Wed Oct 05 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า พ.ศ. 2565


ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า พ.ศ. 2565

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า เพื่อควบคุมการระบายน้้าทิ้งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามมาตรฐานสากล อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยค้าแนะน้าของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “ โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ” หมายความว่า โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าตา มกฎหมายว่าด้วย โรงงาน หรือกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน “ เชื้อเพลิงถ่านหิน ” หมายความว่า เชื้อเพลิงถ่านหินที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ได้แก่ ถ่านหินประเภท ซับบิทูมินัส ( Sub - Bituminous ) ลิกไนต์ ( Lignite ) บิทูมินัส ( Bituminous ) พีต ( Peat ) และแอนทราไซต์ ( Anthracite ) ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท “ เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ ” หมายความว่า เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งผลิตได้จากหลุมน้้ามันหรือหลุมก๊าซบนบกหรือในทะเลส้า หรับการผลิต พลังงานไฟฟ้า “ เชื้อเพลิงน้้ามัน ” หมายความว่า เชื้อเพลิงน้้ามันที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าในโรงงานผลิต พลังงานไฟฟ้า ได้แก่ น้้ามันเตา น้้ามันดีเซล น้้ามันปาล์มและน้้ามันอื่น ๆ ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท “ เชื้อเพลิงชีวมวล ” หมายความว่า เชื้อเพลิงชีวมวลที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงประเภทที่ได้มาจากอินทรีย์สารหรือสิ่งมีชีวิต ผลผลิตจาก การเกษตร การปศุสัตว์ การท้าป่าไม้ เช่น ไม้ฟืน เศษไม้ แกลบ ฟาง ชานอ้อย ต้นและใบอ้อย ใยปาล์ม กะลาปาล์ม ทะลายปาล์ม กะลามะพร้าว ใยมะพร้าว เศษพืช เป็นต้น ประเภทใด ประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท “ เชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพ ” หมายความว่า เชื้อเพลิงประเภทก๊าซชีวภาพที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่เกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์ โดยเกิดขึ้น จากโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพ ้ หนา 9 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565

“ พลังงานอื่น ๆ ” หมายความว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้้า และพลังงานลม ที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า “ น้้าทิ้ง ” หมายความว่า น้้าเสียที่เกิดจากการประกอบกิจการ ทั้ งจากกระบวนการผลิต พลังงานไฟฟ้า ระบบระบายความร้อนด้วยน้้า หรือน้้าเสียจากกิจกรรมอื่นในโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ที่ผ่านการบ้าบัดจนเป็นไปตามมาตรฐานที่ก้าหนดไว้ในประกาศนี้ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงน้้าที่ผ่านเครื่องกังหันน้้า ส้าหรับโรงไฟฟ้าพลังน้้า ข้อ 2 ก้าหนดมาตรฐานควบคุ มการระบายน้้าทิ้งจากกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้า และกิจกรรมอื่นตามประเภทเชื้อเพลิงหรือพลังงานอื่น ๆ ดังต่อไปนี้ พารามิเตอร์ เชื้อเพลิง ลำดับ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานอื่น ๆ 1 ความเป็นกรด และด่าง ( pH ) 5.5 - 9.0 5.5 - 9.0 5.5 - 9.0 2 ของแข็ง ละลายน้า ทั้งหมด ( Total Dissolved Solids ) - กรณีระบายล ง แหล่งน้า ต้องไม่ เกิน 3,0 00 มิลลิกรัมต่ อ ลิตร - กรณีระบายลงแหล่ง น้า ที่มี ค่ำ ของแข็งละลายน้า ทั้ ง ห ม ด เ กิ น ก ว่ำ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าของแข็งละลายน้ำ ทั้ ง ห ม ด ใ น น้ำ ทิ้ ง ที่จะระบายได้ต้องมี ค่าเกินกว่าค่าของแข็ง ล ะ ลำ ย น้ำ ทั้ ง ห ม ด ที่มีอยู่ในแหล่งน้ำนั้น ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม ต่อลิตร - กรณีระบายลงแหล่งน้า ต้องไม่เกิน 3,0 00 มิลลิกรัมต่อลิตร - กรณีระบายลงแหล่ง น้า ที่มีค่าของแข็งละลายน้ำ ทั้ ง ห ม ด เ กิ น ก ว่ำ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าของแข็งละลายน้ำ ทั้ ง ห ม ด ใ น น้ำ ทิ้ ง ที่จะระบายได้ต้ อ งมี ค่าเกินกว่าค่าของแข็ง ล ะ ลำ ย น้ำ ทั้ ง ห ม ด ที่มีอยู่ในแหล่งน้ำนั้น ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม ต่อลิตร - กรณีระบายลงแหล่งน้ำ ต้องไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร - กรณีระบายลงแหล่งน้า ที่มีค่าของแข็งละลายน้า ทั้ ง ห ม ด เ กิ น ก ว่ำ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าของแข็งละลายน้ำ ทั้ ง ห ม ด ใ น น้ำ ทิ้ ง ที่จะระบายได้ต้องมี ค่าเกินกว่าค่าของแข็ง ล ะ ลำ ย น้ำ ทั้ ง ห ม ด ที่มีอยู่ในแหล่งน้ำนั้น ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม ต่อลิตร ้ หนา 10 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565

พารามิเตอร์ เชื้อเพลิง ลำดับ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานอื่น ๆ 3 ของแข็ ง แขวนลอย ทั้งหมด ( Total Suspended Solids ) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร 4 บีโอดี ( Biochemical Oxygen Demand ) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร 5 ซีโอดี ( Chemical Oxygen Demand ) ไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 120 มิลลิกรัมต่อลิตร 6 น้ำมันและ ไขมัน ( Oil and Grease ) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 7 ไนเทรต ( Nitrate ) ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร 8 ทีเคเอ็น ( TKN ) ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร 9 ทองแดง ( Cu ) ไม่เกิน 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร - 10 เหล็ก ( Fe ) ไม่เกิน 1 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 1 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร - 11 สารหนู ( As ) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร - - 12 ปรอท ( Hg ) ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร - - ้ หนา 11 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565

พารามิเตอร์ เชื้อเพลิง ลำดับ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานอื่น ๆ 13 ซีลีเนียม ( Se ) ไม่เกิน 0.02 มิลลิกรัมต่อลิตร - - ข้อ 3 ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากระบบระบายความร้อนด้วยน้้า ดังต่อไปนี้ ลำดับ พารามิเตอร์ ระ บบระ บายความร้อน ด้วยน้ำ ผ่านครั้งเดียว ( Once Through Cooling Water System ) หอหล่อเย็น ( Co oling Tower ) 1 ความเป็นกรดและด่าง ( pH ) - 5.5 - 9.0 2 อุณหภูมิ ( Temperature ) ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส 3 คลอรีนอิสระ ( Free Chlorine ) ไม่เกิน 1 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่เกิน 1 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร 4 สังกะสี ( Zn ) - ไม่เกิน 5 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร ข้อ 4 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าใดมีการใช้เชื้อเพลิงมากกว่า 1 ประเภท ให้โรงงานผลิต พลังงานไฟฟ้านั้น ถูกควบคุมการระบายน้้าทิ้งด้วยมาตรฐานการระบายน้้าทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า ทุกประเภทเชื้อเพลิงที่ใช้ร่วมกัน และถูกควบคุมด้วยค่ามาตรฐานที่เข้มงวดที่สุด ข้อ 5 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าใดมีการระบายน้้าทิ้งจากกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้า และกิจกรรมอื่น ร่วมกับน้้าทิ้งจากระบบระบายความร้อนด้วยน้้า ให้โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้านั้น ถูกควบคุมการร ะบายน้้าทิ้งด้วยมาตรฐานการระบายน้้าทิ้งจากทุกประเภทน้้าทิ้ง และถูกควบคุม ด้วยค่ามาตรฐานที่เข้มงวดที่สุด ข้อ 6 ห้ามมิให้ระบายน้้าทิ้งจากโรงงานประเภทอื่นรวมกับน้้าทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า เว้นแต่การระบายน้้าทิ้งจากสถานประกอบการผลิตน้้าจืดจากน้้าทะเลร่วมกับน้้าระบายความร้อน ของโรงผลิตพลังงานไฟฟ้าที่ใช้น้้าทะเลในการระบายความร้อน ( co - location ) ตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจาก สถานประกอบการผลิตน้้าจืดจากน้้าทะเล ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565

ข้อ 7 น้้าทิ้งที่จะระบายจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าลงสู่แหล่งน้้าสาธารณะหรือออกสู่ สิ่งแวดล้อมต้องไม่ใช้วิธีท้าให้เจือจาง ( Dilution ) ข้อ 8 การเก็บตัวอย่างน้้าทิ้งเพื่อการตรวจสอบมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้ง จากโรงงานผลิตพลังงานไฟ ฟ้า ให้เป็นไปตามที่ก้าหนดไว้ ดังนี้ 8.1 จุดเก็บตัวอย่าง ให้เก็บในจุดระบายทิ้งลงสู่แหล่งน้้าสาธารณะหรือออกสู่ สิ่งแวดล้อมหรือจุดอื่นที่สามารถใช้เป็นตัวแทนของน้้าทิ้ง ในกรณีที่มีการระบายทิ้งหลายจุด ให้เก็บทุกจุด 8.2 วิธีการเก็บตัวอย่างน้้าทิ้ง ณ จุดเก็บตัวอย่างตามข้อ 8.1 ให้เก็บแบบจ้วง ( Grab Sample ) ข้อ 9 การตรวจสอบมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าให้ใช้วิธีการ ดังต่อไปนี้ 9.1 ความเป็นกรดและด่าง ให้ใช้เครื่องวัดความเป็นกรดและด่างของน้้า ( pH Meter ) ที่มีความละเอียดไม่ต่้า กว่า 0.1 หน่วย 9.2 อุณหภูมิ ให้ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิวัดขณะท้าการเก็บตัวอย่าง 9.3 ของแข็งละลายน้้าทั้งหมด ให้ใช้วิธีระเหยตัวอย่างที่กรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว ( Glass Fiber Filter Disk ) และอบแห้งที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง 9.4 ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด ให้ใช้วิธีกรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว ( Glass Fiber Filter ) และอบแห้งที่อุณหภูมิ 103 - 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง 9.5 บีโอดี ให้ใช้วิธีการบ่มตัวอย่างที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน และหาค่าออกซิเจนละลายด้วยวิธีเอไซด์มอดิฟิเคชัน ( Azide Modification ) หรือ วิธีเมมเบรนอิเล็กโทรด ( Membrane Electrode ) หรือวิธีออปติคัลโพรพ ( Optical Probe ) 9.6 ซีโอดี ให้ใช้วิธีย่อยสลายโดยใช้โพแทสเซียมไดโครเมต ( Potassium Dichromat e ) 9.7 น้้ามันและไขมัน ให้ใช้วิธีสกัดด้วยตัวท้าละลายแล้วแยกหาน้้าหนักของน้้ามัน และไขมัน 9.8 คลอรีนอิสระ ให้ใช้วิธีไตเตรท ( Titrimetric Method ) หรือวิธีเทียบสี ( Colorimetric Method ) 9.9 ไนเทรต ให้ใช้วิธีเทียบสี ( Colorimetric Method ) 9.10 ทีเคเอ็น ให้ใช้วิธีเจลดาห์ล ( Kjeldahl ) 9.11 โลหะหนัก (1) สังกะสี และทองแดง ให้ใช้วิธีย่อยสลายตัวอย่างด้วยกรด ( Acid digestion ) และวัดหาปริมาณโลหะด้วยวิธีอะตอมมิกแอบซอร์ปชันสเปกโตรเมตรี ( Atomic Absorption Spectrometry ) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัปเ ปิลพลาสมา ( Inductively Coupled Plasma ) ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565

(2) เหล็ก ให้ใช้วิธีฟีแนนโทรลีน ( Phenanthroline ) (3) สารหนู และซีลีเนียม ให้ใช้วิธีอะตอมมิกแอบซอร์ปชันสเปกโตรโฟโตเมตรี ( Atomic Absorption Spectrophotometry ) ชนิดไฮไดรด์เจเนเรชัน ( Hydride Generation ) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัปเปิลพลาสมา ( Inductively Coupled Plasma ) (4) ปรอท ให้ใช้วิธีโคลด์เวเปอร์อะตอมมิกแอบซอร์ปชันสเปกโตรเมตรี ( Cold Vapor Atomic Absorption Spectrometry ) หรือวิธีโคลด์เวเปอร์อะตอมมิกฟลูออเรสเซนซ์ สเปกโตรเมตรี ( Cold Vapor Atomic Fluorescence Spectrometry ) หรือวิธีอินดักทีฟลีคัปเปิลพลาสมา ( Inductively Coupled Plasma ) ข้อ 10 รายละเอียดของวิธีตรวจสอบมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้ง ให้เป็นไปตามคู่มือ วิเคราะห์น้้าและน้้าเสียของสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย หรือ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ซึ่ง American Public Health Association, American Water Works Association และ Water Environment Federation ของประเทศ สหรัฐอเมริกาก้าหนดหรือตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข้อ 11 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าอื่น นอกเหนือจากที่ได้ก้าหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้้าทิ้งไว้ตามข้อ 2 และข้อ 3 ให้น้ามาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชา ติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้ง จากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรม มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 12 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก้าหนดสามร้อยหกสิบห้าวันนับตั้งแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 25 6 5 วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 238 ง ราชกิจจานุเบกษา 6 ตุลาคม 2565