ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. 2565
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. 2565
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน อานาจหน้าที่ วิธีการดาเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงโครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน อำนาจหน้าที่ของ ส่วนงานภายในสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้รั บรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินการต่าง ๆ รวมทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิของตนเอง ได้อย่างถูกต้อง อาศัยอานาจตามความในมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง โครงสร้าง และการจัดองค์กรในการดาเนินงาน อานาจหน้าที่ วิธีการดาเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับ ข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน พ.ศ. 2565 ” ข้อ 2 ให้ยกเลิ กประกาศสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เรื่อง โครงสร้างและ การจัดหน่วยงาน อานาจหน้าที่ วิธีการดาเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของ สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน พ.ศ. 25 62 ข้อ 3 สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานมีอำนาจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้ (1) รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (2) รับค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎหมายหรือตามที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานกำหนด (3) รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการประกอบกิจการพลังงาน (4) ศึกษารวบรวม วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบกิจการพลังงาน สภาพการแข่งขันในการประกอบกิจการพลังงาน การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (5) จัดทาประมาณการรายรับและรายจ่ายของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เพื่อเสนอคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานให้ความเห็นชอบ (6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานมอบหมาย หรือตามที่ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 หรือกฎหมายอื่ นกาหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ข้อ 4 สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานมีโครงสร้างและการจัดองค์กรในการ ดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(1) ฝ่ายกำกับการจัดหาและการควบคุมระบบไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนแผนการจัดหา ไฟฟ้า (ข) ส่วนกำกับและมาตรฐานกิจการไฟฟ้า (2) ฝ่ายกำกับการจัดหาและการควบคุมระบบก๊าซธรรมชาติ แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ (ข) ส่วนกำกับและมาตรฐานกิจการก๊าซธรรมชาติ (3) ฝ่ายกำกับอัตราค่าบริการพลังงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดั งต่อไปนี้ (ก) ส่วนอัตราค่าบริการไฟฟ้า (ข) ส่วนอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ (4) ฝ่ายอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนอนุญาตกิจการพลังงาน 1 (ข) ส่วนอนุญาตกิจการพลังงาน 2 (5) ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและตรวจติดตามกิจการพลังงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนพัฒนาหลักเกณฑ์การกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมและการตรวจติดตาม การประกอบกิจการพลังงาน (ข) ส่วนตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงาน (6) ฝ่ายกองทุนพัฒนาไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานกองทุนพั ฒนาไฟฟ้า (ข) ส่วนติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (7) ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้ใช้พลังงาน (ข) ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการจัดการเรื่องร้องเรียน (8) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานประจำเขต จำนวน 13 ฝ่าย ดังต่อไปนี้ (ก) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 1 (เชียงใหม่) (ข) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 2 (พิษณุโลก) (ค) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิ จการพลังงาน ประจำเขต 3 (นครสวรรค์) (ง) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 4 (ขอนแก่น) (จ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 5 (อุบลราชธานี) (ฉ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 6 (นครราชสีมา) (ช) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 7 (สระบุรี) (ซ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 8 (ชลบุรี) ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฌ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 9 (กาญจนบุรี) (ญ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 10 (ราชบุรี) (ฎ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 11 (สุราษฎร์ธานี) (ฏ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ประจำเขต 12 (สงขลา) (ฐ) ฝ่ายสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ประจำเขต 13 (กรุงเทพมหานคร) (9) ฝ่ายก ฎหมาย แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนนิติการและบังคับใช้กฎหมาย (ข) ส่วนอุทธรณ์และคดี (10) ฝ่ายจัดการที่ดินและทรัพย์สิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนกำหนดเขตระบบโครงข่ายพลังงานและอุทธรณ์ (ข) ส่วนกำหนดค่าทดแทนและอุทธรณ์ (11) ฝ่ายบริหา รงานองค์กร แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนจัดหาพัสดุ และนิติกรรมสัญญา (ข) ส่วนบริหารงานองค์กร (12) ฝ่ายยุทธศาสตร์และสื่อสารองค์กร แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานองค์กร (ข) ส่วนสื่อสารองค์กร (13) ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์ข้อมูลพลังงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนบริหารระบบงานและเครือข่ายดิจิทัลเทคโนโลยี (ข) ส่วนศูนย์ข้อมูลพลังงาน (14) ฝ่ายบัญชีและการเงิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนบริหารงบประมาณและการบัญชี (ข) ส่วนการเงินและการจัดเก็บรายได้ (15) ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนบริหารงานบุคคล (ข) ส่วนพัฒนาบุคลากร (16) ฝ่ายอำนวยการคณะกรรมการ แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนการประชุมคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ข) ส่วนอำ นวยการและเลขานุการ (17) ฝ่ายตรวจสอบภายใน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนตรวจสอบภายใน 1 (ข) ส่วนตรวจสอบภายใน 2 ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(18) ฝ่ายนวัตกรรมและพัฒนาการกากับกิจการพลังงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ (ก) ส่วนพัฒนาการกำกับกิจการพลังงานและส่งเสริมการแข่ง ขัน (ข) ส่วนนวัตกรรมและศึกษาวิจัย ข้อ 5 ฝ่ายกากับการจัดหาและการควบคุมระบบไฟฟ้า มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ให้ความเห็นต่อแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า แผนลงทุนในกิจการไฟฟ้า และแผนขยาย ระบบโครงข่ายพลังงาน รวมทั้งนโยบายการรับ ซื้อไฟฟ้า และนโยบายพลังงานที่เกี่ยวข้อง (ข) กากับการจัดหาไฟฟ้าและออกประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้า รวมทั้งกากับดูแล ขั้นตอนการคัดเลือกให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายตามเงื่อนไขและนโยบายของรัฐ ตลอดจน การดาเนินการจัดหาไฟฟ้าจากโครงการในประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กร อบนโยบายและแนวทางที่รัฐกำหนด (ค) กากับดูแลมาตรฐานสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติตามระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศ และการปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (ง) สนับสนุนงานตามมาตรการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการไฟฟ้า รวมทั้งมาตรการ ด้านความมั่นคงและเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า (จ) กาหนดมาตรฐานวิศวกรรมและความปลอดภัย และมาตรฐานคุณภาพการให้บริการ เพื่อใช้ในการกากับการประกอบกิจการไฟฟ้า รวมทั้งมาตรฐานของอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับระบบ โครงข่ายไฟฟ้า (ฉ) ออกใบอนุญาตหน่วยตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน ของอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับ ระบบโครงข่ายไฟฟ้า (ช) ดำเนินการเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนหน่วยงานกลางเพื่อการตรวจสอบมาตรฐาน ด้านวิศวกรรมและความปลอดภัย และมาตรฐานคุณภาพการให้บริการในการประกอบกิจการไฟฟ้า (ซ) กากับดูแลข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้ การเชื่อมต่อ และการปฏิบัติการระบบโครงข่าย ไฟฟ้าของผู้รับใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักการที่กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงานกาหนด (ฌ) กำกับการสั่งเดินเครื่องโรงไฟฟ้าของผู้รับใบอนุญาตศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้า (ญ) จัดทำบทวิเคราะห์และการกากับกิจการไฟฟ้าในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ฎ) ป ฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนแผนการจัดหาไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และจัดทำความเห็นต่อแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า แผนลงทุน ในกิจการไฟฟ้า และแผนขยายระบบโครงข่ายไฟฟ้า รวมทั้งนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า และนโยบาย พ ลังงานที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
วิเคราะห์ พัฒนาระเบียบ หลักเกณฑ์การจัดหาไฟฟ้า และจัดทำประกาศ เชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้าให้เป็นไปตามเงื่อนไขและนโยบายของรัฐ 3) ออกประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้าให้เป็นไปตามระเบียบและหลักเกณฑ์ การจัดหาไฟฟ้า 4) ติดตามการดาเนินการคัดเ ลือกการรับซื้อไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย รวมทั้งกากับดูแลมาตรฐานสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 5) ติดตามข้อมูลการดาเนินการรับซื้อไฟฟ้า ปัญหาและอุปสรรค พร้อมทั้งวิเคราะห์ ผลการรับซื้อไฟฟ้ารายงานต่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 6) รวบรวมข้อเท็จจริง และ จัดทาความเห็นต่อข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาจาก การจัดหาและการรับซื้อไฟฟ้าและการปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 7) วิเคราะห์ความเหมาะสมของข้อเสนอโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้าน กำหนดกรอบและเจรจารับซื้อไฟฟ้า 8) จัดทารายงานความคืบหน้าการดาเนินงานตามแผนการลงทุ นในกิจการไฟฟ้า แผนการจัดหาไฟฟ้า และแผนการขยายระบบโครงข่ายไฟฟ้าต่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 9) จัดทำบทวิเคราะห์ด้านพลังงานและการกากับกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 10) สนับสนุนงานตามมาตรการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการไฟฟ้า มาตรการป้องกัน การขาดแคล นด้านไฟฟ้า และมาตรการด้านความมั่นคงและเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า ตามที่ คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานเห็นชอบ 11) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนกำกับและมาตรฐานกิจการไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนามาตรฐานการกำกั บการประกอบกิจการไฟฟ้า ด้านวิศวกรรมและความปลอดภัย และมาตรฐานคุณภาพการให้บริการในการประกอบกิจการไฟฟ้า 2) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนามาตรฐานของอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับระบบโครงข่าย ไฟฟ้า รวมทั้งหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบและรับรองผลการตรวจสอบ 3) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระบบการตรวจสอบหน่วยตรวจสอบและรับรอง มาตรฐานของอุปกรณ์ที่ใช้และเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า และหน่วยตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพ การให้บริการ 4) ตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัติเพื่อจัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาอนุญาต เป็นหน่วยงานตรวจสอบและรองรับมาตรฐานข องอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า รวมทั้ง แจ้งผลการพิจารณาและอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ติดตาม และตรวจสอบข้อกำหนดการใช้ การเชื่อมต่อ และการปฏิบัติการระบบ โครงข่ายไฟฟ้าของผู้รับใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักการที่กฎหมายกาหนด รวมทั้งจัดทาความเห็น ปร ะกอบการวินิจฉัยคำร้องการปฏิเสธไม่ให้ใช้หรือเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า 6) ติดตามแผนการผลิตไฟฟ้าและกำกับการสั่งเดินเครื่องโรงไฟฟ้าของผู้รับใบอนุญาต ศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้าและการสั่งการที่ไม่เป็นธรรมหรือเลือกปฏิบัติ รวมทั้งจัดทารายงานการกากับ การสั่งจ่ายไฟฟ้าเส นอคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และเพื่อใช้ในการกากับอัตราค่าบริการไฟฟ้า 7) จัดทารายงานผลการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานของอุปกรณ์ที่ใช้และเชื่อมต่อ ระบบโครงข่ายไฟฟ้าของผู้รับใบอนุญาตเป็นหน่วยตรวจสอบและรับรองมาตรฐานของอุปกรณ์ที่ใช้และ เชื่อมต่อระบบโครงข่ายพลังงานต่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 8) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 6 ฝ่ายกากับการจัดหาและการควบคุมระบบก๊าซธรรมชาติ มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ให้ความเห็นต่อแผนนโยบาย แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ แผนการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานกิจการก๊าซธรรมชาติ แผนขยายระบบโครงข่ายก๊าซธรรมชาติ และนโยบายพลั งงาน ที่เกี่ยวข้อง (ข) กำกับการจัดหาก๊าซธรรมชาติให้โปร่งใส เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ (ค) กาหนดและกากับดูแลมาตรฐานสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ และแก้ปัญหาจาก การปฏิบัติตามระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศ และการปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ (ง) ศึกษาและวิ เคราะห์แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว รวมทั้งมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและเชื่อถือได้ของระบบก๊าซธรรมชาติ และมาตรการป้องกัน การขาดแคลนด้านก๊าซธรรมชาติเสนอคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน รวมถึงประสานงาน กับหน่วยงานภายในและหน่วย งานภายนอก (จ) จัดทาแผนบูรณาการ ( Integrated Resource Planning ) กิจการก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งบทวิเคราะห์ด้านกิจการก๊าซธรรมชาติ และการกากับกิจการก๊าซธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ฉ) กำหนดมาตรฐานทางวิศวกรรมและความปลอดภัยในการประกอบกิจการก๊าซธรรมชาติ (ช) กำ กับดูแลมาตรฐานคุณภาพการให้บริการของผู้รับใบอนุญาตกิจการก๊าซธรรมชาติ (ซ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(2) งานในสังกัด (ก) ส่วนแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์และจัดทาความเห็นต่อแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ แผนขยำย ระบบโครงข่ายก๊าซธรรมชาติ แผนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานกิจการก๊าซธรรมชาติ และนโยบาย พลังงานที่เกี่ยวข้อง 2) กำกับดูแลการจัดหาก๊าซธรรมชาติ และออกประกาศเชิญชวนการจัดหา ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งกากับดูแลขั้นตอนการคัดเลือกให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายตามเงื่อนไขและ นโยบายของรัฐ 3) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์การพยากรณ์ความต้องการก๊าซธรรมชาติของ ประเทศ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว และจัดทำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 4) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์และติดตามข้อมูลการจัดหา และการใช้ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งข้อมูลเพื่อการกำกับแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติและแผนการลงทุนกิจการก๊าซธรรมชาติ และการจัดทำแผนบูรณาการ ( Integrated Resource Planning ) กิจการก๊าซธรรมชาติ 5) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนกำกับและมาตรฐานกิจการก๊าซธรรมชาติ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) กาหนดและกากับดูแลมาตรฐานสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ และแก้ปัญหาจาก การปฏิบัติตามระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศ และการปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ 2) กำหนดมาตรฐาน ทางวิศวกรรมและความปลอดภัยในการประกอบกิจการ ก๊าซธรรมชาติ 3) กำกับดูแลมาตรฐานคุณภาพการให้บริการของผู้รับใบอนุญาตกิจการก๊าซธรรมชาติ และส่งเสริมการใช้ก๊าซธรรมชาติตามนโยบายของรัฐ 4) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 7 ฝ่ายกำกับอัตราค่าบริการพลังงาน มีอำ นาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ให้ความเห็นต่อนโยบายและแนวทางการกาหนดอัตราค่าบริการพลังงานและจัดทา ความเห็นเกี่ยวกับการประกอบกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ข) จัดทาหลักเกณฑ์การกาหนดอัตราค่าบริการพลังงานที่สอดคล้องกับนโยบายและ หลักการที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน (ค) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาข้อเสนออัตราค่าบริการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต รวมทั้งจัดทำข้อเสนอการปรับอัตราค่าบริการพลังงาน ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน (ง) จัดทำข้อเสนอแนะนโยบายการกำหน ดอัตราเงินนำส่งเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า ตามมาตรา 97 (1) และ 97 (2) ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(จ) ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการกำกับอัตราค่าบริการพลังงาน รวมทั้งวิเคราะห์ ผลกระทบอัตราค่าบริการพลังงานจากการดาเนินงานตามนโยบายที่เกี่ยวข้อง (ฉ) พัฒนารูปแบบการรายงานบัญชีข้อมูลมาตรฐานสาหรับผู้รับใบอนุญาต และจัดทา ฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการกำกับอัตราค่าบริการพลังงาน (ช) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนอัตราค่าบริการไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ให้ความเห็นต่อนโยบายและแนวทางการกาหนดอัตราค่าบริการไฟฟ้า ตลอดจน จัดทำความเห็นเกี่ยวกับการประกอบกิจการไฟฟ้าในส่วนที่เกี่ยวข้อง 2) จัดทาหลักเกณฑ์การกาหนดอัตราค่าบริการไฟฟ้าที่สอดคล้องกับนโยบายและ หลักการที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 3) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาข้อเสนออัตราค่าบริการไฟฟ้าของผู้รับ ใบอนุญาต รวมทั้งจัดทำข้อเสนอการปรับอัตราค่าบริการไฟฟ้าตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 4) จัดทาข้อเสนอแนะนโยบายการกาหนดอัตราเงินนาส่งเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า ตามมาตรา 97 (1) และ 97 (2) ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 5) ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการกำกับอัตราค่าบริการไฟฟ้า รวมทั้งวิเคราะห์ ผลกระทบอัตราค่าบริการไฟฟ้าจากการดาเนินงานตามนโยบายที่เกี่ยวข้อง 6) พัฒนารูปแบบการรายงานบัญชีข้อมูลมาตรฐานสำหรับผู้รับใบอนุญาต และจัดทำ ฐาน ข้อมูลเพื่อใช้ในการกำกับอัตราค่าบริการไฟฟ้า 7) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ให้ความเห็นต่อนโยบายและแนวทางการกาหนดอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ ตลอดจนจัดทำความเห็นเกี่ยวกับการประกอบกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 2) จัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ ที่สอดคล้องกับ นโยบายและหลักการที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 3) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาข้อเสนออัตราค่าบริกา รก๊าซธรรมชาติของ ผู้รับใบอนุญาต รวมทั้งจัดทาข้อเสนอการปรับอัตราค่าบริการพลังงานตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบ กิจการพลังงาน 4) ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการกากับอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งวิเคราะห์ ผลกระทบอัตราค่าบริการพลังงานจากการดาเนินงานตามนโยบายที่ เกี่ยวข้อง 5) พัฒนารูปแบบการรายงานบัญชีข้อมูลมาตรฐานสำหรับผู้รับใบอนุญาต และจัดทำ ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการกำกับอัตราค่าบริการก๊าซธรรมชาติ ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 8 ฝ่ายอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการกาหนดประเภท ขนาด และอายุใบอนุญาตสำหรับ กิจการพลังงานที่ต้องขอรับใบอนุญาต และที่ได้รับยกเว้นการขอรับใบอนุญาต (ข) ให้คาปรึกษาและให้บริการเกี่ยวกับการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและ ใบอนุญาตตามมาตรา 48 การรับแจ้งกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต การสอบถามความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบสถานประกอบกิจการ การโอนสิทธิ และหน้าที่ตามใบอนุญาต การรวมกิจการ และการอนุญาตหรือการรับแจ้งอื่นที่เกี่ยวข้อง (ค) พัฒนาระบบดิจิทัลในการใ ห้บริการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตการประกอบ กิจการพลังงาน และการอนุญาตตามมาตรา 48 รวมถึงการรับแจ้งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ง) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน การต่ออายุใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา (จ) จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตตามมาตรา 48 การต่ออายุ ใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา (ฉ) จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่งให้ผู้ประกอบกิจการพลังงานที่เข้าข่าย ต้องได้รับใบ อนุญาตแต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาต หยุด หรือระงับการประกอบกิจการพลังงาน หรือ ปลดการเชื่อมต่อออกจากระบบโครงข่ายพลังงาน (ช) รับแจ้งเริ่มประกอบกิจการพลังงานขอผู้รับใบอนุญาตและรับแจ้งการประกอบกิจการ พลังงานที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต (ซ) จัดทาความเห็นประ กอบการพิจารณาการโอนสิทธิและหน้าที่ตามใบอนุญาต และ การรวมกิจการของผู้รับใบอนุญาต ตามผลวิเคราะห์เรื่องการมีอานาจเหนือตลาด การกระทาใด ๆ ที่เป็นการผูกขาด ลดการแข่งขัน หรือจำกัดการแข่งขันในการให้บริการพลังงาน (ฌ) จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิกประก อบกิจการและการเพิกถอน ใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึง กรณีที่เป็นผลจากคำพิพากษาของศาล (ญ) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่งปรับปรุงการประกอบ กิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรื อหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ใบอนุญาตประกอบ กิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและการรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง (ฎ) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบในการจัดทำและปรับปรุงกฎหมายลำดับรอง ที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงำน และกฎหมายของหน่วยงานภายนอก ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของฝ่ายงาน ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฏ) ศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียม การประกอบกิจการพลังงานและประมาณการรายได้ประจำปีของสำนักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน (ฐ) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ รับใบอนุญาตและผู้จดแจ้งการประกอบกิจการพลังงาน ที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานภายใน และภายนอกที่เกี่ยวข้อง (ฑ) สนับสนุนการจัดเตรียมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย สาหรับโครงการหรือกิจการที่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต (ฒ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนอนุญาตกิจการพลังงาน 1 มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษำ วิเคราะห์ และทบทวนการกาหนดประเภท ขนาด และอายุใบอนุญาต สำหรับกิจการพลังงานที่ต้องขอรับใบอนุญาต และที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต 2) ให้คาปรึกษาและให้บริการเกี่ยวกับการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และใบอนุญาตตามมาตรา 48 การรับแจ้งกิจการพลังงำนที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต การสอบถามความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบสถานประกอบกิจการ การโอนสิทธิ และหน้าที่ตามใบอนุญาต การรวมกิจการ และการอนุญาตหรือการรับแจ้งอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) พัฒนาระบบดิจิทัลในการให้บริการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตการประกอบ กิจการพลังงานและการอนุญาตตามมาตรา 48 รวมถึงการรับแจ้งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน การต่ออายุใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้ อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา 5) จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตตามมาตรา 48 การต่ออายุใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา 6) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่งให้ผู้ประกอบกิจการพลังงาน ที่เข้าข่ายต้องไ ด้รับใบอนุญาตแต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาต หยุด หรือระงับการประกอบกิจการพลังงาน หรือปลดการเชื่อมต่อออกจากระบบโครงข่ายพลังงาน 7) รับแจ้งเริ่มประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาตและรับแจ้งการประกอบ กิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต 8) จัดทำความ เห็นประกอบการพิจารณาการโอนสิทธิและหน้าที่ตามใบอนุญาต และ การรวมกิจการของผู้รับใบอนุญาต ตามผลวิเคราะห์เรื่องการมีอานาจเหนือตลาด กระทาการใด ๆ ที่เป็นการผูกขาด ลดการแข่งขัน หรือจำกัดการแข่งขันในการให้บริการพลังงาน ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิ กประกอบกิจการและการเพิกถอน ใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึง กรณีที่เป็นผลจากคำพิพากษาของศาล 10) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาออกคำสั่งปรับปรุง การประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรือหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ใบอนุญาต ประกอบกิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและการรับแจ้ง ที่เกี่ยวข้อง 11) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทำและปรับปรุง กฎหมายลาดับรองที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการป ระกอบกิจการพลังงาน และกฎหมาย ของหน่วยงานภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของฝ่ายงาน 12) ศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียม การประกอบกิจการพลังงาน และประมาณการรายได้ประจาปีของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน 13) พั ฒนาระบบฐานข้อมูลผู้รับใบอนุญาตและผู้จดแจ้งการประกอบกิจการพลังงาน ที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานภายใน และภายนอกที่เกี่ยวข้อง 14) สนับสนุนการจัดเตรียมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วน ได้เสียสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต 15) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนอนุญาตกิจการพลังงาน 2 มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการกาหนดประเภท ขนาด และอายุใบอนุญาต สำหรับกิจการพลังงานที่ต้องขอรับใบอนุญาต และที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต 2) ให้คาปรึกษาและให้บริการเกี่ย วกับการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และใบอนุญาตตามมาตรา 48 การรับแจ้งกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต การสอบถามความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบสถานประกอบกิจการ การโอนสิทธิ และหน้าที่ตามใบอนุญาต การรวมกิจการ และการอนุญาต หรือการรับแจ้งอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) พัฒนาระบบดิจิทัลในการให้บริการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตการประกอบ กิจการพลังงานและการอนุญาตตามมาตรา 48 รวมถึงการรับแจ้งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน การต่ออายุ ใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตตามมาตรา 48 การต่ออายุใบอนุญาต และการอนุญาตอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณา 6) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่งให้ผู้ ประกอบกิจการพลังงาน ที่เข้าข่ายต้องได้รับใบอนุญาตแต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาต หยุด หรือระงับการประกอบกิจการพลังงาน หรือปลดการเชื่อมต่อออกจากระบบโครงข่ายพลังงาน 7) รับแจ้งเริ่มประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาตและรับแจ้งการประกอบ กิจการพลังงานที่ได้รับการ ยกเว้นการขอรับใบอนุญาต 8) จัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการโอนสิทธิและหน้าที่ตามใบอนุญาต และการรวมกิจการของผู้รับใบอนุญาต ตามผลวิเคราะห์เรื่องการมีอำนาจเหนือตลาด กระทาการใด ๆ ที่เป็นการผูกขาด ลดการแข่งขัน หรือจำกัดการแข่งขันในการให้บริการพลังงาน 9) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิกประกอบกิจการและการเพิกถอน ใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึง กรณีที่เป็นผลจากคำพิพากษาของศาล 10) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาออกคำสั่งปรับปรุง การป ระกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรือหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ ใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและ การรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง 11) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทำและปรับปรุง กฎหมายลาดั บรองที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมาย ของหน่วยงานภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของฝ่ายงาน 12) ศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียม การประกอบกิจการพลังงาน และประมาณการรายได้ประจาปีของสานักงานคณ ะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน 13) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้รับใบอนุญาตและผู้จดแจ้งการประกอบกิจการพลังงาน ที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาต และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานภายในและภายนอก ที่เกี่ยวข้อง 14) สนับสนุนการจัดเตรียมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วน ได้เสียสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต 15) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
ข้อ 9 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและตรวจติดตามกิจการพลังงาน มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) พัฒนารูปแบบ และวิธีการตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับ ใบอนุญาตระหว่างสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานส่วนกลางและสา นักงานคณะกรรมการ กากับกิจการพลังงานประจาเขต รวมถึงพัฒนาระบบการเฝ้าระวังมลพิษทางอากาศจากการประกอบ กิจการผลิตไฟฟ้า (ข) วางแผนและตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงานร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการ กากับกิจการพลังงานประจาเขต และรายงานผลในการปฏิบัติตามเงื่อนไขประกอบการอนุ ญาตเกี่ยวกับ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของผู้รับใบอนุญาตต่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (ค) วางแผนการตรวจสอบหน่วยตรวจสอบมาตรฐานด้านวิศวกรรมและความปลอดภัย มาตรฐานสิ่งแวดล้อม (ง) ให้ความเห็นต่อรายงานด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบ กิจการพลังงาน รวมถึงให้ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในรายงานด้านสิ่งแวดล้อม (จ) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม เงื่อนไขประกอบการอนุญาต มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เพื่อประกอบการพิจารณา อนุญาตหรือต รวจติดตามการประกอบกิจการพลังงาน (ฉ) วิเคราะห์และให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน กรณีผู้รับใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ ข้อกำหนดที่กำหนดไว้หรือกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิน อุบัติเหตุ มีการร้องเรียนที่มีเหตุอันอาจส่งผลกระท บต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อดำเนินการบังคับใช้กฎหมายกับผู้รับใบอนุญาต (ช) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทาและปรับปรุงกฎหมาย ลาดับรองที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมายของหน่วยงาน ภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิ จของฝ่ายงานเกี่ยวกับการกาหนดมาตรการ และหลักเกณฑ์ ด้านสิ่งแวดล้อมหรือการตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต (ซ) สนับสนุนข้อมูลและจัดทำความเห็นการตอบข้อร้องเรียน และอุทธรณ์เกี่ยวกับ มาตรฐานการประกอบกิจการพลังงาน (ฌ) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริ ง และจัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่ง ปรับปรุงการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรือหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ ใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและ การรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ญ) สนับสนุนข้อมูลแ ละให้ความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิกประกอบกิจการและ การเพิกถอนใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึงกรณีที่เป็นผลจากคาพิพากษาของศาล (ฎ) ให้คาปรึกษาหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ในการตรวจสอบการประกอบกิจการพลังงาน ของ ผู้รับใบอนุญาต และการให้ความเห็นต่อรายงานด้านสิ่งแวดล้อมกับสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงานประจำเขต ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ฏ) สนับสนุนการจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและ ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจการพลังงานที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดของประชาชน หรือชุมชนอย่ำงรุนแรง เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต (ฐ) จัดทำบทวิเคราะห์ด้านพลังงานและการกากับกิจการพลังงานในส่วนเกี่ยวข้อง (ฑ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนพัฒนาหลักเกณฑ์การกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมและการตรวจติดตาม การประกอบกิจการพลังงาน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ให้ความเห็นต่อรายงานด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต ประกอบกิจการพลังงาน รวมถึงให้ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในรายงานด้านสิ่งแวดล้อม 2) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง ให้ความเห็นและ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม เงื่อนไขประกอบการอนุญาต มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เพื่อประกอบการพิจารณา อนุญาตหรือตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงาน 3) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทำและปรับปรุง กฎหมายลาดับรองที่ออกตามความในกฎห มายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมายของ หน่วยงานภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของฝ่ายงาน เกี่ยวกับการกำหนดมาตรการและ หลักเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมหรือการตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต 4) วิเคราะห์และให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของค ณะกรรมการกากับกิจการ พลังงานกรณีผู้รับใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ ข้อกำหนดที่กำหนดไว้หรือกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ มีการร้องเรียนที่มีเหตุอันอาจส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อดาเนินการ บังคับใช้กฎหมายกับผู้รับใบอนุญาต 5) รวบรวมข้ อมูล ข้อเท็จจริง และจัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่ง ปรับปรุงการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรือหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ ใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและ การรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
6 ) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิกประกอบกิจการ และการเพิกถอนใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึงกรณีที่เป็นผลจากคาพิพากษาของศาล 7) สนับสนุนข้อมูลและจัดทาความเห็นการตอบข้อร้องเรียน แ ละอุทธรณ์เกี่ยวกับ มาตรฐานการประกอบกิจการพลังงาน 8) สนับสนุนการจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและ ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจการพลังงานที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชี วิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดของประชาชน หรือชุมชนอย่างรุนแรง เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต 9) ให้คำปรึกษาหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ในการตรวจสอบการประกอบกิจการ พลังงานของผู้รับใบอนุญาต และการให้ความเห็นต่อรายงานด้านสิ่งแวดล้อมกับสำนักงานคณะกรรมการ กำกับกิ จการพลังงานประจำเขต ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 10) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทำและปรับปรุง กฎหมายลาดับรองที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมาย ของหน่วยงานภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิ จของฝ่ายงาน 11) จัดทำบทวิเคราะห์ด้านพลังงานและการกากับกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 12) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงาน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) พัฒนารูปแบบ และวิธีการตรวจสอบการประกอบกิจการพลังงา นของผู้รับ ใบอนุญาตระหว่างสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานส่วนกลางและสานักงานคณะกรรมการ กากับกิจการพลังงานประจาเขต รวมถึงพัฒนาระบบการเฝ้าระวังมลพิษทางอากาศจากการประกอบ กิจการผลิตไฟฟ้า 2) วางแผนและตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงานร่วมกับสำนักงาน คณะกรรมกา รกากับกิจการพลังงานประจาเขต และรายงานผลในการปฏิบัติตามเงื่อนไขประกอบการ อนุญาตเกี่ยวกับมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของผู้รับใบอนุญาตต่อคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน 3) วางแผนการตรวจสอบหน่วยตรวจสอบมาตรฐานด้านวิศวกรรมและความปลอดภัย มาตรฐานสิ่งแวดล้ อม 4) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม เงื่อนไขประกอบการอนุญาต มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต หรือตรวจติดตามการประกอบกิจการพลังงาน ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- วิเคราะห์และให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการกากับกิจการ พลังงานกรณีผู้รับใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ ข้อกำหนดที่กำหนดไว้หรือกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ มีการร้องเรียนที่มีเหตุอันอาจส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อดาเนินการ บั งคับใช้กฎหมายกับผู้รับใบอนุญาต 6) สนับสนุนข้อมูลและจัดทาความเห็นการตอบข้อร้องเรียน และอุทธรณ์เกี่ยวกับ มาตรฐานการประกอบกิจการพลังงาน 7) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง และจัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาออกคาสั่ง ปรับปรุงการประกอบกิจการพลังงานของผู้รับใบอนุญาต การพักหรือหยุดให้บริการพลังงาน การพักใช้ ใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และกรณีการร้องเรียน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและ การรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง 8) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาการเลิกประกอบกิจการ และการเพิกถอนใบอนุญาตของผู้รับใบอนุญาตประกอ บกิจการพลังงานและผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48 ซึ่งไม่รวมถึงกรณีที่เป็นผลจากคาพิพากษาของศาล 9) ให้คำปรึกษาหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ในการตรวจสอบการประกอบกิจการ พลังงานของผู้รับใบอนุญาต และการให้ความเห็นต่อรายงานด้านสิ่งแวดล้อมกับสำนักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพ ลังงานประจำเขต ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 10) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นประกอบการพิจารณาจัดทำและปรับปรุง กฎหมายลาดับรองที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมาย ของหน่วยงานภายนอกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของฝ่ำยงาน 11) จัดทำบทวิเคราะห์ด้านพลังงานและการกากับกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 12) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 10 ฝ่ายกองทุนพัฒนาไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) วางแผนปฏิบัติการกองทุนพัฒนาไฟฟ้าตามมาต รา 97 (3) - 97 (6) ให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ แผนงานประจำปีของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ข) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ และคู่มือในการใช้จ่าย เงินกองทุนมาตรา 97 (3) - 97 (6) (ค) วิเคราะห์ จัดทาข้อเสนอแนะนโยบาย หลักเกณฑ์ และมาตรการในการจัดสรรเงิน ตามมาตรา 97 (3) - 97 (5) (ง) ให้คาปรึกษา และกากับการจัดสรรเงินตามมาตรา 97 (3) - 97 (5) ตามหลักเกณฑ์ วิธีการเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานกาหนด (จ) กลั่นกรองแผนงานโครงการตามมาตรา 97 (4) - 97 (5) ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฉ) ให้คาปรึกษา สนับสนุน และกากับการดาเนินงานกองทุนตามมาตรา 97 (3) และการดาเนินโครงการกองทุนตามมาตรา 97 (4) - 97 (5) (ช) เผยแพร่ และสื่อสารผลงานศึกษา วิจัย พัฒนา และองค์ความรู้ในการประกอบ กิจการไฟฟ้าแล ะการมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้า (ซ) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการดาเนินโครงการและพัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ กองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ฌ) ติดตามประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ญ) พัฒนาระบบ และจัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การดาเนินงาน กองทุนพัฒนาไฟฟ้า และความคุ้มค่าทางการเงิน (ฎ) ดาเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ในฐานะทุนหมุนเวียน) (ฏ) ดาเนินการเกี่ยวกับการรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อร้องเรียนการดาเนินงานกองทุน พัฒนาไฟฟ้า (ฐ) ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้ำงความรู้ความเข้าใจ ความตระหนัก และการมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้า (ฑ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระเบียบ ประกาศ และคู่มือการปฏิบัติงานกองทุน พัฒนาไฟฟ้ามาตรา 97 (3) (4) และ (5) 2) วิเคราะห์และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 3) วิเคราะห์และจัดทาแผนงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้ามาตรา 97 (3) (4) (5) และ (6) ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 4) วิเคราะห์ จัดทาข้อเสนอนโยบาย หลักเกณฑ์ และมาตรการในการจัดสรรเงิน ตามมาตรา 97 (3) (4) และ (5) 5) ประสานงาน และดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดพื้นที่ประกาศและจัดตั้งกองทุน พัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ รวมทั้งการสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ รอบโรงไฟฟ้า และผู้แทนกองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ 6) วิเคราะห์ กลั่นกรองโครงการ และจัดทาความเห็นเกี่ยวกับโครงการกองทุน มาตรา 97 (4) และ (5) รวมทั้งแจ้งผลการพิจารณาโครงการ 7) วิเคราะห์ จัดทำกรอบแนวทาง นโยบาย และกากับการจัดสรรเงินกองทุน มาตรา 97 (3) (4) และ (5) ้ หนา 28 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- ประสาน ให้คำปรึกษา และสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพ การจัดทำ แผนปฏิบัติงานประจำปี และการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ 9) รวบรวมข้อมูลและจัดทำความเห็นต่อข้อหำรือที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน มาตรา 97 (3) (4) และ (5) 10) พัฒนาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงานกองทุนมาตรา 97 (3) (4) และ (5) 11) รวบรวม เผยแพร่ และสื่อสารการดาเนินงาน องค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการกองทุนในพื้นที่ประกา ศและผู้ที่เกี่ยวข้อง 12) รวบรวม เผยแพร่ และสื่อสารผลงานศึกษา วิจัย พัฒนา และองค์ความรู้ ในการประกอบกิจการไฟฟ้าและการมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้า 13) ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และการมีส่วนร่วมทางด้านไฟฟ้ำ 14) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 2) ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ในการติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 3) ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้ารวมทั้งจัดทำ ข้อเสนอแนะ การปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และ ความคุ้มค่าทางการเงิน 4) จัดทำรายงานผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย เงินของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า รายไตรมาส และประจำปี รวมทั้งสนับสนุนการจัดทำรายงานประจำปี ( Annual Report ) ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับข้อร้องเรียนการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 6) สำรวจความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียต่อการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 7) ดาเนินการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจการติดตามประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 8) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาหลักเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานกองทุน พัฒนาไฟฟ้า (ในฐานะทุนหมุนเวียน) 9) ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ในฐานะทุนหมุนเวียน) 10) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 29 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
ข้อ 11 ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) พัฒนาระบบ และพัฒนาศูน ย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกากับกิจการพลังงาน เพื่อให้คาปรึกษาและดาเนินการมีส่วนร่วมในกระบวนการกากับกิจการพลังงานของหน่วยงานภายใน (ข) สนับสนุนการจัดรับฟังความคิดเห็นและกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน และกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจการพลังงานที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญอื่นใด ของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรง (ค) ประเมินผลเกี่ยวกั บการดาเนินการมีส่วนร่วมในการกากับกิจการพลังงาน และจัดทา ข้อเสนอแนะการปรับปรุงรูปแบบ กระบวนการ และหลักเกณฑ์การสร้างการมีส่วนร่วม (ง) ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมสังคม และประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมด้านการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้ใช้พลังงานในงานกำกับกิจการพลังงาน (จ) พัฒนาระบบและพัฒนาศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียน เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ ผู้ใช้พลังงาน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และผู้มีส่วนได้เสียในการกากับกิจการพลังงาน (ฉ) รับและดำเนินการ เกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนและการจัดการเรื่องร้องเรียน ข้อพิพาท และขัดแย้งของผู้ใช้พลังงาน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และผู้มีส่วนได้เสียในการ กำกับกิจการพลังงาน (ช) บริหารงานมวลชน และบูรณาการประสานงานหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ผู้มีส่วนได้เสียเพื่ อป้องกันควบคุมการชุมนุมเรียกร้อง และแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ซ) ให้ความเห็นต่อข้อร้องเรียนเชิงนโยบายในด้านการคุ้มครองผู้ใช้พลังงานกับผู้ใช้พลังงาน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และผู้มีส่วนได้เสียในการกากับกิจการพลังงาน (ฌ) พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อใช้ในการติดตาม การรับเรื่องร้องเรียนและให้บริการให้แก่ ผู้ใช้พลังงาน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และผู้มีส่วนได้เสียในการกากับกิจการพลังงาน (ญ) เสนอแนะแนวทาง หลักเกณฑ์การพัฒนามาตรฐานคุณภาพการให้บริการ (ฎ) ดาเนินการสรรหา แต่งตั้ง และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง (ฏ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 30 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(2) งานในสังกัด (ก) ส่วนคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้ใช้พลังงาน มีอำนาจหน้าที่ ดั งต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และจัดทาแผนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกากับกิจการพลังงาน เพื่อให้คาปรึกษาและดาเนินการมีส่วนร่วมในกระบวนการกากับกิจการพลังงานของหน่วยงานภายใน 2) ดำเนินการและสนับสนุนกิจกรรมรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของ ประชาชน 3) วิเครำะห์ และประเมินผลเกี่ยวกับการดาเนินการมีส่วนร่วมในการกากับกิจการ พลังงาน 4) เสนอแนะการปรับปรุงรูปแบบ กระบวนการ และหลักเกณฑ์การสร้างการมีส่วนร่วม และมาตรการที่ส่งเสริมการคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน และจัดทำร่างประกาศสิทธิผู้ใช้พลังงาน 5) เสนอแนะแนวทาง หลั กเกณฑ์การพัฒนามาตรฐานคุณภาพการให้บริการ 6) จัดกิจกรรมที่สนับสนุนการส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการพัฒนาพลังงานและสิทธิประโยชน์ของผู้ใช้พลังงาน 7) บริหารจัดการและจัดทาแผนการดาเนินการเรื่องการสรรหา แต่งตั้ง และพัฒนำ ศักยภาพคณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ป ฏิ บัติที่เกี่ยวข้อง 8) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการจัดการเรื่องร้องเรียน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการร้องเรียน ให้ครบวงจร ตั้งแต่ การรวบรวมและนำเข้าข้อมูล การบริหารจัดการ การรายงานผล การประเมินผล ข้อเสนอแนะ การติดตามผล และการเผยแพร่ สื่อสารประชาสัมพันธ์ 2) รับเรื่องร้องเรียน บริหารจัดการและประสานงานในกา รดาเนินการเรื่องข้อร้องเรียน ข้อพิพาท และข้อขัดแย้งของผู้ใช้พลังงาน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 3) ดาเนินการเรื่องบริหารงานมวลชน และประสานงานกับหน่วยงานส่วนกลาง และในพื้นที่ ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน และร่วมสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 4) วิเคราะห์และประเมินข้อร้องเรียนเพื่อเสนอแนะ และให้ความเห็นเพื่อกาหนด เป็นมาตรการการคุ้มครองผู้ใช้พลังงานในระดับนโยบาย 5) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 12 ฝ่ายสานักงานคณะกร รมการกากับกิจการพลังงาน ประจาเขต 1 - 13 มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ ้ หนา 31 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ก) วิเคราะห์ จัดทาแผนการดาเนินงาน งบประมาณรวมถึงกาหนดตัวชี้วัด และเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานของสานักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานประจำเขตให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร (ข) บริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน การบัญชี พัสดุ ทรัพย์สิน และบริหารงาน ทั่วไปของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานประจำเขต (ค) รับและตรวจสอบคาขอการขอใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และขอความเห็น จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 48 เพื่อประกอบการจัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาอนุญาต (ง) รับแจ้งกิจการที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน ตามขนาดและประเภทของการประก อบกิจการพลังงานที่ได้รับมอบหมาย (จ) จัดทาแผนการตรวจสอบและทาการตรวจสอบ ตรวจสอบรายงานผลการปฏิบัติตาม รายงานสิ่งแวดล้อมและเงื่อนไขท้ายใบอนุญาต และให้ความเห็นประกอบการตรวจสอบสถานประกอบ กิจการพลังงานของผู้ได้รับใบอนุญาต ให้เป็นไปตามคู่มือและแบบตรวจสอบสถานประก อบกิจการพลังงาน ที่กำหนด (ฉ) สนับสนุนการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย และประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจการพลังงานที่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญอื่นใด ของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงเพื่อนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต (ช) สนับสนุนการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนตามกฎหมาย ว่าด้วยกา รส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และระเบียบ ประกาศของสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ซ) ตรวจสอบคาขอและเอกสารหลักฐาน ตรวจสอบสถานประกอบกิจการ รวมทั้ง การดาเนินการด้านสิ่งแวดล้อม และการรับฟังความคิดเห็นตามกฎหมายด้วยการส่งเสริมและรักษา คุณ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อจัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน (ฌ) จัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และแจ้งผลการพิจารณาอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการพลังงาน รวมทั้งรับแจ้งกำรเริ่มประกอบกิจการไฟฟ้าให้แก่ผู้รับใบอนุญาต และการรับแจ้งการประกอบกิจการ ที่ได้รับการยกเว้นการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน (ญ) รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง และให้ความเห็นประกอบการพิจารณาออกคำสั่งไปจนถึง การพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานตา มมาตรา 56 รวมทั้งให้ข้อมูลประกอบการ พิจารณาเรื่องร้องเรียน คัดค้าน และอุทธรณ์การออกใบอนุญาตและการรับแจ้งที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 32 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฎ) รับเรื่องร้องเรียนและดาเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนของผู้ใช้พลังงาน ตลอดจน ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะการคุ้มครองผู้ใช้พลังงานในเขตพื้ นที่รับผิดชอบ และการประกอบกิจการ พลังงาน (ฏ) สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขตที่เกี่ยวกับ การคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน เพื่อแก้ไขข้อร้องเรียน และเสนอมาตรการปรับปรุงแก้ไขปัญหาการร้องเรียน และคุณภาพการให้บริการของผู้ประกอบกิจการพลังงาน (ฐ) ให้คาปรึกษา ความเห็น และกากับการดาเนินงานด้านกองทุนพัฒนาไฟฟ้าให้เป็นไป ตามระเบียบ ประกาศ และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานกาหนด สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อกาหนดพื้นที่ประกาศและ การจัดตั้งกองทุนพัฒนา ไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ รวมทั้งสนับสนุนการสรรหาคณะกรรมการกองทุน ในพื้นที่ประกาศ และตรวจติดตามประเมินผลโครงการชุมชนในเขตที่รับผิดชอบ (ฑ) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และรายงานผลการรับฟังความเห็น ตลอดจนทาความเข้าใจ กับผู้มีส่วนได้เสียในการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิ จการผลิตไฟฟ้า และการดาเนินงานเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมตามที่กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงานกาหนดในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ (ฒ) สนับสนุนการดาเนินการตามกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียสำหรับ โครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับชุมชนอย่างรุ นแรงในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และปฏิบัติ หน้าที่ตามระเบียบ และประกาศกำหนด (ณ) สนับสนุนงานประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (ด) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 13 ฝ่ายกฎหมาย มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน (ข) วิเคราะห์ผลกระทบการออกกฎหมายอื่นต่อการกากับกิจการพลังงานตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน (ค) ดาเนินการเกี่ยวกับการอุทธรณ์คาวินิจฉัยชี้ขาด คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน การอุทธรณ์มาตรการบังคับทางปกครอง รวมทั้งการอุทธรณ์หรือร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบรับซื้อไฟฟ้า และสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (ง) ตรวจสอบร่างประกาศและคำสั่งของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานให้เป็นไปตามกฎหมาย (จ) จัดทำสัญญาหรือข้อตกลงของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน แต่ไม่รวมถึงสัญญาข้อตกลงตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริ หารพัสดุภาครัฐ ้ หนา 33 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฉ) ดาเนินงานเกี่ยวกับการขอข้อมูลข่าวสารของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และ สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ช) พิจารณาบังคับใช้กฎหมายกับผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน เพื่อให้ การประกอบกิจการพลังงานเป็นไปตามกฎหมาย (ซ) ดาเนินมาตร การบังคับทางปกครอง กรณีผู้รับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งหรือไม่ชำระค่าปรับทางปกครอง (ฌ) ดาเนินการเกี่ยวกับการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบ กิจการพลังงาน (ญ) ดาเนินการร้องทุกข์กล่าวโทษการกระทำความผิดทางอาญา และเปรียบเทียบคดี (ฎ) ดาเนินการเกี่ยวกับการแก้ต่างคดี และการดาเนินคดี (ฏ) ให้คาปรึกษา รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน และดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับคดี อันเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ (ฐ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนนิติการแล ะบังคับใช้กฎหมาย มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาความเห็นทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการ ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน รวมทั้ง จัดทำข้อเสนอแนะการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกก ฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 2) ศึกษา และวิเคราะห์ผลกระทบการออกกฎหมายอื่นต่อการกำกับกิจการพลังงาน ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 3) ประสานงาน ให้ข้อมูล ชี้แจงประเด็นทางกฎหมาย และสรุปรายงาน การดาเนินการดังกล่าว 4) ตรวจสอบร่างประกาศและ คำสั่งของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานให้เป็นไปตามกฎหมาย 5) ตรวจสอบ และจัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาร่างสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 6) ดาเนินงานเกี่ยวกับการขอข้อมูลข่าวสารของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกร รมการกำกับกิจการพลังงาน 7) จัดทำคำสั่งทางปกครองของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานและแจ้งผู้รับคำสั่ง 8) จัดทาหนังสือแจ้งเตือนผู้รับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานให้ปฏิบัติตาม คำสั่งของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ้ หนา 34 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- รวบรวมและตรวจสอบข้อมูลด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกากับกิจการพลังงาน และข้อมูลผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน เพื่อจัดทาความเห็นประกอบการพิจารณาบังคับ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 10) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการกาหนดค่าปรับทางปกครอง กับผู้รั บใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน 11) ดาเนินการบังคับทางปกครอง กรณีผู้รับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งหรือไม่ชำระค่าปรับทางปกครอง 12) เสนอแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 13) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้ รับมอบหมาย (ข) ส่วนอุทธรณ์และคดี มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน ข้อกฎหมาย และจัดทาความเห็นที่เกี่ยวกับ การอุทธรณ์คาวินิจฉัย ชี้ขาด คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกาหนด การอุทธรณ์ มาตรการบังคับทางปกครอง เพื่ อประกอบการพิจารณาอุทธรณ์ และแจ้งผลการพิจารณา 2) รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน ข้อกฎหมาย และจัดทาความเห็นที่เกี่ยวกับ การอุทธรณ์หรือร้องเรียนการปฏิบัติตามระเบียบรับซื้อไฟฟ้าและสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ประกอบการ พิจารณาอุทธรณ์หรือร้องเรียน และแจ้งผลการพิจารณำ 3) รวบรวมข้อมูล และจัดทารายงานการพิจารณาอุทธรณ์คาวินิจฉัยชี้ขาด คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกาหนด และการอุทธรณ์มาตรการบังคับทางปกครอง 4) รวบรวมข้อมูล และจัดทำรายงานการพิจารณาเรื่องอุทธรณ์หรือร้องเรียนเกี่ยวกับ การปฏิบัติตามระเบียบรับซื้อไฟฟ้า และสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 5) ร้องทุกข์กล่าวโทษการกระทำความผิดทางอาญา และเปรียบเทียบคดี 6) ดาเนินการเกี่ยวกับการแก้ต่างคดี และการดาเนินคดี 7) ให้คาปรึกษา รวบรวม ข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน และดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับคดี อันเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ 8) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 14 ฝ่ายจัดการที่ดินและทรัพย์สิน มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่ อสร้างระบบโครงข่ายพลังงาน หรือสิ่งปลูกสร้างอื่นอันจาเป็น และเกี่ยวเนื่องกับกิจการดังกล่าว รวมถึงแหล่งน้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้าและการสร้างเขื่อนกั้นน้ำ เขื่อนระบายน้ำ เขื่อนกักเก็บน้า หรือสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์ของเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำ เพื่อการผลิตไฟฟ้า พลังงานน้า รวมทั้งลานไกไฟฟ้าและสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์ของโรงไฟฟ้าพลังน้า ้ หนา 35 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ข) ประกาศกาหนดเขตสารวจ เพื่อประโยชน์ในการเข้าสารวจ หรือหาสถานที่ตั้งระบบ โครงข่ายพลังงาน หรือสร้างสิ่งปลูกสร้างอื่นอันจำเป็นและเกี่ยวเนื่องกับกิจการระบบโครงข่ายพลั งงาน (ค) ดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดแนวหรือที่ตั้งระบบโครงข่ายพลังงาน และประกาศ กำหนดเขตโครงข่ายพลังงาน (ง) กาหนดราคาค่าทดแทนที่ดิน อาคารโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้ พืชผลและ ทรัพย์สินอื่นที่อยู่ในเขตระบบโครงข่ายพลังงาน และกำหนดค่าทดแทนความเสียหายข องอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพย์สินจากการสำรวจ หรือหาสถานที่ตั้งระบบโครงข่ายฯ หรือซ่อมบำรุงรักษาระบบโครงข่ายพลังงาน (จ) ดาเนินการเกี่ยวกับการขออนุญาตปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน ต้นไม้หรือติดตั้งสิ่งอื่น การขุดเจาะ ถมดิน ทิ้งสิ่งของ หรือการกระทาใด ๆ ในเขตร ะบบโครงข่ายพลังงาน หรือกากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบการอนุญาตให้กระทำการดังกล่าวในเขตระบบโครงข่ายพลังงานในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงาน ของผู้รับใบอนุญาตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจในการพิจารณาอนุญาต (ฉ) ดำเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณ์การ ประกาศกาหนดเขตระบบโครงข่าย พลังงาน การพิจารณาคัดค้านการวางระบบโครงข่ายพลังงาน การพิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทน และ การพิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทนความเสียหายการวางระบบโครงข่ายพลังงาน (ช) ดำเนินมาตรการบังคับทางปกครองกับบุคคลที่กระทำการภายในระบบโครงข่าย พลังงานโดยมิได้ รับอนุญาตหรือได้รับอนุญาตแต่มีการฝ่าฝืนการอนุญาตหรือเงื่อนไขประกอบการอนุญาต ตามที่กาหนด หรือกากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินมาตรการบังคับทางปกครองกับบุคคล ที่กระทาการภายในเขตระบบโครงข่ายพลังงานดังกล่าวในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานของผู้รับใบอนุญาตได้รับ การแต่ งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจในการดาเนินมาตรการบังคับทางปกครอง (ซ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนกำหนดเขตระบบโครงข่ายพลังงานและอุทธรณ์ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างระบบโครงข่าย พลังงาน หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น อันจาเป็นและเกี่ยวเนื่องกับกิจการดังกล่าว รวมถึงแหล่งน้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้าและการสร้างเขื่อนกั้นน้ำ เขื่อนระบายน้ำ เขื่อนกักเก็บน้า หรือสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์ของเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำ เพื่อการผลิตไฟฟ้า พลังงานน้า รวมทั้งลาน ไกไฟฟ้าและสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์ของโรงไฟฟ้าพลังน้า 2) รวบรวมข้อมูล ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และจัดทำความเห็นประกอบการ พิจารณาอนุมัติเขตสำรวจ และดาเนินการเกี่ยวกับการประกาศกำหนดเขตสำรวจ 3) รวบรวมข้อมูล ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และจัดทำความเห็นประกอบการ พิ จารณาให้ความเห็นชอบแนวหรือที่ตั้งระบบโครงข่ายฯ และดาเนินการเกี่ยวกับการประกาศกาหนดเขต โครงข่ายพลังงาน ้ หนา 36 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- แสวงหา รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน และจัดทาความเห็นประกอบการ พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์การประกาศกาหนดเขตระบบโครงข่ายพลังงาน และการพิจารณาคัดค้าน กา รวางระบบโครงข่ายพลังงาน 5) รวบรวมข้อมูล และจัดทำความเห็นประกอบการพิจารณาการขออนุญาต ปลูกสร้างอาคารโรงเรือน ต้นไม้หรือติดตั้งสิ่งอื่นในเขตระบบโครงข่ายพลังงาน หรือกำกับดูแล ติดตาม ตรวจสอบการอนุญาตให้กระทาการดังกล่าวในเขตระบบโครงข่ายพลังงานในกรณีที่ผู้ ปฏิบัติงานของ ผู้รับใบอนุญาตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจในการพิจารณาอนุญาต 6) ดาเนินมาตรการบังคับทางปกครองกับบุคคลที่กระทาการภายในระบบโครงข่าย พลังงาน โดยมิได้รับอนุญาตหรือได้รับอนุญาตแต่มีการฝ่าฝืนการอนุญาตหรือเงื่อนไขประกอบการ อ นุญาตตามที่กาหนด หรือกากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินมาตรการบังคับทางปกครอง กับบุคคลที่กระทำการภายในเขตระบบโครงข่ายพลังงานดังกล่าวในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานของผู้รับใบอนุญาต ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจในการดาเนินมาตรการบังคับทางปกค รอง 7) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนกำหนดค่าทดแทนและอุทธรณ์ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักเกณฑ์ในการคำนวณค่าทดแทนที่ดิน อาคารโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้ พืชผล และทรัพย์สินอื่นที่อยู่ในเขตระบบโครงข่ายพลังงาน 2) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีการประกาศกำหนดเขตระบบ และจัดทำ ข้อเสนอประกอบการพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาราคาที่ดินและทรัพย์สินจังหวัด 3) กาหนดราคาค่าทดแทนที่ดินและทรัพย์สินที่อยู่ในเขตระบบโครงข่ายพลังงาน และค่าทดแทนความเสียหายของอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินจากการสารวจ หรือหาสถานที่ตั้งระบบ โครงข่ายพลังงาน หรือซ่อมบารุงรักษาระบบโครงข่ายพลังงาน และแจ้งให้ผู้รับใบอนุญาตดาเนินการ จ่ายเงินค่าท ดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทน 4) จัดทำบัญชีราคากลางอาคารโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้ พืชผลและ ทรัพย์สินอื่นของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) แสวงหา รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน และจัดทาความเห็นประกอบการ พิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทน และการพิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทนความเสียหายจากการวางระบบ โครงข่ายพลังงาน 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 15 ฝ่ายบริหารงานองค์กร มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ ้ หนา 37 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ก) ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ตามกฎหมายว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ รวมทั้งวิเคราะห์ และเสนอความเห็นเกี่ยวกับการพัสดุ การจัดซื้อจัดจ้างของงบประมาณสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ข) ดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพย์สิน อาคารสถานที่ และยำนพาหนะ รวมทั้ง วิเคราะห์และเสนอความเห็นในการปรับปรุงระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคาสั่งที่เกี่ยวกับ การทรัพย์สิน อาคาร สถานที่ และยานพาหนะของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังาน สำหรับงบประมาณสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ค) ดาเนินการเกี่ยวกับการวางระบบงานสารบรรณ และเสนอความเห็นในการปรับปรุง ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคาสั่งที่เกี่ยวกับงานสารบรรณ รวมถึงการบริหารจัดการทั่วไป งานสารบรรณ และงานห้องสมุด รวมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารการเดินทางต่างประเทศ ของสำนักงานค ณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (ง) ประสานงานการเข้าร่วมงานในพิธีการต่าง ๆ ของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน รวมทั้งการจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภายนอก (จ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนจัดหาพัสดุและนิติกรรมสัญญา มีอำนาจห น้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษากฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งคาวินิจฉัยที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เพื่อวิเคราะห์ ผลกระทบการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และเพื่อเผยแพร่ ในสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 2) รวบรวมข้อมูล และจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างของสำนักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน 3) ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ตามกฎหมายว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภำครัฐ 4) ตรวจสอบเอกสารรายงานขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง และการตรวจรับพัสดุการจัดซื้อ จัดจ้าง 5) ดาเนินงานเกี่ยวกับการจัดทาสัญญาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ และติดตามการบริหารสัญญา 6) จัดทาแผนการบริหารพัสดุ แผนการซ่อมบารุง การประกันภัย รวมทั้งจัดทาบัญชี หรือทะเบียนควบคุมพัสดุ การจัดทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุและการยืม 7) ตรวจสอบพัสดุประจาปี และการจาหน่ายพัสดุให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ มติคณะรัฐมนตรี และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง ้ หนา 38 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- ปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝ่ายงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 9) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนบริหารงานองค์กร มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วางระบบและบริหารจัดการงานสารบรรณ การบริหารทรัพย์สิ น อาคาร สถานที่ และยานพาหนะ 2) ดำเนินงานเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานห้องสมุด งานห้องประชุม งานยานพาหนะ การรักษาความปลอดภัย และการบริหารจัดการอาคารสถานที่ รวมทั้งเอกสารการเดินทางต่างประเทศ ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 3) ดูแลและบารุงรักษา อาคารสถานที่ ยานพาหนะ และทรัพย์สินของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 4) ดำเนินการเกี่ยวกับงานความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) ประสานงานการเข้าร่วมงานและการจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภายนอก สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 16 ฝ่ายยุทธศาสตร์และสื่อสารองค์กร มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวางแผนยุทธศาสตร์องค์กร รวมทั้งแผนการดาเนินงาน ประมาณการรายได้ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน แผนบริหารความเสี่ยง แผนควบคุมภายในขององค์กร และแผนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศ (ข) ติดตามและประเมิ นผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์องค์กร แผนการ ดาเนินงานประจาปี แผนบริหารความเสี่ยง แผนควบคุมภายในขององค์กร และแผนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ค) วางแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารองค์กรทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน และ แผน บริหารจัดการภาพลักษณ์องค์กรประจำปี (ง) สื่อสารและประชาสัมพันธ์เชิงรุกตามแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารองค์กรและ แผนบริหารจัดการภาพลักษณ์องค์กรประจำปี รวมทั้งประเมินผลการดาเนินงานการสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์องค์กร (จ) จัดทารายงานผลการดาเนินงานรายไตรมาส และรายงานประจาปีของคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ้ หนา 39 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ฉ) ดาเนินการเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงวิชาการด้านการกากับกิจการ พลังงานกับหน่วยงานด้านการกำกับกิจการพลังงาน และหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ช) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนยุทธศาสตร์และแผนงานองค์กร มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ จัดทาแผนยุทธศาสตร์องค์กร รวมทั้ง แผนการดาเนินงาน ประมาณการรายได้ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและการกาหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 2) ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน ประจำปี และผลการปฏิ บัติงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด 3) ประสานงาน รวบรวม และจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง แผนควบคุมภายใน ขององค์กร และแผนการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ 4) ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการดาเนินงานตามแผนควบคุมภายใน แผนบริหารความเสี่ยง และแผนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศ 5) ประสานงาน และจัดทำบันทึกความเข้าใจระหว่างสำนักงานกับหน่วยงาน ด้านการกำกับกิจการพลังงาน และหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อสร้าง ความร่วมมือเชิงวิชาการด้านการกำกับกิจการพลังงาน 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ( ข) ส่วนสื่อสารองค์กร มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และจัดทาแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารองค์กรทั้งภายในและภายนอก สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และแผนการบริหารจัดการภาพลักษณ์องค์กรประจำปี 2) สื่อสารและประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์องค์กรในภาพรวมตา มแผนการบริหาร จัดการภาพลักษณ์องค์กรประจำปี 3) ติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของกระบวนการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์องค์กรในภาพรวม และจัดทำรายงานผลการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์องค์กร 4) รวบรวมข้อมูล และจัดทำรายงานประจำปีของคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน และสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานเสนอตามขั้นตอนที่กาหนดในกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน 5) ให้คำปรึกษา สนับสนุน และประสานงานในงานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 40 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
ข้อ 17 ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์ข้อมูลพลังงาน มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) วางแผนพัฒนาระบบบริการดิจิทัลและโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ให้ครอบคลุมพันธกิจการกากับกิจการพลังงาน ให้สอดคล้อง แผนยุทธศาสตร์การกากับกิจการพลังงาน เพื่อรองรับนโยบายและแผนแม่บทการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศ รวมถึงการดาเนินการตามกฎหมายดิจิทัลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยคานึงถึงนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัลแนวใหม่ (ข ) พัฒนาระบบบริการดิจิทัลและจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล เพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานให้ครอบคลุมทุกพันธกิจให้เป็นไป ตามมาตรฐานสากล และกฎหมายดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล (ค ) กำกับดูแลการใช้ระบบบริการดิจิทัล ฐานข้อมูล และบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน ดิจิทัล ระบบฐานข้อมูล รวมถึงการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากทั้งภายใน และภายนอกสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เพื่อความเป็นเอกภาพ ความน่าเชื่อถือ ของข้ อมูล และเพื่อความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (ง) กากับดูแลข้อมูล การกาหนดสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบและแนวทางปฏิบัติของ ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลตามหลักธรรมาภิบาลข้อมูล ( Data Governance ) ภายใต้นโยบายและการกากับ ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานหรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (จ) ตรวจสอบ เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงระบบบริการดิจิทัลและโครงสร้างพื้นฐาน ดิจิทัล รวมถึงการกำกับดูแลระบบรักษาความปลอดภัยและการสารองข้อมูล เพื่อความมั่นคงปลอดภัย จากความเสี่ ยงและภัยคุกคามทางไซเบอร์ (ฉ) ให้คำปรึกษาเชิงวิชาการ พัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาแพลตฟอร์มด้านการบริการดิจิทัล และโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และส่งเสริมให้เกิดการทางานร่วมบนแพลตฟอร์มดิจิทัลกับภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องเพื่อยกระดับการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของสำ นักงานคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน รวมทั้งวิเคราะห์และเสนอความเห็นในการปรับปรุงระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคาสั่ง เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ช) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแป ลงด้านดิจิทัล ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมจากการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ ( Data Sharing ) เพื่อให้เกิดธรรมาภิบาล ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานอย่างเป็นรูปธรรม (ซ) แก้ไขปัญหาการใช้งานระบบบริการดิจิทัลและโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (ฌ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไ ด้รับมอบหมาย ้ หนา 41 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(2) งานในสังกัด (ก) ส่วนบริหารระบบงานและเครือข่ายดิจิทัลเทคโนโลยี มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และวางแผนจัดหาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของสำนักงานคณะกรรมการ กากับกิจการพลังงานให้ครอบคลุมพันธกิจของสานักงาน รองรับนโยบายและแผนแม่บทกำรพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศ รวมถึงการดำเนินการตามกฎหมายดิจิทัลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยคำนึงถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลแนวใหม่ เพื่อความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2) จัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการบ ริหารจัดการของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานให้ครอบคลุมทุกพันธกิจให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และกฎหมาย ดิจิทัล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 3) บริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และระบบฐานข้อมูล รวมถึงการเชื่อมโยง ระ บบฐานข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากทั้งภายในและภายนอกสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน เพื่อให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 4) ตรวจสอบ เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล รวมถึง การกากับดูแลระบบรักษาความปลอดภัยและการสารองข้อมูล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยจากความเสี่ยง และภัยคุกคามทางไซเบอร์ 5) ให้คาปรึกษาเชิงวิชาการ พัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาแพลตฟอร์มด้านโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัล และส่งเสริมให้เกิดการทำงานร่วมบนแพลตฟอร์มดิจิทัลกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 6) แก้ไขปัญหาการใช้งานโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล 7) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนศูนย์ข้อมูลพลังงาน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ จัดทา และเผย แพร่ข้อมูลพลังงานเพื่อสนับสนุนการกากับกิจการ พลังงาน 2) ดาเนินการบูรณาการข้อมูลพลังงานกับหน่วยงานด้านพลังงานเพื่อสร้างความเป็น เอกภาพและความน่าเชื่อถือของข้อมูลพลังงาน 3) ติดตามผลการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการจัดการแนวใหม่ ที่ใช้ในกิจการไฟฟ้าแล ะกิจการก๊าซธรรมชาติ 4) วิเคราะห์และจัดทำการพยากรณ์และคาดการณ์สถานการณ์พลังงานเพื่อสนับสนุน การกำกับกิจการพลังงาน 5) ส่งเสริม สนับสนุน การรวบรวมข้อมูล และถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ การกำกับกิจการพลังงาน ้ หนา 42 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 18 ฝ่ายบัญชีและการเงิน มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ดาเนินการเกี่ยวกับการบัญชี การเงิน และบริหารการใช้งบประมาณของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ข) รวบรวมข้อมูลประมาณการรายได้ และข้อมูลงบปร ะมาณประจำปีงบประมาณ ของสำนักงาน รวมทั้งติดตามและรายงานผลการจัดเก็บรายได้ และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ค) ดำเนินการเกี่ยวกับการเรียกเก็บ และรับเงินค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการ พลังงาน และเงินนาส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และอื่ น ๆ (ง) ดาเนินการเกี่ยวกับการจ่ายเงินของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (จ) ตรวจสอบ กากับการนาส่งเงิน และการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้าให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานกาหนด (ฉ) กากั บการนำส่งเงิน และการจัดสรรเงินเพื่อชดเชยและอุดหนุนการให้บริการแก่ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ด้อยโอกาสหรือให้มีบริการไฟฟ้าอย่างทั่วถึง และการชดเชยการสั่งการการผลิตไฟฟ้าของ ผู้รับใบอนุญาตศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้าที่ไม่เป็นธรรม (ช) ดาเนินการเก็บรักษา และบริหารจัดการเงินขอ งสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการ พลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ซ) ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ การปรับปรุง และพัฒนาระบบงานในงานที่เกี่ยวข้อง (ฌ) สนับสนุนข้อมูลและให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อร้องเรียนด้านบัญชี และการเงิน (ญ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนบริหารงบประมาณและการบัญชี มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษานโยบายการเงินและการคลังของภาครัฐ เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบ การดาเนินการด้านบัญชี การเงิน และงบประมาณของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 2) วิเครำะห์ พัฒนาระบบ จัดทา ปรับปรุงระเบียบ ประกาศ คาสั่ง และคู่มือ การปฏิบัติงาน 3) วิเคราะห์ และวางแผนปฏิบัติการภาพรวมด้านการเงินของสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ทั้งแผนระยะสั้น และแผนระยะยาว ้ หนา 43 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
รวบรวมข้อมูลประมาณการรายได้ และงบประมาณประจำปีของสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) กำกับดูแลการใช้จ่ายงบประมาณของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 6) ติดตาม และจัดทารายงานผลการจัดเก็บรายได้ประจาปีงบประมาณ และผลการ ใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของสำนักงานคณ ะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 7) รวบรวมข้อมูล และให้ความเห็นการใช้งบประมาณ รวมทั้งดาเนินการเกี่ยวกับ การจัดสรรงบประมาณ การโอนเปลี่ยนแปลง และการกันเงินเบิกเหลื่อมปีงบประมาณ 8) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานต่าง ๆ เพื่อบันทึกบัญชี 9 ) จัดทาบัญชี การคิดคานวณค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่าย การจัดทารายงาน งบการเงินของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 10) ดาเนินการเกี่ยวกับการตั้งภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 11) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนการเงินและการจัดเก็บรายได้ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาความเห็นประกอบการกาหนดระเบียบ ประกาศ คู่มือที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการเงิน 2) ดำเนินการเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการพลังงาน เงินนาส่ งเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า และรับเงินดังกล่าว รวมถึงการรับเงินค่าปรับ เงินประกันสัญญา และอื่น ๆ 3) ตรวจสอบ กากับการนำส่งเงิน และการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้าให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานกาหนด 4) กำกับการนำ ส่งเงินและจัดสรรเงินเพื่อชดเชยและอุดหนุนการให้บริการแก่ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ด้อยโอกาสหรือให้มีบริการไฟฟ้าอย่างทั่วถึง และการชดเชยการสั่งการผลิตไฟฟ้าของ ผู้รับใบอนุญาตศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้าที่ไม่เป็นธรรม 5) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานการขอเบิกเงินของสานักงานคณ ะกรรมการ กำกับกิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 6) ดาเนินการเกี่ยวกับการจ่ายเงิน การโอนเงิน การหักภาษี ณ ที่จ่าย การนาส่งภาษี ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 7) ดาเนินการเก็บรักษา และบริหารจัดการเงินของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ้ หนา 44 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมี ส่วนร่วมในการปฏิบัติงานด้านการเงินของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุน พัฒนาไฟฟ้า 9) สนั บสนุนข้อมูล และให้ความเห็นข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการเงินของสำนักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 10) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 19 ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ ( ก) จัดทำยุทธศาสตร์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล แผนพัฒนาศักยภาพ บุคลากรประจำปี แผนการบริหารเส้นทางเดินสายอาชีพของบุคลากร และแผนสืบทอดตาแหน่ง (ข) ดาเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน และการวางแผนอัตรำกำลัง (ค) ดาเนินการคัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (ง) ดาเนินการสรรหา คัดเลือก บรรจุแต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนตาแหน่ง เลื่อนขั้นเงินเดือน และการลาออก เลิกจ้าง ยุบตาแหน่ง รวมถึงการจ้ำงเจ้าหน้าที่ตามระเบียบอื่น ๆ (จ) ดำเนินการจ่ายเงินเดือน ภาษี ประกันสังคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชน์อื่น ๆ ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน พนักงานและลูกจ้าง (ฉ) พัฒนาสมรรถนะบุคลากรตามแผนพัฒนาศั กยภาพบุคลากรประจาปี และแผนบริหาร จัดการองค์ความรู้ด้านการกำกับกิจการพลังงาน (ช) ประเมินผลการปฏิบัติงานประจาปีรายบุคคลของเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน พนักงานและลูกจ้าง (ซ) ดาเนินการเกี่ยวกับวินัย การสอบสวนและการลงโทษของพนักงานและลูกจ้าง (ฌ) ดาเนินการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ญ) ดาเนินการเกี่ยวกับการการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (ฎ) ดาเนินการเกี่ยวกับการมาตรฐานทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กาหน ด ในพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม (ฏ) ดาเนินการเกี่ยวกับการเสริมสร้างความผูกพันองค์กร รวมทั้งจัดกิจกรรมสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริม รักษา ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรภายในองค์กรและความผูกพันต่อองค์กร (ฐ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ้ หนา 45 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(2) งานในสัง กัด (ก) ส่วนบริหารงานบุคคล มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ และพัฒนา ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ และคำสั่งเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล 2) วิเคราะห์และจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3) วิเคราะห์และจัดทาข้อเสนอการปรับปรุงโค รงสร้างการบริหารงานของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และการวางแผนอัตรากาลังที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหาร ผลตอบแทนและสวัสดิการของพนักงานและลูกจ้างสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 4) ดำเนินการคัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และ เลขำธิการสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) ดาเนินการการสรรหา คัดเลือก บรรจุแต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนตาแหน่ง เลื่อนขั้น เงินเดือน และการลาออก เลิกจ้าง ยุบตาแหน่ง รวมถึงการจ้างเจ้าหน้าที่ตามระเบียบอื่น ๆ 6) ดำเนินการจ่ายเงินเดือน ภาษี ประกันสั งคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลประโยชน์อื่น ๆ ของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน พนักงาน และลูกจ้าง 7) ประเมินผลการปฏิบัติงานประจาปีรายบุคคลของเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน พนักงานและลูกจ้ำง 8) ดาเนินการเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 9) ดาเนินการเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัย การสอบสวนและการลงโทษทางวินัย 10) ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลแก่ฝ่ายงานต่าง ๆ 11) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนพัฒนาบุคลากร มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) วิเคราะห์ พัฒนาระบบ และพัฒนาระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ คำสั่งเกี่ยวกับ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2) ศึกษา วิเคราะห์ และกาหนดสมรรถนะบุคลากร เพื่อจัดทาแผนการบริหาร เส้นทางเดินสายอาชีพของบุคลากร และแ ผนสืบทอดตาแหน่ง 3) วิเคราะห์ และจัดทาแผนพัฒนารายบุคคล และแผนพัฒนาบุคลากรประจาปี ของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 4) พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจาปี รวมทั้งแผนบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านการกำกับกิจการพลังงาน ้ หนา 46 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
พัฒนาหลักสูตร จัดฝึกอบรม และประเมินผลการฝึกอบรมตามเกณฑ์การประกัน คุณภาพการฝึกอบรม รวมทั้งจัดทารายงานผลและข้อเสนอแนะการพัฒนาการฝึกอบรมของสานักงาน คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 6) ดาเนินการเกี่ยวกับการให้ทุนการศึกษาและการลาศึกษาแก่พนักงานของสำนักงาน คณะกรรม การกำกับกิจการพลังงาน 7) สำรวจและวางแผนการสร้างความผูกพันองค์กร รวมทั้งจัดกิจกรรมสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริม รักษา ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรภายในองค์กรและความผูกพันต่อองค์กร 8) สื่อสารเกี่ยวกับงานนโยบายการกากับองค์การที่ดี ( Corporate Good Gove rnance ) 9) ดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและความโปร่งใสในการ ดาเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานและการจัดทำแผนป้องกันความเสี่ยงการทุจริต 10) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 20 ฝ่ายอำนวยการคณะกรรมการ มีอำนาจหน้าที่และ งานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ดาเนินการเกี่ยวกับการประชุมของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (ข) ดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานร่วมกับ หน่วยงานภายนอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ค) ดาเนินการเกี่ยวกับการเดินทางไปปฏิบั ติงานของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ง) ติดตามและจัดทารายงานการดาเนินงานตามมติคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน รวมทั้งสรุปรายงานการประชุม คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เพื่อใช้เผยแพ ร่ในรายงานประจำปี และช่องทางอื่น (จ) ปฏิบัติงานเลขานุการของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และผู้บริหารสำนักงาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน รวมทั้งบริหารจัดการเพื่ออำนวยการการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานและผู้บริหารสานักงานคณะกรรมการกำกับ กิจการพลังงานให้เป็นไป ด้วยความเรียบร้อย (ฉ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนการประชุมคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระเบียบ และคู่มือเกี่ยวกับงานประชุมของคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน 2) ประสาน และจัดเตรียมวาระการประชุม และจัดทำรายงานการประชุม คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน รวมทั้งอำนวยการการประชุมของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ้ หนา 47 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ประสาน ติดตาม และรายงานผลการดาเนินงานของมติคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน 4) จัดทา สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานเพื่อเผยแพร่ ในรายงานประจำปี หรือช่องทางอื่น 5) สนับสนุนและอานวยความสะดวกด้านเอกสารการประชุมให้กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนอำนวยการและเลขานุการ มีอำ นาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ประสานงาน และอำนวยการการประชุมร่วมกับหน่วยงานภายนอกทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 2) ประสานงาน และอานวยการการเดินทางไปปฏิบัติงานของคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงานและผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ 3) ประสาน และจัดทาเอกสารประกอบการประชุม และเอกสารประกอบการ เดินทางไปปฏิบัติงานของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน รวมทั้งจัดทำรายงานการประชุม และรายงานการเดินทางทั้งในประเทศและต่างประเทศ 4) ปฏิบัติงานเลขานุการของคณะกรรมการกากับกิ จการพลังงาน และผู้บริหาร สำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 5) ประสาน และบริหารจัดการเพื่ออานวยการการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน และผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย 6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไ ด้รับมอบหมาย ข้อ 21 ฝ่ายตรวจสอบภายใน มีอำนาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) ตรวจสอบด้านบัญชี การเงิน การบริหารงบประมาณ การพัสดุ ระบบงานเทคโนโลยี สารสนเทศ และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมน ตรี ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน รวมทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายใน การกำกับดูแลที่ดีและการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (ข) ประสานงานกับผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับแผนงานและขอบเขต การตรวจสอบภายใน ที่เป็นประโยชน์ร่วมกันของสำนักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ้ หนา 48 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ค) พัฒนาผู้ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความสามารถในการปฏิบัติงาน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ง) ประเมินและพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบภายใน (จ) ปฏิบัติงานในหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ (ฉ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนตรวจสอบภายใน 1 มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และจรรยาบรรณ การตรวจสอบภายใน รวมทั้งจัดทำกฎบัตรกา รตรวจสอบภายใน 2) วิเคราะห์ และวางแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 - 5 ปี และแผนการตรวจสอบ ประจาปี ด้านบัญชี การเงิน การบริหารงบประมาณ การพัสดุ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ คำสั่ ง ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 3) ตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านบัญชี การเงิน การบริหารงบประมาณ การพัสดุ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติค ณะรัฐมนตรี ประกาศ คาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 4) ตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายในการกำกับ ดูแลที่ดี และการบริหารความเสี่ยงของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน แล ะกองทุน พัฒนาไฟฟ้า 5) ตรวจสอบรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โอกาสลดการทุจริต ประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยงจากการทุจริตภายในองค์กร 6) จัดทำรายงานผลการตรวจสอบภายใน รวมทั้งข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงแก้ไข 7) ติดตามผลการปฏิบัติงานของสานักงานคณะก รรมการกากับกิจการพลังงาน และ กองทุนพัฒนาไฟฟ้าตามรายงานผลการตรวจสอบ 8) ให้คาปรึกษาและคาแนะนาในการปฏิบัติงานของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 9) จัดจ้างหน่วยงานภายนอกตรวจสอบการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และสอบทานรายงานผลการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายในของกองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ 10) ประเมินและพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบภายใน 11) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภายในตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน หรือคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการตรวจสอบพิเศษ ้ หนา 49 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ประสานงานกับผู้สอบบัญชีเพื่อให้เข้าใจแผนงานและกำหนดขอบเขต การตรวจสอบภายในที่เป็นประโยชน์ร่วมกันขององค์กร 13) พัฒนาอบรมความรู้ ทักษะและความสามารถของผู้ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง 14) ปฏิบัติงานสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 15) ปฏิบัติงำนอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนตรวจสอบภายใน 2 มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และจรรยาบรรณ การตรวจสอบภายใน รวมทั้งจัดทำกฎบัตรการตรวจสอบภายใน 2) วิเคราะห์ และวางแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 - 5 ปี และแผนกา รตรวจสอบ ประจาปี ด้านบัญชี การเงิน การบริหารงบประมาณ การพัสดุ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ คำสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน และก องทุนพัฒนาไฟฟ้า 3) ตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านบัญชี การเงิน การบริหารงบประมาณ การพัสดุ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 4) ตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายใน การกำกับดูแลที่ดี และการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟ ฟ้า 5) ตรวจสอบรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โอกาสลดการทุจริต ประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยงจากการทุจริตภายในองค์กร 6) จัดทำรายงานผลการตรวจสอบภายใน รวมทั้งข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงแก้ไข 7) ติดตามผลการปฏิบัติงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิ จการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้าตามรายงานผลการตรวจสอบ 8) ให้คาปรึกษาและคาแนะนาในการปฏิบัติงานของสานักงานคณะกรรมการกากับ กิจการพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 9) จัดจ้างหน่วยงานภายนอกตรวจสอบการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และสอบทานรายงานผลการตรวจสอบของผู้ ตรวจสอบภายในของกองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ 10) ประเมินและพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบภายใน 11) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภายในตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน หรือคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการตรวจสอบพิเศษ ้ หนา 50 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
-
ประสานงาน กับผู้สอบบัญชีเพื่อให้เข้าใจแผนงานและกาหนดขอบเขตการตรวจสอบ ภายในที่เป็นประโยชน์ร่วมกันขององค์กร 13) พัฒนาอบรมความรู้ ทักษะและความสามารถของผู้ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง 14) ปฏิบัติงานสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 15) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้ รับมอบหมาย ข้อ 22 ฝ่ายนวัตกรรมและพัฒนาการกากับกิจการพลังงาน มีอานาจหน้าที่และงานในสังกัด ดังต่อไปนี้ (1) อำนาจหน้าที่ (ก) กากับดูแลการดาเนินการส่งเสริมการเปิดเสรีและการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการ พลังงานให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ (ข) จัดทำแผนบูรณาการ ( Integrated Resource Planning ) รวมทั้งบทวิเคราะห์ ด้านการกำกับกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ค) ศึกษาวิจัยและวิเคราะห์อุตสาหกรรมพลังงาน แนวโน้มการประกอบกิจการพลังงาน ในรูปแบบใหม่ และจัดทาข้อสังเกต รวมถึงข้ อเสนอแนะต่อแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงาน และการกากับกิจการพลังงาน (ง) ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ และพัฒนา นวัตกรรมและมาตรการเพื่อการกำกับดูแล และส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงาน รวมถึงการจัดทำหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง (จ) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผ ลกระทบต่อผู้รับใบอนุญาตและผู้ใช้พลังงานจากการใช้ มาตรการเพื่อการกำกับดูแลและส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงาน (ฉ) ศึกษาทบทวนการกำกับดูแลที่ใช้งานในปัจจุบันโดยปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายงาน ที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาแนวทาง และหลักปฏิบัติตลอดจนรายงานการติดตามและกากั บดูแลการแข่งขัน ในการให้บริการพลังงาน (ช) ส่งเสริมให้เกิดการใช้นวัตกรรมด้านพลังงาน โดยการดำเนินโครงการทดสอบ นวัตกรรมที่นาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงานในรูปแบบใหม่ ( ERC Sandbox : Energy Regulatory Commission Sandbox ) และติดตามการดาเนินงานพร้อมนาข้อมูลผลลัพธ์ มาพัฒนาปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ซ) จัดทาความเห็นต่อนโยบายและแนวทางการส่งเสริมการแข่งขัน ตลอดจนจัดทา ความเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและการประกอบกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ฌ) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ในการกำหนดหลักเกณฑ์และในการพิจารณาป้องกันการกระทำใด ๆ อันเป็นการผูกขาด ลดการแข่งขัน หรือจำกัดการแข่งขันในการให้บริการพลังงาน ้ หนา 51 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
(ญ) จัดทาข้อสังเกต ข้อเสนอแนะในการพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลพลังงาน และระบบรายงานข้อมูลพลังงาน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลพลังงานและพัฒนาการกากับที่เหมาะสม (ฎ) ศึกษาทบทวน จัดทาคู่มือ และข้อเสนอหรือมาตรการการกากับกิจการพลังงาน รูปแบบใหม่ และ/หรือเอกสารทางวิชาการ (ฏ) สนับสนุนการสื่อสารและถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการกากับดูแลและการส่งเสริม การแ ข่งขันให้ผู้เกี่ยวข้องได้มีความรู้เข้าใจ (ฐ) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (2) งานในสังกัด (ก) ส่วนพัฒนาการกำกับกิจการพลังงานและส่งเสริมการแข่งขัน มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) กำกับดูแลการเปิดเสรีและการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงานให้มี ประสิ ทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ 2) จัดทาความเห็นต่อนโยบายและแนวทางการส่งเสริมการแข่งขัน ตลอดจนจัดทา ความเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและการประกอบกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 3) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานในการ กำ หนดหลักเกณฑ์และในการพิจารณาป้องกันการกระทาใด ๆ อันเป็นการผูกขาด ลดการแข่งขัน หรือ จำกัดการแข่งขันในการให้บริการพลังงาน 4) ส่งเสริมให้เกิดการใช้นวัตกรรมด้านพลังงาน โดยการดาเนินโครงการทดสอบ นวัตกรรมที่นาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงานในรูปแบบ ใหม่ ( ERC Sandbox : Energy Regulatory Commission Sandbox ) และติดตามการดาเนินงานพร้อมนาข้อมูลผลลัพธ์ มาพัฒนาปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 5) ศึกษาทบทวนการกากับดูแลที่ใช้งานในปัจจุบันโดยปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายงาน ที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาแนวทาง และหลั กปฏิบัติตลอดจนรายงานการติดตามและกากับดูแลการแข่งขัน ในการให้บริการพลังงาน 6) จัดทำคู่มือการกำกับกิจการพลังงาน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 7) สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและมาตรการเพื่อการกากับดูแล และส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงาน รวมถึงการจัด ทำหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 8) สนับสนุนการสื่อสารและถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการกำกับดูแลและ การส่งเสริมการแข่งขันให้ผู้เกี่ยวข้องได้มีความรู้เข้าใจ 9) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (ข) ส่วนนวัตกรรมและศึกษาวิจัย มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 52 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565
- ศึกษาวิจัยและวิเคราะห์อุตสาหกรรมพลังงาน แนวโน้มการประกอบกิจการ พลังงานในรูปแบบใหม่ และจัดทาข้อสังเกต รวมถึงข้อเสนอแนะต่อแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม พลังงานและการกากับกิจการพลังงาน 2) ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ และพัฒนา นวัตกรรมและมาตรการเพื่อการกากับดู แล และส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงาน รวมถึงการจัดทำหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 3) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลกระทบต่อผู้รับใบอนุญาตและผู้ใช้พลังงานจาก การใช้มาตรการเพื่อการกำกับดูแลและส่งเสริมการแข่งขันในกิจการพลังงาน 4) จัดทาแผนบูรณาการ ( Integrated Resource Planning ) รวมทั้งบทวิเคราะห์ ด้านการกำกับกิจการพลังงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง 5) จัดทาข้อสังเกต ข้อเสนอแนะในการพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลพลังงาน และระบบรายงานข้อมูลพลังงาน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลพลังงานและพัฒนาการกากับที่เหมาะส ม 6) ศึกษาทบทวน และจัดทาข้อเสนอหรือมาตรการการกากับกิจการพลังงานรูปแบบใหม่ และ/หรือเอกสารทางวิชาการ 7) จัดทำข้อเสนอเกี่ยวกับทิศทางการวิจัยและพัฒนาสำหรับโครงการทดสอบ นวัตกรรมที่นาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงานในรูปแบบใหม่ ( ERC Sandbox : Energy Regulatory Commission Sandbox ) รวมถึงการวิจัยด้วยงบประมาณของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 8) สนับสนุนการดำเนินโครงการทดสอบนวัตกรรมที่นำเทคโนโลยีมาสนับสนุน การให้บริการด้านพลังงานในรูปแบบใหม่ ( ERC Sandbox : Energy Regulatory Commission Sandbox ) 9) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 23 สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ตั้งอยู่ที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 19 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2207 3599 โทรสาร 0 2207 3506 หรือทางระบบเครือข่าย สารสนเทศที่ www . erc . or . th ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 25 6 5 คมกฤช ตันตระวาณิชย์ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ้ หนา 53 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 237 ง ราชกิจจานุเบกษา 5 ตุลาคม 2565