ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก การนำผ่าน และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้างซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2565
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก การนำผ่าน และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้างซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2565
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนาเข้า การส่งออก การนำผ่าน และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้างซึ่งวัตถุอันตราย ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2565 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 มาตรา 20 ( 1) และมาตรา 44 ( 1) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นของคณะกรรมการวัตถุอันตรายในการประชุมครั้งที่ 5 - 1/2565 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้าง ซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยำรับผิดชอบ พ.ศ. 2 555 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ข้อ 3 ในประกาศนี้ “ วัตถุอันตราย ” หมายความว่า วัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา รับผิดชอบ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ออกตามความใน มาตรา 18 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 หมวด 1 การผลิต ข้อ 4 ให้ผู้ผลิตวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 4.1 ปฏิบัติเกี่ยวกับสถานที่ อาคาร เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ และภาชนะบรรจุ ในการผลิต ดังนี้ (1) สถานที่ผลิตวัตถุอันตรายต้องตั้งอยู่ในทาเลที่เหมาะสม อาคารมั่นคง แข็งแรง มีบริเวณเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสมที่จะประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายนั้น ๆ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยในการประกอบการเป็นหลัก (2) ภายในอาคารผลิตวัตถุอันตรายควรแบ่งแยกบริเวณพื้นที่ในการผลิต แต่ละประเภทเป็นสัดส่วนโดยใช้เส้นหรือเครื่องหมายแสดงพื้นที่ให้เห็นได้อย่างชัดเจนเพื่อป้องกันการปะปน ของวัตถุอันตราย และพื้นของส่วนการผลิตวัตถุอันตรายต้องเรียบไม่กักขังหรือดูดซับสารเคมีใด ๆ (3) จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอแก่สภาพการทำงานในบริเวณนั้น ๆ ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
(4) จัดทาแผ่นป้ายที่สามารถเห็นได้ง่าย ซึ่งมีข้อความภาษาไทย อย่างน้อย ดังนี้ “ ห้ามสูบบุหรี่ ดื่มน้า รับประทานอาหารหรือเก็บอาหาร ” ในบริเวณที่ปฏิบัติงาน (5) จัดให้มีสถานที่สำหรับให้ผู้ปฏิบัติงานล้างมือ ล้างหน้า ก่อนรับประทานอาหาร ดื่มน้า หรือสูบบุหรี่ หรือสถานที่สำหรับให้ผู้ปฏิบัติงานเปลี่ยนเสื้อผ้า ชุดปฏิบัติงานตามความเหมาะสม (6) จัดให้มีที่อาบน้าฉุกเฉิน ที่ล้างตาฉุกเฉินตามความจาเป็นและเหมาะสม กับคุ ณสมบัติของวัตถุอันตรายและขนาดของการประกอบกิจการ เพื่อทาความสะอาดร่างกายขั้นต้น เมื่อสัมผัสกับวัตถุอันตราย (7) สถานที่รับประทานอาหาร ดื่มน้า หรือสูบบุหรี่ที่จัดให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ต้องแยกเป็นสัดส่วนต่างหากจากสถานที่ปฏิบัติงาน (8) จัดให้มีเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ และภาชนะบรรจุ ที่เหมาะสมกับ ปริมาณและการผลิตแต่ละประเภท โดยเฉพาะภาชนะบรรจุหรือถังที่ใช้ในการผลิตจะต้องไม่เกิดปฏิกิริยา ทางเคมีกับวัตถุอันตรายที่ผลิต (9) จัดให้มีป้ายแสดงชื่อวัตถุอันตรายและสัญลักษณ์ความเป็นอันตรำยต่าง ๆ ตามคุณสมบัติของวัตถุอันตรายนั้น ไว้ที่อุปกรณ์การผลิตในขณะปฏิบัติงาน (10) ทาความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ หลังจากการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับวัตถุอันตรายแต่ละชนิดเสร็จสิ้น ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนหรือเกิดปฏิกิริยาทางเคมี ที่ไม่เหมาะสมเมื่อจะผลิตวัตถุอันตรายอื่นต่อไป (11) มีวิธีการป้องกันมิให้วัตถุอันตรายรั่วไหลจากอุปกรณ์ในการผลิต ในลักษณะที่จะเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน (12) ภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายต้องมั่นคงแข็งแรง ไม่รั่วไหล สะดวกต่อการขนย้าย ไม่ชำรุดเสียหาย แตก หัก หรือบุบสลายได้ง่าย และไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับวัตถุอันตรายที่บรรจุอยู่ภายใน (13) จัดให้มีระบบที่ดีและเหมาะสมเพื่อป้องกันกาจัด กลิ่น ละออง ไอระเหย ฝุ่นผงของวัตถุอันตราย โดยระบบดังกล่าวจะต้องสามารถป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อผู้อยู่บริเวณ ใกล้เคีย ง และไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล และทรัพย์สิน (14) ในกรณีที่มีการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ จากสถานที่ผลิต วัตถุอันตรายที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ (ก) จัดให้มีถังหรือบ่อพักสาหรับกักเก็บน้าทิ้งจากการประกอบกิจการ เพื่อรอการบาบัดหรือจัดสร้างระบบบำบัดน้ำทิ้งที่มีประสิทธิภาพโดยสามารถบำบัดน้ำทิ้งให้มีคุณลักษณะ เป็นไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานเกี่ยวกับการระบายน้าทิ้ง ทั้งนี้ ต้องไม่ใช้วิธีทำให้เจือจาง (ข) จัดให้มีระบบกาจัดอากาศเสียจำกการประกอบกิจการที่มีประสิทธิภาพ โดยสามารถทำให้อากาศที่ระบายออกมานั้นมีปริมาณของสารเจือปนไม่เกินกว่าค่าที่กำหนดตามประกาศ ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
กระทรวงอุตสาหกรรมที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานเกี่ยวกับปริมาณของสารเจือปนในอากาศ ที่ระบายออกมา ทั้งนี้ ต้องไม่ใช้วิธีทำให้เจือจาง (ค) การทำลายภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายรวมทั้งเศษเหลือของ วัตถุอันตรายต้องใช้วิธีการที่เหมาะสมกับวัตถุอันตรายและห้ามมิให้มีการทาลายสิ่งเหล่านั้นในบริเวณ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 4. 2 จัดให้มีมาตรการเพื่อความปลอดภัยสำหรับผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ผลิต ดังนี้ (1) จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมตามคุณสมบัติ ของวัตถุอันตรายเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ดังนี้ (ก) เสื้อผ้าชุดปฏิบัติงาน (ข) หมวก ถุงมือ รองเท้ำ (ค) หน้ากาก และ แว่นตา ป้องกันสารเคมี (ง) สิ่งกันเปื้อนที่ป้องกันการสัมผัสวัตถุอันตราย (2) จัดให้มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัย ( Safety Data Sheet ) ของ วัตถุอันตรายและสารเคมีอื่นที่เป็นองค์ประกอบในผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่อยู่ในสถานที่เก็บ ห รือ สถานที่ปฏิบัติงานนั้น (3) จัดให้มีการอบรมชี้แจงแนะนำผู้ปฏิบัติงาน ให้เข้าใจถึงอันตราย อันอาจ เกิดขึ้นได้ในขณะปฏิบัติงาน วิธีระมัดระวังป้องกันอันตราย การแก้ไข และการฝึกอบรม เพื่อป้องกัน เหตุฉุกเฉินให้พนักงานทุกคนอย่างน้อยปีละครั้ง (4) จัดให้มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อป้องกัน อันตรายจากการมีวัตถุอันตรายสะสมอยู่ในร่างกาย และถ้าเป็นการปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ที่มีสารประกอบออร์กาโนฟอสเฟตหรือสารคาร์บาเมต ต้องตรวจวิเคราะห์หาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสด้ว ย พร้อมทั้งจัดทาทะเบียนประวัติสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานแต่ละราย และหากตรวจพบความผิดปกติ อันเนื่องจากการปฏิบัติงานกับวัตถุอันตราย ต้องจัดให้ผู้นั้นได้รับการรักษาหรือไปปฏิบัติงานอื่น ตามความเหมาะสม (5) ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน หรือเมื่อมีวัตถุอัน ตรายรั่วไหล หรือ ฟุ้งกระจาย ผู้ผลิตหรือผู้ซึ่งควบคุมการปฏิบัติงานต้องให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่ทางานในบริเวณนั้นหรือ บริเวณใกล้เคียงหยุดทางานและออกไปให้พ้นรัศมีที่อาจได้รับอันตรายและดาเนินการให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบและแก้ไขโดยมิชักช้า (6) จัดให้มีเครื่องปฐมพยาบาลพร้อมทั้งคำแนะนำวิธีปฐมพยาบาล ที่เหมาะสมกับประเภทของวัตถุอันตรายและขนาดของการประกอบกิจการ 4.3 จัดให้มีบันทึกการผลิตวัตถุอันตรายแต่ละครั้งของการผลิต โดยแบบบันทึก การผลิตอย่างน้อยต้องแสดง วัน เดือน ปีที่ผลิต ชื่อผลิตภัณฑ์ เ ลขที่ครั้งที่ผลิต ปริมาณการผลิต ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
ปริมาณวัตถุดิบที่ใช้พร้อมรุ่นที่ผลิต (ถ้ามี) และลายมือชื่อของผู้ควบคุมในการผลิต และให้เก็บบันทึก การผลิตไว้เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ 4.4 ให้แจ้งปริมาณการผลิตวัตถุอันตรายในรอบหนึ่ งปีปฏิทินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ทราบภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป ตามแบบ วอ./สธ 13 ท้ายประกาศนี้ โดยวิธีการแจ้ง อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) แจ้ง ณ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือแจ้งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับก็ได้ และให้ถือวันที่ไปรษณีย์ประทับตราลงทะเบียนเป็นวันแจ้ง (2) แจ้งผ่านระบบเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา 4.5 จัดให้มีฉลากขนาดใหญ่พอสมควรปิดไว้ที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุ วัตถุอันตรายโดยให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยฉลา กของวัตถุอันตรายที่สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ และประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยระบบการจาแนก และ การสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ข้อ 5 ให้ผู้ผลิตวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องจัดให้มีการควบคุม และ การตรวจสอบพร้อมทั้งการบันทึกไว้ ดังต่อไปนี้ 5.1 การควบคุมและการตรวจสอบกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ 5.2 การตรวจสอบภาชนะบรรจุทั้งก่อนและหลังจากที่บรรจุวัตถุอันตรายแล้ว ให้อยู่ในสภาพที่เ รียบร้อยตามที่กำหนดไว้ในข้อ 4.1 (12) 5.3 การตรวจสอบฉลากที่จะปิดบนภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายให้ถูกต้องตรง ตามประเภทของวัตถุอันตรายที่ผลิต และติดแน่นบนภาชนะบรรจุแต่ละชนิดโดยไม่หลุดง่าย เพื่อมิให้ ปิดฉลากผิด ให้จัดเก็บบันทึกการควบคุมและการตรวจสอบตามข้อ 5 ไว้รวมกับบันทึกการผลิตตามข้อ 4.3 เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี เพื่อเป็นหลักฐานให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ หมวด 2 การนาเข้า ข้อ 6 ให้ผู้นำเข้าวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 6.1 แจ้งการนาเข้าวัตถุอันตราย และให้ผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านอาหารและยาของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาในแต่ละครั้งที่นาเข้า ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
6.2 แจ้งปริมาณวัตถุอันตรายที่นาเข้าในรอบหนึ่งปีปฏิทินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ทราบภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป ตำมแบบ วอ./สธ 23 ท้ายประกาศนี้ โดยวิธีการแจ้ง อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ( 1 ) แจ้ง ณ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือแจ้งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับก็ได้และให้ถือวันที่ไปรษณีย์ประทับตราลงทะเบียนเป็นวันแจ้ง ( 2 ) แจ้งผ่านระบบเครือข่ายอิเล็กทรอนิ กส์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา ข้อ 7 ขณะนาเข้าให้ผู้นาเข้าวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 จัดให้มีใบรับรองผล วิเคราะห์ ( Certificate of Analysis ) ของผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่นำเข้าแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านอาหารและยา และให้จัดเก็บใบรับรองผลวิเคราะห์นี้ไว้เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี เพื่อเป็น หลักฐานให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ หมวด 3 การส่งออก ข้อ 8 ให้ผู้ส่งออกวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 แจ้งปริมาณวัตถุอันตรายที่ส่งออก ในรอบหนึ่งปีปฏิทินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป ตามแบบ วอ./สธ 14 ท้ายประกาศนี้ โดยวิธีการแจ้งอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 8.1 แจ้ง ณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือแจ้งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับก็ได้และให้ถือวันที่ไปรษณีย์ประทับตราลงทะเบียนเป็นวันแจ้ง 8.2 แจ้งผ่านระบบเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หมวด 4 การนาผ่าน ข้อ 9 ให้ผู้นำผ่านวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 9.1 ควบคุมกากับดูแลไม่ให้วัตถุอันตรายสูญหายหรือไม่ให้มีการนาวัตถุอันตราย ไปใช้โดยมิชอบ 9.2 ควบคุมกากับดูแลไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงการนาผ่านวัตถุอันตราย ไปยัง จุดหมายอื่นที่ไม่ได้ระบุในใบนาผ่านที่พนักงานเจ้าหน้าที่ออกให้ ข้อ 10 ในระหว่างการนำผ่านวัตถุอันตราย ให้ผู้นาผ่านวัตถุอันตรายควบคุมกากับดูแล ไม่ให้มีการแปรรูปหรือเปลี่ยนสภาพวัตถุอันตรายให้เป็นอย่างอื่นหรือเปลี่ยนภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุ วัตถุอันตราย เว้นแต่การดาเนินการในกรณีที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อแตกหรือชารุดให้คืนกลั บอยู่ใน สภาพเดิมหรือเทียบเท่าเดิม ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
หมวด 5 การมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้าง ข้อ 11 ให้ผู้มีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้างซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 11.1 ปฏิบัติเกี่ยวกับบุคลากรและการให้บริการ ดังนี้ (1) จัดให้มีผู้ควบคุมการใช้วัตถุอันตรายเพื่อใช้รับจ้าง โดยให้เป็นไป ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยผู้ควบคุมการใช้วัตถุอันตรายเพื่อใช้รับจ้าง ซึ่งออกตามความใน มาตรา 20 (2) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (2) จัดให้มีการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานใ ห้มีความรู้ที่ถูกต้องกับลักษณะงาน ที่ปฏิบัติและเข้าใจถึงพิษภัยของวัตถุอันตรายที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง และจัดให้มีหลักฐาน การเข้ารับการอบรมของผู้ปฏิบัติงานไว้ด้วย (3) ใช้วัตถุอันตรายที่ถูกต้องตามกฎหมาย มีฉลากที่ครบถ้วนและตรง ตามวัตถุประ สงค์ของวัตถุอันตรายชนิดนั้น ๆ (4) จัดให้มีการปฏิบัติตามข้อความของฉลากด้วยความระมัดระวัง มิให้เกิด อันตรายแก่ บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม (5) ต้องสื่อสารข้อมูลความเป็นอันตราย หรือให้แจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์ วัตถุอันตรายที่ใช้ปฏิบัติงานให้บริการหรือครอบครองแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ เช่น การส่งมอบฉลาก เอกสารข้อมูลความปลอดภัย หรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายตามที่ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าจัดทำขึ้น (6) จัดให้มีภาชนะหรือเครื่องมือที่เหมาะสมและปลอดภั ยสำหรับแบ่ง วัตถุอันตรายที่จะนำไปใช้ พร้อมทั้งระบุชื่อวัตถุอันตรายให้เห็นชัดเจนไว้บนภาชนะที่ใช้ประจากับ วัตถุอันตรายชนิดนั้นและมีภาชนะรองรับป้องกันการหกรดขณะแบ่งถ่ายวัตถุอันตราย (7) ดูแลรักษา ทาความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย มิให้มีการรั่วไหลของวัตถุอันตรายออกจากเครื่องมือหรืออุปกรณ์ขณะใช้งาน (8) ต้องจัดการกับวัตถุอันตรายที่เหลือใช้แล้ว ภาชนะบรรจุ สิ่งที่สัมผัส กับวัตถุอันตรายให้ถูกต้องและปลอดภัยตามประเภทของวัตถุอันตรายนั้น ๆ โดยคานึงถึงวิธีการที่ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ระบุไว้ (9) จัดให้มีการป้องกันกำจัดกลิ่น ละออง ไอระเหยของวัตถุอันตราย มิให้เกิดเหตุเดือดร้อนราคาญหรืออันตรายต่อผู้อยู่ข้างเคียง บุคคลหรือทรัพย์สิน และจัดให้มีแผ่นป้าย คาว่า “ อันตรายห้ามเข้า ” หรือ “ สถานที่มีการใช้วัตถุอันต ราย ” ขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนสาหรับ ปิดแสดงไว้บริเวณทางเข้าสถานที่ พื้นที่อาคาร ที่มีการใช้วัตถุอันตรายในการใช้รับจ้าง ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
(10) จัดให้มีวัสดุที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและปริมาณเพียงพอในการดูดซับ วัตถุอันตรายที่อาจรั่วไหล เช่น ขี้เลื่อย ทราย เป็นต้น และนำไปกำจัดทำลายอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (11) จัดให้มีสบู่และน้าไว้ให้ผู้สัมผัสวัตถุอันตรายใช้ชำระล้าง (12) ให้ผู้อยู่อาศัยและสัตว์เลี้ยงออกจากบริเวณที่จะได้รับอันตรายจาก การใช้วัตถุอันตรายดังกล่าวขณะปฏิบัติงาน 11.2 จัดให้มีมาตรการเพื่อความปลอดภั ยสำหรับผู้ปฏิบัติงาน ดังนี้ (1) จัดให้มีอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ดังนี้ (ก) เสื้อผ้าชุดปฏิบัติงาน (ข) หมวก ถุงมือ รองเท้า (ค) หน้ากาก และแว่นตาป้องกันสารเคมี (ง) สิ่งกันเปื้อนที่ป้องกันการสัมผัสวัตถุอันตราย (2) จัดให้มีชุดปฐมพยาบาล พร้อมทั้งคำแนะนำวิธีการปฐมพยาบาล ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นจะได้ใช้ทันที (3) จัดให้มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพื่อป้องกันอันตรายจากการมีวัตถุอันตรายสะสมอยู่ในร่างกาย และถ้าเป็นการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ วัตถุอันตรายที่มีสารประกอบออร์กาโนฟอสเฟตหรือสารคาร์บาเมต ต้องตรวจวิเคราะห์หาระดับเอนไซม์ โคลีนเอสเตอเรสด้วยพร้อมทั้งจัดทำทะเบียนประวัติสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานแต่ละรา ย และหากตรวจพบ ความผิดปกติอันเนื่องจากการปฏิบัติงานกับวัตถุอันตราย ต้องจัดให้ผู้นั้นได้รับการรักษาหรือ ไปปฏิบัติงานอื่นตามความเหมาะสม 11.3 จัดให้มีเอกสารเกี่ยวกับความปลอดภัยและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงาน ดังนี้ (1) จัดทำสัญญาในการให้บริ การเป็นลายลักษณ์อักษร โดยอย่างน้อย ต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเลขที่ใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย รายชื่อ วัตถุอันตรายที่ใช้พร้อมเลขทะเบียนวัตถุอันตราย รวมทั้งอาการเกิดพิษ วิธีแก้พิษและคำเตือน (2) จัดให้มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัย ( Safety Data Sheet ) และ ข้อแนะนาความปลอดภัย เช่น คาเตือน วิธีป้องกัน อาการเกิดพิษ วิธีแก้พิษ ประจายานพาหนะ ขณะขนส่งวัตถุอันตรายทุกชนิด (3) จัดให้มีเอกสารแสดงวิธีการใช้ การป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม (4) จัดให้มีบันทึกเกี่ยวกับสถานที่ที่ไปให้บริการโดยอย่างน้อยประกอบด้วย วันที่ให้บริการ ชื่อผู้ว่าจ้าง ชื่อผลิตภัณฑ์และเลขทะเบียนวัตถุอันตราย ปริมาณที่ใช้ อัตราส่วนการผสม ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
ที่ตั้งสถานที่ไปให้บริการ และชื่อผู้ปฏิบัติงาน ทั้ง นี้ ให้เก็บบันทึกไว้เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ หมวด 6 การเก็บรักษา ข้อ 12 ให้ผู้ผลิต ผู้นาเข้าวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 หรือผู้ส่งออก ผู้มีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้างวัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้ 12.1 ต้องมีสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายที่สามารถป้องกันมิให้เกิดเหตุราคาญ และเกิดอันตรายหรือความเสียหายต่อบุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม 12.2 ต้องมีที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายเฉพาะตามคุณสมบัติของวัตถุอันตรายมีขนาด และลักษณะเหมาะสมกับคุณสมบัติและปริมาณที่ขออนุญาต สะดวกแก่การขนย้ายวัตถุอันตรายเข้าและออก 12. 3 ในบริเวณทางเข้าอาคารหรือส่วนของอาคารที่เป็นสถานที่เก็บรักษา วัตถุอันตราย ให้มีแผ่นป้ายคำว่ำ “ วัตถุอันตราย ” ด้วยอักษรสีแดงบนพื้นสีขาว โดยแผ่นป้ายและตัวอักษร ต้องมีขนาดที่เหมาะสมและเห็นได้ชัดเจน 12.4 ในบริเวณที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย ต้องจัดให้มีแผ่นป้ายที่สามารถเห็นได้ง่าย ซึ่งมีข้อความภาษาไทย อย่างน้อย ดังนี้ “ ห้ามสูบบุหรี่ ดื่มน้า รับประทานอาหารหรือเก็บอาหาร ” 12.5 ในบริเวณที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย ต้องจัดให้มีแผ่นป้ายคาเตือนถึงอันตราย โดยมีข้อความของแผ่นป้ายคาเตือนตามท้ายประกาศนี้ และจัดให้มีสัญลักษณ์แสดงอันตรายของ วัตถุอันตรายอันเป็นที่ทราบโดยทั่วไป เช่น สัญลักษณ์สารกัดกร่อ น สารไวไฟ สารพิษ เป็นต้น 12.6 จัดให้มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัย ( Safety Data Sheet ) ของวัตถุอันตราย ที่อยู่ในสถานที่เก็บหรือสถานที่ปฏิบัติงานนั้น 12.7 ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน หรือเมื่อมีวัตถุอันตรายรั่วไหล หรือ ฟุ้งกระจาย ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้มีไว้ในครอบครอง หรือผู้ซึ่งควบคุมการปฏิบัติงาน ต้องให้ผู้ปฏิบัติงาน ทุกคนที่ทางานในบริเวณนั้น หรือบริเวณใกล้เคียงหยุดทางานและออกไปให้พ้นรัศมีที่อาจได้รับอันตราย และดาเนินการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบและแก้ไขโดยมิชักช้า 12.8 จัดให้มีการ อบรมชี้แจงแนะนาผู้ปฏิบัติงานให้เข้าใจถึงอันตรายอันอาจเกิดขึ้นได้ ในขณะปฏิบัติงาน วิธีระมัดระวังป้องกันอันตราย การแก้ไข และการฝึกอบรมเพื่อป้องกันเหตุฉุกเฉิน ให้พนักงานทุกคนอย่างน้อยปีละครั้ง 12.9 จัดให้มีที่อาบน้ำฉุกเฉิน ที่ล้างตาฉุกเฉินตามความจำเป็ นและเหมาะสม กับคุณสมบัติ และปริมาณของวัตถุอันตรายและขนาดของการประกอบกิจการ เพื่อทาความสะอาดร่างกาย ขั้นต้นเมื่อสัมผัสกับวัตถุอันตราย ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
12.10 จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตามความจาเป็นและเหมาะสม กับการปฏิบัติงานและต้องมีมาตรการสำหรับการดูแลรักษาเครื่องป้องกันอันตรายดังกล่าวให้อยู่ในสภาพ เรียบร้อยพร้อมที่จะใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา 12.11 จัดให้มีเครื่องปฐมพยาบาลพร้อมทั้งคาแนะนาวิธีปฐมพยาบาลที่เหมาะสม กับประเภทของวัตถุอันตรายและขนาดของการ ประกอบกิจการ 12.12 จัดให้มีเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ สาหรับป้องกัน ควบคุม ระงับ หรือบรรเทาอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นตามความจาเป็นและเหมาะสมกับประเภทของวัตถุอันตรายและขนาด ของการประกอบกิจการ และต้องมีมาตรการสาหรับการดูแลรักษาเครื่องมือ วัสดุและอุ ปกรณ์ดังกล่าว ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยพร้อมที่จะใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 256 5 สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ้ หนา 28 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 251 ง ราชกิจจานุเบกษา 21 ตุลาคม 2565
เอกสารประกอบการรับฟังความคิดเห็นต่อ ร่างประกาศจำนวน 3 ฉบับ หน้า 1 จาก 4 เลขที่รับ วันที่รับ ใบแจ้งปริมาณการผลิตวัตถุอันตราย ชื่อสถานประกอบการ เลขประจำตัวผู้เสียภาษี สถาน ที่ ติดต่อ โทร รายงานข้อมูล (1 มกราคม - 31 ธันวาคม) ประจำปี วันที่ รายงาน วัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 (วอ. 1) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 (วอ. 2) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 (วอ. 3) ลาดับที่ ชื่อทางการค้า เลขที่รับแจ้ง วอ. 1/ ใบรับแจ้ง วอ. 2/ ใบอนุญาต วอ. 3 เลขที่ใบสาคัญ การขึ้นทะเบียน (ถ้ามี) *ปริมาณผลิตรวม (ระบุหน่วย) ** ไม่มี การผลิต จำนวนที่ผลิต (ลายมือชื่อ) ผู้แจ้ง ( __________________________ ) หมายเหตุ: 1. ให้รายงานแต่ละฉบับแยกตามชนิดของวัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 2. *ปริมาณการผลิตรวมแต่ละรายการในหนึ่งปีให้ระบุหน่วยใดหน่วยหนึ่ง ได้แก่ กิโลกรัม ลิตร ตัน 3 . ** กรณีไม่มีการผลิตวัตถุอันตรายต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบด้วย โดยการเขียนเครื่องหมาย ในช่อง วอ./สธ 13
เอกสารประกอบการรับฟังความคิดเห็นต่อ ร่างประกาศจำนวน 3 ฉบับ หน้า 2 จาก 4 เลขที่รับ วันที่รับ ใบแจ้งปริมาณการส่งออกวัตถุอันตราย ชื่อสถานประกอบการ เลขประจำตัวผู้เสียภาษี สถาน ที่ ติดต่อ โทร รายงานข้อมูล (1 มกราคม - 31 ธันวาคม) ประจำปี วันที่ รายงาน วัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 (วอ. 2 ) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 (วอ.3) ลาดับที่ ชื่อทางการค้า เลขที่ใบรับแจ้ง วอ. 2/ ใบอนุญาต วอ. 3 เลขที่ใบสาคัญ การขึ้นทะเบียน (ถ้ามี) *ปริมาณ ส่งออก รวม (ระบุหน่วย) ** ไม่มี การ ส่งออก จำนวนที่ ส่งออก (ลายมือชื่อ) ผู้แจ้ง ( __________________________ ) หมายเหตุ: 1. ให้รายงานแต่ละฉบับแยกตามชนิดของวัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 2. *ปริมาณการ ส่งออก รวมแต่ละรายการในหนึ่งปีให้ระบุหน่วยใดหน่วยหนึ่ง ได้แก่ กิโลกรัม ลิตร ตัน 3 . ** กรณีไม่มีการส่งออกวัตถุอันตรายต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบด้วย โดยการเขียนเครื่องหมาย ในช่อง วอ./สธ 1 4
เอกสารประกอบการรับฟังความคิดเห็นต่อ ร่างประกาศจำนวน 3 ฉบับ หน้า 3 จาก 4 เลขที่รับ วันที่รับ ใบแจ้งปริมาณการนาเข้าวัตถุอันตราย ชื่อสถานประกอบการ เลขประจำตัวผู้เสียภาษี สถาน ที่ ติดต่อ โทร รายงานข้อมูล (1 มกราคม - 31 ธันวาคม) ประจำปี วันที่ รายงาน วัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 (วอ. 1) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 (วอ. 2) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 (วอ. 3) ลาดับที่ ชื่อทางการค้า เลขที่รับแจ้ง วอ. 1/ ใบรับแจ้ง วอ. 2/ ใบอนุญาต วอ. 3 เลขที่ใบสาคัญ การขึ้นทะเบียน (ถ้ามี) *ปริมาณ นำเข้า รวม (ระบุหน่วย) ** ไม่มี การ นำเข้า จำนวนที่ นำเข้า (ลายมือชื่อ) ผู้แจ้ง ( __________________________ ) หมายเหตุ: 1. ให้รายงานแต่ละฉบับแยกตามชนิดของวัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 2. *ปริมาณการ นาเข้า รวมแต่ละรายการในหนึ่งปีให้ระบุหน่วยใดหน่วยหนึ่ง ได้แก่ กิโลกรัม ลิตร ตัน 3 . ** กรณีไม่มีการนำเข้าวัตถุอันตรายต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบด้วย โดยการเขียนเครื่องหมาย ในช่อง วอ./สธ 23
เอกสารประกอบการรับฟังความคิดเห็นต่อ ร่างประกาศจำนวน 3 ฉบับ หน้า 4 จาก 4 ข้อความของแผ่นป้ำยคำ เตือน ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และ วิธีการ ในการผลิต การนำเข้า การส่ งออก การนำผ่าน และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รั บจ้าง ซึ่งวัตถุอันตรายที่ สำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2565 หมวด 6 การเก็บรักษา คาเตื อน 1. สวมเสื้อผ้าสำหรับปฏิบัติงานให้ครบชุด ก่อนที่จะลงมือทำงาน 2. ชำระล้างร่างกายเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกครั้ง หลังจากปฏิบัติงาน 3. ต้องล้ำงมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่ทุกครั้ง ก่อนรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ หรือสูบบุหรี่ 4. เมื่อได้รับพิษจากวัตถุอันตราย ให้รีบนำผู้ป่วยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ 5. ถ้าถูกผิวหนัง ให้รีบล้างด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ และสบู่ 6. หากกระเด็นเข้านัยน์ตา ให้รีบล้างด้วยน้าสะอาดมาก ๆ จนอากำรระคายเคืองทุเลาแล้วรีบไป พบแพทย์ 7. หากมีอาการปวดศีรษะ มึนงง ตาพร่า คลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ให้รีบรายงาน ต่อหัวหน้าพนักงานเพื่อนำส่งแพทย์ทันที 8. ห้าม ทิ้งวัตถุ อันตราย ภาชนะบรรจุหรือล้างภาชนะบรรจุอุปกรณ์ลงในแม่น้า คู คลอง แหล่งน้า สาธารณะ 9. เมื่อเ กิดเหตุฉุกเฉิน ให้ปฏิบัติตามวิธีการตามที่กาหนดในเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารนั้น