ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้ง เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรก้าหนดการด้าเนินการอันได้มาซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนของผลการตรวจวัด ค่าบีโอดีและค่าซีโอดีที่วัดได้จากเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ เพิ่มเติมตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมี ระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550 เมื่อเทียบกับค่าที่วิเคราะห์ได้จากห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ผลการตรวจวัดดังกล่าวถูกต้อง และเป็นมาตรฐา นที่เชื่อถือได้ รวมทั้งสมควรก้าหนดรายละเอียดการก้ากับดูแล การส่งสัญญาณจาก เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติมให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเค รื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อาศัยอ้านาจตามความในข้อ 2 ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงาน ที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษแล ะเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ เพิ่มเติม พ.ศ. 2547 ซึ่งแก้ไขเพิ่มโดยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมี ระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 และ ข้อ 3 ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงาน ที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ เพิ่มเติม พ.ศ. 2547 กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 4.3 ของประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่อง อุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550 “ ข้อ 4.3 ค่าความคลาดเค ลื่อนของเครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีและเครื่องตรวจวัดค่าซีโอดี ตามข้อ 4.2 ต้องเป็นค่าความคลาดเคลื่อนที่เป็นผลจากการด้าเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังต่อไปนี้ เท่านั้น 4 .3. 1 มีการเก็บตัวอย่างน้้าโดยใช้วิธีการแบบจ้วง ( Grab sample ) ในบริเวณ เดียวกับหัววัด ( Probe ) หรือบริเวณจุดชักตัวอย่างน้้าของอุปกรณ์ตรวจวัดของเครื่องวัดค่าบีโอดีหรือ เครื่องวัดค่าซีโอดีที่ติดตั้งอยู่ หรือบริเวณที่ใกล้กับหัววัด ( Probe ) หรืออุปกรณ์ตรวจวัดมากที่สุด ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
พร้อมบันทึกข้อมูลของจุดเก็บตัวอย่าง วัน เวลาที่เก็บตัวอย่าง และค่าบีโอดีหรือค่าซีโอดีที่อ่านได้จาก เครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีและหรือเครื่องตรวจวัดค่าซีโอดีทุกครั้งที่เก็บตัวอย่าง โดยการด้าเนินการตามข้อนี้ ให้มีการบันทึกภาพไว้ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ 4 .3. 2 ตัวอย่างน้้าที่ได้ตาม 4.3.1 ต้องน้าไปวิเคราะห์ค่าบีโอดี และหรือค่าซีโอดี ในห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของหน่วยงานราชการหรือห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชนที่ขึ้นทะเบียนกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยการวิเคราะห์ให้ด้าเนินการตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้้าทิ้งจากโรงงาน พ.ศ. 2560 และที่แก้ ไขเพิ่มเติมถ้ามี ทั้งนี้วิธีการวิเคราะค่าบีโอดีและหรือค่าซีโอดีต้องสอดคล้องกับค่าที่วิเคราะห์ได้ 4 .3. 3 การค้านวณค่าความคลาดเคลื่อนให้ค้านวณโดยใช้สูตร ดังนี้ E = M - T โดย E = ค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีหรือเครื่องตรวจวัด ค่า ซีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) M = ผลการตรวจวัดค่าบีโอดีหรือค่าซีโอดีที่ได้จากเครื่องมือหรือ เครื่องอุปกรณ์พิเศษขณะเก็บตัวอย่างน้้า (มิลลิกรัมต่อลิตร) T = ผลการตรวจวัดค่าบีโอดีหรือค่าซีโอดีที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 4.3.4 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องรายงานค่าความคลาดเคลื่อนให้กรมโรงงาน อุตสาหกรรมทราบตามวิธีการและระยะเวลา ดังต่อไปนี้ ( 1 ) ให้รายงานค่าความคลาดเคลื่อนอย่างน้อยสองครั้งต่อปี โดยครั้งแรก ให้รายงานภายในเดือนมิถุนายน และครั้งที่สองให้รายงานภายในเดือนธันวาคม หรือทุก ครั้งที่มีการ ตรวจสอบค่าความคลาดเคลื่อน ( 2 ) การรายงานตาม (1) ให้รายงานภายในสามสิบวันนับจากวันที่เก็บ ตัวอย่าง ส้าหรับค่าบีโอดีให้บันทึกผลและรายงานค่าความคลาดเคลื่อนเป็นทศนิยม 1 ต้าแหน่ง ส้าหรับค่าซีโอดีให้บันทึกผลและรายงานค่าความคลาดเคลื่อนเป็นจ้านวนเต็ม 4.3.5 การรายงานตาม 4.3.4 ให้ใช้แบบรายงานท้ายประกาศนี้ 4.3.6 การรายงานตาม 4.3.4 และ 4.3.5 ให้ส่งรายงานผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ 4.3.7 ข้อมูล ข้อเท็จจริง เอกสาร ที่ใช้ในการด้าเนินการตาม 4.3.1 ถึง 4.3.6 ต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ” ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 ของประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ และเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2 550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ ข้อ 6 การส่งสัญญาณอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาตามข้อ 3 ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและ เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 254 7 ต้องเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดจาก เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติมตามเวลาจริง ( Real Time ) อย่างต่อเนื่องเป็นหลัก กรณีที่บางเวลาไม่สามารถส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาตาม วรรคหนึ่งได้ แต่สามารถส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในแต่ละวัน ให้ถือว่าเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดตามวรรคหนึ่ง กรณีที่มีเหตุขัดข้องท้าให้ไม่สามารถส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดตามวรรคหนึ่งหรือ วรรคสองได้ แล้วแต่กรณี ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องด้าเนินการให้มีการแจ้งสาเหตุหรือปัญหาให้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ทันทีภายในวันเกิดเหตุขัดข้องหรือภายในวันถัดไป โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ และผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องด้าเนินการจัดให้มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ สามารถก ลับมาส่งสัญญาณข้อมูลผลการตรวจวัดตามวรรคหนึ่งได้ภายในเจ็ดวันนับแต่วันเกิดเหตุขัดข้อง ” ข้อ 3 ให้เพิ่มความดังต่อไปนี้เป็นข้อ 7 ของประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่อง อุปกรณ์พิเศษ และเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550 “ ข้อ 7 กรณีที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่น้าข้อเท็จจริง ดังกล่าวไปพิจารณาเพื่อด้าเนินการตามมาตรา 37 หรือมาตรา 39 วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี ” ข้อ 4 ประ กาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 5 โรงงานที่ได้ด้าเนินการส่งสัญญาณตามข้อ 3 ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก้าหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบ้าบัดน้้าเสียต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2547 ไปแล้วก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ด้าเนินการตาม ประกาศนี้ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ประกาศ ณ วันที่ 1 5 สิงหาคม พ.ศ. 256 5 วันชัย พนมชัย อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ้ หนา 28 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
แบบรายงานผลการตรวจสอบความคลาดเคลื่ อน ของเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ และเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม ครั้งที่…/ปี… ชื่อบริษัท : เลขทะเบียน โรงงาน : ประกอบกิจการ : สถานที่ตั้ง : ปริมาณการระบายน้ําทิ้งขณะเก็บตัวอย่าง : ลบ.ม . / ชั่วโมง ผู้เก็บตัวอย่าง : ทะเบียนเจ้าหน้าที่ : หน่วยงาน/ชื่อห้องปฏิบัติการ : ทะเบียนห้องปฏิบัติการ : เลขที่ใบรายงานผลวิเคราะห์ : วิธีวิเคราะห์ทดสอบ ใน ห้องปฏิบัติการ : รายละเอียดของเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ ฯ : ยี่ห้อ (Brand ) : รุ่ น (Model ) : หมายเลขเครื่อง ( Serial No. ) : รายการที่ ตรวจสอบค่าความคลาดเคลื่อน : บีโอดี ซีโอดี วันที่ เก็บตัวอย่าง เวลา ที่เก็บตัวอย่าง ค่าที่ เครื่องมือ ตรวจวัดได้ (มก./ลิตร) (M) ค่าที่ ห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ได้ (มก./ลิตร) (T) ค่าความ คลาดเคลื่อน (มก./ลิตร) (E) ค่าความ คลาดเคลื่อน ตามประกาศฯ (มก./ลิตร) หมายเหตุ 1. คํานวณค่าความคลาดเคลื่อน โดยใช้สูตร E = M – T โดย E = ค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีหรือเครื่องตรวจวัดค่าซีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) M = ผ ลการตรวจวัดค่าบีโอดีหรือซีโอดีที่ได้จากเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษขณะเก็บตัวอย่างน้ํา (มิลลิกรัมต่อลิตร) T = ผลการตรวจวัดค่าบีโอดีหรือซีโอดีที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 2. ในกรณีที่ผลตรวจวัดค่าบีโอดีหรือซีโอดีน้อยกว่าขีดจํากัดในการ วิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการให้ ใช้ค่าจริงที่วิเคราะห์ได้ในการคํานวณ 3. การปัดเศษ ให้เป็นไปตาม มอก.929 - 25 3 3 ผู้รายงานผลการทดสอบ … (…) ตําแหน่ง… … … … … ลงวันที่ … / … … … / …