60 ลิตร 8. 8 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด 1 H 1 , 1 H 2: 400 กิโลกรัม 3 H 1 , 3 H 2: 120 กิโลกรัม 9 . กล่องที่ทำ จากไม้ธรรมชาติ 4 C 1 แบบธรรมดา 4 C 2 ผนังป้องกันการเล็ดลอดของผง 9.1 ไม้ที่ใช้ต้องถูกบ่มมาอย่างดีทํา ให้แห้งเชิงพาณิชย์และไม่มีข้อบกพร่องใดซึ่งอาจมีผลต่อการทํา หน้าที่ ตามวัตถุประสงค์นั้นลดลง ความแข็งแรงของวัสดุที่ใช้และวิธีการผลิตต้องเพียงพอกับความจุของกล่อง และการใช้งาน ด้านบนและด้านล่างอาจทํา ขึ้นจากไม้อัดจากเศษไม้ที่กันน้ํา เช่น ไม้แข็ง ไม้อัดจากขี้เลื่อยไ ม้ หรือ วัสดุประเภทอื่นที่เหมาะสม 9.2 อุปกรณ์ยึดต้องทนต่อการสั่นสะเทือนที่ได้รับภายใต้สภาวะการขนส่งปกติหลีกเลี่ยงการตอกตะปูที่ ปลายไม้ หากทํา ได้รอยต่อที่จะได้รับความเค้นสูงต้องยึดด้วยตะปูเกลียวหรือตะปูหัวหมวก หรืออุปกรณ์ยึด ที่เทียบเท่า 9.3 กล่องชนิด 4 C 2 แต่ละส่วนของกล่องจะต้องทํา ด้วยวัสดุหนึ่งชิ้นหรือเทียบเท่ากับหนึ่งชิ้น ส่วนต่าง ๆ ถือได้ว่า เทียบเท่ากับหนึ่งชิ้น เมื่อใช้วิธีใดวิธีหนึ่งในการยึดติดด้วยกาวเข้าด้วยกันต่อไปนี้การต่อแบบลินเดอร์ แมน ( Lindermann joint ) การต่อแบบลิ้นและร่อง ( tongue and groove joi nt ) การต่อแบบเกย ( ship lap ) หรือต่อแบบรอยบาก ( rabbet joint ) หรือต่อชน ( butt joint ) โดยในแต่ละจุดต่อจะต้องมีโลหะลูกฟูกยึด อย่างน้อยสองอัน 9.4 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 10 . กล่องที่ทา ด้วยไม้อัด ( Plywood ) 4 D 10 . 1 ไม้อัดที่ใช้ทํา กล่องทึบต้องทํา จากแผ่นไม้บางนํา มาอัดเข้าด้วยกันอย่างน้อยสามชั้น ไม้อัดต้องทํา มาจาก แผ่นไม้ที่ตัด ฝาน เลื่อยเป็นแผ่นบางโดยใบมีดหมุน ต้องถูกบ่มมาอย่างดีทํา ให้แห้งเชิงพาณิชย์และไม่มี ข้อบกพร่องใดซึ่งอาจมีผลต่อการทํา หน้าที่ตามวัตถุประสงค์นั้นลดลง ความแข็งแรงของวัสดุที่ใช้และวิธีกำรผลิต ต้องเพียงพอกับความจุของกล่องและการใช้งาน แผ่นบางที่ต่อถึงกันทุกแผ่นต้องทากาวที่ทนน้ํา อาจใช้วัสดุ ที่เหมาะสมอื่นร่วมกับไม้อัดในการทํา กล่องได้กล่องนี้ต้องตอกตะปูให้แน่นหนาหรือยึดที่มุมหรือที่ปลาย หรือ ประกอบขึ้นโดยสิ่งที่เหมาะสมเท่าเทียมกันให้แน่น 10 . 2 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด ; 400 กิโลกรัม 11 . กล่องไม้ที่ทา ด้วยไม้อัดจากเศษไม้ ( reconstituted wood ) 4 F 11.1 ผนังของกล่องต้องทํา ด้ วยไม้อัดที่ทํา จากเศษไม้ที่กันน้ํา ได้แก่ ไม้แข็ง ไม้อัดจากขี้เลื่อยไม้หรือวัสดุอื่น ที่เหมาะสม ความแข็งแรงของวั สดุที่ใช้และวิธีการทํา ต้ องเพี ยงพอกั บความจุ และการใช้ งาน 11.2 ส่วนอื่น ๆ ของกล่องอาจใช้วัสดุอื่นที่เหมาะสม 11.3 กล่องต้องยึดอย่างแน่นหนาโดยอุปกรณ์ที่เหมาะสม 11.4 น้ํา หนักสทธิ สูงสุด: 400 กิโลกรัม

6 12 . กล่องที่ทา จากแผ่นไฟเบอร์ ( Fibreboard ) 4 G 12.1 ต้องใช้แผ่นไฟเบอร์หรือชนิดผิวลอนสองหน้า (ผนังหนึ่งชั้นหรือมากกว่า) ที่มีความแข็งแรงและ มีคุณภาพดีที่เหมาะสมกับความจุของกล่องและการใช้งาน ผนังด้านนอกต้องกันน้ํา ซึ่งเป็นไปตามข้อกํา หนด การทดสอบโดยการทดสอบการดูดซั บน้ํา ของวิธีการ Cobb เป็นเวลา 30 นาทีต้องมีการเพิ่มขึ้นของน้ํา หนัก ไม่เกิน 155 กรัม/ตารางเมตร (ดู ISO 535:1991) ต้องมีคุณสมบัติในการโค้งงอที่เหมาะสม ต้องตัด พับ โดยไม่มีรอยแตกและทํา เป็นร่องเพื่อการประกอบโดยไม่มีการแตก หรือผิวหน้าไม่มีการแตกหรือโค้งงอ มากเกินไป ร่องของแผ่นไฟเบอร์ที่ทํา ให้เป็ นลอนจะต้องติดกาวให้ แน่น กับผิวหน้า 12.2 ส่วนปลายของกล่องจะต้องมีโครงไม้หรือทํา ด้วยไม้ทั้งหมด หรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม อาจใช้การเสริม ความแข็งแรงด้วยแผ่นไม้หรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม 12.3 การต่อในการผลิตส่วนลําตัวของกล่องต้องติดด้วยเทปกาว ซ้อนและทากาวหรือซ้อนกันแล ะเย็บด้วย ตัวเย็บโลหะ รอยที่ซ้อนกั นนี้ ต้องมีระยะเหลื่อมที่เหมาะสม 12.4 หากในการปิดต้องใช้กาวหรือแผ่นกาว กาวที่ใช้ต้องทนน้ํา 12.5 กล่องต้องได้รับการออกแบบมาเพื่อให้มีขนาดพอดีกับของที่จะบรรจุ 12.6 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 13 . กล่องพลาสติก 4 H 1 กล่องพลาสติกที่ยืดได้ 4 H 2 กล่องพลาสติกแข็ง 13.1 กล่องต้องผลิตจากวัสดุพลาสติกที่เหมาะสมและมีความแข็งแรงที่เพียงพอกับความจุและการ ใช้งาน กล่อ ง ต้องมีความคงทนเพียงพอต่อการใช้งานและการเสื่อมสลายที่เกิดจากสารที่บรรจุหรือจากรังสี อั ลตราไวโอเลตอย่างใดอย่างหนึ่ง 13.2 กล่องพลาสติกที่ยืดได้ต้องประกอบด้วยสองส่วนซึ่งทํา จากวัสดุพลาสติกยืดที่ผ่านการหล่อขึ้นรูป ส่วนล่างประกอบด้วยโพรงสํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน และส่วนบนที่คลุมและเป็นตัวล็ อกระหว่าง ส่วนบนและส่วนล่าง ส่วนบนและส่วนล่างต้องออกแบบให้ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ด้านในวางอย่างเหมาะสม พอดีฝาครอบของฝาปิดสํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในต้องไม่สัมผัสกับด้านในของส่วนบนของกล่องนี้ 13.3 ในการขนส่งกล่องพลาสติกที่ยืดได้ฝาปิดต้องมีแผ่นกาวในตัวที่ทนแรงยืดเพียงพอ เพื่อป้องกันมิให้ ฝำก ล่องเปิดออก แผ่นกาวต้องทนต่อสภาพอากาศและกาวนี้ ต้องเข้ากันได้กับวัสดุพลาสติกที่ยืดได้ที่ใช้ทํา กล่อง อาจใช้ฝาปิดอย่างอื่นที่อย่างน้อยต้ องมี ประสิทธิภาพเท่ากับของที่ใช้อยู่แล้ว 13.4 สํา หรับกล่องพลาสติกแข็ง ถ้าต้องการให้สามารถป้องกันรังสีอั ลตราไวโอเลต ต้องทํา โดยการเพิ่ม ปริมาณของผงคาร์บอน หรือพิกเมนต์ ( pigment ) หรือตัวยับยั้งอื่นที่เหมาะสม สารปรุงแต่เหล่านี้ต้องเข้ากันได้ กับสารที่บรรจุและยังคงประสิทธิภาพตลอดอายุการใช้งานของกล่อง เมื่อมีการใช้ผงคาร์บอน พิกเมนต์ ( pigment ) หรือตัวยับยั้ง ที่นอกเหนือไปจากที่ผู้ผลิตใช้ในการทดสอบชนิดของการออกแบบ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ที่ ถูกทดสอบแล้ว อาจยกเว้นการทดสอบใหม่ ถ้ามีสัดส่วนของผงคาร์บอน ไม่เกินร้อยละ 2 โดยมวล หรือปริมาณสัดส่วนพิกเมนต์ไม่เกินร้อยละ 3 โ ดยมวล สัดส่วนตัวยับยั้ง สําหรั บป้องกันรังสีอั ลตราไวโอเลตไม่มี ข้อจํากัด 13.5 สารปรุงแต่งที่ใช้นอกเหนือไปจากเพื่อป้องกันรังสีอั ลตราไวโ อเลต อาจรวมอยู่ในส่วนประกอบของวัสดุ พลาสติกหากว่าสารปรุงแต่งนั้นมิได้ทํา ให้คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของวัสดุที่ทํา กล่องเสื่อมลงไป กรณีนี้ อาจยกเว้นการทดสอบใหม่ 13.6 กล่องพลาสติกคงรูปต้องมีฝาปิดที่ทํา จากวัสดุที่เหมาะสม และมีความแข็งแรงเพียงพอ และได้รับ การออกแบ บเพื่อสามารถป้องกันกล่องจากการเปิดออกโดยไม่ตั้งใจ

7 13.7 น้ํา หนักบริสุทธิ์สูงสุด 4 H 1: 60 kg 4 H 2: 400 kg 14 . กล่องเหล็กหรืออลูมิเนียม 4 A เหล็ก 4 B อลูมิเนียม 14.1 ความแข็งแรงของโลหะและการผลิตกล่อง ต้องให้เพียงพอกับความจุและการใช้งาน 14.2 กล่องนี้ต้องบุด้วยแผ่นไฟเบอร์หรือผ้าขนสัตว์หรือต้องมีการบุด้านในหรื อเคลือบด้วยวัสดุที่เหมาะสม ตามที่ กํา หนดไว้ถ้าต้องใช้โลหะบุที่มีตะเข็บคู่ ต้องไม่ให้เกิดการเล็ดลอดของสารโดยเฉพาะวัตถุระเบิดเข้าไป ในช่องมุมอับ 14.3 ฝาปิดเป็นประเภทใดก็ได้ที่เหมาะสม แต่ต้องยัง คงปิดยึดแน่นภายใต้สภาวะปกติในการขนส่ง 14.4 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 400 กิโลกรัม 15 . ถุงที่ทา จากสิ่งทอ ( textile bags ) 5 L 1 ไม่มีซับในหรือเคลือบ 5 L 2 มีสิ่งป้องกันการเล็ดลอดของผง 5 L 3 กันน้ํา 15.1 สิ่งทอที่ใช้ต้องมีคุณภาพดีความแข็งแรงของเนื้อผ้าและการผลิตถุงต้องเพียงพอกับความจุและการใช้งาน 15.2 ถุงป้องกันการเล็ดลอดของผง 5 L 2 ถุงนี้ต้องป้องกันการเล็ดลอดของผง ตัวอย่างเช่น ( 1 ) กระดาษติดตรึงกับผิวด้านในของถุง โดยใช้กาวที่ทนน้ํา เช่น ยางมะตอย หรือ ( 2 ) แผ่นฟิล์มบางที่ติดตรึงกับผิวด้านในของถุง ( 3 ) มีตัวบุรองชั้นในที่ทํา จากกระดาษหรือวัสดุพลาสติกหนึ่งชั้นหรือมากกว่า 15.3 ถุงที่กันน้ํา 5 L 3 เพื่อป้องกันการซึมเข้าของความชื้น ถุงต้องป้องกันน้ํา ได้ตัวอย่างเช่น ( 1 ) มีตัวบุรองชั้นในกันน้ํา ที่เป็นกระดาษเป็นชั้น ๆ ซับแยก (ตัวอย่าง กระดาษคราฟท์ที่ ฉาบขี้ผึ้ง กระดาษเคลือบยางมะตอย หรือกระดาษคราฟท์ที่เคลือบด้วยพลาสติก) หรือ ( 2 ) แผ่นฟิล์มพลาสติกที่ตรึงกับด้านในของถุง หรือ ( 3 ) มีตัวบุรองชั้นในที่ทํา จากวัสดุพลาสติกหนึ่งชั้นหรือมากกว่า 15.4 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 50 กิโลกรัม 1 6 . ถุงทำ จากพลาสติกทอ 5 H 1 ไม่มีซับในหรือเคลือบ 5 H 2 มีส่วนป้องกันการเล็ดลอดของผง 5 H 3 กันน้ํา 16.1 ถุงต้องทํา จากแถบยืดหรือเส้นใยเดี่ยวของวัสดุพลาสติกที่เหมาะสม ความแข็งแรงของวัสดุที่ใช้และ การผลิตถุงต้องมีขนาดเพียงพอกับความจุและการใช้งาน 16.2 ถ้าหากเป็นพลาสติก ทอแบบแบน ถุงต้องทํา ขึ้นโดยการเย็บหรือวิธีการอื่นที่ด้านล่างและด้านข้าง ด้านหนึ่งปิดถ้าพลาสติกนั้นเป็นแบบทรงกระบอก ถุงต้องปิดโดยการเย็บ ทอ หรือวิธีการปิดอื่นที่มีความแข็งแรง เท่าเทียมกัน 16.3 ถุงป้องกันการเล็ดลอดของผง 5 H 2 ถุงนั้นต้องป้องกันการเล็ดลอดของผงละเอี ยด โดยวิธีการตาม ตัวอย่าง ดังนี้: ( 1 ) กระดาษหรือแผ่นฟิล์มพลาสติกที่ติดตรึงกับด้านในของถุง หรือ ( 2 ) แผ่นบุรองภายในทีแยกออกได้ทํา จากระดาษหรือวัสดุพลาสติกหนึ่งชั้นหรือมากกว่า

8 16.4 ถุงที่กันน้ํา 5 H 3 ป้องกันการ ซึมจากความชื้น ถุงต้องป้องกันน้ํา ได้โดยวิธีการตามตัวอย่าง ดังนี้: ( 1 ) แผ่นบุรองภายในที่แ ยกออกได้ซึ่งทํา ด้วยกระดาษกันน้ํา (ตัวอย่าง กระดาษคราฟท์ฉาบขี้ผึ้ง , กระดาษคราฟท์ฉาบยางมะตอย 2 ครั้ง หรือกระดาษคราฟท์เคลือบพลาสติก) หรือ ( 2 ) แผ่นพลาสติกติดตรึงกับผิวด้านในหรือด้านนอกของถุง หรือ ( 3 ) แผ่นบุรองภำยในพลาสติกหนึ่งชั้นหรื อมากกว่ำ 16.5 น้ํา ห นักสุทธิสูงสุด: 50 กิโลกรัม 17 . ถุงฟิล์มพลาสติก ( plastic film ) 5 H 4 17.1 ถุงต้องทํา จากวัสดุพลาสติกที่เหมาะสม ความแข็งแรงของวัสดุที่ใช้และการผลิตถุงนั้นต้องเหมาะสมกับ ความจุของถุงและการใช้งาน รอยต่อและส่วนปิดต้องสามารถทนต่อแรงดันและแรงกระแทกที่เกิดขึ้นภายใต้ สภาวะการขนส่งปกติได้ 17.2 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 50 กิโลกรัม 18 . ถุงกระดาษ 5 M 1 ผนั งหลายชั้ น 5 M 2 ผนังหลายชั้น , กันน้ํา 18.1 ถุงต้องทํา จากกระดาษคราฟท์ที่เหมาะสมหรือกระดาษอื่นที่ทัดเทียมกันโดยมีความหนาอย่างน้อย 3 ชั้น ชั้นกลางอาจมีผ้าตาข่าย ( net - cloth ) และยึดติดด้วยกาวกับชั้นด้านนอกทั้งสองข้าง ความแข็งแรงของ กระดาษและการผลิตถุงต้องเหมาะสมกับความจุและการใช้งาน รอยต่อและส่วนปิดต้องป้องกันการ เล็ดลอด ของผง 18.2 ถุงชนิด 5 M 2 เป็นถุงป้องกันการซึมเข้าของความชื้น ต้องมีความหนาสี่ชั้นหรือมากกว่า ต้องสามารถ ป้องกัน น้ํา ได้โดยมีชั้นที่กันน้ํา หนึ่งในสองชั้นที่อยู่ด้านนอกสุด หรือมีแนวกันน้ํา ที่ทํา จากวัสดุป้องกันที่เหมาะสม ระหว่างชั้นสองชั้นด้านนอกอย่างใดอย่างหนึ่ ง ถุงที่มีสามชั้นต้องทํา ให้ป้องกันน้ํา ได้โดยชั้นกันน้ํา ต้องอยู่นอกสุด ในกรณีที่มีอันตรายจากสารที่บรรจุทํา ปฏิกิริยากับความชื้นหรือบรรจุสารในสภาพที่ชื้น ชั้นที่กันน้ํา หรือ แนวป้องกันน้ํา เช่น กระดาษคราฟท์ฉาบยางมะตอยหรือยางสองครั้ง กระดาษคราฟท์เคลือบพลาสติก แผ่นพลำสติกบางที่ติดตรึงอยู่กับด้านในของถุงหรือวัสดุรองภายในพลาสติกหนึ่งชั้นหรือมากกว่า ต้องอยู่ด้านใน ที่สัมผัสกับสาร รอยต่อและส่วนปิดต้องป้องกันน้ํา ได้ 18.3 น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 50 กิโลกรัม 19 . ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ ( composite packaging ) ( วัสดุพลาสติก) 6 HA 1 ภาชนะปิดพลาสติกที่มี ถัง เหล็กอยู่ด้านนอก 6 HA 2 ภาชนะปิดพลาสติกที่มีลังเป็นเหล็กโปร่งหรือกล่องเหล็กทึบอยู่ด้านนอก 6 HB 1 ภาชนะปิดพลาสติกที่ มี ถัง อลูมิเนียมอยู่ด้านนอก 6 HB 2 ภาชนะปิดพลาสติกที่มีลังอลูมิเนียมโปร่งหรือกล่องอลูมิเนียมทึบอยู่ด้านนอก 6 HC ภาชนะปิดพลาสติกที่มีกล่องไม้อยู่ด้านนอก 6 HD 1 ภาชนะปิดพลาสติกที่มี ถัง ไม้อัดอยู่ด้านนอก 6 HD 2 ภาชนะปิดพลาสติกที่มีกล่องไม้อัดอยู่ด้านนอก 6 HG 1 ภาชนะปิดพลาสติกที่มี ถัง ไฟเบอร์อยู่ด้านนอก 6 HG 2 ภาชนะปิดพลาสติกที่มีกล่องไฟเบอร์อยู่ด้านนอก 6 HH 1 ภาชนะปิดพลาสติกที่ มี ถัง พลาสติกอยู่ด้านนอก 6 HH 2 ภาชนะปิ ดพลาสติก ที่มีกล่องพลาสติกแข็งอยู่ด้านนอก

9 19.1 ภาชนะปิดภายใน (1) ให้ใช้ข้อกํา หนดข้อ 6.1.4.8.1 และ 6.1.4.8.4 ถึง 6.1.4.8.7 มาใช้กับภาชนะปิดภายในที่ เป็นพลาสติก (2) ภาชนะปิดภายในที่เป็นพลาสติกต้องวางได้อย่างพอดีกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก และ ต้องปราศจากสิ่งที่ยื่นออกมาซึ่งอาจขีดข่วนวัสดุพลาสติก (3) ความจุสูงสุดของภาชนะปิดภายใน 6 HA 1 , 6 HB 1 , 6 HD 1 , 6 HG 1 , 6 HH 1: 250 ลิตร 6 HA 2 , 6 HB 2 , 6 HC, 6 HD 2 , 6 HG 2 , 6 HH 2: 60 ลิตร (4) น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 6 HA 1 , 6 HB 1 , 6 HD 1 , 6 HG 1 , 6 HH 1: 400 กิโลกรัม 6 HA 2 , 6 HB 2 , 6 HC, 6 HD 2 , 6 HG 2 , 6 HH 2: 75 กิโลกรัม 19.2 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก (1) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็น ถัง เหล็กหรืออลูมิเนียม 6 HA 1 หรือ 6 HB 1 ให้นํา ส่วน ที่เกี่ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 1 หรือ 2 มาใช้กับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ตามความเหมาะสม (2) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็นกล่องเหล็กกล้าหรืออลูมิเนียมโปร่งหรือทึบ 6 HA 2 หรือ 6 HB 2 ให้นําส่วนที่เกี่ ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 14 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (3) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็นกล่องไม้ 6 HC ให้นํา ส่วนที่เกี่ ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 9 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (4) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็น ถัง ไม้อัด 6 HD 1 ให้นําส่วนที่เกี่ ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 5 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (5) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็น กล่องไม้อัด 6 HD 2 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้องตรงกันของ ข้อกํา หนด 10 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (6) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็น ถัง ไฟเบอร์ 6 HG 1 ให้นํา ข้อกํา หนด 7.1 ถึง 7.4 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (7) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็นกล่องไฟเบอร์ 6 HG 2 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้องตรงกันของ ข้อกํา หนด12 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก (8) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็น ถัง พลาสติก 6 HH 1 ให้นํา ข้อกํา หนด 8.1 ถึง 8.6 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก (9) ภาชนะปิดพลาสติกที่มีด้านนอกเป็นกล่องพลาสติกแข็ง (รวมทั้งวัสดุพลาสติกที่เป็นลูกฟูก) 6 HH 2 ให้นํา ข้อกํา หนด 13.1 และ 13.4 ถึง 13.6 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น 20 . ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (แก้ว กระเบื้องเคลือบ หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ทา ด้วยหิน) 6 PA 1 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ถัง เหล็ก 6 PA 2 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็นลังเป็นเหล็กโปร่งหรือกล่องเหล็กทึบ 6 PB 1 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ถัง อลูมิเนียม 6 PB 2 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็นลังอลูมิเนียมโปร่งหรือกล่องอลูมิเนียมทึบ 6 PC ภาชนะปิดที่มีด้ำน นอกเป็ นกล่องไม้ 6 PD 1 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ถัง ไม้อัด 6 PD 2 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็นตะกร้าหวาย 6 PG 1 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ถัง ไฟเบอร์ 6 PG 2 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็นกล่องไฟเบอร์ 6 PH 1 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ พลาสติกที่ยืดได้

10 6 PH 2 ภาชนะปิดที่มีด้านนอกเป็น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ พลาสติกแข็ง 20.1 ภาชนะปิดภายใน (1) ภาชนะปิดภายในจะต้องมีรูปแบบที่เหมาะสม (รูปทรงกระบอก หรือยาวรี) และต้องทํา จากวัสดุ ที่มีคุณภาพดี ปราศจากข้อบกพร่องใด ๆ ที่จะทํา ให้ความแข็งแรงสูญเสียไป ผนังต้องมีความหนาที่เพียงพอ ในทุกจุดและไม่มีความเค้นจากภายใน (2) ต้องใช้ฝาปิดแบบเกลียวพลาสติก จุกปิดเป็นแก้วเจียรทึบ หรือฝาปิดที่อย่างน้อยต้องมีประสิทธิภาพ สํา หรับปิดช่องถ่ายเทของภาชนะปิดภายใน ทุกส่วนของฝาปิดที่อาจสัมผัสกับสิ่งที่บรรจุต้องมีความต้านทานต่อ สิ่งบรรจุนั้น ต้องระวังเพื่อให้ แน่ใจว่าฝาปิดแน่นเพียงพอที่สามารถป้องกันการรั่วไหลและ ถูกยึดอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันมิให้ฝาหลุดระหว่างการขนส่ง ถ้าจํา เป็นต้องใช้ฝาที่มีการระบายได้ต้องปฏิบัติตาม โดย ของเหลวอาจถูกบรรจุเฉพาะใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่มีความทนทานต่อแรงดันซึ่งอาจเกิดขึ้น ในขณะที่ทํา การขนส่งความดันภายใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ หรือ IBC อาจจะเพิ่มสูงขึ้นได้เพราะสาเหตุ จากการระเหยของสินค้าอันตราย (เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นหรือด้วยเหตุอื่น) จึงต้องมีอุปกรณ์ระบายไอ ที่ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นั้น โดยที่ก๊าซที่ระบายออกมานั้นไม่ก่อให้เกิดอัน ตรายทั้งในด้านเป็นพิษ ไวไฟ หรือ ปล่อยมาในปริมาณมาก ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ระบายไอต้องถูกติดตั้ง หากมีโอกาสเกิดอันตรายจากความดัน ที่สูงเกินไปเนื่องจากการสลายตัวปกติของสาร อุปกรณ์ระบายไอต้องถูกออกแบบให้สามารถป้องกันไม่ให้สินค้า อันตรายภายในรั่วไหลออกมาได้และป้องกั นไม่ให้สารภายนอกและสิ่งปนเปื้อนต่าง ๆ เข้าไปได้ในขณะ ทํา การขนส่งในสภาพปกติ (3) ภาชนะปิดภายในต้องยึดอย่างแน่นหนาอยู่ภายใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ต้องอัดให้อยู่ นิ่ง ๆ โดยใช้วัสดุลดแรงกระแทกและ/หรือวัสดุบุรอง (4) ความจุสูงสุดของภาชนะปิดภายใน: 60 ลิตร (5) น้ํา หนักสุทธิสูงสุด: 75 กิโลกรัม 20.2 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก (1) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็น ถัง เหล็ก 6 PA 1 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้องตรงกัน ของข้อกํา หนด 1 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ฝาปิดที่ถอดออกได้สํา หรับ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ประเภทนี้อาจทํา เป็นแบบฝาครอบ (2) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นลังเหล็กโปร่งหรือกล่องเหล็กทึบ 6 PA 2 ให้นํา ส่วนที่เกี่ ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 14 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก สํา หรับภาชนะปิดทรงกระบอก ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกต้องมีขนาด สูงกว่าภาชนะปิดภายในที่ปิดฝาและ ตั้งขึ้น ถ้าลังโปร่งใช้สํา หรับห่อหุ้มภาชนะปิดภายในที่มีรูปทรงยาวรีและเข้ากันได้ดี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้นต้องมีสิ่งที่ครอบป้องกันอยู่ภายนอกด้วย (3) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็น ถัง อลูมิเนียม 6 PB 1 ให้นํา ส่วน ที่เกี่ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 2 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (4) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นลังอลูมิเนียมโปร่งหรือกล่องอลูมิเนียมทึบ 6 PB 2 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 14 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (5) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นกล่องทํา ด้วยไม้ 6 PC ให้นํา ส่วน ที่เกี่ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 9 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (6) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็น ถัง ไม้อัด 6 PD 1 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้อง ตรงกันของข้อกํา หนด 5 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (7) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นตะกร้าหวาย 6 PD 2 ตะกร้าหวายจะต้อง ทํา อย่างเหมาะสมจากวัสดุที่มีคุณภาพดีต้องพอดีกับส่วนป้องกันที่นํา มาครอบ เพื่อป้องกันความเสียหายของ ภาชนะปิ ด

11 (8) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็น ถัง ไฟเบอร์ 6 PG 1 ให้นําส่วนที่เกี่ยวข้อง ตรงกันของข้อกํา หนด 7.1 ถึง 7.4 มาใช้สํา หรับการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (9) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นกล่ องไฟเบอร์ 6 PG 2 ให้นํา ส่วน ที่เกี่ยวข้องตรงกันของข้อกํา หนด 12 มาใช้สํา หรั บการทํา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนั้น (10) ภาชนะปิดภายในที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกเป็นพลาสติกที่ยืดได้หรือพลาสติกแข็ง (6 PH 1 หรือ 6 PH 2) วัสดุทั้งของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกต้ องเป็นไปตามข้อบังคับในข้อ 13 ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ที่เป็นพลาสติกแข็งต้องทํา จากโพลีเอธีลีน ( polyethylene ) ที่มีความหนาแน่นสูง หรือวัสดุพลาสติก ชนิดอื่นที่เทียบเท่า ฝาปิดที่ถอดออกได้สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประเภทนี้อาจทํา เป็นแบบฝาครอบ

ภาคผนวก 3 ข้อกำหนดในการทดสอบ ภาชนะ 1 การทดสอบและความถี่ของการทดสอบ 1.1 ต้นแบบของแต่ละ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้องทดสอบตามข้อกําหนด 1 ตามขั้นตอนที่กํา หนดโดย หน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่ 1.2 ต้นแบบของแต่ละ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้องผ่านการทดสอบก่อนที่จะนํา ไปใช้งาน ภาชนะและบรรจุ ภัณฑ์ ต้นแบบถูกกํา หนดโดยการออกแบบ ขนาด วัสดุและความหนา วิธีการผลิตและการบรรจุแต่อาจรวมถึง การปรับสภาพพื้นผิวที่แตกต่างนอกจากนี้ยังรวมถึง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่มีความสูงแตกต่างไปจากต้นแบบ ที่กํา หนดไว้ 1.3 หน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่จะเป็นผู้กํา หนดช่วงเว ลาในการสุ่มตัวอย่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ผลิตขึ้น เพื่อทํา การทดสอบซ้ํา สํา หรับการทดสอบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ทํา จากกระดาษหรือแผ่นไฟเบอร์ ต้องเตรียมการทดสอบตามเงื่อนไข ของสภาพบรรยากาศโดยรอบ ซึ่ง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ทํา ด้วยกระดาษ หรือแผ่นไฟเบอร์ต้องปรับสภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมงในบรรยากาศที่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ ( r . h .) เงื่อนไขดังกล่าวนี้มีให้เลือกได้อย่างใดอย่างหนึ่งในสามสภาพ คืออุณหภูมิ 23 ± 2 องศาเซลเซียส และ ความชื้นสัมพัทธ์ 50% ± 2% สภาพที่สองอุณหภูมิ 20 ± 2 องศาเซลเซียส และ ความชื้นสัมพัทธ์ 65% ± 2% หรือสภาพที่สามอุณหภูมิ 27 ± 2 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 65% ± 2% หมายเหตุ : ค่าเฉลี่ยต้องอยู่ระหว่างช่วงที่กํา หนดไว้นี้การขึ้นลงในช่วงสั้น ๆ และข้อจํากัดของการวัด อาจทํา ให้การวัดของแต่ละครั้งทํา ให้ความชื้นสัมพัทธ์เบี่ยงเบนสูงสุดถึงร้อยละ ± 5 จากค่าที่ กํา หนดถือว่า ไม่ทํา ให้ผลการทดสอบคลาดเคลื่อน 1.4 ต้องทํา การทดสอบซ้ํา หากมีการแก้ไขปรับปรุงการออกแบบ วัสดุหรือวิธีการผลิตของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ 1.5 หน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่อาจอนุญาตให้เลือกใช้วิธีการทดสอบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่มีส่วนแตกต่าง เพียงเล็กน้อยจากแบบที่เคยทดสอบแล้ว เช่น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในมีขนาดเล็กกว่ำหรือมีน้ํา หนัก น้อยกว่า และ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ เช่น ถัง ถุง และกล่อง ที่มีขนาดภายนอกน้อยกว่าเล็กน้อย 1.6 (สํารองไว้) หมายเหตุ : สํา หรับเงื่อนไขความแตกต่างของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ซึ่งอยู่ใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก และรูปแบบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่ ได้รับอนุญาต เมื่อ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสม หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ขนาดใหญ่ซึ่งมีการทํา การทดสอบกับ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ภายในหลายๆแบบนั้น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในหลายแบบที่แตกต่างกันสามารถถูกนํา มา ประกอบกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกนี้หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ขนาดใหญ่ หากระดับของสมรรถนะนี้ มีความเท่าเทียมกัน ความหลากหลายของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในดังต่อไปนี้ให้ยอมรับได้โดยไม่ต้อง ทํา การทดสอบเพิ่มเติม ( ก ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่ขนาดเท่ากันหรือขนาดเล็กกว่าอาจใช้ได้หาก ( 1 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่มีการออกแบบมาคล้ายคลึงกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ที่ทํา การทดสอบ (เช่น รูปร่างวงกลม สี่เหลียม อื่น ๆ ( 2 ) วัสดุที่ใช้ทํา โครงสร้างของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน(เช่น แก้ว พลาสติก เหล็ก และอื่น ๆ) ที่ทนต่อแรงจากการกระแทกและการวางซ้อนทับได้โดยมีค่าเท่ากับหรือสูงกว่าค่าที่ได้จากการทดสอบต้นแบบ ของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ( 3 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ที่มีขนาดอุปกรณ์เปิด - ปิด เหมือนกันหรือมีขนาดเล็กกว่า ที่มีการออกแบบที่คล้ายคลึงกัน (เช่น ฝาปิดสกรูฝาที่ใช้แรงเสียดทาน เป็นต้น) ( 4 ) มีวัสดุรองรับเพิ่ ม เติมที่เพียงพอเพื่อใช้ป้องกันในบริเวณที่เป็นช่องว่างและเพื่อป้องกันการ เคลื่อนที่ของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน และ

2 ( 5 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่วางอยู่ใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกในลักษณะเดียว กับการวางของหีบห่อที่ได้ทํา การทดสอบ ( ข ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่มีจํา นวนของการทดสอบน้อยกว่า หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในชนิดอื่น ๆ ที่ระบุในข้อ ( ก ) อาจถูกนํา มาใช้หากมีความสามารถในการทนต่อการรับการกระแทกได้ โดยเพิ่มวัสดุร องรับในพื้นที่ว่างเพื่อป้องกันการเคลื่อนที่ของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน 1.7 สิ่งของหรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในแบบใดก็ตามไม่ต้องทํา การทดสอบเมื่อบรรจุของแข็งหรือ ของเหลว และขนส่งใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ ( 1 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ที่ ผ่านการทดสอบแล้วตามข้อ 3 โดยทดสอบร่วมกับ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ภายในที่แตกง่ายได้ (แก้ว) ซึ่งบรรจุของเหลวที่จัดเข้ากลุ่มการบรรจุที่ I โดยวิธีการตกกระทบ ( 2 ) น้ํา หนักรวมของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในทั้งหมดต้องไม่เกินครึ่ งหนึ่งของน้ํา หนักรวมของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่ใช้สํา หรับการทดสอบโดยวิธีการตกกระทบ ตาม ( ก ) ( 3 ) ความหนาของวัสดุบุรองระหว่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในด้วยกัน และระหว่าง ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ภายในและ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ต้องไม่น้อยกว่าความหนาที่กํา หนดใน ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ต้นแบบที่ผ่านการทดสอบแล้วและถ้า หากใช้ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในแบบเดียวในการทดสอบ ความหนาของวัสดุกันกระแทกระหว่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในด้วยกันต้องไม่น้อยกว่าความหนาของวัสดุ กันกระแทกที่อยู่ระหว่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในและ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกในการทดสอบ ครั้งแรก ถ้าหากว่าใช้ ภาชนะและบรรจุ ภัณฑ์ ภายในที่มีจํา นวนน้อยกว่าหรือเล็กกว่า ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในอย่างใดอย่างหนึ่ง (เปรียบเทียบกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่ใช้ในการทดสอบโดยวิธีการ ตกกระทบ) ต้องเพิ่มวัสดุกันกระแทกให้มีจํา นวนเพียงพอเพื่อเติมพื้นที่ว่าง ( 4 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกที่ผ่านกา รทดสอบการวางซ้อนทับตามข้อ 6 ในขณะเป็น ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ เปล่า น้ํา หนักรวมทั้งหมดของหีบห่อต้องมีน้ํา หนักเป็นไปตามน้ํา หนักรวมของ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ภายในที่ใช้ในการทดสอบโดยวิธีการตกกระทบใน ( ก ) ( 5 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่บรรจุของเหลวต้องห่อหุ้มโดยรอบด้วยวัสดุดูด ซับที่มีปริมาณ เพียงพอ เพื่อดูดซับของเหลวทั้งหมดที่บรรจุใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในนั้น ( 6 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่บรรจุของเหลวและไม่ได้ป้องกันการรั่วไหล หรือ ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ภายในที่ใช้บรรจุของแข็งและไม่ได้ป้องกันการเล็ดลอดของผง ต้องป้องกันของเหลวหรือของแข็ง ที่อาจรั่วไหลออกมาให้อยู่ในบริเวณจํากัดใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก โดยใช้วัสดุดูดซับหรือรองรับ ที่สามารถป้องกันการรั่วไหล เช่น ถุงพลาสติก หรือสิ่งรองรับอื่นที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันได้เท่าเทียมกัน สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภาย ในที่บรรจุของเหลว ต้องใส่วัสดุดูดซับดังข้อ ( จ ) ( 7 ) สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมต้องทํา เครื่ องหมายที่ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ตามหลัก การ ทํา เครื่องหมาย เพื่อแสดงว่าได้ผ่านการทดสอบตามวิธีการทดสอบกลุ่มการบรรจุที่ I เครื่องหมายแสดงน้ํา หนัก รวมเป็นกิโลกรัม ต้องเป็นค่าผลรวมของ น้ํา หนักของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกบวกกับครึ่งหนึ่งของ น้ํา หนักของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในที่ใช้ในการทดสอบโดยวิธีการตกกระทบตามข้อ ( ก ) เครื่องหมาย เหล่านี้ต้องมีตัวอักษร “ V ” ตามที่อธิบายไว้ตาม อักษร “ T ” หรือ “ V ” หรือ “ W ” อาจใช้ตามหลังรหัสของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ อักษร “ T ” แสดงถึง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้กอบกู้ ( Salvage packaging ) 1.8 หน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่ อาจทํา การทดสอบตามที่กํา หนดเมื่อไรก็ได้เพื่อพิสูจน์ว่า ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ที่ผลิตขึ้นต่อมาในภายหลังต้องเป็นไปตามข้อกํา หนดของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้นแบบที่ได้รับการ ทดสอบ 1.9 หากจํา เป็นต้องปรับสภาพหรือเคลือบภายในเพื่อความปลอดภัยแล้ว คุณภาพในการป้องกันจะต้อง คงเดิมภายหลังการทดสอบ

3 1.10 หากการทดสอบไม่น่าเชื่อถือ หน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่อาจทํา การทดสอบซ้ํา หลาย ๆ ครั้ง ในตัวอย่างบรรจุภัณฑ์ชิ้นเดิมได้ 1.11 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้กอบกู้ ( Salvage packaging ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้กอบกู้ ( ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ พิเศษ ที่นํา ไปใช้บรรจุหีบห่อสินค้าอันตรายที่ชํา รุด บกพร่อง หรือมีการรั่วไหล หรือ สินค้าอันตรายซึ่งหกหรือรั่วไหล เพื่อใช้ขนส่งในการกอบกู้หรือกํา จัดทิ้ง ) ต้องได้รับการทดสอบและ ทํา เครื่องหมายตามข้อบังคับของกลุ่มการบรรจุที่ II ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้กอบกู้เป็น ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ที่ใช้สํา หรั บการขนส่งของแข็งหรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ยกเว้น ( 1 ) สารทดสอบที่ใช้ในการทดสอบต้องเป็นน้ํา และต้องบรรจุใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ใช้กอบกู้ไว้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ของความจุสูงสุด และยอมให้ใช้วัสดุเสริม เช่น ถุงบรรจุลูกตะกั่ว เพื่อจะได้น้ํา หนักของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ทั้งหมดตลอดเวลาของการทดสอบ เพื่อจะไม่ทํา ให้ผลการตรวจสอบเกิดความ คลาดเคลื่อนในการทดสอบการตกกระทบ ความสูงของการตกกระทบจะแปรผันตามข้อกํา หนดในข้อ 3. 5 ( ข ) ( 2 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้องผ่านการทดสอบการป้องกันการรั่วไหลที่ความดัน 30 กิโลปาสคาล โดยที่ผลการทดสอบนี้ต้องบันทึกไว้ในเอกสารการทดสอบตามข้อกํา หนดในข้อ 5.8 ; และ ( 3 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้องทํา เครื่องหมายด้วยตั วอักษร “ T ” ตามที่อธิบายไว้ตามอักษร “ T ” หรือ “ V ” หรือ “ W ” อาจใช้ตามหลังรหัสของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ อักษร “ T ” แสดงถึง ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ที่ใช้กอบกู้ ( Salvage packaging ) 2 . การเตรียม ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ เพื่อการทดสอบ 2.1 ต้องทํา การทดสอบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่เตรียมไว้เพื่อการขนส่ง รวมถึง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมภาชนะปิดภายในหรือภาชนะปิดเดี่ยว หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน ต้องบรรจุไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ของความจุสูงสุดสํา หรับของเหลว หรือร้อยละ 95 สํา หรับของแข็ง สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมที่ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในถูกออกแบบมาเพื่อบรรจุของเหลวและ ของแข็งต้องแยกทํา การทดสอบตามที่กํา หนดไว้สํา หรับทั้งของเหลวและของแข็ง ในการทดสอบ อาจใช้สารหรือสิ่งของอย่างอื่นแทนสารหรือสิ่งของที่ขนส่งใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ จริง เว้นแต่การกระทํา ดังกล่าวทํา ให้ผลการทดสอบไม่ถูกต้ อง สํา หรับของแข็งเมื่อใช้สารอื่นแทนเพื่อทดสอบต้องเป็นสารที่มีลักษณะ ทางกายภาพ ที่เหมือนกัน (น้ํา หนัก ขนาดของเม็ด ฯลฯ) โดยอนุญาตให้มีการใช้วัสดุเสริม เช่น ถุง บรรจุลูกตะกั่ว เพื่อให้ได้น้ํา หนักรวมของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ คงที่ตลอดเวลา เพื่อจะไม่ทํา ให้ผลการทดสอบคลาดเคลื่ อนได้ 2.2 การทดสอบการตกกระทบของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่บรรจุของเหลว เมื่อใช้สารอื่นแทนต้องมี ความหนาแน่นสัมพัทธ์และความหนืดที่คล้ายคลึงกันกับสารที่ต้องการขนส่ง อาจใช้น้ํา สํา หรับการทดสอบแทน ของเหลวในการทดสอบการตกกระทบ ภายใต้ เงื่อนไขตามที่กํา หนดในข้อ 3.5 2.3 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ทํา ด้วยกระดาษหรือแผ่นไฟเบอร์ต้องปรับสภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง ในบรรยากาศที่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ ( r . h .) เงื่อนไขดังกล่าวนี้มีให้เลือกได้อย่างใด อย่างหนึ่งในสามสภาพ คืออุณหภูมิ 23 ± 2 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 50% ± 2% สภาพที่สอง อุณหภูมิ 20 ± 2 องศาเซลเซียส และ ความชื้นสัมพัทธ์ 65% ± 2% หรือสภาพที่สามอุณหภูมิ 27 ± 2 องศา เซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 65% ± 2% หมายเหตุ : ค่าเฉลี่ยต้องอยู่ระหว่างช่วงที่กํา หนดไว้นี้การขึ้นลงในช่วงสั้น ๆ และข้อจํากัดของการวัดอาจ ทํา ให้การวั ดของแต่ละครั้งทํา ให้ความชื้นสัมพัทธ์เบี่ยงเบนสูงสุดถึงร้อยละ ± 5 จากค่าที่กํา หนดถือว่าไม่ทํา ให้ผลการทดสอบคลาดเคลื่อน 2. 4 เพื่อตรวจสอบว่าความเข้ากันได้เป็นอย่างดีทางเคมีของของเหลวกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ถัง และ เจอรี่แคน ( jerricans ) พลาสติกตามข้อกํา หนดทั่วไปของ ถัง และเจอรี่แคนพลาสติก ( Jerrican plastic )

4 และถ้าจํา เป็น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (วัส ดุพลาสติก) ตามข้อกํา หนดทั่วไปของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ ( composite packaging ) ( วัสดุพลาสติก) ต้องมีการจัดเก็บที่อุณหภูมิบรรยากาศโดยรอบเป็นเวลา 6 เดือน โดยที่ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่างนั้นต้องบรรจุของเหลวตามสภาพที่ใช้ในการขนส่ง สํา หรับ 24 ชั่วโมงแรกและ 24 ชั่วโมงสุดท้ายของการจัดเก็บตัวอย่างของการทดสอบจะต้องจัดเก็บโดยให้ฝาปิดอยู่ ด้านล่าง อย่างไรก็ตาม ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่มีรูระบายอากาศจะต้องมีการวางในตํา แหน่งดังกล่ำวแต่ละช่วง เป็นเวลา 5 นาทีเท่านั้น หลังจากการจัดเก็บนี้ตัวอย่างการทดสอบต้องนํา ไป ทดสอบตามที่กํา หนดไว้ในข้อ 5.3 ถึง 5.6 เมื่อทราบว่าคุณสมบัติความแข็งแรงของวัสดุพลาสติกของภาชนะปิดภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (วัสดุพลาสติก) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดจากการกระทํา ของสารที่บรรจุก็ไม่จํา เป็น ที่จะต้องตรวจสอบการเข้ากันได้ทางเคมี การเปลี่ยนแปลงอย่ำงเห็ นได้ชัดในด้านคุณสมบัติของความแข็งแรง หมายความว่า ( 1 ) ต้องไม่มีการแตกที่เห็นได้ชัด ( 2 ) ความยืดหยุ่นลดลงอย่างเห็นได้ชัด เว้นแต่การ ลดดังกล่าวมีอัตราสัดส่วนน้อยกว่าการเพิ่มขึ้น ของการยืดตัวภายใต้การรับน้ํา หนักเมื่อคุณสมบัติของวัสดุพลาสติกมีการกํา หนดด้วยวิธีอื่น การทดสอบความ เข้ากันได้ข้างต้นอาจไม่ต้องนํา มาพิจารณา อย่างน้อยกระบวนการดังกล่าวจะต้องเทียบเท่ากับการทดสอบ ข้างต้นและได้รับการรับรอง โดยหน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่ หมายเหตุ : สํา หรับ ถัง และเจอรี่แคนพลาสติกและ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (วัสดุพลาสติก) ที่ทํา จากโพลีเอทธีลีนที่มีมวล โมเลกุลโดยคาเฉลี่ยหรือค่าสูง ให้ดูข้อ 2.6 ข้างล่างประกอบ 3. การทดสอบโดยการตกกระทบ 3.1 จํา นวนตัวอย่างที่ใช้ทดสอบ (ต่อต้นแบบและผู้ผลิต) และแนวการทดสอบการตกกระทบ สํา หรับการ ทดสอบ การตกกระทบนอกเหนือจากการตกกระทบในด้านเรียบ จุดศูนย์ถ่วงของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้อง อยู่เหนือจุดกระทบในแนวตั้งเมื่อการทดสอบการตกกระทบมีแนวการทดสอบหลายแบบ ต้องใช้แนว การทดสอบที่ผลลัพธ์มีแนวโน้มต่อควา มเสียหายของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นั้น ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ จำ นวนตัวอย่าง แนวการตกกระทบ ถัง เหล็ก ถัง อลูมิเนียม ถัง โลหะนอกเหนือจากเหล็กหรือ อลูมิเนียม เจอรี่แคนเหล็ก เจอรี่แคนอลูมิเนียม ถัง ไม้อัด ถังไม้รูปทรงถังเบียร์ ถัง ไฟเบอร์ ถัง และเจอรี่แคนพลาสติก ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ ซึ่งที่มีรูปทรงเป็น ถัง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ โลหะบาง 6 (3 ตัวอย่างต่อการตกกระทบแต่ ละแบบ) กำ ร ต ก ก ร ะ ท บ ค รั้ ง ที่ ห นึ่ ง (ใช้ ตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง) : ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ ต้องกระทบกับ เป้าหมายตามเส้น ทแยงมุมกับขอบบนของ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ หรือถ้า ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ นั้นไม่มีขอบบน ของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้อง กระทบกับขอบของรอยตะเข็บ โดยรอบหรือที่ขอบนอกการตก กระทบครั้งที่สอง (ใช้ตัวอย่างอีก 3 ตั วอย่าง) : ภาชนะและบรรจุ ภัณฑ์ ต้องกระทบกับเป้าหมายใน ส่วนที่อ่อนที่ สุดที่ไม่ได้ถูกทดสอบ ในครั้งแรก ตัวอย่างเช่น ที่ฝาปิด หรือสํา หรับ ถัง รูปทรงกระบอ ก

5 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ จำ นวนตัวอย่าง แนวการตกกระทบ กล่องไม้ธรรมชาติทึบ กล่องไม้อัดทึบ กล่องไม้อัดเศษไม้ทึบ กล่องไฟเบอร์ทึบ กล่องพลาสติกทึบ กล่องโลหะหรืออลูมิเนียมทึบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมที่มี รูปร่างแบบกล่อง 5 (1 ตัวอย่างต่อการตกกระทบ ) การตกกระทบครั้งที่ หนึ่ง : ปล่อย ลงมาโดยระนาบของก้น การตกกระทบครั้งที่สอง : ปล่อย ลงมาโดยระนาบของด้านบน การตกกระทบครั้งที่สาม : ปล่อย ลงมาโดยระนาบของส่วนข้างด้าน ยาว การตกกระทบครั้งที่สี่ : ปล่อยลง มาโดยระนาบของส่วนข้างด้านสั้น การตกกระทบค รั้งที่ห้า : ปล่อย โดยมุมของบรรจุ ภัณฑ์เป็นจุด กระทบ ถุงชั้นเดียว มีรอยตะเข็บด้านข้าง 3 (ตกกระทบ 3 ตัวอย่างต่อถุง) การตกกระทบครั้ งที่หนึ่ง : ปล่อย ลงมาทางหน้าตัดกว้าง การตกกระทบครั้งที่สอง : ปล่อย ลงมาทางหน้าตัดที่แคบ การตกกระทบครั้งที่สาม : ปล่อย ลงมาทางหัวและปลายด้านหนึ่ง ของถุง ถุงชั้นเดียว ไม่มีตะเข็บด้านข้าง หรือถุงชนิดหลายชั้น 3 (ตกกระทบ 2 ครั้งต่อถุง) การตกกระทบครั้ งที่ หนึ่ง : ปล่อย ลงมาทางหน้าตัดกว้าง การตกกระทบครั้งที่สอง : ปล่อย ลงมาทางปลายด้านหนึ่งของถุง 3.2 การเตรียมการพิเศษสํา หรับตัวอย่างที่ต้องทดสอบการตกกระทบต้องลดอุณหภูมิของตัวอย่าง ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ ที่ทํา การทดสอบและสิ่งบรรจุอยู่ภายในให้มีค่าเท่ากับ – 18 องศาเซลเซียส หรือต่ํา กว่า สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต่อไปนี้ ( 1 ) ถัง พลาสติก ( ตามข้อกําหนดทั่วไปของ ถัง และเจอรี่แคนพลาสติก ( Jerrica n plastic ) ) ; ( 2 ) เจอรี่แคนพลาสติก ( ตามข้อกําหนดทั่วไปของ ถัง และเจอรี่แคนพลาสติก ( Jerrican plastic ) ) ; ( 3 ) กล่องพลาสติกนอกเหนือจากกล่องพลาสติกที่ยืดได้ ( (ตามข้อกําหนด ทั่วไปของกล่องพลาสติก ) ; ( 4 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (วัสดุพลาสติก) ( (ตามข้อกําหนดทั่วไปของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ ( composite packaging ) ) และ ( 5 ) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมที่มี ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในทํา ด้วยพลาสติก ยกเว้นถุงพลาสติก ที่ใช้บรรจุของแข็งหรือสิ่งของถ้าเตรียมตัวอย่างทดสอบโดยวิธีนี้อำจยกเว้นการปรับสภาพตามข้อ 2.3 ของเหลว ที่ทดสอบต้องรักษาให้อ ยู่ในสถานะ ของเหลว หากจํา เป็นให้เติ มสารป้ องกันการแข็งตัว 3.3 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ แบบถอดหัวได้สํา หรับของเหลวต้องยังไม่ถูกทํา การทดสอบจนกว่าจะครบ เวลา 24 ชั่วโมง หลังจากทํา การเติมของเหลวและทํา การปิดเพื่อให้ประเก็ น เกิดการคลายตัว

6 3.4 เป้าการตกกระทบ เป้าการตกกระทบต้องเป็นพื้นราบ แน่น ไม่ยืดหยุ่นและมีผิวเรียบได้ระดับ และต้อง - ต้องมีความสมบูรณ์และความหนาแน่นเพียงพอที่จํา ไม่เกิดการเคลื่อนที่ - มีผิวเรียบและไ ม่มี ความเสียหายที่อาจมีผลกระทบต่อผลการทดสอบ - มีความคงรูปเพียงพอที่จะไม่เกิดการเสียรูปภายใต้สภาวะการทดสอบ และไม่มีแนวโน้มที่จะเกิดความ เสียหายจากการทดสอบ และ - มีความใหญ่เพียงพอเพื่อมั่นใจได้ว่าทุกส่วนของหีบห่อยังอยู่บนพื้นผิวการทดสอบ 3.5 ความสูงของการตกกระทบ สํา หรับของแข็งและของเหลว ถ้ามีการใช้สารอื่นที่มีคุณสมบัติทางกายภาพที่สํา คัญเหมือนกันนํา มาบรรจุใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ แทนของแข็งหรือของเหลวที่ทํา การขนส่ง กลุ่มการบรรจุที่ I กลุ่มการบรรจุที่ II กลุ่มการบรรจุที่ III 1.8 เมตร 1.2 เมตร 0.8 เมตร สํา หรับ ของเหลวเมื่อทํา การทดสอบโดยใช้น้ํา บรรจุใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่าง หมายเหตุ : ในส่วนที่เป็นน้ํา รวมถึงน้ํา สารละลายป้องกันการแข็งตัว โดยมีค่า ความถ่วงจําเพาะไม่น้อยกว่า 0.95 สํา หรับการทดสอบที่ - 18 องศาเซลเซียส ( 1 ) หากสารที่ต้องทํา การขนส่งมีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ไม่เกิน 1.2 กลุ่มการบรรจุที่ I กลุ่มการบรรจุที่ II กลุ่มการบรรจุที่ III 1.8 เมตร 1.2 เมตร 0.8 เมตร ( 2 ) สารที่ต้องทํา การขนส่งมีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์มากกว่า 1.2 ความสูงของการตกกระทบต้อง คํานวณตามความหนาแน่นสัมพัทธ์ ( d ) ของสารที่ทํา การขนส่ง ปัดเศษให้เป็นทศนิยมหนึ่งหลัก ดังนี้ กลุ่มการบรรจุที่ I กลุ่มการบรรจุที่ II กลุ่มการบรรจุที่ III d x 1.5 (เมตร) d x 1.0 (เมตร) d x 0.67 (เมตร) 3.6 เกณฑ์ที่ผ่านการทดสอบ (1) แต่ละ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่บรรจุของเหลวต้องไม่มีการรั่วไหลเมื่อความดันภายในและภายนอก อยู่ในภาวะสมดุลอย่างไรก็ตาม ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ และยกเว้น สํา หรับภาชนะปิดภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (แก้ว กระเบื้องเคลือบ หรือผลิตภัณฑ์หิน) ไม่จํา เป็นต้องให้ระดับความดันอยู่ในภาวะสมดุล (2) สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่บรรจุของแข็งที่ทดสอบการตกกระทบ แล ะผิวด้านบนกระทบกับ เป้าหมาย ตัวอย่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ จะผ่านการทดสอบก็ต่อเมื่อสารที่บรรจุอยู่ทั้งหมดยังมีปริมาณเท่าเดิม ใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในหรือภาชนะปิด ภายใ น (เช่น ถุงพลาสติก) แม้ว่ำฝาปิ ด ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ชั้นนอกไม่สามารถป้องกันการเล็ดลอดของผงแล้วก็ตาม (3) ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอกของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมต้องไม่มีความเสียหายที่มีผลต่อความปลอดภัยระหว่างการขนส่ง ต้องไม่เกิด การรั่วไหลของสารที่บรรจุในภาชนะปิดภายในหรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน (4) ผิวชั้นนอกสุดข องถุงหรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ต้องไม่มีรอยชํารุดหรือแสดงความ เสียหายที่จะมีผลต่อความปลอดภัยระหว่างการขนส่ง

7 (5) การรั่วออกมาเพียงเล็กน้อยที่บริเวณฝาปิดในขณะที่เกิดการกระทบ และถ้าหากไม่มีการรั่วไหล ออกมาอีก ให้ถือว่า ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นั้นผ่านการทดสอบ 6.1.5.3.6.6 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ สํา หรับ บรรจุสินค้าอันตรายประเภทที่ 1 จะต้องไม่มีรอยแตก ซึ่งอาจเป็นเหตุให้เกิดการหลุดลอดของสารหรือสิ่งของ ระเบิดออกจาก ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายนอก 4 . การทดสอบการป้องกันการรั่วไหล 4.1 ต้องทํา การทดสอบการป้องกันการรั่วไหล กับทุกต้นแบบของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้บรรจุของเหลว อย่างไรก็ตามการทดสอบนี้ไม่จํา เป็นสํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสม 4. 2 จํา นวนตัวอย่างที่ใช้ทดสอบ : ใช้สามตัวอย่างต่อต้นแบบและต่อผู้ผลิต 4. 3 การเตรียมการพิเศษสํา หรับตัวอย่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ทดสอบ: ฝาปิดแบบมีรูระบายอากาศ ต้องได้รับการแทนที่ ด้วยฝาปิดแบบไม่มีรูระบายอากาศที่ทัดเทียมกันหรือให้ปิดรูระบายอากาศนั้น 4. 4 วิธีการทดสอบและค่าความดันที่ใช้ : ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ รวมถึงฝาปิดต้องทํา ให้จมอยู่ใต้น้ํา เป็นเวลา 5 นาทีในขณะที่เพิ่มความดันอากาศภายใน วิธีการทํา ให้จมนี้ต้องไม่มีผลกระทบต่อผลการทดสอบความดัน อา กาศที่ใช้ (ความดันเกจ) ต้ องเป็ นดังนี้ กลุ่มการบรรจุที่ I กลุ่มการบรรจุที่ II กลุ่มการบรรจุที่ III ไม่น้อยกว่า 30 กิโลพาสคัล (0.3 บาร์) ไม่น้อยกว่า 20 กิโลพาสคัล (0.2 บาร์) ไม่น้อยกว่า 20 กิโลพาสคัล (0.2บาร) สามารถใช้วิธีการทดสอบอื่นที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกันได้ 4. 5 เกณฑ์ที่ผ่านการทดสอบ : จะต้องไม่มีการรั่วไหลเกิดขึ้น 5 . การ ทดสอบความดันภายใน (ด้วยของเหลว) 5.1 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่จะทดสอบ :การทดสอบความดันภายใน จะต้องทดสอบกับทุกต้นแบบของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ โลหะ พลาสติก หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบที่ใช้บรรจุของเหลว การทดสอบนี้ ไม่จํา เป็นสํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในของ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสม 5.2 จํา นวนตัวอย่างที่ใช้ทดสอบ : ใช้สามตัวอย่างต่อต้นแบบและต่อผู้ผลิต 5.3 การเตรียมการพิเศษสํา หรับตัวอย่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ทดสอบ: ฝาปิดแบบมีรูระบายอากาศ ต้องได้รับการแทนที่ด้วยฝาปิดแบบไม่มีรูระบายอากาศที่ทัดเทียมกันหรือให้ปิดรูระบายอากาศนั้น 5.4 วิธีการทดสอบและค่าความดันที่ใช้: ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่เป็นโลหะและ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (แก้ว , ดินเผา หรือ บรรจุภัณฑ์ทํา จากหิน) รวมทั้งฝาปิด ต้องทํา การทดสอบที่ความดันทดสอบเป็น เวลา 5 นาที ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่เป็นพลาสติกและ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ (ทํา จากวัสดุพลาสติก) รวมทั้งฝาปิดต้องทํา การทดสอบที่ความดันทดสอบเป็นเวลา 30 นาทีความดันที่ใช้ทดสอบนี้ซึ่งค่าความดันที่ใช้ ทดสอบนี้เป็นส่วนหนึ่งในการทํา เครื่องหมายที่กํา หนดไว้ อักษร “ S ” แสดง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้บรรจุ ของแข็งเพื่อขนส่ง หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายใน หรือสํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ (ยกเว้น ภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ ประกอบ) เพื่อใช้บรร จุของเหลว ต้องทนทานต่อการทดสอบความดันด้วยของเหลว ( hydraulic test ) โดยสามารถทนความดันปัดเศษลงให้เป็นจํา นวนเต็มในหลัก10 กิโลปาสคาล วิธีที่ใช้รองรับและ ค้ํา ยัน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ให้อยู่กับที่นั้นต้องไม่ทํา ให้ผลการทดสอบผิดพลาด ความดันทดสอบที่ใช้ต้องคงที่ และมีความต่ อเนื่องตลอดเวลาของการทดสอบ การกําหนดค่าความดันของเหลว (ความดันเกจ) ต้องเป็นไป ตามวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ ( 1 ) ไม่น้อยกว่าค่าความดันเกจที่วัดได้ภายใน ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ (ความดันไอของสารที่เติมและค่า ความดันย่อยของอากาศ หรือของก๊าซเฉื่อยอื่นโดยลบด้วยค่า 100 กิโลพาสคัล) ที่ อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส

8 คูณด้วยค่าแฟคเตอร์ความปลอดภัยที่ 1.5 ความดันเกจ รวม ต้ องกํา ห นดโดยพิจารณาจากการบรรจุสูงสุด และ ที่อุณหภูมิการบรรจุ 15 องศาเซลเซี ยส ( 2 ) ไม่น้อยกว่า 1.75 เท่าของความดันไอที่ 50 องศาเซลเซียส ของสารที่จะทํา การขนส่ง โดยลบด้วย 100กิโลพาสคัล แต่ต้องมีความดันทดสอบน้อยที่สุดเท่ากับ 100 กิโลพาสคัล ( 3 ) ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความดันไอที่ 55 องศาเซลเซียส ของสารที่จะทํา การขนส่ง โดยลบด้วย 100กิโลพาสคัล แต่ต้องมีความดันทดสอบน้อยที่สุดเท่ากับ 100 กิโลพาสคัล 5.5 ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้สํา หรับบรรจุสารที่จัดเข้ากลุ่มการบรรจุที่ I ต้องได้รับ การทดสอบที่ระดับ ความดันทดสอบน้อย ที่สุดเท่ากับ 250 กิโลพาสคัล (ความดันเกจ) เป็นเวลา 5 หรือ 30 นาทีซึ่งขึ้นกั บวัสดุที่ใช้ ผลิต ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ นั้น 5.6 เกณฑ์ที่ผ่านการทดสอบ: จะต้องไม่มีการรั่วไหลเกิดขึ้น 6 . การทดสอบการวางซ้อนทับ ( Stacking test ) ทุก ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ต้นแบบ ยกเว้นถุง ต้องทดสอบการวางซ้อน 6.1 จํา นวนของตัวอย่าง : ใช้สามตัวอย่างต่อต้นแบบและต่อผู้ผลิต 6.2 วิธีทดสอบ : ให้แรงกดที่ด้านบนของตัวอย่างทดสอบเท่ากับน้ํา หนักรวมข อง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ แบบ เดียวกันที่คาดว่า จะวางซ้อนทับกันในระหว่างการขนส่ง ในกรณีที่สารที่บรรจุภายในตัวอย่างทดสอบเป็น ของเหลวซึ่งมีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์แตกต่างจากของเหลวที่ใช้ในการขนส่ง ต้องคํำนวณแรงกดที่ใช้ให้ สัมพันธ์กับของเหลวที่ใช้ในการขนส่งจริง ความสูงน้อยสุดของตัวซ้อนทับรวมกับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่างทดสอบต้องมีค่า 3 เมตร โดยใช้ระยะเวลาในการทดสอบการวางซ้อนทับ 24 ชั่วโมง ยกเว้น ถัง และ เจอร์รี่แคนพลาสติก และ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบ 6 HH 1 และ 6 HH 2 ที่ใช้สํา หรับบรรจุของเหลวต้องใช้ เวลาในการทดสอบการวางซ้อนทับกันเป็นเวลา 28 วัน ที่อุณหภูมิไม่น้อยกว่า 40 องศาเซลเซียส 6.3 เกณฑ์การผ่านการทดสอบ: ตัวอย่าง ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่นํา มาทดสอบจะต้องไม่มีรอยรั่ว สํา หรับ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ผสมหรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ประกอบต้องไม่ มี สารที่บรรจุอยู่ในภาชนะปิดภายใน หรือ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ภายในรั่วไหลออกมา ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่างทดสอบต้องไม่เสื่อมสภาพ จนอาจมีผลต่อความปลอดภัยในขณะทํา การขนส่ง หรือเกิดการบิดเบี้ยวและทํา ให้ความแข็งแรงของ ภาชนะ และบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่างลดน้อยลง จนทํา ให้ การวางซ้อนทับไม่เสถียร ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ พลาสติกต้องทํา ให้ เย็นลงถึงอุณหภูมิบรรยากาศโดยรอบก่อนทํา การทดสอบ 7 . รายงาน การทดสอบ 7 .1 รายงานการทดสอบที่อย่างน้อยต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้โดยต้องจัดเตรียมให้ผู้ใช้ ภาชนะและบรรจุ ภัณฑ์ นํา ไปใช้ประโยชน์ได้ ( 1 ) ชื่อและที่อยู่ของหน่วยงานทดสอบ ( 2 ) ชื่อและที่อยู่ของผู้ขอให้ทดสอบ (ตามความเหมาะสม) ( 3 ) รหัสจําเพาะของรายงานการทดสอบ ( 4 ) วันที่ทํา รายงานการทดสอบ ( 5 ) ผู้ ผลิ ต ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ( 6 ) รายละเอียดของต้นแบบ ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ (เช่น ขนาด วัสดุฝาปิด ความหนา ฯลฯ) รวมทั้งวิธีการผลิต (เช่นการเป่าขึ้นรูป) และอาจรวมถึงแบบและรูปถ่าย ( 7 ) ความจุสูงสุด ( 8 ) คุณลักษณะของสิ่งที่บรรจุในการทดสอบ เช่น ความหนืด ความหนาแน่นสัมพัทธ์สํา หรับ ของเหลวและขนาด อนุภาคสํา หรับของแข็ง ( 9 ) รายละเอียดของการทดสอ บและผลการทดสอบ ( 10 ) รายงานการทดสอบต้องได้รับการลงนามพร้อมกับระบุสถานภาพของผู้ลงนามด้วย

9 7 .2 รายงานการทดสอบต้องมีข้อความแสดงว่า ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ที่เตรียมไว้สํา หรับการขนส่งได้รับ การทดสอบตามข้อกํา หนดที่เหมาะสมตามบทนี้แล้ว และแสดงว่าการใช้วิธีการบรรจุหรือส่วนประกอบอื่น อาจถือเป็นโมฆะ ต้องส่งมอบสํา เนารายงานการทดสอบให้กับหน่วยงานที่มีอํา นาจหน้าที่