Sun Jan 22 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

กฎกระทรวงมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2566


กฎกระทรวงมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2566

กฎ กระทรวง มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2566 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 วรรคสอง มาตรา 23 วรรคสาม มาตรา 29 วรรคสาม มาตรา 30 วรรคสาม และมาตรา 38 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติมาตรการป้องกัน การกระทาความผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี “ นักโทษเด็ดขาด ” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาดซึ่งศาลมีคาพิพากษาว่าเป็นผู้กระทา ความผิดในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 “ ผู้ถูกเฝ้าระวัง ” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาดซึ่งพ้นโทษและได้รับการปล่อยตัวแล้ว แต่ศาลมีคาสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษ “ เจ้าพนักงานเรือนจำ ” หมายความว่า เจ้าพนักงานเรือนจำตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์ “ คณะทำงาน ” หมายความว่า คณะทำงานประจำเรือนจำ “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการพิจารณากำหนดมาตรการป้องกันการกระทา ความผิดซาตามมาตรา 16 หมวด 1 การจัดทำรายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด ข้อ 2 ให้มีคณะทางานประจาเรือนจา ประกอบด้วย ผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน คณะทางาน และเจ้าพนักงานเรือนจาอีกจานวนไม่น้อยกว่าสี่คนซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตังเป็น คณะทางาน โดยให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งรับผิดชอบงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดเป็น คณะทำงานและเลขานุกำร ้ หนา 1 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของคณะทำงาน ผู้บัญชาการเรือนจำอาจแต่งตั งผู้แทน จากหน่วยงานอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิร่วมเป็นคณะทำงานด้วยก็ได้ ข้อ 3 ภายในระยะเวลาสองปีก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดแต่ละราย ให้เจ้าพนักงาน เรือนจำดำเนินการรวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำรายงานจำแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด ตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์ เพื่อเสนอต่อคณะทำงาน ข้อ 4 ให้คณะทางานพิจารณาข้อมูลการจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดเป็นรายบุคคล ตามที่เจ้าพนักงานเรือนจาเสนอ และให้เสนอความเห็ นเกี่ยวกับความจาเป็นและเหมาะสมในการใช้ มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขัง ภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกำหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบ กาหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป รวมทังเสนอแนะวิธีการ และระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้มาตรการ ดังกล่าวเพื่อป้องกันการกระทำความผิดซา โดยให้คานึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี (1) พฤติการณ์ความรุนแรงแห่งคดี (2) สาเหตุแห่งการกระทำความผิด (3) ประวัติการกระทำความผิดและโทษตามคำพิพากษา (4) ภาวะแห่งจิต นิสัย และลักษณะส่วนตั วอื่น (5) ความปลอดภัยของผู้เสียหายและสังคม (6) ข้อบ่งชี และความเสี่ยงหรือโอกาสในการกระทำความผิดซา (7) ผลการแก้ไขฟื้นฟูและพัฒนาพฤตินิสัย (8) ความได้สัดส่วนของการใช้มาตรการที่กระทบสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องถูกบังคับ (9) ข้อเท็จจริงอื่น ๆ เกี่ยวกับการกระทาความ ผิดของนักโทษเด็ดขาด หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณากาหนดมาตรการในการป้องกันการกระทำความผิดซา ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง คณะทางานอาจให้นักโทษเด็ดขาดมาปรากฏตัวต่อหน้า คณะทำงานเพื่อประโยชน์ในการพิจารณาสภาพร่างกาย บุคลิกลักษณะ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมก็ได้ ข้อ 5 เมื่อคณะทางานพิจารณาข้อมูลการจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดรายใดและ มีความเห็นเกี่ยวกับการใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกาหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ เมื่อครบกาหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป ให้เจ้าพนักงานเรือนจาที่รับผิดชอบดาเนินการจัดทารายงาน จำแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์ พร้อมทั งความเห็ นว่านักโทษ เด็ดขาดผู้นันสมควรให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลัง พ้นโทษ หรือมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกาหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษเมื่อครบกำหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไปหรือไม่ รวมทั งวิธีการและระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้ ้ หนา 2 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

มาตรการดังกล่าว ตลอดจนความเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ของคณะทางาน เสนอต่อผู้บัญชาการ เรือนจำเพื่อพิจารณาส่งต่อไปยังอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ข้อ 6 เมื่ออธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้รับรายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดพร้อมทัง ความเ ห็นแล้ว หากเห็นว่ารายงานและความเห็นมีความสมบูรณ์ครบถ้วนแล้วให้เสนอต่อคณะกรรมการ โดยเร็ว ในกรณีที่อธิบดีกรมราชทัณฑ์พิจารณารายงานจำแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดและ ความเห็นแล้วเห็นว่า ยังมีความไม่สมบูรณ์หรือมีข้อมูลที่ยังไม่ครบถ้วน อธิบดีกรมราชทัณฑ์อาจส่ง เรื่ องคืนผู้บัญชาการเรือนจำเพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ไขได้ ข้อ 7 การจัดทาและการเสนอรายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดและความเห็น ต่อคณะกรรมการตามหมวดนีต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสองร้อยเจ็ดสิบวัน ก่อนวันที่นักโทษเด็ดขาดรายนันจะพ้นโทษ หมวด 2 การพิจารณากำหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ และมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษของคณะกรรมการ ข้อ 8 ให้คณะกรรมการพิจารณารายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดรายบุคคลและ ความเห็นตามที่กรมราชทัณฑ์เสนอ และมีความเห็นว่านักโทษเด็ดขาดผู้ใดสมควรให้ใช้มาตรการเฝ้าระวัง นักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ ร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบกำหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป ในการพิจารณาของคณะกรร มการอาจเชิญผู้แทนคณะทำงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นมาให้ ข้อเท็จจริงหรือความเห็น หรือส่งเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาดาเนินการ ตามวรรคหนึ่งได้ตามที่เห็นสมควร ข้อ 9 ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่านักโทษเด็ดขาดผู้ใดไม่มีข้อบ่งชี แล ะ ความเสี่ยงหรือโอกาสในการกระทาความผิดซา และไม่จาเป็นต้องใช้มาตรการตามกฎหมายว่าด้วย มาตรการป้องกันการกระทำผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง ให้แจ้งกรมราชทัณฑ์ทราบ ข้อ 10 ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นว่านักโทษเด็ดขาดผู้ใดสมควรกาหนดให้ใช้มาตรการเฝ้ำระวัง นักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ ร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบกาหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป ให้เสนอรายงานและความเห็นต่อพนักงานอัยการในท้องที่เรือนจาหรือสถานที่คุมขังของนักโทษเด็ดขาด ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันก่อนวันที่นักโทษเด็ดขาดผู้นั นจะพ้นโทษและ แจ้ง กรมราชทัณฑ์ทราบ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นไม่อาจดาเนินการได้ภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ใ ห้รายงาน ้ หนา 3 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมทราบ และให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว แต่ต้องไม่เกิน วัน ก่อนวันปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด รายงานและความเห็นของคณะกรรมการที่เสนอต่อพนักงานอัยการตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อย ต้องประกอบด้วยรายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด และความเห็นว่านักโทษเด็ดขาดสมควร ใช้มาตรการใด รวมทั งวิธีการและระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้มาตรการดังกล่าว หมวด 3 การเสนอความเห็นให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษของพนักงานคุมประพฤติ ข้อ 11 ในระหว่างการดาเนินการตามมาตรการเฝ้าระวังหากปรากฏเหตุอันควรเชื่อได้ว่า ผู้ถูกเฝ้าระวังจะไปกระทาความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 และไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ ผู้นันไปกระทาความผิดได้ หรือผู้ถูกเฝ้าระวังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังนักโทษ เด็ดขาด ภายหลังพ้นโทษ ให้พนักงานคุมประพฤติเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ พบเหตุดังกล่าว เพื่อให้พนักงานอัยการพิจารณายื่นคาร้องต่อศาลให้มีคำสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลัง พ้นโทษแก่ผู้ถูกเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการกระทำความผิดซา ในกำรเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่ง หากพนักงานคุมประพฤติพิจารณาแล้วเห็นว่าการใช้ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษไม่เพียงพอต่อการป้องกันไม่ให้ผู้ถูกเฝ้าระวังกระทำความผิดตามที่ระบุไว้ ในมาตรา 3 ภายหลังได้รับการปล่อยตัว พนักงานคุมประพฤติอาจเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการ เพื่ อพิจารณาขอให้ศาลในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวังมีที่อยู่หรือท้องที่ที่พบตัวผู้ถูกเฝ้าระวังเพื่อขอให้ศาลมีคาสั่ง ให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกาหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษเมื่อครบกำหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป ข้อ 12 การเสนอความเ ห็นของพนักงานคุมประพฤติตามข้อ 11 ให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดี กรมคุมประพฤติกำหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) รายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด พร้อมความเห็นของคณะกรรมการตามหมวด 2 ของผู้ถูกเฝ้าระวังรายนี (2) พฤติการณ์และรายละเอียดแห่งการกระทำที่เป็นเหตุให้ร้องขอให้ใช้มาตรการคุมขัง ภายหลังพ้นโทษ (3) ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขัง ภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกำหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบ กำหนดการคุมขังต่ อเนื่องกันไป (4) ข้อเท็จจริงอื่นใดหรือความเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณา ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

หมวด 4 การเสนอความเห็นให้คุมขังฉุกเฉินของพนักงานคุมประพฤติ ข้อ 13 เมื่อปรากฏเหตุอันควรเชื่อได้ว่าผู้ถูกเฝ้าระวังจะกระทาความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 และมีเหตุฉุกเฉิน ซึ่งพนักงานคุมประพฤติพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ผู้ถูก เฝ้าระวังกระทาความผิดนันได้ ให้พนักงานคุมประพฤติเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณา ยื่นคำร้องต่อศาลในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวังมีที่อยู่หรือท้องที่ที่พบตัวผู้ถูกเฝ้าระ วังเพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งคุมขัง ฉุกเฉิน ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่พนักงานคุมประพฤติทราบถึงเหตุดังกล่าว ข้อ 14 เหตุฉุกเฉินตามข้อ 13 ให้หมายความรวมถึงเหตุดังต่อไปนี ด้วย (1) ผู้ถูกเฝ้าระวังมีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่าจะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลอื่นโดยมี เครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอย่างอื่นอันสามารถใช้ในการกระทำความผิด (2) พฤติการณ์อื่นใดอันเป็นเหตุฉุกเฉิน ข้อ 15 การเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการตามข้อ 13 ให้เป็นไปตามแบ บที่อธิบดี กรมคุมประพฤติกำหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี (1) พฤติการณ์และรายละเอียดแห่งการกระทำที่เป็นเหตุให้ร้องขอคุมขังฉุกเฉิน (2) ความเห็นและเหตุผลที่สมควรให้คุมขังฉุกเฉินและระยะเวลาที่สมควรคุมขังฉุกเฉินผู้ถูกเฝ้าระวัง (3) ข้อมูลหรื อข้อเท็จจริงอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณา ข้อ 16 เมื่อศาลมีคำสั่งคุมขังฉุกเฉินแล้ว ให้กรมราชทัณฑ์นำตัวผู้ถูกเฝ้าระวังไปคุมขังฉุกเฉิน ตามคาสั่งศาล ข้อ 17 ให้พนักงานคุมประพฤติเสนอความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาล ให้มีคาสั่งแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ หรือให้ใช้มาตรการคุมขัง ภายหลังพ้นโทษ ภายในสี่วันนับแต่วันที่ศาลมีคำสั่งคุมขังฉุกเฉิน แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาที่ถูกเฝ้าระวัง ข้อ 18 การเสนอความเห็นของพนักงานคุมประพฤติตามข้อ 17 ให้ เป็นไปตามแบบที่อธิบดี กรมคุมประพฤติกำหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี (1) รายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด พร้อมความเห็นของคณะกรรมการตามหมวด 2 ของผู้ถูกเฝ้าระวังรายนี (2) พฤติกรรมการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังของผู้ถูก เฝ้าระวัง (3) พฤติการณ์และรายละเอียดแห่งการกระทาที่เป็นเหตุให้ร้องขอให้แก้ไขเพิ่มเติมมาตรการ เฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ หรือให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

(4) ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ หรือมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษร่วมกับการกาหนดมาตรการ เฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบกำหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป (5) ข้อเท็จจริงอื่นใดหรือความเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณา บทเฉพาะกาล ข้อ 19 ภายในระยะเวลาสามร้อยวันนับแต่วันที่กฎกระทรวงนีใช้บังคับ การจัดทาและ การเสนอรายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาดและความเห็นต่อคณะกรรมการ และการเสนอ รายงานและความเห็นต่อพนักงานอัยการ ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็วก่อนวันปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด โดยไม่ต้องนาระ ยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อ 7 และข้อ 10 มาใช้บังคับ ให้ไว้ ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ . 256 6 สมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี คือ โดยที่มาตรา 23 มาตรา 29 มาตรา 30 และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือ ที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 กาหนดให้การพิจารณาและการจัดทารายงานจาแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด การจัดทารายงานของคณะกรรมการพิจารณากาหนดมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซา และการทา ความ เห็นของพนักงานคุมประพฤติ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนที่ 5 ก ราชกิจจานุเบกษา 23 มกราคม 2566