Wed Oct 19 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6750 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับรถโฟล์คลิฟท์ : ถังโลหะ


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6750 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับรถโฟล์คลิฟท์ : ถังโลหะ

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6750 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับรถโฟล์คลิฟท์ : ถังโลหะ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสาหรับรถโฟล์คลิฟท์ : ถังโลหะ มาตรฐานเลขที่ มอก. 3412 - 2565 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้ นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 7 สิงหาคม พ.ศ. 25 6 5 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 250 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 ตุลาคม 2565

ขอมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6750 (พ.ศ. 2565) ชื่อมาตรฐาน : ถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับรถโฟลคลิฟท : ถังโลหะ LIQUEFIED PETROLEUM GAS CONTAINER FOR FORKLIFT : METALLIC CYLINDER มาตรฐานเลขที่ : มอก. 3412−2565 ผู้จัดทํา : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรรมการวิชาการ : คณะอนุกรรมการวิชาการคณะที่ 51/15 ถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับรถ โฟลคลิฟท ขอบขาย : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ - ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ มีดังต่อไปนี้ - กาซปโตรเลียมเหลว (liquefied petroleum gas) ซึ่งต่อไปในมาตรฐาน นี้จะเรียกวา “กาซ”หมายถึง กาซไฮโดรคารบอนเหลวดังกลาวต่อไปนี้ อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางผสมกันเป็นสวนใหญ (1) โพรเพน (propane) (2) โพรพีน (propene) (3) บิวเทน (butane) (4) บิวทีน (butene) - ถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับรถโฟลคลิฟท: ถังโลหะซึ่งต่อไปใน มาตรฐานนี้จะเรียกวา“ถัง” หมายถึง ภาชนะสําหรับบรรจุกาซปโตรเลียม เหลวทําด้วยเหล็กหรืออะลูมิเนียม มีวัตถุประสงคใชเป็นเชื้อเพลิงสําหรับ รถโฟลคลิฟท - มวลถังเปลา หมายถึง มวลของตัวถัง รวมทั้งสวนอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมหรือ ตรึงติดอยู่กับถังและลิ้น (valve) ซึ่งขันเกลียวติดกับถังไวเป็นประจํา แต่ ไม่รวมถึงจุกอุดลิ้น (plug) ทั้งนี้มวลถังเปลาที่ชั่งได้จริงจะคลาดเคลื่อน จากมวลถังเปลาที่ระบุไวที่ตัวถังไม่เกิน 1% โดยแสดงเป็นเลขนัยสําคัญ 3 ตําแหนง เป็นกิโลกรัม เช น ถาระบุ 10.2 kg ต้องชั่งได้ 10.1 kg ถึง 10.3 kg - ความจุ (capacity) หมายถึง ความจุของถังคิดจากปริมาตรของน้ําเต็มถัง เป็นลิตร โดยแสดงเป็นเลขนัยสําคัญ 3 ตําแหนง - ความดันใชงานสูงสุด (maximum working pressure, WP) หมายถึง ความดันที่ใชในการคํานวณการออกแบบถัง - ความดันทดสอบ (test pressure, P h ) หมายถึง ความดันที่ใชทดสอบถัง ซึ่งเทากับ 2 เทาของความดันใชงานสูงสุด

  • ความหนาระบุของผนังถัง หมายถึง ความหนาต่ําสุดของรูปทรงกระบอก เป็นมิลลิเมตร โดยให้แสดงรายละเอียดทศนิยม 2 ตําแหนง - การทดสอบเฉพาะแบบ หมายถึง การทดสอบถั งที่ออกแบบใหมหรือถังที่มี การเปลี่ยนแปลงการออกแบบอยางมีนัยสําคัญ ได้แก เปลี่ยนแปลงวัสดุ สวนที่รับความดัน กรรมวิธีการทํา ความหนาลดลง ความยาวเพิ่มขึ้น มากกวา 50% และเสนผานศูนยกลางภายนอกเพิ่มขึ้นมากกวา 20% - กระบวนการทางความรอน (heat treatment) หมายถึง การปรับปรุง คุณสมบัติของโลหะด้วยความรอน เชน การอบออน การชุบแข็ง หรือ การอบคืนตัว - การอบเพื่อทําให้สารละลายเป็นเนื้อเดียวกัน (solution heat treatment) หมายถึง การให้ความรอนอะลูมิเนียมจนธาตุผสมละลายเขา ด้วยกันในเฟสของอะลูมิเนียม - การชุบ (quenching) หมายถึ ง การทําให้โลหะที่มีอุณหภูมิสูงเย็น ตัวอยางรวดเร็วในอัตราการเย็นตัวที่กําหนด - การบมแข็ง (aging) หรือการแข็งตัวจากการตกผลึก (precipitation hardening) หมายถึง การเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุโดยการตกผลึก ของสารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด สามารถทําได้โดยวิธีทางธรรมชาติและ วิธีจําลองสภาพ หมายเหตุ กรณีที่ถังตนแบบได้รับการรับรองการทดสอบเฉพาะแบบแล้ว ถือวาถังอื่น ที่มีแบบและความจุเดียวกันทําด้วยวัสดุอยางเดียวกัน ด้วยกรรมวิธี เดียวกัน ได้รับรองการทดสอบเฉพาะแบบด้วย เนื้อหาประกอบด้วย : ขอบขาย บทนิยาม ชนิด ประเภท วัสดุ สวนประกอบและการทํา คุณลักษณะ ที่ต้องการ เครื่องหมายและฉลาก การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน การทดสอบ และภาคผนวก ก. จํานวนหน้า : 43 หน้า ISBN : 978-616-580-909-2 ICS : 23.020.35 สถานที่ จัดเก็บ : หองสมุดสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02 430 6834 ต่อ 2440-2441 สถานที่จําหนาย : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพมหานคร 10400 https://www.tisi.go.th