Mon Oct 17 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ เรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ.ศ. 2562


ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ เรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ.ศ. 2562

ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลสมผอ เรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ.ศ. 2562 โดยที่เป็นการสมควรตราขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลสมผอ วาด้วยการจัดการสิ่งปฏิกูล และมูลฝอย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2546 ประกอบมาตรา 20 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา 58 มาตรา 63 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องคการบริหารสวนตําบลสมผอ โดยความเห็นชอบ ของสภาองคการบริหารสวนตําบลสมผอและนายอําเภอไทยเจริญ จึงตราขอบัญญัติไว ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบัญญัตินี้เรียกวา “ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลสมผอ เรื่อง การจัดการ สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ.ศ. 2561 ” ขอ 2 ขอบัญญัตินี้ให้ใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลสมผอ ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป บรรดาขอบัญญัติ ขอบังคับ กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่ตราไว ในขอบัญญัตินี้ให้ใชหรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบัญญัตินี้ ให้ใชขอบัญญัตินี้แทน ขอ 3 ให้ยกเลิกขอบัญญัติตําบลสมผอ เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย พ.ศ. 2545 ขอ 4 ในขอบัญญัตินี้ “ สิ่งปฏิกูล ” หมายความวา อุจจาระหรือปสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใด ซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น “ มูลฝอย ” หมายความวา เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว ซากสัตว หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตวหรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ้ หนา 51 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

“ ที่หรือทางสาธารณะ ” หมายความวา สถานที่หรือทางซึ่งมิใชเป็นของเอกชน และประชาชนสามารถใชประโยชนหรือใชสัญจรได้ “ อาคาร ” หมายความวา ตึก บ้าน เรือน โรง ราน แพ คลังสินคา สํานักงาน หรือสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่นซึ่งบุคคลอาจเขาอยู่หรือเขาใชสอยได้ “ ตลาด ” หมายความวา สถานที่ซึ่งปกติจัดไวให้ผู้ค้ําใชเป็นที่ชุมชนเพื่อจําหนายสินคา ประเภทสัตว เนื้อสัตว ผัก ผลไม หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือเสียงาย ทั้งนี้ ไม่วาจะมีการจําหนายสินคาประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม หมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว สําหรับให้ผู้ค้ําใชเป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหนายสินคาประเภทดังกลาวเป็นประจําหรือเป็นครั้งคราว หรือตามวันที่กําหนด “ เจ้าพนักงานทองถิ่น ” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนตําบลสมผอ “ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความวา เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ขอ 5 การเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในเขตองคการบริหารสวนตําบลสมผอ ให้เป็นอํานาจขององคการบริหารสวนตําบลสมผอ ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง องคการบริหารสวนตําบลสมผออาจรวมกับหนวยงานของรัฐ หรือราชการสวนทองถิ่นอื่นดําเนินการภายใตขอตกลงรวมกันก็ได้ ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรองคการบริหารสวนตําบลสมผออาจมอบให้บุคคลใดดําเนินการ ตามวรรคหนึ่งแทนภายใตการควบคุมดูแลขององคการบริหารสวนตําบลสมผอหรืออาจอนุญาตให้บุคคลใด เป็นผู้ดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามขอ 6 ก็ได้ ความในในขอนี้และขอ 6 มิให้ใชบังคับกับการจัดการของเสียอันตรายตามกฎหมายวาด้วยโรงงาน แต่ให้ผู้ดําเนินกิจการโรงงานที่มีของเสียอันตราย และผู้ดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัด ของเสียอันตรายดังกลาว แจงการดําเนินกิจการเป็นหนังสือต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 6 หามมิให้ผู้ใดดําเนินการรับทําการเก็บ ขน หรือจํากัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจ หรือโดยได้รับประโยชนตอบแทนด้วยการคิดคาบริการ เวนแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 7 เพื่อประโยชนในการรักษาความสะอาด และการจัดระเบียบในการเก็บ ขน และจํากัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในเขตองคการบริหารสวนตําบลสมผอ หามมิให้ผู้ใดกระทําการ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 52 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

(1) ถาย เท ทิ้ง หรือทําให้มีขึ้นในที่สาธารณะซึ่งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยนอกจากในที่ ที่องคการบริหารสวนตําบลสมผอจัดไวให้ (2) ถาย เท ทิ้งสิ่งปฏิกูลในที่รองรับมูลฝอย (3) ทําการขน ถาย เท คุย เขี่ย ขุด หรือเคลื่อนยายสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ในที่รองรับ รถขน หรือสถานที่พักปฏิกูลหรือมูลฝอยใด ๆ ขององคการบริหารสวนตําบลสมผอ เวนแต่เป็นการกระทําของเจ้าหน้าที่ขององคการบริหารสวนตําบลสมผอ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย หรือผู้ที่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 8 เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใด ๆ ต้องจัดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูล และมูลฝอยในอาคารหรือสถานที่นั้น ๆ ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ รวมถึงต้องรักษาบริเวณอาคาร หรือสถานที่นั้นให้มีการถาย เท หรือสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในประการที่ขัดต่อสุขลักษณะ ที่รับรองสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นภาชนะที่ไม่รั่วซึม มีฝาปดมิดชิดกันแมลง และสัตวได้ตามแบบซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข หรือเจ้าพนักงานทองถิ่นเห็นชอบ ขอ 9 หามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใด ๆ ทําการกําจัดสิ่งปฏิกูล และมูลฝอยอันอาจทําให้เกิดมลภาวะที่เป็นพิษ เชน ควัน กลิ่น หรือแกส เป็นตน เวนแต่จะได้กระทํา โดยวิธีการที่ถูกสุขลักษณะ หรือกระทําตามคําแนะนําของเจ้าพนักงานสาธารณสุข หรือเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 10 ถาเจ้าพนักงานทองถิ่นเห็นวาอาคาร สถานที่หรือบริเวณใดควรทําการเก็บ ขนสิ่งปฏิกูล และมูลฝอย ไปทําการกําจัดให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะยิ่ง เจ้าพนักงานทองถิ่นจะแจงเป็นหนังสือไปยังเจ้าของ หรือผู้ครอบครองอาคาร สถานที่หรือบริเวณนั้น ๆ ให้ทราบลวงหน้าไม่นอยกวาสิบหาวัน หรือเมื่อได้รับ ปดประกาศกําหนดบริเวณเก็บ ขนสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ณ ที่เปดเผยเป็นเวลาไม่นอยกวาสิบหาวัน แต่วันประกาศแล้ว เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร สถานที่หรือบริเวณใด ๆ จะต้องให้ เจ้าหน้าที่ ของเจ้าพนักงานทองถิ่น หรือบุคคลผู้ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่นแล้วฝ่ายเดียวเทานั้น เก็บ ขนสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยจากอาคารสถานที่หรือบริเวณนั้น ๆ โดยเสียคาธรรมเนียมเก็บ ขน ตามอัตราที่ได้กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ ขอ 11 หามมิให้ผู้ใดดําเนินการรับทําการเก็บ ขน หรือสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจ หรือโดยได้รับและประโยชนตอบแทนด้วยการคิดคาบริการ เวนแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น ้ หนา 53 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

ขอ 12 ผู้ใดประสงคจะเป็นผู้ดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชนตอบแทนด้วยการคิดคาบริการให้ยื่นคําขอรับใบอนุญาต ตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (แบบ สม. 1) ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่น พรอมกับเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ (2) สําเนาทะเบียนบ้าน (3) สําเนาทะเบียนรถ (4) สําเนาหลักฐานที่หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของออกให้ที่แสดงได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการที่ขอรับใบอนุญาตพนักงานสาธารณสุข เห็นวามีความจําเป็นในการพิจารณา ประกอบการขอใบอนุญาต (5) เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลสมผอกําหนด เชน ใบอนุญาตเดิมที่หมดอายุ ขอ 13 ผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ขอรับใบอนุญาตรับทําการเก็บ และขนสิ่งปฏิกูล (1.1) หลักฐานที่แสดงการมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดในขอ 12 (1.2) ต้องมีพาหนะขนถายสิ่งปฏิกูล (รถดูดสวม) ซึ่งมีคุณลักษณะ ดังนี้ (1.2.1) ได้รับอนุญาตจากกรมการขนสงทางบก (1.2.2) สวนของรถที่ใชขนสิ่งปฏิกูลต้องปกปดมิดชิดสามารถปองกันกลิ่น และสัตวแมลงพาหะนําโรคได้ มีฝาปด - เปดอยู่ดานบน (1.2.3) มีปมดูดสิ่งปฏิกูลและติดตั้งมาตรวัดปริมาณของสิ่งปฏิกูลด้วย (1.2.4) ทอหรือสายที่ใชดูดสิ่งปฏิกูลต้องอยู่ในสภาพที่ดี ไม่รั่วซึม (1.2.5) มีอุปกรณทําความสะอาดประจํารถ เชน ถังตักน้ํา ไมกวาด น้ํายาฆาเชื้อโรค (1.3) ต้องจัดให้มีเสื้อคลุมถุงมือยางรองเทาหนังยางหุมสูงถึงแขงสําหรับผู้ปฏิบัติงาน (1.4) กรณีที่ไม่มีระบบกําจัดสิ่งปฏิกูลของตนเองต้องแสดงหลักฐานวาจะนําสิ่งปฏิกูล ไปกําจัด ณ แหลงกําจัดที่ถูกสุขลักษณะแห่งใด ้ หนา 54 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

(2) ผู้ขอรับใบอนุญาตรับทําการเก็บ และขนสิ่งปฏิกูล (2.1) หลักฐานที่แสดงการมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดในขอ 12 (2.2) แผนงานการดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขนมูลฝอย ดังต่อไปนี้ (2.2.1) ประเภทของมูลฝอยที่ต้องการเก็บ ขน (2.2.2) วิธีการเก็บ ขนมูลฝอยให้ถูกสุขลักษณะ (2.2.3) วิธีการแยกหรือคัดเลือกมูลฝอยกอนการเก็บ ขน (ถามี) (2.2.4) วิธีการปองกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การควบคุมเหตุรําคาญ ความปลอดภัยต่อสุขภาพ รางกายและทรัพย์สิน รวมทั้งสุขอนามัยของประชาชน (2.2.5) สถานที่และวิธีการในการกําจัดมูลฝอยที่เก็บ ขน (3) ผู้ขอรับใบอนุญาตรับทําการจํากัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย (3.1) หลักฐานที่แสดงการมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดในขอ 12 (3.2) แผนงานการดําเนินกิจการรับทําการจํากัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ดังต่อไปนี้ (3.2.1) ประเภทของมูลฝอยที่ต้องการรับการจํากัด (3.2.2) วิธีการจํากัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยให้ถูกสุขลักษณะ (3.2.3) วิธีการปองกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การควบคุมเหตุรําคาญ ความปลอดภัยต่อสุขภาพ รางกายและทรัพย์สิน รวมทั้งสุขอนามัยของประชาชน (3.3) รายละเอียดในการดําเนินกิจการ ดังนี้ (3.3.1) รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่จะใชในการดําเนินการจํากัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย (3.3.2) แบบแปลนและรายละเอียดของโรงงานกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย (3.3.3) แสดงหลักฐานรายละเอียดเกี่ยวกับที่ดิน และโรงงานที่จะใช ในการดําเนินกิจการดังกลาว วาเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ขออนุญาตและโดยมีภาระติดพันหรือไม่อยางใด หรือสิ่งใดที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลอื่นที่ผู้ขออนุญาตได้เชาหรือจะเชาหรือได้มาหรือจะได้มาด้วยวิธีการ และเงื่อนไขใด ้ หนา 55 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

(4) รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงานและทรัพย์สินที่จะใชในการดําเนินกิจการกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย (4.1) จํานวนพนักงานที่คาดวาจะต้องมี และหน้าที่โดยสังเขป (4.2) จํานวนและประเภทของยานพาหนะ และอุปกรณที่ใชในการเก็บ ขน (4.3) สถานที่รวบรวมสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย (ถามี) ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตต้องระบุด้วยวาทรัพย์สินที่จะใชในการดําเนินกิจการดังกลาวสิ่งใด ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ขออนุญาตและโดยมีภาระติดพันหรือไม่อยางไร หรือสิ่งใดที่เป็นกรรมสิทธิ์ ของบุคคลอื่นที่ผู้ขออนุญาตได้เชาหรือจะเชาหรือได้มาหรือจะได้มาด้วยวิธีการ และเงื่อนไขใด ขอ 14 เมื่อเจ้าพนักงานได้รับคําขอรับใบอนุญาต ตรวจความถูกต้องและความสมบูรณของคําขอ ถาปรากฏวาคําขอดังกลาวไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่กําหนดไว ให้เจ้าพนักงานทองถิ่นสงคืน คําขอพรอมทั้งแจงความไม่ถูกต้องเพื่อให้แกไขให้ถูกต้องภายในสิบหาวัน นับแต่วันได้รับคําขอ เจ้าพนักงานทองถิ่นจะออกใบอนุญาตตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (แบบ สม. 2) หรือมีหนังสือแจงคําสั่งไม่อนุญาตพรอมด้วยเหตุผลให้ผู้ขออนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับคําขอ และหลักฐานครบถวนถูกต้องตามที่กําหนด ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นที่เจ้าพนักงานทองถิ่นไม่อาจออกใบอนุญาตหรือยังไม่อาจมีคําสั่งไม่อนุญาตได้ ภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสิบหาวัน โดยจะแจงการขยายเวลาและเหตุจําเป็นแต่ละครั้งให้ผู้ขออนุญาตทราบกอนสิ้นกําหนดเวลาตามวรรคสอง หรือตามที่ได้ขยายเวลาไวแล้วนั้น แล้วแต่กรณี ขอ 15 ผู้ได้รับอนุญาตต้องมารับใบอนุญาตพรอมกับชําระคาธรรมเนียมตามอัตราที่กําหนดไว ทายขอบัญญัตินี้ภายในสิบหาวันทําการนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจงการอนุญาตจากเจ้าพนักงานทองถิ่น หากไม่มารับภายในกําหนดเวลาให้ถือวาสละสิทธิ์ ขอ 16 บรรดาใบอนุญาตที่ออกให้ตามขอบัญญัตินี้ให้มีอายุหนึ่งปนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต และให้ใชได้เพียงในเขตองคการบริหารสวนตําบลสมผอ ขอ 17 การขอต่ออายุใบอนุญาตจะต้องยื่นคําขอตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (แบบ สม. 3) กอนใบอนุญาตสิ้นอายุไม่นอยกวาสามสิบวัน พรอมแนบเอกสารและหลักฐานตามขอ 12 ้ หนา 56 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

เมื่อได้ยื่นคําขอพรอมกับชําระคาธรรมเนียมตามอัตราที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้แล้ว ให้ประกอบกิจการต่อไปได้จนกวาเจ้าพนักงานทองถิ่นจะสั่งไม่ต่ออายุใบอนุญาต กรณีที่ยื่นคําขอต่ออายุใบอนุญาตลวงเวลาเลยระยะเวลาตามที่กําหนดไวในวรรคหนึ่งจะต้องเสียเงินเพิ่ม หาสิบบาทต่อเดือน เศษของเดือนถาตั้งแต่สิบหาวันขึ้นไปให้คิดเป็นหนึ่งเดือน ถาไม่ถึงสิบหาวันให้ปดทิ้ง ขอ 18 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระที่สําคัญให้ผู้ได้รับใบอนุญาต ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (แบบ สม. 1/1) ภายในสิบหาวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด แล้วแต่กรณี พรอมกับชําระ คาธรรมเนียมในการขอใบแทนฉบับละหนึ่งรอยบาทและหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (1) สําเนาใบแจงความกรณีใบอนุญาตเสียหาย หรือถูกทําลาย หรือ (2) ใบอนุญาตเดิม กรณีที่ชํารุดในสาระสําคัญ ใบแทนใบอนุญาตให้ใชได้เทากับเวลาที่เหลือของอายุใบอนุญาตเดิมนั้น ขอ 19 การออกใบแทนใบอนุญาต เมื่อเจ้าพนักงานทองถิ่นได้ตรวจสอบหลักฐานแล้ว เห็นวาถูกต้องให้ดําเนินการ ดังนี้ (1) ออกใบแทนใบอนุญาตตามแบบที่กําหนดไวทายขอบัญญัตินี้ (แบบ สม. 2/1) โดยประทับตรา หรือพิมพ หรือเขียนด้วยหมึกสีแดงวา “ ใบแทน ” (2) บันทึกดานหลังสําเนาคู่ฉบับของใบขออนุญาตเดิมระบุวันเดือนป เลมที่ และสาเหตุที่ออกใบแทนการประกอบกิจการ การพักใช การเพิกถอน และการเลิกกิจการของผู้ได้รับใบอนุญาต ขอ 20 ในระหวางการประกอบกิจการ ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตจะต้องแสดงใบอนุญาตไว โดยเปดเผยและเห็นได้งาย ณ ยานพาหนะที่ใชประกอบกิจการ หรือสถานที่ประกอบกิจการตลอดเวลา ที่ประกอบกิจการ ขอ 21 ในการให้บริการของผู้รับใบอนุญาตต้องกําหนดอัตราคาบริการไม่เกินอัตราที่กําหนดไว ทายขอบัญญัตินี้ ขอ 22 ผู้ได้รับใบอนุญาตจะต้องประกอบกิจการให้ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมตามคําแนะนําหรือคําสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข หรือเจ้าพนักงานทองถิ่น ขอ 23 ในกรณีที่ปรากฏวาผู้รับใบอนุญาตรายใด ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามขอบัญญัตินี้ หรือพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือกฎกระทรวง หรือประกาศ ที่ออกตามความแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจสั่งพักใช ใบอนุญาตได้ภายในเวลาที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่เกินสิบหาวัน ้ หนา 57 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

ขอ 24 เจ้าพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเมื่อปรากฏวาผู้รับใบอนุญาต (1) ถูกสั่งพักใชใบอนุญาตตั้งแต่สองครั้งขึ้นไปและมีเหตุที่จะต้องถูกสั่งพักใชใบอนุญาตอีก (2) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดวาได้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (3) ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามขอบัญญัตินี้ หรือพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือกฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และการไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องนั้นกอให้เกิดอันตรายอยางรายแรงต่อสุขภาพของประชาชน หรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของประชาชน ขอ 25 กรณีที่มีคําสั่งพักใชใบอนุญาตหรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะทําเป็นหนังสือแจง ให้ผู้รับใบอนุญาตทราบ สําหรับวิธีการแจงถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ขอ 26 ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะต้องขอรับใบอนุญาตที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาตอีกไม่ได้ จนกวาจะพนกําหนดหนึ่งปนับแต่วันถูกเพิกถอนใบอนุญาต ขอ 27 เมื่อเพื่อผู้ได้รับใบอนุญาตไม่ประสงคจะประกอบกิจการต่อไป ให้แจงบอกเลิก ต่อเจ้าพนักงานทองถิ่นพรอมกับสงคืนใบอนุญาตด้วย ขอ 28 อัตราคาธรรมเนียมตามขอบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามบัญชีอัตราคาธรรมเนียมทายขอบัญญัตินี้ อัตราคาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง ให้ใชกับการให้บริการขององคการบริหารสวนตําบลสมผอ รวมถึงการให้บริการของบุคคลอื่นที่องคการบริหารสวนตําบลสมผอมอบให้ดําเนินการแทนหรืออนุญาต ให้ดําเนินการด้วย ขอ 29 บรรดาคาธรรมเนียมและคาปรับตามขอบัญญัตินี้ให้เป็นรายได้ขององคการบริหาร สวนตําบลสมผอ ขอ 30 แบบพิมพที่ใชตามขอบัญญัตินี้ (1) คําขอใบอนุญาต (แบบ สม. 1) (2) คําขอใบแทนใบอนุญาต (แบบ สม. 1/1) (3) ใบอนุญาต (แบบ สม. 2) (4) ใบแทนใบอนุญาต (แบบ สม. 2/1) (5) คําขอต่อใบอนุญาต (แบบ สม. 3) ้ หนา 58 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

ขอ 31 ผู้ใดฝาฝนหรือไม่ปฏิบัติตามขอบัญญัตินี้ต้องระวางโทษตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ 32 ผู้ประกอบกิจการที่ต้องได้รับใบอนุญาตจึงจะประกอบกิจการได้ตามขอบัญญัตินี้แต่ยังไม่ได้ขอ หรือมีใบอนุญาตจะต้องยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามที่กําหนดไวในขอบัญญัตินี้ภายในสี่สิบหาวันที่ขอบัญญัตินี้ มีผลใชบังคับ ขอ 33 ให้นายกองคการบริหารสวนตําบลสมผอเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามขอบัญญัตินี้ ประกาศ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ครรชิต ผุดผอง นายกองคการบริหารสวนตําบลสมผอ ้ หนา 59 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 248 ง ราชกิจจานุเบกษา 18 ตุลาคม 2565

บัญชีอัตราค่าธรรมเนียม ท้ายข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ เรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ . ศ . 2562 ลําดับ รายการ ค่าธรรมเนียม ( บาท ) 1 อัตราค่าเก็บขนและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย 1 . 1 ค่าเก็บและขนอุจจาระหรือสิ่งปฏิกูลครั้งหนึ่ง ๆ เศษของลูกบาศก์เมตรหรือลูกบาศก์เมตรแรก และลูกบาศก์เมตรต่อ ๆ ไปเศษไม่เกินครึ่งลูกบาศก์เมตร เศษครึ่งลูกบาศก์เมตร ให้คิดเท่ากับ 1 ลูกบาศก์เมตร 120 1 . 2 ค่าเก็บและขนมูลฝอยประจําเดือน ที่มีปริมาณมูลฝอยวันหนึ่งไม่เกิน 500 เมตร - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 20 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 20 ลิตร แต่ไม่เกิน 40 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 40 ลิตร แต่ไม่เกิน 60 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 60 ลิตร แต่ไม่เกิน 80 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 80 ลิตร แต่ไม่เกิน 100 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 100 ลิตร แต่ไม่เกิน 200 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 200 ลิตร แต่ไม่เกิน 300 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 300 ลิตร แต่ไม่เกิน 400 ลิตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 400 ลิตร แต่ไม่เกิน 500 ลิตร เดือนละ 20 50 90 120 150 200 300 400 500 1 . 3 ค่าเก็บและขนมูลฝอยประจําเดือน ที่มีปริมาณมูลฝอยวันหนึ่งเกิน 500 ลิตรขึ้นไป - ที่มีปริมาณวันหนึ่งไม่เกิน 1 ลูกบาศก์เมตร เดือนละ - ที่มีปริมาณวันหนึ่งเกิน 1 ลูกบาศก์เมตร ค่าเก็บและขนทุก ๆ ลูกบาศก์เมตร หรือเศษของลูกบาศก์เมตร เดือนละ 2 , 000 2 , 000 1 . 4 ค่าเก็บและขนมูลฝอยทั่วไปเป็นครั้งคราว - ครั้งหนึ่งไม่เกิน 1 ลูกบาศก์เมตร ครั้งละ - ครั้งหนึ่ง ๆ เกิน 1 ลูกบาศก์เมตร ค่าเก็บและขนทุก ๆ หรือเศษของลูกบาศก์เมตร ลูกบาศก์เมตรละ 150 150 2 อัตราค่าธรรมเนียมในการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ 2 . 1 ใบอนุญาตดําเนินการกิจการ ในการรับทําการเก็บ ขน สิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการ - รับทําการเก็บและขนส่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ฉบับละ - รับทําการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ฉบับละ - ใบแทนใบอนุญาต ( กรณีฉบับจริงสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ) ฉบับละ 5 , 000 5 , 000 100

( แบบ สม . 1 ) คําขอรับใบอนุญาต เล่มที่ … เลขที่รับ …/… เขียนที่ … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ข้าพเจ้า … อายุ … ปี สัญชาติ … อยู่บ้านเลขที่ … หมู่ที่ … ตรอก / ซอย … ถนน … แขวง / ตําบล … เขต / อําเภอ … เทศบาล / อบต . … จังหวัด … โทรศัพท์ … โทรสาร … ขอยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ เก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจประเภท ( ) เก็บ ขนสิ่งปฏิกูล โดยมีตําแหน่งกําจัดที่ … … ( ) เก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูล โดยมีระบบกําจัดที่ … … ( ) เก็บ ขนมูลฝอย โดยมีแหล่งกําจัดที่ … … ( ) เก็บ ขน และกําจัดมูลฝอย โดยมีระบบกําจัดที่ … … พร้อมคําขอนี้ ข้าพเจ้าได้แนบหลักฐานและเอกสารมาด้วยแล้ว ดังนี้ คือ 1 ) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน / ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2 ) สําเนาทะเบียนบ้าน 3 ) สําเนาทะเบียนรถ 4 ) หลักฐานการอนุญาตตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง คือ 4 . 1 ) … 4 . 2 ) … 4 . 3 ) … 4 . 4 ) … 5 ) เอกสารหลักฐานอื่น ๆ 5 . 1 ) … 5 . 2 ) … 5 . 3 ) … 5 . 4 ) …

แผนที่ตั้งสถานประกอบกิจการโดยสังเขป ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความในแบบคําขอรับใบอนุญาตนี้เป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ … ผู้ขอรับใบอนุญาต (…) ความเห็นของเจ้าพนักงานสาธารณสุข จากการตรวจสอบสถานประกอบการ ( ) เห็นสมควรอนุญาต และควรกําหนดเงื่อนไข ดังนี้ … … ( ) เห็นควรไม่อนุญาต เพราะ … … … ลงชื่อ … เจ้าพนักงานสาธารณสุข (…) ตําแหน่ง … วันที่ …/…/… คําสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น ( ) อนุญาตให้ประกอบกิจการได้ ( ) ไม่อนุญาตให้ประกอบกิจการ ลงชื่อ … เจ้าพนักงานท้องถิ่น (…) นายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ วันที่ …/…/…

( แบบ สม . 1 / 1 ) คําขอใบแทนใบอนุญาต ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจ ( กรณีใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ) เขียนที่ … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ข้าพเจ้า … อายุ … ปี สัญชาติ … อยู่บ้านเลขที่ … หมู่ที่ … ตรอก / ซอย … ถนน … แขวง / ตําบล … เขต / อําเภอ … เทศบาล / อบต . … จังหวัด … โทรศัพท์ … โทรสาร … ขอยื่นคําขอใบแทนใบอนุญาต เนื่องจากใบอนุญาตประกอบกิจการ เก็บขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจ ประเภท … ตามใบอนุญาตเล่มที่ … เลขที่ …/… ออกให้เมื่อวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ได้สูบหาย / สูญหาย / ชํารุดในสาระสําคัญ ต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ พร้อมคําขอนี้ข้าพเจ้าได้ ชําระค่าธรรมเนียม จํานวน … บาท เงินเพิ่ม … บาท รวมเป็นเงิน … บาท (…) และได้แนบหลักฐานและเอกสารมาด้วย ดังนี้ คือ 1 ) สําเนาใบแจ้งความกรณีใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทําลาย หรือ 2 ) ใบอนุญาตเดิม กรณีชํารุดในสาระสําคัญ 3 ) เอกสารหลักฐานอื่น ๆ … ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความในแบบคําขอใบแทนใบอนุญาตนี้เป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ … ผู้ขอรับใบแทนใบอนุญาต (…) คําสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น ( ) อนุญาตให้ออกใบแทนได้ ( ) ไม่อนุญาตให้ออกใบแทน เพราะ … ลงชื่อ … เจ้าพนักงานท้องถิ่น (…) นายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ วันที่ …/…/…

( แบบ สม . 2 ) ใบอนุญาต ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจ เล่มที่ … เลขที่ …/… อนุญาตให้ … อายุ … ปี สัญชาติ … บัตรประจําตัวประชาชนเลขที่ … อยู่บ้านเลขที่ … หมูที่ … ตําบล … อําเภอ … จังหวัด … โทรศัพท์ … ข้อ 1 ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจประเภท … โดยใช้ชื่อสถานประกอบการว่า … ซึ่งตั้งอยู่บ้านเลขที่ … หมูที่ … ตําบล … อําเภอ … จังหวัด … โทรศัพท์ … โทรสาร … มีพื้นที่ประกอบการ … ตารางเมตร ใช้เครื่องจักรที่มีกําลังขนาด … แรงม้า จํานวนคนทํางาน … คน ทั้งนี้ ได้เสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาต … บาท (…) ใบเสร็จรับเงินเล่มที่ … เลขที่ …/… ลงวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ข้อ 2 ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ตามที่กําหนดไว้ในข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ “ เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ . ศ . 2562 ” ( 2 ) ต่อใบอนุญาตได้ก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน ( 3 ) ต่ออายุหลังสิ้นอายุใบอนุญาตจะต้องเสียเงินเพิ่ม 50 บาทต่อเดือน เศษของเดือนถ้าตั้งแต่ 15 วันขึ้นไปให้คิดเป็นหนึ่งเดือน ถ้าไม่ถึง 15 วันให้ปัดทิ้ง ใบอนุญาตฉบับนี้ ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ออกให้ ณ วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ( ลงชื่อ )… (…) นายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ

( ด้านหลัง ) รายการต่อใบอนุญาตการเสียค่าธรรมเนียม วัน / เดือน / ปี ที่ออกใบอนุญาต วัน / เดือน / ปี ที่หมดอายุ ใบเสร็จรับเงิน ( ลงชื่อ ) เจ้าพนักงานท้องถิ่น เล่มที่ เลขที่ วัน / เดือน / ปี ตําเตือน : ต้องแสดงใบอนุญาตนี้ไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ

( แบบ สม . 2 / 1 ) ใบแทนใบอนุญาต ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจ เล่มที่ … เลขที่ …/… อนุญาตให้ … อายุ … ปี สัญชาติ … บัตรประจําตัวประชาชนเลขที่ … อยู่บ้านเลขที่ … หมูที่ … ตําบล … อําเภอ … จังหวัด … โทรศัพท์ … ข้อ 1 ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจประเภท … โดยใช้ชื่อสถานประกอบการว่า … ซึ่งตั้งอยู่บ้านเลขที่ … หมูที่ … ตําบล … อําเภอ … จังหวัด … โทรศัพท์ … โทรสาร … มีพื้นที่ประกอบการ … ตารางเมตร ใช้เครื่องจักรที่มีกําลังขนาด … แรงม้า จํานวนคนทํางาน … คน ทั้งนี้ ได้เสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาต … บาท (…) ใบเสร็จรับเงินเล่มที่ … เลขที่ …/… ลงวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ข้อ 2 ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ตามที่กําหนดไว้ในข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ “ เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พ . ศ . 2562 ” ( 2 ) ต่อใบอนุญาตได้ก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน ( 3 ) ต่ออายุหลังสิ้นอายุใบอนุญาตจะต้องเสียเงินเพิ่ม 50 บาทต่อเดือน เศษของเดือนถ้าตั้งแต่ 15 วันขึ้นไปให้คิดเป็นหนึ่งเดือน ถ้าไม่ถึง 15 วันให้ปัดทิ้ง ใบอนุญาตฉบับนี้ ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ออกให้ ณ วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ( ลงชื่อ )… (…) นายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ

( แบบ สม . 3) แบบคําขอต่ออายุรับใบอนุญาต ประกอบกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเป็นธุรกิจ เล่มที่ … เลขที่ …/… เขียนที่ … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … ข้าพเจ้า … อายุ … ปี สัญชาติ … อยู่บ้านเลขที่ … หมู่ที่ … ตรอก / ซอย … ถนน … แขวง / ตําบล … เขต / อําเภอ … จังหวัด … โทรศัพท์ … โทรสาร … ขอยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ เก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย โดยทําเป็นธุรกิจประเภท … ตามใบอนุญาตเล่มที่ … เลขที่ …/… ออกให้เมื่อวันที่ … เดือน … พ . ศ . … ต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ พร้อมคําขอนี้ข้าพเจ้าได้แนบหลักฐานและเอกสารมาด้วย ดังนี้ คือ 1 ) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน / ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2 ) สําเนาทะเบียนบ้าน 3 ) สําเนาทะเบียนรถ 4 ) หลักฐานการอนุญาตตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง คือ 4 . 1 ) … 4 . 2 ) … 5 ) ใบอนุญาตเดิมที่หมดอายุ 6 ) เอกสารหลักฐานอื่น ๆ … ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความใบแบบคําขอต่อใบอนุญาตนี้เป็นความจริงทุกประการ ( ลงชื่อ )… ผู้ขอต่อใบอนุญาต (…) ความเห็นของเจ้าพนักงาน การตรวจสอบสถานที่ประกอบการ ( ) เห็นสมควรต่อใบอนุญาต ( ) เห็นสมควรไม่อนุญาต เพราะ … … … ( ลงชื่อ )… เจ้าพนักงานสาธารณสุข (…) ตําแหน่ง … วันที่ … เดือน … พ . ศ . … คําสั่งเจ้าพนักงาน ( ) อนุญาตให้ประกอบกิจการได้ ( ) ไม่อนุญาตให้ประกอบกิจการ ( ลงชื่อ )… เจ้าพนักงานท้องถิ่น (…) นายกองค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ