พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหน่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหน่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566
พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่ง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 15 สิงหำคม พ.ศ. 256 6 เป็นปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 175 ของรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย กับมาตรา 56 วรรคสอง และมาตรา 60 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 ” ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 3 แห่ง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. 2552 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิ ทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 3 ให้กาหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี ดังต่อไปนี้ (1) สาขาวิชาการบัญชี มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ บัญชีดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ บัญชีมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ บัญชีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.บ. ” (2) สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย มีปริ ญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ การแพทย์แผนไทยดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พท.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พท.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ การแพทย์แผนไทยบัณฑิต ” ใช้อัก ษรย่อ “ พท.บ. ” (3) สาขาวิชาครุศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ครุศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ครุศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.บ. ” (4) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งชั้น คือ ตรี เรียกว่า “ เทคโนโลยีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ทล.บ. ” (5) สาขาวิชานิติศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ น.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ นิติศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ น.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ นิติศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ น.บ. ” ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566
(6) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ นิเทศศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ. บ. ” (7) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ บริหารธุรกิจบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.บ. ” (8) สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พย.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษ รย่อ “ พย.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พย.บ. ” (9) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป.บ. ” (10) สาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ศิลปดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศล.ด. ” หรือ “ ศิลปกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ศิลปมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศล.ม. ” หรือ “ ศิลปกรรมศาสตร มหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ศิลปบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศล.บ. ” หรือ “ ศิลปกรรมศาสตร บัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.บ. ” (11) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ วิทยาศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.บ. ” ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566
(12) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้ อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.บ. ” (13) สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ศิลปศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.บ. ” (14) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.บ. ” (15) สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.บ. ” (16) สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ส.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ส.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ส.บ. ” ทั้งนี้ หากมีสาขาหรือวิชาเอกให้ระบุชื่อสาขาหรือวิชาเอกนั้นไว้ในวงเล็บต่อท้ายปริญญาด้วย ” ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566
มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 7 สีประจำคณะ มีดังต่อไปนี้ (1) คณะครุศาสตร์ สีฟ้า (2) คณะเทคโนโลยี สีแดง (3) คณะพยาบาลศาสตร์ สีเขียวไข่กา (4) คณะมนุษยศาส ตร์และสังคมศาสตร์ สีแสด (5) คณะวิทยาการจัดการ สีชมพู (6) คณะวิทยาศาสตร์ สีเหลือง ” ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566
หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้เปิดสอนสาขาวิชาการแพทย์แผนไทย สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ และเปิดสอนหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์เพิ่มขึ้น รวมทั้ง จัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ขึ้นด้วย สมควรกำหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ของสาขาวิชาดังกล่าว ตลอดจนสีประจำคณะของคณะพยาบาลศาสตร์ จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนที่ 48 ก ราชกิจจานุเบกษา 17 สิงหาคม 2566