Fri Aug 11 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

กฎกระทรวงวัสดุกัมมันตรังสีที่ผู้ดำเนินการไม่ต้องขอรับใบอนุญาต พ.ศ. 2566


กฎกระทรวงวัสดุกัมมันตรังสีที่ผู้ดำเนินการไม่ต้องขอรับใบอนุญาต พ.ศ. 2566

กฎ กระทรวง วัสดุกัมมันตรังสีที่ผู้ดําเนินกํารไม่ต้องขอรับใบอนุญําต พ.ศ. 2566 อําศัยอ ํานําจตํามควํามในมําตรํา 5 วรรคสอง และมําตรํา 8 (6) แห่งพระรําชบัญญัติ พลังงํานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรําชบัญญัติพลังงํานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประกอบกับมําตรํา 20 วรรคหนึ่ง แห่งพระรําชบัญญัติพลังงํานนิวเคลียร์ เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 รัฐมนตรีว่ํากํารกระทรวงกํารอุดมศึกษํา วิทยําศําสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยค ําแนะน ําของคณะกรรมกํารพลังงํานนิวเคลียร์เพื่อสันติออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี้ “ ค่ํากัมมันตภําพ ” หมํายควํามว่ํา อัตรํากํารสลํายตัวของนิวไคลด์กัมมันตรังสีต่อหน่วยเวลํา “ ค่ํากัมมันตภําพรวม ” หมํายควํามว่ํา ผลรวมค่ํากัมมันตภําพของนิวไคลด์กัมมันตรังสีชนิดเดียวกัน จํานวนมํากกว่ําหนึ่งรํายกําร ที่อยู่รวมกันในภําชนะ ภํายในห้อง หรือภํายในสถํานที่จัดเก็บที่มีขอบเขต จ ํากัดชัดเจน “ ค่ําควํามเป็นอันตรําย ” หมํายควํามว่ํา ค่ํากัมมันตภําพเฉพําะของนิวไคลด์กัมมันตรังสีใด ๆ ซึ่งหํากปรําศจําก กํารควบคุมหรือกํากับดูแลที่เหมําะสมอําจก่อให้เกิดผลกระทบจํากรังสีชนิดผลชัดเจน ( deterministic effects ) อย่ํางรุนแรง ไม่ว่ําจะเป็นผลจํากกํารได้รับปริมําณรังสีที่แผ่มําจํากวัสดุกัมมันตรังสี ซึ่งอยู่ภํายนอกร่ํางกําย หรือจํากกํารได้รับเข้ําไปภํายในร่ํางกําย ข้อ 2 ให้วัสดุกัมมันตรังสีดังต่อไปนี้ เป็นวัสดุกัมมันตรังสีที่ผู้ด ําเนินกํารไม่ต้องขอรับใบอนุญําต ตํามมําตรํา 19 แต่ต้องแจ้งกํารครอบครองหรือใช้ต่อเลขําธิกําร (1) วัสดุกัมมันตรังสีประเภทที่ 5 ซึ่งออกตํามควํามในมําตรํา 19 วรรคสอง ชนิดเดียว หรือหลํายชนิดรวมกัน ที่มีลักษณ ะกํารใช้ประโยชน์ตํามตํารํางที่ 1 ท้ํายกฎกระทรวงนี้ ซึ่งมีอัตรําส่วน ระหว่ํางค่ํากัมมันตภําพหรือค่ํากัมมันตภําพรวม ต่อค่ําควํามเป็นอันตรํายไม่เกิน 0.01 และมีค่ําควํามเข้มข้น กัม มันตภําพและค่ํากัมมันตภําพเกินกว่ําเกณฑ์ที่กําหนดสําหรับวัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่อยู่ภํายใต้กํารควบคุม ตํามกฎกระทรวงซึ่งออกตํามควํามในมําตรํา 18 วรรคหนึ่ง ้ หนา 4 ่ เลม 140 ตอนที่ 46 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 สิงหาคม 2566

(2) วัสดุกัมมันตรังสีที่เป็นส่วนประกอบของสินค้ําอุปโภคตํามตํารํางที่ 2 ท้ํายกฎกระทรวงนี้ ซึ่งมีอัตรําส่วนระหว่ํางค่ ํากัมมันตภําพรวม ต่อค่ําควํามเป็นอันตรํายไม่เกิน 0.01 และมีค่ําควํามเข้มข้น กัมมันตภําพและค่ํากัมมันตภําพเกินกว่ําเกณฑ์ที่กําหนดสําหรับวัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่อยู่ภํายใต้กํารควบคุม ตํามกฎกระทรวงซึ่งออกตํามควํามในมําตรํา 18 วรรคหนึ่ง (3) วัสดุกัมมันตรังสีอื่นใดนอกเหนือจําก (1) และ (2) ที่มีอัตรําส่วนระหว่ํางค่ํากัมมันตภําพ หรือค่ํากัมมันตภําพรวม ต่อค่ําควํามเป็นอันตรํายน้อยกว่ํา 0.01 และค่ําควํามเข้มข้นกัมมันตภําพและ ค่ํากัมมันตภําพเกินกว่ําเกณฑ์ที่กําหนดสําหรับวัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่อยู่ภํายใต้กํารควบคุมตํามกฎกระทรวง ซึ่งออกตํามควํามในมํา ตรํา 18 วรรคหนึ่ง ให้ไว้ ณ วันที่ 27 กรกฎําคม พ.ศ . 256 6 เอนก เหล่ําธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่ํากํารกระทรวงกํารอุดมศึกษํา วิทยําศําสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ้ หนา 5 ่ เลม 140 ตอนที่ 46 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 สิงหาคม 2566

ตา รางท้ายกฎกระทร วง วัสดุ กัมมันตรังสีที่ผู้ดําเนินการไม่ต้อง ขอรับใบอนุญาต พ.ศ. 2566 ตารางที่ 1 ลักษณะการใช้ งาน วั สดุกัมมันตรัง สี ลําดับที่ นิวไคลด์กัมมันตรังสี ลักษ ณะการใช้ งาน 1 เหล็ก - 55 (Fe - 55) แค ดเมียม - 109 ( C d - 1 09) โคบอลต์ - 57 (Co - 57) เครื่อง วิเครา ะห์แบ บ การ เรืองรังสีเอกซ์ (X - ra y fluorescence analyzer device ) 2 นิกเกิล - 63 (Ni - 63) ไฮโดรเจน - 3 (H - 3) อุปกรณ์ ตรวจจั บอิเล็กตรอน (e lectron capture devices) 3 เจอร์เมเนี ยม - 68 (Ge - 68) วัสดุกัมมั นตรังสีสําหรับ ทดสอบเค รื่องถ่ายภา พ รัง สีด้ วยเทคนิค ( Positron Emission Tom o g ra phy (PET) หรือ PET - Co mputed T omography (PET - CT) (PET check source ) ) 4 โคบอลต์ - 57 (Co - 57) อุ ปกรณ์ วิเคราะห์ โ ดย กระบวน การ Mossbauer (Mossbauer spectrome try device ) 5 ไฮโดรเจน - 3 ( H - 3) เป้ารังสีช นิ ดทริเทียม (t ri tium target ) 6 คาร์บอน - 14 (C - 14) อุปกรณ์วิ เครำะห์คุณภาพอากาศ (aer osol det e cto r ) คริปทอน - 85 (Kr - 8 5) 7 ไฮโ ดรเจน - 3 (H - 3) อุปกรณ์ ป้องกันตัวรับสัญญา ณ (r eceiver protector tube ) 8 ค ริ ปทอน - 85 (K r - 85) ไฮโดรเจน - 3 (H - 3) อุปกรณ์ กระตุ้นการจุดร ะเบิด (i gnition excit e r ) 9 คริปทอน - 85 ( Kr - 85 ) พอโลเนียม - 210 ( P o - 2 10 ) อะ เมริเซียม - 241 ( Am - 2 41 ) อุปกรณ์จํากัดไฟฟ้าสถิต ( s tatic eli minator ) 1 0 โคบอลต์ - 57 ( Co - 57) วัสดุกัมมันตรังสีสําหรับทดสอบเครื่องถ่ายภา พรังสีด้วยเทคนิค 6 ( Single photon emission computed tomography/computed tomography (SPECT/CT) ) 11 ไฮโดรเจน - 3 ( H - 3 ) โซ เ ดีย ม - 2 2 ( Na - 22 ) โพแทสเ ซี ยม - 40 ( K - 40 ) โคบอล - 57 ( Co - 57 ) โคบอล - 60 ( Co - 60 ) แบเ รียม - 133 ( Ba - 13 3 ) ซีเซียม - 137 ( Cs - 137 ) เรเดียม - 226 ( Ra - 226 ) อะเมริเซียม - 241 ( Am - 241 ) อุปกรณ์ ปรับเทียบหัววั ดแบ บแท่งสํารวจหลุมลึกทางรังสี ( L ogging tool calibration )

  • 2 - ตารางที่ 2 สิน ค้ำอุ ปโภคที่มีวัสดุกั มมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ ลําดับที่ นิ วไคลด์ กัมมันตรังสี ที่ ใ ช้ ประเภท ของ สิ นค้า อุปโภค 1 อะเมริเซีย ม - 241 ( Am - 241) นิกเกิล - 63 (Ni - 63) เครื่องตรวจจับควันชนิดไอออไนเซชั่น ( i on ization c hamber s moke detector, ICSD) 2 ไฮ โดรเจน - 3 ( H - 3) ค ริ ปท อน - 85 ( K r - 85) ห ลอดไฟ แ ละอุ ปกรณ์ ไฟฟ้า ที่ มีวัสดุ กั มมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ ได้ แก่ 2 .1 หลอด ไฟปล่อ ยประจุความเข้มสูง (high intensity discharge lamp , HID) 2.2 หล อดไฟฟลูออเรสเซนต์ และสตาร์ตเตอร์ 3 ไ ฮโด รเจน - 3 ( H - 3) โพรมีเทียม - 147 (Pm - 147) ผ ลิตภัณฑ์เ รืองแสงจาก วั สดุ กัมมันตรั งสี ได้แก่ 3.1 เข็มทิศ 3. 2 นาฬิ กา เครื่องคํานวณเว ลา เครื่องมือจับเวลา (timep iece) 3 . 3 ไฟฉำย 3.4 ศูนย์เล็งอาวุธ (weapon sight ) 3.5 แผงหน้าปัดอุปกรณ์ 3.6 ป้ายสัญลักษณ์นําทาง 4 ไฮโดรเจ น - 3 ( H - 3) คริปทอน - 8 5 ( K r - 85) โพรมีเทียม - 147 (Pm - 147) แ ละ อื่ น ๆ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิ กส์ ที่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ ได้แ ก่ 5.1 อุปกรณ์ควบคุมแรงดันไฟฟ้า (vo ltage regu lator) 5.2 อุปกร ณ์ ป้ องกันไฟ ฟ้ากระชาก (current surge protector) 5.3 อุปกรณ์ อิเล็กทรอ นิกส์อื่นใดที่มีวัสดุกัมมัน ตรังสีเป็น ส่วนประกอ บ 5 นิวไคลด์ กั มมั นตรังสีที่เกิดจากการ ก่อ กัมมันตภาพรังสี ( activation products) เช่น แทนทาลัม - 182 ( Ta - 182 ) โซเดีย ม - 22 ( Na - 22 ) สแคนเดียม - 46 ( S c - 46) แมงกานีส - 54 ( Mn - 54) สังกะสี - 65 ( Zn - 65) ซีเซียม - 134 ( Cs - 134) ฟอสฟอรัส - 32 ( P - 32) กําม ะถัน - 35 ( S - 35) เป็น ต้ น อั ญ มณีฉายรังสี

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา 8 (6) แห่งพระราชบัญญัติ พลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประกอบกับมาตรา 20 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์ เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยคำแนะนำของคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดวัสดุกัมมันตรังสี ที่ผู้ดำเนินการไม่ต้องขอรับใบอนุญาต จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนที่ 46 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 สิงหาคม 2566