ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวนความจำเป็นในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินค้าหลอดและท่อทำด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565
ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวนความจำเป็นในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินค้าหลอดและท่อทำด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565
ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง รายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่ใช้เป็นพื้นฐานในการวินิจฉัย เกี่ยวกับการทบทวนความจาเป็นในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินค้าหลอดและท่อทำด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565 ตามที่ได้มีประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง เปิดการทบทวนความจาเป็นในการใช้มาตรการ ตอบ โต้การทุ่มตลาดสินค้าหลอดและท่อทำด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกำเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2564 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2564 และประกาศคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาด และการอุดหนุน เรื่อง ให้เรียกเก็บหลักประกันการชาระอากรตอบโต้การทุ่มตลาดสินค้าหลอดและ ท่อทาด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ . 2564 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการพิจารณา การทุ่มตลาดและการอุดหนุน เรื่อง ให้เรียกเก็บหลักประกันการชาระอากรตอบโต้การทุ่มตลาดสินค้าหลอด และท่อทาด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณ รัฐสังคมนิยมเวียดนาม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 ให้เปิดการทบทวนความจำเป็น ในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป และเรียกเก็บหลักประกันการชาระอากรในระหว่าง การพิจารณาทบทวนจนกว่าผลการพิจารณาทบทวนจะใช้บังคับ และต่อมาคณะกรรมการพิจารณา การทุ่มตลาดและการอุดห นุนได้มีคาวินิจฉัยว่าการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดจะทาให้ มีการทุ่มตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟื้นคืนมาอีก และให้เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด จากการนาเข้าสินค้าหลอดและท่อทาด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรั ฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามต่อไป ในอัตราเดิม เป็นระยะเวลาห้าปี ตามประกาศคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน เรื่อง ผลการพิจารณาทบทวนความจำเป็น ในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินค้าหลอดและท่อทำด้ วยเหล็กกล้า ไม่เป็นสนิม ที่มีแหล่งกาเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2565 นั้น เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อ 2 ข้อ 4 และข้อ 8 ของกฎกระทร วง การแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน และการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและ การอุดหนุน พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาด ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 245 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 ตุลาคม 2565
และการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25 6 2 อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ จึงออกประกาศแสดงรายละเอียดข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอันเป็นสาระสาคัญที่ใช้เป็นฐานในการวินิจฉัย เกี่ยวกับการทบทวนความ จำเป็นในการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไปไว้ ดังเอกสารท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 256 5 มนัสนิตย์ จิรวัฒน์ รองอธิบดี รักษา ราชการแทน อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 245 ง ราชกิจจานุเบกษา 12 ตุลาคม 2565
1 เอกสารทายประกาศกรมการคาตางประเทศ เรื่อง รายละเอียดขอเท็จจริงและขอกฎหมายอันเป็นสาระสําคัญ ที่ใชเป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565 ขอ 1 ความเป็นมา คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน ( ทตอ .) ตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 (พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ) ได้ออกประกาศ คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน เรื่อง การตอบโตการทุมตลาดสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลา ไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ . ศ . 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2559 กําหนดให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาด จากการนําเขาสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิมที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในอัตรารอยละ 2 .38 – 310.74 ของราคา ซี ไอ เอฟ และให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดในอัตรารอยละ 0 ของราคา ซี ไอ เอฟ ในกรณี ดังนี้ (1) ผู้ประกอบอุตสาหกรรม และผู้ประกอบพาณิชยกรรมเพื่อการสงออกนําสินคาดังกลาวเขามาในราชอาณาจักรและนําเขาไปในเขตประกอบการเสรี เพื่อใชในการผลิตสินคาหรือเพื่อพาณิชยกรรมเพื่อการสงออกภายใตกฎหมายวาด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (2) ผู้ที่ได้รับการสงเสริมตามกฎหมายวาด้วยการสงเสริมการลงทุนนําสินคาเขามาผลิตเพื่อการสงออกภายใตกฎหมาย วาด้วยการสงเสริมการลงทุน และ (3) การนําสินคาดังกลาวเขามาผลิตเพื่อการสงออกภายใตกฎหมายวาด้วยศุลกากร โดยมีผลบังคับใชเป็นระยะเวลา 5 ป ตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน 2559 ถึงวันที่ 16 กันยายน 2564 ขอ 2 การเปดทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรมการคาตางประเทศได้ออกประกาศ เรื่อง เปดการทบทวนความจําเป็นในการใชมาตรการตอบโต การทุมตลาดสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ . ศ . 2564 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 6 กันยายน 2564 และได้เผยแพรประกาศดังกลาวลงโฆษณาในหนังสือพิมพรายวันฉบับภาษาไทยและฉบับภาษาอังกฤษ ได้แก หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจและหนังสือพิมพบางกอกโพสตตามลําดับ เพื่อให้สาธารณชนรับรูและให้ผู้มีสวนได้ สวนเสียสามารถดําเนินการตามที่กฎหมายและกฎระเบียบกําหนดด้วยความถูกต้องครบถวน ขอ 3 การพิจารณาทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรมการคาตางประเทศได้ดําเนินการพิจารณาทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโต การทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 ตามหลักเกณฑที่กําหนดตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุม ตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ ( ฉบับที่ 2) พ . ศ. 2562 ( พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม ) โดยมีรายละเอียดขอเท็จจริงและขอกฎหมาย อันเป็นสาระสําคัญที่ใชเป็นพื้นฐานในการพิจารณา ดังนี้
2 3.1 สินคาที่ถูกพิจารณา ได้แก หลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ทั้งรีดรอนและรีดเย็น ที่มีภาคตัดขวางเป็นวงกลมและไม่เป็นวงกลม ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกไม่เกิน 508 มิลลิเมตร ภายใตพิกัดศุลกากร ประเภทยอย ตามพระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร ( ฉบับที่ 6) พ . ศ. 2559 และรหัสสถิติ ตามรหัสสถิติสินคาที่แกไขปรับปรุงเพิ่มเติม ฉบับป พ . ศ. 256 0 ตามประกาศกรมศุลกากร ที่ 199/2559 เรื่องแกไขเพิ่มเติมรหัสสถิติสินคา ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2559 จํานวน 46 รายการ ได้แก 7305 .31.10.000 7306 .11.10.000 7306 .11. 90 .000 7306 . 21 .00.000 7306 . 40 .11.000 7306 . 40 . 19 .000 7306 . 40 . 20 .011 7306 . 40 . 20 . 012 7306 . 40 . 20 .013 7306 . 40 . 20 . 014 7306 . 40 . 20 . 015 7306 . 40 . 20 . 016 7306 . 40 . 20 .017 7306 . 40 . 20 .018 7306 . 40 . 20 . 021 7306 . 40 . 20 . 022 7306 . 40 . 20 . 023 7306 . 40 . 20 . 024 7306 . 40 . 20 . 025 7306 . 40 . 20 . 026 7306 . 40 . 20 . 027 7306 . 40 . 20 . 028 7306 . 40 . 20 . 090 7306 . 40 .30.010 7306 . 40 .30. 020 7306 . 40 . 90 .011 7306 . 40 . 90 . 012 7306 . 40 . 90 .013 7306 . 40 . 90 . 014 7306 . 40 . 90 . 015 7306 . 40 . 90 . 016 7306 . 40 . 90 .017 7306 . 40 . 90 .018 7306 . 40 . 90 . 021 7306 . 40 . 90 . 022 7306 . 40 . 90 . 023 7306 . 40 . 90 . 024 7306 . 40 . 90 . 025 7306 . 40 . 90 . 026 7306 . 40 . 90 . 027 7306 . 40 . 90 . 028 7306 . 40 . 90 . 090 7306 . 61 .10. 021 7306 . 61 .10. 022 7306 . 61 . 90 .110 และ 7306 . 61 . 90 . 120 ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยสินคาที่อุตสาหกรรมภายในผลิตได้เป็นสินคาชนิดเดียวกันกับสินคาที่ถูกพิจารณา (Like Product) ดังกลาว เนื่องจากมีองคประกอบ เชน ลักษณะทางกายภาพ ขั้นตอนการผลิต การนําไปใช เหมือนกันทุกประการ 3.2 ผู้มีสวนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวของ 3.2.1 ผู้ผลิตสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ ดังนี้ 1) บริษัท ไทย - เยอรมัน โปรดักส จํากัด ( มหาชน ) 2) บริษัท โตโยมิลเลเนียม จํากัด 3) บริษัท ซีเอสอี เพียวริตี้ แอพพลาย แมททีเรียล จํากัด 4) บริษัท ชาคโร จํากัด 5) บริษัท อารเมยไท จํากัด 6) บริษัท ปติสวัสดิ์ จํากัด 7) บริษัท ไทยยูนีคคอยสเซ็นเตอร จํากัด 8) บริษัท สตีลเล็กซ จํากัด 9) บริษัท ศุภสิน เมทัลเทรดดิ้ง จํากัด 10) บริษัท เกรทเซ็นทรัล ( อินเตอรเนชั่นแนล ) จํากัด 11) บริษัท แทย พรีซิชั่น อินดัสตรี้ส จํากัด 12) บริษัท พี . ที . เมตัล จํากัด 13) บริษัท ยูเนี่ยนสเตนเลสสตีล โปรดักส จํากัด 14) บริษัท เอส . โอ . เอ็ม . เทรดดิ้ง จํากัด 15) บริษัท พีเอพี เอ็กซซิม จํากัด 16) บริษัท ฮวา หยัง สเตนเลสส สตีล ( ไทยแลนด ) จํากัด
3 17) บริษัท ทอไทยสเตนเลสสตีล จํากัด 18) บริษัท เวิลด เมทัลลิค จํากัด 19) บริษัท ติ่ง ซิน สแตนเลส จํากัด 20) บริษัท เอกอน แปซิฟค จํากัด 21) บริษัท จงฉี่ ( ประเทศไทย ) จํากัด 22) บริษัท ไอ ที เอส พี จํากัด 23) บริษัท เจ . เอส . วีเทคนิคอล จํากัด 24) บริษัท ไทยนิชเซ จํากัด 25) บริษัท แอล วี ดีเวล็อปเมนท กรุป จํากัด 26) บริษัท โตเซน อินดัสเตรียล จํากัด 27) บริษัท เคทีเค ( ประเทศไทย ) จํากัด 28) บริษัท ไบรท อินดัสตรีส ( หาดใหญ ) จํากัด 29) บริษัท วิจิตราภรณรังสี จํากัด 3.2.2 ผู้ผลิตและผู้สงออกจากตางประเทศ 1) สาธารณรัฐเกาหลี ดังนี้ (1) Sammi Metal Products Co., Ltd. ( 2) SeAH Steel Corporation 2) สาธารณรัฐประชาชนจีน ดังนี้ ( 1) Zhejiang JIULI Hi -Tech Metals Co., Ltd. ( 2) Zhejiang Guorui Steel Co., Ltd. ( 3) Zhejiang Huatian Stainless Steel Manufac turing Co., Ltd. ( 4) Zhejiang Tsingshan Steel Pipe Co., Ltd. ( 5) Guangzhou WINNER Stainless Steel Co., Ltd ( 6) Wuxi sino yuan science and technology Co., Ltd. 3) ไตหวัน ดังนี้ ( 1) YC INOX Co., Ltd. ( 2) Ta Chen Stainless Pipe Co., Ltd. (3) Chang Mien Industries Co., Ltd. ( 4) Froch Enterprise Co., Ltd. ( 5) Yi Shuenn Enterprise Co., Ltd. ( 6) YES Stainless International Co., Ltd 4) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ดังนี้ ( 1) SonHa International Corporation ( 2) Mejonson I ndustrial Vietnam Co., Ltd ( 3) Cong Ty Tnhh Long Phat L. D (Long Phat LD Co., Ltd.)
4 3.2. 3 ผู้นําเขา ดังนี้ 1) บริษัท แวน เลียวเวน ไพพ แอนด ทิวป ( ประเทศไทย ) จํากัด 2) บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) 3) บริษัท นิปปอน สตีล แอนด ชูมิคิน เอ็นจิเนียริ่ง คัมพานี ลิมิเต็ด จํากัด 4) บริษัท อีชวอร โปรไฟลส ( ไทยแลนด ) จํากัด 5) บริษัท ไฮเท็ค ลิงค จํากัด 6) บริษัท ลีแอนดสตีล จํากัด 7) บริษัท เอเซีย สเตนเลส สตีล จํากัด 8) บริษัท ไทยเบนกัน จํากัด 9) บริษัท เค เซอรวิส เซ็นเตอร จํากัด 10) บริษัท ด็อกไวเลอร เอเชีย จํากัด 11) บริษัท จีฮวา อินดัสทรีส จํากัด 12) บริษัท ไอเบล ( ประเทศไทย ) จํากัด 13) บริษัท ทรัยโมทีฟ เอเชีย แปซิฟค จํากัด 14) บริษัท เอส . เอ . ปโตรเทค จํากัด 15) บริษัท เอสทีพี แอนด ไอ จํากัด (มหาชน) 16) บริษัท ทูบาเชคซ อวาจิ ( ประเทศไทย ) จํากัด 17) บริษัท อี้เฮอ เมททัล จํากัด 18) บริษัท เคทีเค ( ประเทศไทย ) จํากัด 19) บริษัท ไทย เอสคอรป จํากัด 20) บริษัท เอ็มแอนดพี เซอรวิส (2017) จํากัด 21) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) 22) บริษัท บีเจซี เฮฟวี่ อินดัสทรี จํากัด (มหาชน) 23) บริษัท ฮีทอะเวย จํากัด 24) บริษัท เลนซิ่ง ( ไทยแลนด ) จํากัด 25) บริษัท ไลนไพพ จํากัด 26) หางหุนสวนจํากัดโอโตโกะ ไลน ทรานสปอรต 27) บริษัท เอส แอนด เอส เทรดดิ้ง จํากัด 28) บริษัท พงศมา เทรดดิ้ง จํากัด 29) บริษัท เออรมีนา จํากัด 30) บริษัท คุราเร จีซี แอดวานซ แมททีเรียลส จํากัด 31) บริษัท คุราเร แอดวานซ เคมิคอลส ( ประเทศไทย ) จํากัด 32) บริษัท ฮีทเวล อีเลคทริค ฮีทติ้ง เทคโนโลยี ( ไทยแลนด ) จํากัด 33) บริษัท ฟอสเตอร วีลเลอร เซอรวิส ( ประเทศไทย ) ( สาขา 1) จํากัด 34) บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จํากัด 35) หางหุนสวนจํากัดวีเอส ลายส ทรานสปอรต
5 36) บริษัท พี แอนด เอส เอ็นเตอรไพรส ( ประเทศไทย ) จํากัด 37) บริษัท วัฒนไพศาลเอ็นยิเนียริ่ง จํากัด 38) บริษัท วิทยคอรป โปรดักส จํากัด 39) บริษัท ไมนอกซ วาลว แอนด ฟตติ้งส จํากัด 40) บริษัท ซินเนอรจี เอเชีย โซลูชั่น จํากัด 41) บริษัท ลาฟรันโคนิ ซิเลนเซียโทริ ( ไทยแลนด ) จํากัด 42) บริษัท เกาสุ แพคกิ้ง ( ศรีราชา ) อินดัสตรี้ จํากัด 43) บริษัท บี . ที . เวิลดเทรด จํากัด 44) บริษัท เอ็นจีเค สปารคปลั๊กส ( ประเทศไทย ) จํากัด 45) บริษัท โรจนไพบูลยอีควิ๊ปเมนท จํากัด 46) บริษัท ซีเอชเรดิเอเตอร จํากัด 47) บริษัท แคนาเดียนโซลารแมนูเฟคเจอริ่ง ( ประเทศไทย ) จํากัด 48) บริษัท เคเอสแอล กรีนอินโนเวชั่น จํากัด (มหาชน) 49) บริษัท อีสท แคปปทอล เทคโนโลยี จํากัด 50) บริษัท แอ็คควาเทค แม็คซคอน เอเชีย จํากัด 51) บริษัท อินเตอรโรล ( ประเทศไทย ) จํากัด 52) บริษัท อัลฟาคาสท จํากัด 53) หางหุนสวนจํากัดไทยเชียรริ่งโลหะ 54) บริษัท ไทย - เยอรมัน โปรดักส จํากัด (มหาชน) 55) บริษัท ลี่หมิง เดดคอเรชั่น เทรดดิ้ง ( ไทยแลนด ) จํากัด 56) บริษัท กัลฟ เอสอารซี จํากัด 57) บริษัท เด็คสเตอร อินดัสทรี จํากัด 58) บริษัท คาวาซูมิ ลาบอราทอรี่ ( ประเทศไทย ) จํากัด 59) บริษัท ปารคเกอร เอ็นยิเนียริ่ง ( ไทยแลนด ) จํากัด 60) บริษัท อูเมโตกุ ไทยแลนด จํากัด 61) บริษัท เอ็มพาวเวอร เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด 62) บริษัท เจ . เจ . แอดวานซ โปรดักส ( ประเทศไทย ) จํากัด 63) บริษัท ดอง จู เมททัล จํากัด 64) บริษัท อินเตอรไทยแมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด 65) บริษัท เซิ่งไท บราซแวร ( ประเทศไทย ) จํากัด 66) บริษัท แอนเซลล ( ประเทศไทย ) จํากัด 67) บริษัท ไดเทค แอดวานซ จํากัด 68) บริษัท คินซี่ ( ประเทศไทย ) จํากัด 69) บริษัท ควินเทท อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 70) บริษัท ชารเตอรเวย อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 71) บริษัท ฮากุโดะ ( ประเทศไทย ) จํากัด
6 72) บริษัท บีเอสเอฟ ( ประเทศไทย ) จํากัด 73) บริษัท โตโย ไซกัน ( ประเทศไทย ) จํากัด 74) บริษัท พัฒนกล เทรดดิ้ง จํากัด 75) บริษัท ยูนิโรลล ( ประเทศไทย ) จํากัด 76) หางหุนสวนจํากัดดีวันเดอะฟูล 77) บริษัท พีเอ็มอี (1991) จํากัด 78) บริษัท เอ็ม . อาร . ฟตติ้ง แอนด สตีล (1996) จํากัด 79) บริษัท ซีบีไอ ( ประเทศไทย ) จํากัด 80) หางหุนสวนจํากัดสวนหลวง เอ็นจิเนียริ่ง 81) บริษัท เทพรักษ์ อินเตอรเนชั่นแนล ( ประเทศไทย ) จํากัด 3.2.4 สมาคมในทางการคาและกลุ่มอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1) สมาคมพัฒนาสเตนเลสไทย 2) สมาคมผู้ผลิตทอโลหะและแปรรูปเหล็กแผน 3) สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยในพระบรมราชูปถัมภ 4) กลุ่มอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 5) สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย 6) สมาคมเครื่องทําความเย็นไทย 7) สมาคมผู้ผลิตน้ําตาลและชีวพลังงานไทย 8) สมาคมบรรจุภัณฑกระดาษลูกฟูกไทย 9) สมาคมการคาและอุตสาหกรรมปโตรเคมีไทย 3.2.5 สถานเอกอัครราชทูต และสํานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ประจําประเทศไทย ในฐานะรัฐบาลของประเทศแหลงกําเนิดหรือประเทศผู้สงออกสินคาที่ถูกพิจารณา ดังนี้ 1) สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน 2) สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเกาหลี 3) สถานเอกอัครราชทูตเวียดนาม 4) สํานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป 3.3 ชวงเวลาของขอมูลที่ใชในการพิจารณาทบทวน 3.3.1 การพิจารณาวาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาด ต่อไปหรือฟนคืนมาอีก ใชขอมูลระหวางวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึงวันที่ 31 มิถุนายน 2564 ( ชวงระยะเวลา การทบทวนการทุมตลาด : POR ) 3.3.2 การพิจารณาวาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีความเสียหาย ต่อไปหรือฟนคืนมาอีก ใชขอมูลระหวางวันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 มิถุนายน 2564
7 3.4 การสงแบบสอบถาม เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2564 กรมการคาตางประเทศได้สงแบบสอบถามไปยังผู้มีสวนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวของที่ปรากฏรายชื่อตามขอ 3.2 เพื่อให้แจงขอเท็จจริงและความเห็นสําหรับใชประกอบการพิจารณาทบทวน โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามภายในระยะเวลาที่กําหนด ดังนี้ 3.4.1 ผู้ผลิตสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ จํานวน 2 ราย ดังนี้ 1) บริษัท ไทย - เยอรมัน โปรดักส จํากัด ( มหาชน ) 2) บริษัท โตโยมิลเลเนียม จํากัด 3.4.2 ผู้นําเขา จํานวน 5 ราย ดังนี้ 1) บริษัท ทูบาเชคซ อวาจิ ( ประเทศไทย ) จํากัด 2) บริษัท อัลฟาคาสท จํากัด 3) บริษัท ลีแอนดสตีล จํากัด 4) หางหุนสวนจํากัด สวนหลวง เอ็นจิเนียริ่ง 5) บริษัท ไทยเบนกัน จํากัด 3.5 ความเห็นของผู้มีสวนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวของที่ได้รับตามแบบสอบถาม 3. 5 .1 ผู้นําเขามีความเห็นวา การบังคับใชอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไปจะสงผลกระทบ ต่อผู้นําเขา ผู้ใช และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เนื่องจากจะทําให้ตนทุนวัตถุดิบในการผลิตเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นการสรางขอจํากัด และอุปสรรคต่อการเลือกซื้อสินคาที่มีคุณภาพและนาเชื่อถือจากประเทศที่ถูกพิจารณา ขอชี้แจง การพิจารณาทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ของ ทตอ. ในกรณีนี้เป็นไปตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม รวมถึงอนุบัญญัติที่เกี่ยวของ ที่บัญญัติและกําหนดไวสอดคลองกับหลักการของความตกลงวาด้วยการตอบโตการทุมตลาด ขององคการการคาโลก เพื่อให้มีกลไกเยียวยาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดซึ่งเป็นพฤติกรรม การคาที่ไม่เป็นธรรม โดยในกรณีที่พบวาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาด และความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีก ทตอ. จะมีคําวินิจฉัยให้เรียกเก็บอากรต่อไปได้ตามระยะเวลาที่กําหนด ซึ่งในกระบวนการพิจารณาคําขอให้เปดการทบทวนฯ ในกรณีนี้ ทตอ. ได้วินิจฉัยวาคําขอมีมูลวาการยุติการเรียกเก็บ อากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีก จึงมีการออกประกาศ กรมการคาตางประเทศเพื่อเปดการทบทวน ตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ ในขั้นตอนการพิจารณาทบทวน การดําเนินการ ของกรมการคาตางประเทศในการรวบรวมขอมูลขอเท็จจริงและพยานหลักฐานจากผู้มีสวนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวของ การตรวจสอบความถูกต้องและความนาเชื่อถือของขอมูลที่ได้รับ รวมทั้งการวิเคราะหเพื่อจัดทําสรุปผลการทบทวนฯ เสนอต่อ ทตอ . จะเป็นไปตามหลักเกณฑที่กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกําหนดและต้องคํานึงถึงประโยชน ของอุตสาหกรรมภายใน ผู้บริโภคและประโยชนสาธารณะประกอบด้วย ตามที่มาตรา 7 แห่ง พระราชบัญญัติ การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนด 3. 5.2 ผู้มีสวนได้เสียมีความเห็นวา ขอบเขตของสินคาภายใตมาตรการตอบโตการทุมตลาด ที่จะมีการทบทวน ครอบคลุมสินคาที่อุตสาหกรรมภายในไม่สามารถผลิตได้ ซึ่งเป็นสินคาที่มีความหนาพิเศษ และต้องมีการรับรองมาตรฐาน
8 ขอชี้แจง การทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไปในกรณีนี้ เป็นการพิจารณาการทบทวนตามมาตรา 57 ซึ่งเป็นการพิจารณาวาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาด จะทําให้มีการทุมตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีกหรือไม่ โดยในกรณีที่ ทตอ. มีคําวินิจฉัยวาการยุติ การเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีกจะมีการเรียกเก็บ อากรตอบโตการทุมตลาดต่อไปอีกเป็นระยะเวลาไม่เกินหาป ซึ่งในกรณีที่ผู้มีสวนได้เสียมีความประสงคจะให้ ทตอ. พิจารณาทบทวนเพื่อยุติการเรียกเก็บหรือเปลี่ยนแปลงอัตราอากรตอบโตการทุมตลาด ก็สามารถยื่นคําขอให้ ทตอ. พิจารณาทบทวนได้ตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ โดยจะต้องเสนอพยานหลักฐาน เพียงพอเกี่ยวกับปญหาการทุมตลาดหรือความเสียหายที่สมควรให้มีการทบทวน ทั้งนี้ ในการนําเขาสินคาที่ถูกพิจารณา จากประเทศที่ถูกบังคับใชมาตรการ ผู้มีสวนได้เสียอาจพิจารณานําเขาสินคาที่มีการกําหนดอากรตอบโตการทุมตลาด ในอัตราที่ไม่สูงมาก หรือพิจารณานําเขาสินคาจากประเทศอื่นทดแทน 3.6 การตรวจสอบความเป็นจริงของขอกลาวอางและพยานหลักฐานที่เกี่ยวของกับการพิจารณาทบทวน กรมการคาตางประเทศได้เดินทางไปตรวจสอบขอเท็จจริงของขอมูลที่อุตสาหกรรมภายในได้ แจงตามแบบสอบถาม ณ ที่ทําการของบริษัท ระหวางวันที่ 10 ถึงวันที่ 21 มกราคม 2565 โดยสรุปพบวาขอมูล คําตอบในแบบสอบถามรวมทั้งเอกสารหลักฐานการบัญชีที่ผานการรับรองแล้ว เชน งบดุล และงบกําไรขาดทุน สามารถตรวจสอบได้ตรงกับเอกสารหลักฐานตนฉบับ จึงมีความนาเชื่อถือในระดับที่สามารถยอมรับได้ 3.7 การแจงขอมูลและขอเท็จจริงที่ใชเป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวน เพื่อรับฟงขอโตแยงของผู้มีสวนได้เสีย เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2565 กรมการคาตางประเทศได้สงรายละเอียดขอมูลและขอเท็จจริง ที่ใชเป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวนความจําเป็นในการใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม ไปยังผู้มีสวนได้เสียเพื่อให้โอกาสยื่นขอโตแยงตามที่มาตรา 30 ประกอบมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติ การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนด และได้จัดการประชุมผานระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกสเพื่อให้ผู้มีสวนได้เสียยื่นขอโตแยงและเสนอขอคิดเห็น ด้วยวาจาเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2565 โดยมีผู้มีสวนได้สวนเสียยื่นขอโตแยงและเสนอความเห็นด้วยวาจา ในการประชุมดังกลาวรวมทั้งยื่นขอโตแยงและเสนอความเห็นเป็นหนังสือ รวมจํานวน 3 ราย ได้แก หางหุนสวน สวนหลวงเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท ทูบาเซคซ อวาจิ ( ประเทศไทย ) จํากัด และบริษัท ไทยเบนกัน จํากัด โดยมีประเด็นสําคัญเกี่ยวกับสินคาที่ถูกพิจารณา ดังนี้ 3.7.1 ขอบเขตของสินคาที่มีการพิจารณาทบทวน 1) ผู้นําเขามีขอโตแยงวา ไม่เห็นด้วยกับการพิจารณาทบทวนโดยไม่มีการแยกสินคา ที่อุตสาหกรรมภายในและผู้ผลิตภายในประเทศไม่สามารถผลิตได้ออกจากขอบเขตรายการสินคาที่ถูกพิจารณา 2 ) ผู้นําเขามีความเห็นวา ควรยุติการบังคับใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดเฉพาะสินคา บางรายการที่ผู้ผลิตภายในประเทศไม่สามารถผลิตได้ 3) ผู้นําเขามีขอคิดเห็นวา ขอบเขตของสินคาทุมตลาดที่มีการพิจารณาทบทวนความจําเป็น ในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 ในกรณีนี้ครอบคลุมสินคาที่อุตสาหกรรมภายใน และผู้ผลิตภายในประเทศไม่สามารถผลิตได้ ทําให้มีความจําเป็นต้องสั่งซื้อสินคาดังกลาวจากผู้ผลิตสินคาที่ถูกพิจารณา
9 3.7 .2 คุณภาพของสินคาที่ผลิตโดยอุตสาหกรรมภายในและผู้ผลิตสินคาชนิดเดียวกัน ภายในประเทศ ผู้นําเขามีขอคิดเห็นวา อุตสาหกรรมภายในและผู้ผลิตสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ ไม่สามารถผลิตสินคาที่ถูกพิจารณาบางรายการได้ตามขนาดและมาตรฐานของการใชงาน โดยในบางกรณีจะต้องใช สินคาที่ผานกระบวนการผลิตที่ได้รับการรับรองจาก JQA (Japanese Quality Assurance Organization) แต่เนื่องจาก ไม่มีผู้ผลิตภายในประเทศที่ได้รับการรับรองมาตรฐานดังกลาว ผู้ใชสินคาที่ถูกพิจารณาจึงไม่สามารถใชสินคาที่ผลิต จากผู้ผลิตภายในประเทศในการผลิตเพื่อสงออกได้เนื่องจากลูกคาไม่ให้การยอมรับเพราะอาจมีปญหาการรั่วซึม และสงผลให้เกิดอุบัติเหตุได้ จึงควรมีการยกเวนการบังคับใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดในสวนของสินคาที่ผู้ผลิต ภายในประเทศไม่สามารถผลิตได้ตามคุณภาพและขนาดที่ลูกคาต้องการ รวมทั้งสินคาที่จะนําไปผลิตเพื่อสงออกไป ยังประเทศญี่ปุนตามมาตรฐาน JIS และสินคาที่ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิตจาก JQA ขอชี้แจง การดําเนินการไตสวนของกรมการคาตางประเทศและการพิจารณาวินิจฉัยการตอบโต การทุมตลาดของ ทตอ. เป็นไปตามหลักเกณฑตาม พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม และอนุบัญญัติที่เกี่ยวของ ที่กําหนดไวสอดคลองกับ หลักการดําเนินการคาอยางเป็นธรรมของความตกลงวาด้วยการตอบโตการทุมตลาดขององคการการคาโลก เพื่อให้มี กลไกเยียวยาความเสียหายที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในจากการทุมตลาดซึ่งเป็นพฤติกรรมการคาที่ไม่เป็นธรรม โดยกรมการคาตางประเทศและ ทตอ. จะนําขอมูลและพยานหลักฐานที่ได้รับจากผู้มีสวนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวของ ตามแบบสอบถามรวมทั้งชองทางอื่นที่กฎหมายกําหนด ที่ผานกระบวนการตรวจสอบความเป็นจริงของขอกลาวอาง หรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวของแล้ว มาประกอบการดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของ โดยคํานึงถึงประโยชนของ อุตสาหกรรมภายใน ผู้บริโภค และประโยชนสาธารณะประกอบด้วย ตามที่มาตรา 7 แห่ง พระราชบัญญัติการตอบโต การทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดไว ในการทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินคา หลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิมตามประกาศคณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน เรื่อง การตอบโตการทุมตลาดสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ . ศ . 2559 กรมการคาตางประเทศได้ดําเนิน กระบวนการไตสวนตามหลักเกณฑที่กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกําหนด และ ทตอ. ได้พิจารณาเห็นวามี ความเป็นไปได้ที่การยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาดและความเสียหายต่อไป หรือฟนคืนมาอีก จึงได้มีคําวินิจฉัยวาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาด และความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีก และให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไปอีกเป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ป ซึ่งรวมถึงการกําหนดให้เรียกเก็บอากรในอัตรารอยละ 0 ของราคา ซี ไอ เอฟ สําหรับการนําเขาสินคาทุมตลาด ที่นําเขามาผลิตเพื่อการสงออกภายใตกฎหมายวาด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กฎหมายวาด้วยการสงเสริม การลงทุน และกฎหมายวาด้วยศุลกากรด้วย ในการกําหนดมาตรการได้มีการคํานึงถึงประโยชนของอุตสาหกรรมภายใน ผู้บริโภค และประโยชนสาธารณะประกอบการกําหนดมาตรการด้วย โดยในกรณีที่ผู้มีสวนได้เสียมีความประสงคจะให้ ทตอ. พิจารณาทบทวนเพื่อยุติการเรียกเก็บหรือเปลี่ยนแปลงอัตราอากรตอบโตการทุมตลาดที่กําหนดขึ้นตามประกาศ คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน เรื่อง ผลการพิจารณาทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับ อากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป ตามมาตรา 57 กรณีสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิมที่มีแหลงกําเนิด จากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สามารถยื่นคําขอให้
10 ทตอ. พิจารณาทบทวนได้ตามมาตรา 56 แห่ง พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ โดยจะต้องเสนอพยานหลักฐาน เพียงพอเกี่ยวกับปญหาการทุมตลาดหรือความเสียหายที่สมควรให้มีการทบทวน อยางไรก็ตาม ในระหวางที่มาตรการ ตอบโตการทุมตลาดยังมีผลใชบังคับ ผู้มีสวนได้เสียอาจพิจารณานําเขาสินคาที่มีการกําหนดอากรตอบโตการทุมตลาดใน อัตราที่ไม่สูงมากหรือนําเขาสินคาจากประเทศอื่นทดแทน 3.8 การวินิจฉัยเกี่ยวกับการทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป กรมการคาตางประเทศได้นําขอมูลขอเท็จจริง ความเห็น และขอโตแยง ที่ได้รับจากผู้มีสวนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวของ ที่ได้รับตามแบบสอบถามรวมทั้งชองทางอื่นที่กฎหมายกําหนดซึ่งผานกระบวนการตรวจสอบ ความเป็นจริงของขอกลาวอางหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวของแล้ว มาดําเนินการตามหลักเกณฑที่กําหนดภายใต พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ เพื่อจัดทําผลการทบทวน โดยในกรณีที่ผู้มีสวนได้เสียปฏิเสธที่จะนํา พยานหลักฐานมาแสดง ไม่นําพยานหลักฐานมาแสดงภายในเวลาที่กําหนด หรือไม่ให้ความรวมมือเพื่อให้ได้มา ซึ่งพยานหลักฐาน หรือขัดขวางกระบวนการพิจารณาตอบโตการทุมตลาด การพิจารณาจะรับฟงเพียงขอเท็จจริง เทาที่มีอยู่หรืออาจรับฟงไปในทางที่ไม่เป็นคุณแกผู้นั้น ตามที่มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ กําหนดไวโดยสอดคลองกับหลักการ Best Information Available : BIA ตามArticle 6.8 และ Annex II (1) ของความตกลง วาด้วยการตอบโตการทุมตลาดขององคการการคาโลก และเสนอต่อ ทตอ. เพื่อพิจารณาวินิจฉัย ดังนี้ 3.8.1 การพิจารณาความเป็นไปได้ที่การยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้ มีการทุมตลาดต่อไปหรือทําให้การทุมตลาดฟนคืนมาอีก การพิจารณาความเป็นไปได้ดังกลาวจะพิจารณาการทุมตลาดเพื่อหาสวนเหลื่อมการทุมตลาด ตามหลักเกณฑที่มาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 18 ประกอบมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม โดยในกรณีนี้ไม่มีผู้ผลิตหรือผู้สงออก จากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ให้ความรวมมือตอบ แบบสอบถามภายในระยะเวลาที่กําหนด กรมการคาตางประเทศจึงจําเป็นต้องใชขอมูลตามคําขอให้เปดการทบทวน ซึ่งเป็นขอเท็จจริงเทาที่มีอยู่ในการพิจารณา โดยในการพิจารณาปรากฏสวนเหลื่อมการทุมตลาด ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ความเป็นไปได้วาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาดต่อไปหรือฟนคืนมาอีก ดังนี้ 1) มูลคาปกติ คํานวณตามหลักเกณฑที่มาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ กําหนดโดยพิจารณาจากราคาขายของสินคาที่ถูกพิจารณาที่ขายในสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม แล้วทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน 2) ราคาสงออก คํานวณตามหลักเกณฑที่มาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ กําหนดโดยพิจารณาจากราคาสงออกของสินคาที่ถูกพิจารณามายังประเทศไทยที่มีการอางอิงตามขอมูลสถิติการนําเขา ของกรมศุลกากร แล้วทอนเป็นราคา ณ หน้าโรงงาน 3) สวนเหลื่อมการทุมตลาด คํานวณตามหลักเกณฑที่มาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดฯ กําหนดโดยเปรียบเทียบมูลคาปกติกับราคาสงออกที่ขั้นตอนทางการคาเดียวกันและในชวงเวลาเดียวกัน เป็นราคา ณ หน้าโรงงาน ซึ่งปรากฏสวนเหลื่อมการทุมตลาดในกรณีสินคาจากสาธารณรัฐเกาหลี อัตรารอยละ 40.23
11 สาธารณรัฐประชาชนจีน อัตรารอยละ 67.42 ไตหวัน อัตรารอยละ 33.18 และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม อัตรารอยละ 43.48 ของราคา ซี ไอ เอฟ 3.8 .2 การพิจารณาความเป็นไปได้ที่การยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้ มีความเสียหายต่อไปหรือทําให้ความเสียหายฟนคืนมาอีก การพิจารณาความเป็นไปได้ดังกลาวในกรณีนี้เป็นการพิจารณาความเสียหายอยางสําคัญ จากการทุมตลาดที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายในและความสัมพันธระหวางสินคาทุมตลาดกับความเสียหายต่ออุตสาหกรรม ภายใน ตามหลักเกณฑที่มาตรา 19 มาตรา 20 และมาตรา 21 ประกอบมาตรา 60 แห่ง พระราชบัญญัติการตอบโต การทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนด โดยพิจารณาจาก ขอมูลปริมาณของสินคานําเขาที่ทุมตลาดและผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาของสินคาชนิดเดียวกันในตลาดภายในประเทศ และผลกระทบจากสินคานําเขาที่ทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน ดังนี้ 1) ปริมาณของสินคานําเขาที่ทุมตลาดและผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาของสินคา ชนิดเดียวกันในตลาดภายในประเทศ (1) ปริมาณของสินคาทุมตลาด จากขอมูลสถิติการนําเขาของกรมศุลกากรในชวงเวลาที่มีการใชบังคับอากร ตอบโตการทุมตลาด พบวาปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาดลดลงในชวงแรกและเพิ่มขึ้นตั้งแต่ป 2563 ( 2) ผลของการทุมตลาดที่มีต่อราคาของสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ จากการเปรียบเทียบราคาของสินคาทุมตลาด กับราคาขายของสินคาชนิด เดียวกันของอุตสาหกรรมภายในที่ขั้นตอนทางการคาเดียวกันและในชวงเวลาเดียวกัน พบวาสินคาทุมตลาดยังคงมีการ ตัดราคา กดราคา และหยุดยั้งการขึ้นราคา ซึ่งสงผลกระทบต่อราคาขายของสินคาชนิดเดียวกันของอุตสาหกรรมภายใน 2 ) ผลกระทบจากสินคานําเขาที่ทุมตลาดที่มีต่ออุตสาหกรรมภายใน ประเมินจากปจจัย และดัชนีทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อสภาวะของอุตสาหกรรมภายใน ดังนี้ (1) ยอดจําหนาย ปริมาณการขาย และราคาขาย ยอดจําหนาย ปริมาณการขาย และราคาขาย ของสินคาชนิดเดียวกันภายในประเทศ ของอุตสาหกรรมภายในในป 2562 ลดลงจากป 2561 ต่อมาเพิ่มขึ้นในป 2563 และตลอดชวง POR (2) กําไร/ขาดทุน ในป 2561 อุตสาหกรรมภายในมีผลกําไรจากการจําหนายสินคาชนิดเดียวกัน ภายในประเทศ ต่อมาประสบภาวะขาดทุนในป 2562 และกลับมามีกําไรในป 2563 และจากการเปรียบเทียบขอมูล เดียวกันจากชวง PPR และ POR พบวาอุตสาหกรรมภายในมีกําไรลดลงในชวง POR (3) กําลังการผลิตและอัตราการใชกําลังการผลิต อุตสาหกรรมภายในมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นตั้งแต่ป 2562 และคงที่จนถึง ปจจุบัน เนื่องจากมีการลงทุนซื้อเครื่องจักรเพิ่ม โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตลดลงในป 2562 จากนั้นมีแนวโนม เพิ่มขึ้นในป 2563 และลดลงเล็กนอยในชวง POR (4) ผลผลิต อุตสาหกรรมภายในมีผลผลิตลดลงในภาพรวม โดยมีผลผลิตลดลงในป 2562 และเพิ่มขึ้นในป 2563 และจากการเปรียบเทียบขอมูลเดียวกันจากชวง P PR และชวง P OR พบวาอุตสาหกรรมภายใน มีผลผลิตลดลงในชวง POR
12 (5) ผลิตภาพ อุตสาหกรรมภายในมีผลิตภาพคอนขางคงที่ (6) สวนแบงตลาด อุตสาหกรรมภายในมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นในป 2562 และลดลงในป 2563 และจากการเปรียบเทียบขอมูลเดียวกันจากชวง PP R และชวง P OR พบวาอุตสาหกรรมภายในมีสวนแบงตลาดลดลง ในชวง POR (7) ผลตอบแทนจากการลงทุน ( ROA) ผลตอบแทนจากการลงทุนของอุตสาหกรรมภายในลดลงในป 2561 ถึงป 2563 และกลับมาเพิ่มขึ้นในชวง POR (8) กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน กระแสเงินสดของอุตสาหกรรมภายในมีทิศทางผันผวน โดยพบวาเพิ่มขึ้นในป 2561 และป 2562 ต่อมาลดลงในป 2563 และเพิ่มขึ้นในชวง POR (9) สินคาคงคลัง อุตสาหกรรมภายในมีสินคาคงคลังเพิ่มขึ้นในชวงป 2561 ถึงป 2563 และจากการเปรียบเทียบขอมูลเดียวกันจากชวง PPR และชวง POR พบวาอุตสาหกรรมภายในมีปริมาณสินคาคงคลัง ลดลงในชวง POR (10) การจางงาน การจางงานของอุตสาหกรรมภายในโดยเฉลี่ยมีแนวโนมลดลงตั้งแต่ป 2561 ถึงป 2563 และเพิ่มขึ้นเล็กนอยในชวง POR (11) คาจางแรงงาน คาจางแรงงานของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลงอยางต่อเนื่องในชวงป 2561 ถึงป 2563 และจากการเปรียบเทียบขอมูลเดียวกันจากชวง PP R และชวง P OR พบวาอุตสาหกรรมภายใน มีคาจางแรงงานลดลงในชวง POR (12) อัตราการเจริญเติบโต ในชวงป 2561 ถึงป 2563 ปริมาณการขายและความต้องการใชภายในประเทศ ของอุตสาหกรรมภายในมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่สอดคลองกัน โดยมีปริมาณลดลงในป 2562 และเพิ่มขึ้นในป 2563 และในชวง POR (13) ความสามารถในการระดมทุนหรือลงทุน สินทรัพย์ของอุตสาหกรรมภายในมีแนวโนมลดลงตั้งแต่ป 2561 ถึงป 2563 และเพิ่มขึ้นเล็กนอยในชวง POR ในขณะที่มีหนี้สินเพิ่มขึ้นตั้งแต่ป 2561 ถึงป 2563 และลดลงในชวง POR (14) ปจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาสินคาในประเทศ พบวาปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาดในป 2563 เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 123.71 ของปริมาณการนําเขาในป 2562 พบการตัดราคาในชวง POR พบการกดราคาในชวงป 2561 ถึงเดือนมิถุนายน 2564 และพบการหยุดยั้งการขึ้นราคาจนเป็นเหตุให้อุตสาหกรรมภายในต้องขายสินคาในราคาต่ํากวาทุนในชวงป 2562
13 (15) ความมากนอยของสวนเหลื่อมการทุมตลาด เมื่อเปรียบเทียบมูลคาปกติและราคาสงออกที่ขั้นตอนทางการคาเดียวกัน และในชวงเวลาเดียวกัน คือ ราคา ณ หน้าโรงงาน ในชวง POR พบวายังคงมีสวนเหลื่อมการทุมตลาดของสินคา หลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม คิดเป็นรอยละ 33.18 ถึงรอยละ 67.42 ของราคา ซี ไอ เอฟ 3) สรุปผลการพิจารณาความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายใน จากการพิจารณาความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายในพบวา ในชวงเวลาที่มีการ บังคับใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดกับสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจาก สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ยังคงปรากฏขอมูลการทุมตลาด และความเสียหายอยางสําคัญที่เกิดแกอุตสาหกรรมภายใน โดยพบวาปริมาณการนําเขาสินคาทุมตลาดเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญ อีกทั้งยังพบวามีการสงออกสินคาทุมตลาดจากประเทศที่ถูกพิจารณาไปยังประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นสวนใหญและในปริมาณมากเมื่อเทียบกับการสงออกสินคาทุมตลาดทั้งหมด ซึ่งการนําเขาสินคาทุมตลาดดังกลาว ทําให้เกิดการตัดราคา กดราคา และหยุดยั้งการที่ราคาของสินคาชนิดเดียวกันในประเทศจะขยับตัวสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญ สงผลให้อุตสาหกรรมภายในมีสวนแบงตลาดลดลงและมีกําลังการผลิตและอัตราการใชกําลังการผลิต สวนเกินในปริมาณสูง นอกจากนี้ ยังพบวาปจจุบันประเทศที่เป็นตลาดสงออกสําคัญจํานวนมากมีการบังคับใช มาตรการตอบโตการทุมตลาดกับสินคาทุมตลาดจากประเทศที่ถูกพิจารณา ทําให้ประเทศดังกลาวต้องหาทาง ระบายสินคาไปยังประเทศที่ไม่ถูกบังคับใชมาตรการตอบโตการทุมตลาด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้วา การยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีความเสียหายต่อไปหรือฟนคืนมาอีก ขอ 4 คําวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุน คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุนพิจารณาขอมูลและพยานหลักฐานที่ได้รับ ในกระบวนการทบทวนความจําเป็นในการบังคับใชอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป กรณีสินคาหลอดและทอ ทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม ตามหลักเกณฑที่กําหนดตามมาตรา 57 แห่ง พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ ( ฉบับที่ 2) พ . ศ . 2562 และได้มีคําวินิจฉัยในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2565 วาการยุติการเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจะทําให้มีการทุมตลาดและความเสียหาย ต่อไปหรือฟนคืนมาอีก จึงให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจากการนําเขาสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลา ไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ต่อไปในอัตราเดิม เป็นระยะเวลา 5 ป คณะกรรมการพิจารณาการทุมตลาดและการอุดหนุนจึงได้ออกประกาศคณะกรรมการพิจารณา การทุมตลาดและการอุดหนุน เรื่อง ผลการพิจารณาทบทวนความจําเป็นในการใชบังคับอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป กรณีสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2565 โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 57 และมาตรา 73 (1) แห่งพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม
14 โดยพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ ( ฉบับที่ 2) พ . ศ. 2562 เพื่อกําหนดให้ เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดต่อไป เป็นระยะเวลา 5 ป ดังนี้ 4 .1 ให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจากการนําเขาสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ทั้งรีดรอนและรีดเย็น ที่มีภาคตัดขวางเป็นวงกลมและไม่เป็นวงกลม ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกไม่เกิน 508 มิลลิเมตร ซึ่งปจจุบันเป็นสินคาภายใตพิกัดศุลกากร ประเภทยอย ตามพระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร ( ฉบับที่ 7) พ . ศ. 2564 และรหัสสถิติ ตามรหัสสถิติสินคาที่แกไขปรับปรุงเพิ่มเติม ฉบับป พ.ศ. 2565 ตามประกาศกรมศุลกากรที่ 194/2564 เรื่อง แกไขเพิ่มเติมรหัสสถิติสินคา ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2564 จํานวน 46 รายการ ได้แก 7305.31.10.000 7306.11.10.000 7306.11.90 . 090 7306.21.00.000 7306.40.11.000 7306.40.19.000 7306.40.20.011 7306.40.20.012 7306.40.20.013 7306.40.20.014 7306.40.20.015 7306.40.20.016 7306.40.20.017 7306.40.20.018 7306.40.20.021 7306.40.20.022 7306.40.20.023 7306.40.20.024 7306.40.20.025 7306.40.20. 0 26 7306.40.20.027 7306.40.20.028 7306.40.20.090 7306.40.30.010 7306.40.30.020 7306.40.90.011 7306.40.90.012 7306.40.90.013 7306.40.90.014 7306.40.90.015 7306.40.90.016 7306.40.90.017 7306.40.90.018 7306.40.90.021 7306.40.90.022 7306.40.90.023 7306.40.90.024 7306.40.90.025 7306.40.90.026 7306.40.90.027 7306.40.90.028 7306.40.90.090 7306.61.10.021 7306.61.10.022 7306.61.90.110 แ ล ะ 7306.61.90.120 ที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ไตหวัน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในอัตรา ดังต่อไปนี้ 4.1. 1 สินคาที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐเกาหลี 1) สินคาที่ผลิตจาก SeAH STEEL CORPORATION ในอัตรารอยละ 11.96 ของราคา ซี ไอ เอฟ 2 ) สินคาที่ผลิตจากผู้ผลิตรายอื่น ในอัตรารอยละ 51.53 ของราคา ซี ไอ เอฟ 4.1.2 สินคาที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ในอัตรารอยละ 145.31 ของราคา ซี ไอ เอฟ 4.1.3 สินคาที่มีแหลงกําเนิดจากไตหวัน 1) สินคาที่ผลิตจาก FROCH ENTERPRISE CO., LTD. ในอัตรารอยละ 12.29 ของราคา ซี ไอ เอฟ 2 ) สินคาที่ผลิตจาก YC INOX CO., LTD. ในอัตรารอยละ 2.38 ของราคา ซี ไอ เอฟ 3) สินคาที่ผลิตจากผู้ผลิตรายอื่น ในอัตรารอยละ 29.04 ของราคา ซี ไอ เอฟ 4.1.4 สินคาที่มีแหลงกําเนิดจากสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 1) สินคาที่ผลิตจาก SONHA INTERNATIONAL CORPORATION ในอัตรารอยละ 310.74 ของราคา ซี ไอ เอฟ 2 ) สินคาที่ผลิตจากผู้ผลิตรายอื่น ในอัตรารอยละ 310.74 ของราคา ซี ไอ เอฟ
15 4.2 ให้เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดจากการนําเขาสินคาหลอดและทอทําด้วยเหล็กกลาไม่เป็นสนิม ตามที่ระบุไวในขอ 4 .1 ในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้ ในอัตรารอยละ ของราคา ซี ไอ เอฟ 0 4.2.1 ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบพาณิชยกรรมเพื่อการสงออกนําสินคาดังกลาว เขามาในราชอาณาจักรและนําเขาไปในเขตประกอบการเสรี เพื่อใชในการผลิตสินคาหรือเพื่อพาณิชยกรรมเพื่อการสงออก ภายใตกฎหมายวาด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 4.2.2 ผู้ที่ได้รับการสงเสริมตามกฎหมายวาด้วยการสงเสริมการลงทุนนําสินคาดังกลาวเขามา ผลิตเพื่อการสงออกภายใตกฎหมายวาด้วยการสงเสริมการลงทุน 4.2.3 การนําสินคาดังกลาวเขามาผลิตเพื่อการสงออกภายใตกฎหมายวาด้วยศุลกากร การเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดในอัตรารอยละ 0 ของราคา ซี ไอ เอฟ ตามวรรคหนึ่ง นําเขา ผู้ จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการได้รับยกเวนอากรขาเขาเพื่อการสงออกตามกฎหมาย ดังกลาวที่เกี่ยวของในแต่ละกรณี