ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง การซ่อมบำรุงระบบท่อน้ำมันและอุปกรณ์ โดยวิธีการทดสอบและตรวจสอบอื่น พ.ศ. 2565
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง การซ่อมบำรุงระบบท่อน้ำมันและอุปกรณ์ โดยวิธีการทดสอบและตรวจสอบอื่น พ.ศ. 2565
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง การซ่อมบ้ารุงระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ โดยวิธีการทดสอบและตรวจสอบอื่น พ.ศ. 2565 ด้วยกฎกระทรวงการซ่อมบ้ารุงถังเก็บน ้ามันและถังขนส่งน ้ามัน พ.ศ. 2560 ข้อ 22 และข้อ 36 (3) ก้าหนดวิธีการทดสอบและตรวจสอบเพื่อการซ่อมบ้ารุงระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ครบวาระ ซึ่งเป็นวิธีการที่ต้องท้าการหยุดการใช้งานทั งระบบ และเนื่องจากมีสถานประกอบการบางแห่งที่ไม่สามารถ หยุดการท้างานทังระบบได้ ท้าให้ไม่สามารถท้าการทดสอบและตรวจสอบตามกฎกระทรวงนีได้ ดังนัน เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายและผู้ประกอบกิจการควบคุมมีทางเลือกในการซ่อมบ้ารุงระบบ ท่อน ้ามันและอุปกรณ์ได้อีกวิธีการหนึ่ ง เห็นควรให้ก้าหนดวิธีการทดสอบและตรวจสอบระบบท่อน ้ามันและ อุปกรณ์ โดยวิธีการอื่นที่ไม่ต้องหยุดการใช้งานทั งระบบ ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน API 570 Piping Inspection Code : In - service Inspection, Rating, Repair, and Alteration of Piping Systems อาศัยอ้านาจตามความในข้อ 8 แห่งกฎกระทรวงการซ่อมบ้ารุงถังเก็บน ้ามันและถังขนส่งน ้ามัน พ.ศ. 2560 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมน ้ามันเชือเพลิง พ.ศ. 2542 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ประกาศนี ให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 2 ประกาศนี ให้ใช้บังคับกับการประกอบกิจการควบคุม คลังน ้ามัน สถานที่เก็บรักษาน ้ามัน และสถานีบริการน ้ามันประเภท ฉ ตังแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 3 ให้ผู้ประกอบกิจการควบคุมที่จะจัดให้มีการทดสอบและตรวจสอบตามประกาศนี ต้องแจ้งเป็นหนังสือที่มีรายละเอียดของแผนปฏิบัติงานที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับขันตอนการปฏิบัติงาน การชีบ่งและวิเคราะห์อันตราย มาตรการป้องกันอันตราย ระบบการตรวจสอบความปลอดภัย จัดส่งให้ ผู้ รับแจ้งหรือผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าก่อนที่จะจัดให้มีการทดสอบและตรวจสอบไม่น้อยกว่าสิบห้าวันท้าการ พร้อมทังให้ก้าหนดจ้านวนท่อและเส้นทางแนวท่อที่จะท้า การทดสอบและตรวจสอบ อ้างอิงตามแบบหรือ แผนผังระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ ข้อ 4 การทดสอบและตรวจสอบตามประกาศนี ผู้ประกอ บกิจการควบคุมต้องด้าเนินการ ซ่อมบ้ารุงระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ ตามระยะเวลาดังต่อไปนี (1) ตรวจพินิจภายนอก ทุก 5 ปี (2) ตรวจสอบความแข็งแรงของท่อน ้ามัน ทุก 5 ปี เว้นแต่ท่อน ้ามันที่มีระบบป้องกันการ สึกกร่อน ด้วยไฟฟ้า ให้ตรวจสอบความแข็งแรงของท่อน ้ามันทุก 10 ปี (3) วัดค่าการป้องกันการสึกกร่อนของท่อและอุปกรณ์ ทุก 1 ปี ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
(4) ตรวจมาตรฐานการท้างานของอุปกรณ์ ทุก 5 ปี (5) ตรวจการแตกร้าว หรือการรั่วซึมของท่ออ่อน ( Flexible hose และ Flexible Joint ) ทุก 5 ปี ข้อ 5 การทดสอบและตรวจสอบตามหมวด 2 การทดสอบและตรวจสอบระบบท่อน ้ามันและ อุปกรณ์ หากพบความเสี่ยงต่อความมั่นคงแข็งแรงของระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ ให้ด้า เนินการทดสอบ และตรวจสอบทั งภายในและภายนอกตามที่มาตรฐานก้าหนด หมวด 2 การทดสอบและตรวจสอบระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ ส่วนที่ 1 ท่อน ้ามันเหนือพืนดิน ข้อ 6 การทดสอบและตรวจสอบท่อน ้ามันเหนือพืนดิน ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี (1) ตรวจพินิจภายนอกให้ตรวจสอบ ดังนี (ก) การรั่วซึม (ข) การเยื องศูนย์ของท่อและข้อต่อ (ค) การสั่นสะเทือน (ง) สภาพของฐานรองรับท่อน ้ามัน (จ) สภาพของสีที่ทาภายนอกหรือฉนวนที่ห่อหุ้ม (2) ตรวจวัดความหนาของผนังท่อและส่วนประกอบของท่อให้ตรวจสอบอย่างน้อย ดังนี (ก) บริเวณต่้า สุดของท่อ หรือบริเวณที่อาจมีน ้าขัง หรือบริเวณที่อาจมีตะกอนของแข็งสะสม (ข) ด้านล่างของท่อ ชิ นส่วนข้อต่อ ข้องอ ข้อลดหรื อขยาย ที่อยู่ในแนวนอน (ค) ท่อตรง ทุกระยะ 300 เมตร ให้ตรวจวัดความหนาอย่างน้อย 1 จุด (ง) ข้อต่อสามทาง ข้องอ ข้อลด ต้องตรวจวัดความหนาอย่างน้อยตามมาตรฐาน API 570 หรือร้อยละ 25 ของส่วนประกอบของท่อ (จ) อุปกรณ์ส่วนควบ เช่น ลิ นปิดเปิด อุปกรณ์นิรภัย อุปกรณ์มาตรวัด ข้อต่อ ข้อต่ออ่อน เป็นต้น หรือชิ นงานที่มีค่าความหนาน้อยที่สุด โดยน้ามาเทียบกับค่ามาตรฐานเริ่มต้นการติดตังส่วนการใช้งาน หรือจากประวัติความหนา ส่วนที่ 2 ท่อน ้ามันใต้พืนดิน ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ข้อ 7 การทดสอบและตรวจสอบท่อน ้ามันใต้พืนดินที่ไม่มีระบบป้องกันการสึกกร่อนด้วยไฟฟ้า ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี (1) ตรวจพินิจพืนที่แนวท่อน ้ามัน ( Above - Grade Visual Surveillance ) โดยตรวจสอบ การรั่วไหลของน ้ามันจากสภาพพืนดินตามแนวท่อน ้ามันว่า ไม่มีคราบน ้ามัน พืนดินไม่มีการเปลี่ยนสี ไม่มีกลิ่นน ้ามัน พืนดินไม่มีสภาพเป็นหลุมหรือบ่อน ้าและต้องไม่มีฟองอากาศผุดขึ นมา ให้ตรวจสอบสภาพ ท่อน ้ามันที่ขึ นมาเหนือพืนดิน ภายในระยะ 6 นิ ว (150 มม.) ว่าไม่มีการรั่วซึม และหากพบการรั่วไหล ของน ้ามัน ให้ด้า เนินการขุดเปิ ดพืนดินเพื่อค้นหาจุดรั่วซึมของท่อน ้ามัน (2) ตรวจสอบความแข็งแรงของท่อน ้ามัน ด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี (ก) การตรวจสอบจากภายในท่อ ( Inline inspection ) โดยท้าการตรวจวัดความหนา และค่าความบกพร่องของท่อ (ข) สุ่มขุดเปิดหน้าดิน โดยสุ่มขุดเปิดหน้าดินโดยรอบท่อน ้ามัน มีความยาวไม่น้อยกว่า 2 เมตร ในจุดที่มีความเสี่ยงต่อความมั่นคงแข็งแรงอย่างน้อย 1 จุด แล้วให้ตรวจพินิจและวัดความหนา ของผนังท่อ (ค) ทดสอบการรั่วซึม โดยใช้ผลิตภัณฑ์ในท่อเป็นตัวกลางในการทดสอบที่ความดัน อย่างน้อย 1.1 เท่าของความดันใช้งานสูงสุด และรักษาความดันไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง (ง) วิธีการทดสอบอื่นตามที่มาตรฐาน API 570 ก้าหนด ข้อ 8 การทดสอบท่อน ้ามันใต้พืนดินที่มีระบบป้องกันการสึกกร่อนด้วยไฟฟ้า ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี (1) ตรวจพินิจพืนที่แนวท่อน ้ามันให้ด้าเนินการตามข้อ 7 (1) (2) ตรวจสอบความแข็งแรงของท่อน ้ามันให้ด้าเนินการตามข้อ 7 (2) (3) ตรวจสอบระบบป้องกันการสึกกร่อนด้วยไฟฟ้าโดยตรว จวัดค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้า ตามจุดที่มีการติดตังอุปกรณ์ป้องกัน ในกรณีที่จ้าเป็นต้องท้าการตรวจสอบความผิดปกติของวัสดุเคลือบผิวท่อด้วยวิธี Direct Current Voltage Gradient ( DCVG ) ให้กระท้าภายใต้ค้าแนะน้าของผู้ทดสอบที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน NACE ส่วนที่ 3 ท่อน ้ามันใต้ทะเล ข้อ 9 การทดสอบและตรวจสอบท่อน ้ามันใต้ทะเล ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี (1) ตรวจสอบระบบป้องกันการสึกกร่อนด้วยไฟฟ้าโดยตรวจวัดค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้า ตามจุดที่มีการติดตังอุปกรณ์ป้องกัน (2) ตรวจสอบความแข็งแรงของท่อน ้ามันให้ด้าเนินการตามข้อ 7 (2) (ก) (ค) หรือ (ง) (3) ตรวจพินิจแนวท่อ และสภาพภายนอก ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ส่วนที่ 4 อุปกรณ์ของระบบท่อน ้ามัน ข้อ 10 การทดสอบอุปกรณ์ของระบบท่อน ้ามัน ให้ตรวจพินิจภายนอก และต้องตรวจสอบ การท้างานของอุปกรณ์ให้เป็นไปตามค่ามาตรฐานและรอบระยะเวลาที่ก้าหนดของอุปกรณ์แต่ละชนิด อย่างน้อย ดังนี (1) ลิ นปิดเปิด (2) อุปกรณ์นิรภัย (3) อุปกรณ์มาตรวัด (4) อุปกรณ์ควบคุม หมวด 3 เกณฑ์การพิจารณาเพื่อการซ่อมแซม ข้อ 11 การค้านวณและพิจารณาค่าความหนาของผนังท่อน ้ามัน ( Retirement Thickness ) อายุการใช้งานของผนังท่อคงเหลือ ( Remaining Life Calculations ) ค่าความดันใช้งานสูงสุด ( Maximum Allowable Working Pressure ( MAWP )) ให้เป็นไปตามมาตรฐาน API 570 ก้าหนด หากผลการพิจารณาตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาที่ยอมรับได้หรือไม่สามารถ ใช้งานได้จนถึงรอบระยะเวลาการตรวจสอบครังต่อไป ให้ปรับลดระยะเวลาการตรวจสอบหรือปรับลด ค่าความดันใช้งานไม่ให้เกินค่าความดันใช้งานสูงสุด หรือให้ด้าเนินการซ่อมแซมก่อนจึงจะใช้งานต่ อไปได้ และให้แจ้งการด้าเนินการดังกล่าวเป็นหนังสือให้กรมธุรกิจพลังงานทราบ ข้อ 12 การพิจารณาค่าความต่างศักย์ทางไฟฟ้าของระบบท่อน ้ามันที่มีระบบป้องกันการสึกกร่อน ด้วยไฟฟ้า ให้เป็นไปตามมาตรฐาน NACE SP 0169 ก้าหนด และต้องกระท้าโดยผู้ทดสอบที่ได้รับการ รับรองตามมาตรฐาน NACE หากผลการพิจารณาตามวรรคหนึ่งไม่เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาที่ยอมรับได้ ให้ด้าเนินการซ่อมแซม ข้อ 13 การพิจารณาค่าระดับแรงดันทางไฟฟ้าในการตรวจสอบความผิดปกติของวัสดุเคลือบผิว ท่อโดยวิธี Direct Current Voltage Gradient ( DCVG ) หากพบค่ำการตรวจสอบไม่เป็นไปตามมาตรฐาน NACE SP 0502 ให้ด้าเนินการซ่อมแซมวัสดุเคลือบผิวท่อ หมวด 4 การซ่อมแซม ข้อ 14 เมื่อปรากฏว่าระบบท่อน ้ามันหรืออุปกรณ์เกิดการช้ารุด รั่วซึม สึกกร่อนหรือมีค่า ไม่เป็นไปตามที่มาตรฐานก้าหนด ต้องด้าเนินการซ่อมแซมโดยใช้วิธีที่เหมาะสมภายใต้การควบคุมดูแลของ ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ผู้ควบคุมการซ่อมบ้ารุงตามกฎกระทรวงว่าด้วยการซ่อมบ้ารุงถังเก็บน ้ามันและถังขนส่งน ้ามัน และต้องท้า การทดสอบและตรวจสอบซ้าโดยผู้ทดสอบและตรวจสอบตามกฎกระทรวงว่าด้วยการซ่อมบ้ารุงถังเก็บน ้ามัน และถังขนส่งน ้า มัน ซึ่งครอบคลุมถึงการซ่อมบ้ารุงระบบท่อน ้ามัน จนกระทั่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ก้าหนดจึงจะใช้งานต่อไปได้ บทเฉพาะกาล ข้อ 15 กรณีที่ผู้ประกอบกิจการควบคุมมีผลการทดสอบและตรวจสอบครั งหลังสุดก่อนที่ประกาศนี ใช้บังคับ ซี่งมีระยะเวลาทดสอบและตรวจสอบไม่เกินกว่าที่ก้าหนดในข้อ 4 และมีมาตรฐานไม่ต่้ากว่า ที่ประกาศนี ก้าหนด ให้ถือว่าเป็นผลการทดสอบและตรวจสอบตามประกาศนี ผู้ประกอบกิจการควบคุมจะต้องด้าเนินการทดสอบและตรวจสอบระบบท่อน ้ามันและอุปกรณ์ ครังต่อไปภายในระยะเวลาการทดสอบและตรวจสอบตามข้อ 4 นับแต่วันที่ได้ท้า การทดสอบและตรวจสอบ ครั งหลังสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 256 5 สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนพิเศษ 235 ง ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565