Sun Jan 22 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2566


ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2566

ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า ในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2566 อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 7 วรรคสอง มาตรา 19 วรรคหก มาตรา 22 วรรคห้า และมาตรา 39 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความผิด เกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ ศาลฎีกาออ กข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2566 ไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ข้อบังคับนี เรียกว่า “ ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใ นการก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ ความรุนแรง พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ข้อบังคับนีให้ใช้บังคับตังแต่วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในข้อบังคับนี “ ความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง ” หมายความว่า ความผิดตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 278 มาตรา 279 มาตรา 283 ทวิ มาตรา 284 มาตรา 288 มาตรา 289 มาตรา 290 มาตรา 297 มาตรา 298 และมาตรา 313 แห่งประมวลกฎหมายอาญา “ ศาล ” หมายความว่า ศาลชันต้นซึ่งมิใช่ศาลเยาวชนและครอบ ครัวที่มีอ้านาจพิจารณา พิพากษาคดีความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง ที่คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา หรือที่ตังอยู่ใน ท้องที่เรือนจ้าหรือสถานที่คุมขังของนักโทษเด็ดขาด หรือในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวังมีที่อยู่หรือพบตัวผู้ถูก เฝ้าระวัง แล้วแต่กรณี “ นักโทษเด็ ดขาด ” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาดซึ่งต้องค้าพิพากษาถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระท้า ความผิดในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง “ ผู้ถูกเฝ้าระวัง ” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาดซึ่งศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวัง “ มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ” หมายความว่า มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิดตามกฎหมาย ว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง “ มาตรการเฝ้าระวัง ” หมายความว่า มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความ ผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง “ มาตรการคุมขัง ” หมายความว่า มาตรการคุมขังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

“ ค้าร้อง ” หมายความว่า ค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรกำรแก้ไขฟื้นฟู มาตรการ เฝ้าระวัง มาตรการคุมขัง หรือการคุมขังฉุกเฉิน แล้วแต่กรณี “ กฎกระทรวง ” หมายความว่า กฎกระทรวงตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมก้าหนด ข้อ 4 ในกรณีจ้าเป็นต้องมีวิธีการใดในทางธุรการเพื่อให้การปฏิบัติตามข้อบังคับนีเป็นไป โดยเรียบร้อย ให้เลขาธิการส้านักงานศาลยุติธรรมเป็นผู้ก้าหนดวิธีการนั น ข้อ 5 ให้ประธานศาลฎีการักษาการและมีอ้านาจวินิจฉัยชีขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ รวมทั งออกระเบียบ ประกาศ ค้าสั่ง หรือค้าแนะน้าเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อบังคับนี หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 6 การด้าเนินการของศาลตามข้อบังคับนี ให้ค้านึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่าง การคุ้มครองความปลอดภัยของสังคม สวัสดิภาพของผู้เสียหายและสิทธิเสรีภาพของผู้กระท้าความผิด ข้อ 7 ค้าร้องต้องระบุถึงเหตุที่จะมีค้าสั่งตามกฎหมายและมาตรการที่ขอให้ศาลก้าหนด ตลอดจนระยะเวลาที่ขอใช้ มาตรการให้ชัดเจนเพียงพอที่จ้าเลย นักโทษเด็ดขาด หรือผู้ถูกเฝ้าระวัง แล้วแต่กรณี จะเข้าใจและโต้แย้งได้ พร้อมพยานหลักฐานซึ่งสนับสนุนเหตุดังกล่าว ข้อ 8 การติดต่อระหว่างศาลด้วยกัน หรือระหว่างศาลกับคู่ความหรือผู้เกี่ยวข้อง อาจกระท้าโดยทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อทางเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นก็ได้ ข้อ 9 เมื่อศาลเห็นสมควร อาจก้าหนดให้มีการนั่งพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และให้ใช้ระบบบันทึกภาพและเสียงกระบวนพิจารณาทั งหมดหรือบางส่วนในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ห้ามมิให้คู่ความหรือบุคคลใดบันทึก เผยแพร่ หรือแพร่เสียงแพร่ภาพ ภาพหรือเสียง กระบวนพิจารณาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล คู่ความหรือผู้เกี่ยวข้องสามารถขออนุญาตศาลตรวจดูบันทึกภาพและเสียงดังกล่าวได้ภายใต้ การควบคุมดูแลของเจ้าหน้าที่ แต่ไม่สามารถบันทึกภาพและเสียงหรือท้าซ้าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นัน ข้อ 10 เพื่อประโยชน์ในการไต่สวนค้าร้องและการพิจารณาว่าจ้าเลย นักโทษเด็ดขาด หรือ ผู้ถูกเฝ้าระวัง แล้วแต่กรณี มีเหตุจ้าเป็นหรือสมควรในการใช้มาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า หรือไม่ ศาลอาจให้เจ้าหน้าที่ศาลรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงตามวิธีการและรูปแบบ ที่ส้านักงานศาลยุติธรรมก้าหนด หรือด้าเนินการอื่นใดตามที่เห็นสมควร ข้อ 11 การไต่สวนและมีค้าสั่งของศาลในการใช้มาตรการเฝ้าระวังและมาตรการคุมขัง ให้ด้าเนินการโดยมีผู้พิพากษาครบองค์คณะเช่นเดียวกับที่ก้าหนดไว้ส้าหรับการพิจารณาพิพากษาในคดีนั น ข้อ 12 ค้าสั่งของศาลใ นการอนุญาตตามค้าร้องหรือยกค้าร้องให้ระบุเหตุผล หากเป็นค้าสั่ง อนุญาต ต้องมีรายละเอียดของมาตรการที่ก้าหนดและระยะเวลาที่อนุญาตอย่างชัดเจนด้วย ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

หมวด 2 มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ข้อ 13 ก่อนมีค้าพิพากษา ศาลอาจไต่สวนค้าร้องขอให้มีค้าสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ไปพร้อมกั บการสืบพยานโจทก์จ้าเลย หรือไต่สวนภายหลังการสืบพยานก็ได้ ในการไต่สวน ศาลพึงรับฟังถ้อยค้าหรือค้าคัดค้านของจ้าเลย และอาจเรียกส้านวน การสอบสวนจากพนักงานอัยการเพื่อประกอบการพิจารณา รับฟังความเห็นของผู้เสียหาย หรือมีค้าสั่ง ให้พนักงานคุมประพฤติด้าเนินการสืบเสาะและพินิจ และจะเรียกผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยค้าหรือจัดส่งเอกสารอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควรด้วยก็ได้ ข้อ 14 ศาลจะมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูก็ต่อเมื่อได้ความว่าจ้าเลยกระท้าความผิด เกี่ยวกับเพศหรือที่ ใช้ความรุนแรง และศาลจะพิพากษาให้ลงโทษจ้าคุกโดยไม่รอการลงโทษจ้าคุกหรือ รอการก้าหนดโทษ และมีความจ้าเป็นที่ต้องใช้มาตรการตามค้าร้องในการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า ทังนี ศาลอาจมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการทางการแพทย์หรือมาตรการอื่นใดตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวง เพิ่มเติม หรือแตกต่างไปจากที่ระบุในค้าร้องได้ตามที่เห็นสมควร โดยค้านึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรง ของคดี สาเหตุแห่งการกระท้าความผิด ประวัติการกระท้าความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย และลักษณะ ส่วนตัวอื่นของจ้าเลย ความปลอดภัยของผู้เสียหายและสังคม โอกาสในการกระท้าความผิดซ้า แ ละ การแก้ไขฟื้นฟูจ้าเลย กรณีที่ศาลพิพากษายกฟ้องหรือพิพากษาให้ลงโทษอย่างอื่นที่ไม่ใช่โทษจ้าคุก ให้มีค้าสั่งยกค้าร้องด้วย ในกรณีที่ศาลเห็นสมควรให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ให้ระบุค้าสั่งก้าหนดมาตรการแก้ไขฟื้นฟู และเหตุผลไว้ในค้าพิพากษา และระบุค้าสั่งไว้ในหมายจ้าคุก ด้วย ข้อ 15 ในกรณีมีค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือยกเลิกมาตรการแก้ไขฟื้นฟู ให้น้าความในข้อ 13 และข้อ 14 มาใช้บังคับโดยอนุโลม เมื่อศาลมีค้าสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือยกเลิกมาตรการแก้ไขฟื้นฟู ให้ออกหมายจ้าคุกใหม่ โดยระบุค้าสั่งดังกล่าวไว้ในหมายจ้าคุ กด้วย หมวด 3 มาตรการเฝ้าระวัง ข้อ 16 เมื่อศาลได้รับค้าร้องขอให้มีค้าสั่งก้าหนดมาตรการเฝ้าระวัง ให้ก้าหนดวันนัดไต่สวน และแจ้งให้พนักงานอัยการและนักโทษเด็ดขาดทราบ พร้อมกับส่งส้าเนาค้าร้องให้นักโทษเด็ดขาดและ แจ้งสิทธิในการให้ถ้อยค้า โดยนักโทษเด็ดขาดจะให้ถ้อยค้าเป็นหนังสือก่อนหรือในวันนัด หรือจะให้ ถ้อยค้าด้วยวาจาในวันนัดก็ได้ กับแจ้งด้วยว่านักโทษเด็ดขาดที่ไม่มีทนายความ มีสิทธิขอให้ศาล ตังทนายความให้ได้ หากพนักงานอัยการและนักโทษเด็ดขาดประสงค์จะน้าพยานเข้าไต่สวน ให้ยื่นบัญชี ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

ระบุพยานพร้อมแถลงเหตุผลความจ้าเป็นที่ต้องไต่สวนพยานนั นต่อศาลก่อนวันนัด และเมื่อศาลอนุญาต ให้น้าพยานใดเข้าไต่สวน ให้น้าพยานมาศาลหรือด้าเนินการเพื่อให้ศาลออกหมายเรียกพยานนั นมาศาล ในวันนัด หากศาลเห็นสมควรอาจหมายแจ้งวันนัดและส้าเนาค้าร้องให้ผู้เสียหายท ราบด้วย โดยให้แจ้ง ด้วยว่าผู้เสียหายมีสิทธิให้ความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับการใช้มาตรการเฝ้าระวัง หรือจะมาให้ความเห็น ด้วยวาจาในวันนัดก็ได้ ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดได้รับการปล่อยตัวก่อนไต่สวนค้าร้องหรือมีค้าสั่ง ให้ศาลหมายเรียก นักโทษเด็ดขาดดังกล่าวมาให้ถ้อยค้า ประกอบการไต่สวน หากนักโทษเด็ดขาดไม่มาศาลตามหมายเรียก หรือตามนัดโดยไม่มีเหตุอันสมควร จงใจไม่รับหมายเรียก ได้หลบหนีไปหรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า จะหลบหนี ให้ศาลมีอ้านาจออกหมายจับได้ ข้อ 17 ก่อนการไต่สวน ให้ศาลถามนักโทษเด็ดขาดว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มี ก็ให้ศาล ตั งทนายความให้ และให้เวลาเพียงพอแก่นักโทษเด็ดขาดในการพบและปรึกษาทนายความ ก่อนด้าเนินการไต่สวนต่อไป ในการไต่สวน ให้ศาลฟังถ้อยค้าหรือค้าคัดค้านของนักโทษเด็ดขาด รับฟังความเห็นของ ผู้เสียหาย และจะเรียกผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องหรือบุค คลอื่นใดมาให้ถ้อยค้าหรือจัดส่ง เอกสารอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควรด้วยก็ได้ เมื่อไต่สวนเสร็จแล้วให้ศาลนัดฟังค้าสั่งโดยเร็ว ข้อ 18 ศาลจะมีค้าสั่งก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังได้ก็ต่อเมื่อทางไต่สวนมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า นักโทษเด็ดขาดผู้นั นจะกระท้าความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกั บเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงภายหลังพ้นโทษ ข้อ 19 การพิจารณาก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังอย่างหนึ่งอย่างใด ให้ศาลค้านึงถึงพฤติการณ์ แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุแห่งการกระท้าความผิด ประวัติการกระท้าความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย และลักษณะส่วนตัวอื่นของผู้กระท้าความผิด ควำมปลอดภัยของผู้เสียหายและสังคม โอกาส ในการกระท้าความผิดซ้า การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิด และความได้สัดส่วนของการใช้มาตรการ ที่ต้องกระทบสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องถูกบังคับด้วย โดยมาตรการที่ก้าหนดต้องสอดคล้องกับสาเหตุ แห่งการกระท้าความผิดและเป็นมาตรการลดโอกาสใน การกระท้าความผิดซ้าที่กระทบสิทธิเสรีภาพ น้อยที่สุด ซึ่งศาลอาจมีค้าสั่งก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังเพิ่มเติมหรือแตกต่างไปจากที่ระบุในค้าร้องได้ ตามที่เห็นสมควร มาตรการพืนฐานที่ศาลอาจก้าหนดเพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง คือ การให้มารายงานตัวต่อ พนักงานคุมประพฤติหรือได้ รับการเยี่ยมจากพนักงานคุมประพฤติหรืออาสาสมัครคุมประพฤติหรือ เจ้าหน้าที่อื่นตามระยะเวลาที่ก้าหนด และการให้แจ้งพนักงานคุมประพฤติทราบถึงการเปลี่ยนสถานที่ ท้างานหรือการเปลี่ยนงาน ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

การก้าหนดมาตรการห้ามเข้าใกล้ผู้เสียหายจากการกระท้าความผิด ศาลพึงรับฟังความเห็น ของผู้ เสียหาย และอาจใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวในการเฝ้าระวังร่วมด้วยตามที่เห็นสมควร มาตรการห้ามท้ากิจกรรมที่เสี่ยงต่อการกระท้าความผิด ห้ามเข้าเขตก้าหนดหรือห้ามก่อให้เกิด อันตรายต่อละแวกชุมชนที่ตนพักอาศัย อาจก้าหนดเมื่อมีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมหรือ การกระท้าที่จะห้าม ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหรือการกระท้าดังกล่าวกับโอกาสใน การกระท้าความผิดซ้า โดยต้องระบุกิจกรรมหรือการกระท้าที่ห้าม ตลอดจนขอบเขตพืนที่ของการห้าม อย่างชัดเจน ส้าหรับมาตรการห้ามเข้าเขตก้าหนด อาจใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวในกา รเฝ้าระวัง ร่วมด้วย มาตรการให้พักอาศัยในสถานที่หรือสถานบ้าบัดที่ก้าหนดหรือให้ไปอยู่ภายใต้การดูแลใน สถานบ้าบัดภายใต้การด้าเนินการของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งได้รับการรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข อาจก้าหนดเมื่อมีข้อมูลความพร้อมของสถานที่หรือสถานบ้าบัดดังกล่าว โดยเมื่อให้ผู้ถูกเฝ้าระวังไปพักอาศัย หรืออยู่ภายใต้การดูแลของสถานบ้าบัดแล้ว อาจก้าหนดให้ผู้ถูกเฝ้าระวังต้องปฏิบัติตามค้าสั่ง ของเจ้าพนักงานหรือผู้ดูแลสถานที่พักอาศัยหรือสถานบ้าบัดนั นด้วย มาตรการทางการแพทย์ หรือมาพบหรือรับการตรวจรักษาจากแพทย์หรือบุคคลอื่นใด หรือ มาตรการให้เข้ารับการบ้าบัดฟื้นฟูแก้ไขหรือเข้าร่วมกิจกรรม อาจก้าหนดเมื่อมีรายละเอียดชัดเจน เกี่ยวกับมาตรการหรือกิจกรรมที่จะน้ามาใช้ ข้อ 20 การก้าหนดระยะเวลาในแต่ละมาตรการ ศาลสามารถก้าหนดได้ตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันพ้นโทษ โดยค้านึงถึงข้อเท็จจ ริงว่ากฎหมายก้าหนดให้พนักงานคุมประพฤติ ต้องจัดท้ารายงานการเฝ้าระวังเสนอต่อศาลทุกรอบหกเดือน ซึ่งหากกรณีมีความจ้าเป็นต้องขยาย ระยะเวลาของมาตรการเฝ้าระวังใดต่อไป ศาลย่อมก้าหนดได้ ทังนี ก้าหนดระยะเวลาของมาตรการ เฝ้าระวังแต่ละมาตรการไม่จ้าเป็นต้องเท่ากัน โดยศาล พึงก้าหนดตามเหตุผลและความจ้าเป็น ข้อ 21 เมื่อศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังแล้ว ให้แจ้งพนักงานอัยการ ผู้เสียหาย นักโทษเด็ดขาด และเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ทราบ และแจ้งพนักงานคุมประพฤติเพื่อด้าเนินการ ตามค้าสั่งนันต่อไป ข้อ 22 ในกรณีที่ศาลได้รับรายงานการเฝ้าระวังจากพนักงานคุมประพฤติ หากศาล เห็นสมควร อาจก้าหนดวันนัดไต่สวนและหมายแจ้งวันนัดให้ผู้ถูกเฝ้าระวังโดยก้าหนดเวลาตามที่ เห็นสมควรเพื่อมาศาล และจะเรียกเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยค้าหรือจัดส่งเอกสารอื่นใดตามที่ศาล เห็นสมควรด้ วยก็ได้ ทังนี ศาลอาจมีค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกค้าสั่ง มาตรการเฝ้าระวังก็ได้ และให้แจ้งผู้ถูกเฝ้าระวังและผู้เสียหายทราบ และแจ้งพนักงานคุมประพฤติ เพื่อด้าเนินการตามค้าสั่งนันต่อไป ข้อ 23 ในกรณีที่พฤติการณ์เกี่ยวกับการใช้มาตรการ เฝ้าระวังเปลี่ยนแปลงไป เมื่อพนักงาน อัยการหรือผู้ถูกเฝ้าระวังร้องขอหรือความปรากฏแก่ศาล ศาลอาจก้าหนดวันนัดไต่สวนและหมายแจ้ง ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

วันนัดให้พนักงานอัยการและผู้ถูกเฝ้าระวังโดยก้าหนดเวลาตามที่เห็นสมควรเพื่อมาศาล และจะเรียก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยค้าหรือจัดส่ งเอกสารอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควรด้วยก็ได้ ทั งนี ศาลอาจมี ค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกมาตรการเฝ้าระวังบางมาตรการหรือ ทุกมาตรการก็ได้และให้แจ้งพนักงานอัยการ ผู้เสียหาย และผู้ถูกเฝ้าระวังทราบ และแจ้งพนักงาน คุมประพฤติเพื่อด้าเนิน การตามค้าสั่งนันต่อไป หมวด 4 มาตรการคุมขัง ข้อ 24 เมื่อศาลได้รับค้าร้องขอให้ใช้มาตรการคุมขังหรือค้าร้องขอให้ใช้มาตรการคุมขังร่วมกับ มาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องกันไปแก่นักโทษเด็ดขาดหรือผู้ถูกเฝ้าระวัง ให้น้าความในข้อ 16 ถึงข้อ 18 ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั งนี โดยออกหมายเรียกให้ผู้ถูกเฝ้าระวังเพื่อมาศาล หากผู้ถูก เฝ้าระวังไม่มาศาลตามหมายเรียกหรือตามนัดโดยไม่มีเหตุอันสมควร จงใจไม่รับหมายเรียก ได้หลบหนีไป หรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าจะหลบหนี ให้ศาลมีอ้านาจออกหมายจับได้ ข้อ 25 หากทางไต่สวนมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่านักโทษเด็ดขาดจะไปกระท้าความผิดเกี่ยวกับ เพศหรือที่ใช้ความรุนแรงและไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ผู้นั นไปกระท้าความผิดได้ ศาลอาจมี ค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังเพียงอย่างเดียวโดยก้าหนดระยะเ วลาเพียงเท่าที่จ้าเป็นซึ่งต้องไม่เกินสามปี นับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ หรือมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังเมื่อครบก้าหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไปตามที่ ร้องขอก็ได้ แต่เมื่อนับระยะเวลาทั งหมดรวมกันแล้วต้องไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ผู้นั นพ้นโทษ หากเห็นว่า มาตรการ เฝ้าระวังสามารถป้องกันมิให้ผู้นันไปกระท้าความผิดได้ ให้ศาลยกค้าร้องขอให้ใช้มาตรการ คุมขัง และก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังตามที่เห็นสมควร โดยให้น้าความในข้อ 19 และข้อ 20 มาใช้ บังคับโดยอนุโลม และให้แจ้งพนักงานอัยการ ผู้เสียหาย นักโทษเด็ดขาด หรือผู้ถูกเฝ้า ระวังทราบ และ แจ้งเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์หรือพนักงานคุมประพฤติ แล้วแต่กรณี เพื่อด้าเนินการตามค้าสั่งนันต่อไป ข้อ 26 เมื่อนับระยะเวลาที่ศาลเคยสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังและมาตรการคุมขังทังหมด รวมกันแล้วต้องไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ โดยเมื่อศาลสั่ง ให้ใช้มาตรการคุมขังแล้ว ให้ถือว่า ค้าสั่งการใช้มาตรการเฝ้าระวังเดิมสิ นสุดลง ข้อ 27 ก่อนครบก้าหนดเวลาคุมขังภายหลังพ้นโทษตามข้อ 25 หากศาลมิได้มีค้าสั่งให้ใช้ มาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องกันไป เมื่อพนักงานอัยการร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวัง เมื่อครบ ก้าหนดการคุมขัง ให้น้าความในข้อ 16 ถึงข้อ 18 ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม ทังนี ศาลอาจมีค้าสั่งดังกล่าวภายหลังครบก้าหนดการคุมขังก็ได้ แต่เมื่อนับระยะเวลาทังหมดรวมกันแล้ว ต้องไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ ข้อ 28 เมื่อศาลมีค้าสั่งให้ ใช้มาตรการคุมขัง ให้ออกหมายขังผู้ถูกเฝ้าระวังไว้ยังสถานที่คุมขัง ที่กรมราชทัณฑ์ก้าหนด ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

ข้อ 29 ภายหลังจากศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขัง เมื่อพนักงานอัยการร้องขอให้ศาล มีค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกค้าสั่งคุมขังภายหลังพ้นโทษ ให้ศาลนัด ไต่สวน โดยให้น้าความในข้อ 16 ถึงข้อ 18 ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม เมื่อศาลมีค้าสั่งอย่างใดแล้ว ให้แจ้งผู้ถูกคุมขังและผู้เสียหายทราบ และแจ้งเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์และพนักงานคุมประพฤติเพื่อด้าเนินการ ตามค้าสั่งนันต่อไป หมวด 5 การคุมขังฉุกเฉิน ข้อ 30 เมื่อศาลได้รับค้าร้องขอให้สั่งคุมขังฉุกเฉินผู้ถูกเฝ้าระวัง ให้ศาลพิจารณาค้าร้อง โดยเร็ว หากเห็นสมควร อาจเรียกพนักงานคุมประพฤติที่รับผิดชอบด้าเนินการตามมาตรการเฝ้าระวัง มาให้ถ้อยค้าหรือจัดส่งเอกสารอื่นใดด้วยก็ได้ การพิจารณาค้าร้องตามวรรคหนึ่งไม่จ้าต้องกระท้าต่อหน้าผู้ถูกเฝ้าระวัง แต่ศาลจะมีค้าสั่ง คุมขังฉุกเฉินได้ต่อเมื่อได้ความว่าผู้ถูกเฝ้าระวังอยู่ในความควบคุมของพนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจแล้ว ข้อ 31 ในการมีค้าสั่งของศาล หากเป็นที่พอใจจากค้าร้อง พยานหลักฐานของพนักงาน อัยการหรือถ้อยค้าและเอกสารของพนักงานคุมประพฤติว่ามีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าผู้ถูกเฝ้าระวังจะกระท้า ความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง มีเหตุฉุกเฉิน และไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ผู้ถูก เฝ้าระวังไปกระท้าความผิดได้ ซึ่งหากศาลไม่มีค้าสั่งให้เอาตัวผู้ถู กเฝ้าระวังมาคุมขังไว้โดยเร็วแล้ว จะเกิด ภยันตรายแก่บุคคลอื่นหรือสังคม ให้ศาลมีค้าสั่งคุมขังฉุกเฉินได้โดยก้าหนดระยะเวลาคุมขังตามควรแก่ ความจ้าเป็นในการเตรียมค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการเฝ้าระวังหรือค้าร้องขอให้ศาล มีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขัง แต่ ไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันที่ศาลมีค้าสั่ง กรณีไม่ได้ความตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลยกค้าร้องและสั่งให้ปล่อยตัวผู้ถูกเฝ้าระวังไป แต่หาก เห็นว่ามีข้อเท็จจริงเพียงพอแก่การสั่งแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการกระท้าความผิดซ้า โดยไม่ต้องรอค้าร้องของพนักงานอัย การในภายหลัง ก็ให้ศาลยกค้าร้อง สั่งปล่อยตัวผู้ถูกเฝ้าระวังและ มีค้าสั่งเกี่ยวกับมาตรการเฝ้าระวังตามที่เห็นสมควร เมื่อศาลมีค้าสั่งอย่างใดแล้ว ให้แจ้งพนักงานอัยการ ผู้เสียหาย ผู้ถูกเฝ้าระวัง และพนักงาน คุมประพฤติทราบ และแจ้งเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์เพื่อด้าเนินกำรตามค้าสั่งนันต่อไป ข้อ 32 เมื่อศาลมีค้าสั่งให้คุมขังฉุกเฉิน ให้ออกหมายขังผู้ถูกเฝ้าระวังไว้ยังสถานที่คุมขัง ที่กรมราชทัณฑ์ก้าหนด ผู้ถูกเฝ้าระวังอาจยื่นค้าร้องขอฝ่ายเดียวก่อนพ้นระยะเวลาคุมขังเพื่อให้ศาลยกเลิกค้าสั่งนันเสีย ให้ศาลพิจารณาค้าร้องและมีค้าสั่งโ ดยเร็ว ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

ข้อ 33 ภายหลังศาลมีค้าสั่งคุมขังฉุกเฉินแล้ว เมื่อมีค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติม มาตรการเฝ้าระวัง หรือมีค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขัง ให้น้าความในหมวด 3 และ หมวด 4 แล้วแต่กรณีในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม ประกาศ ณ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 256 6 โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ ประธานศาลฎีกา ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566