Thu Jul 27 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต [คดีหมายเลขดำที่ อม. 3/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 11/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายฉลอง เทอดวีระพงศ์ ที่ 1 นายภูมิศิษฏ์ คงมี ที่ 2 นางนาที รัชกิจประการ ที่ 3 จำเลย]


คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต [คดีหมายเลขดำที่ อม. 3/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 11/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายฉลอง เทอดวีระพงศ์ ที่ 1 นายภูมิศิษฏ์ คงมี ที่ 2 นางนาที รัชกิจประการ ที่ 3 จำเลย]

( อม.33 ) คําพิพากษา คดีหมายเลขดําที่ อม. 3/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 11/2566 ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง วันที่ 18 เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช 2566 อัยการสูงสุด โจทก์ นายฉลอง เทอดวีระพงศ ที่ 1 นายภูมิศิษฏ คงมี ที่ 2 นางนาที รัชกิจประการ ที่ 3 จําเลย เรื่อง ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต โจทก์ฟ้องวา ขณะเกิดเหตุจําเลยที่ 1 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดพัทลุง พรรคภูมิใจไทย จําเลยที่ 2 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดพัทลุง พรรคภูมิใจไทย จําเลยที่ 3 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย จําเลยทั้งสามจึงเป็นผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองและเป็นเจ้าพนักงานข องรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มีหน้าที่และอํานาจเกี่ยวกับการเสนอและพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ระหวาง ้ หนา 6 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

รางพระราชบัญญัติตาง ๆ การควบคุมการบริหารราชการแผนดินโดยการตั้งกระทูถาม การเปดอภิปรายทั่วไป การตั้งกรรมาธิการ การเขาชื่อถอดถอนผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองและผู้ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ การให้ความเห็นชอบแต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี และการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดยในหน้าที่และอํานาจเกี่ยวกับการเสนอและพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หรือรางพระราชบัญญัติตาง ๆ สมาชิกคนหนึ่งยอมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนนตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 120 วรรคสาม ซึ่งการออกเสียงลงคะแนนจะกระทําแทนกันมิได้ ตามขอบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ขอ 80 วรรคสาม เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2563 เวลา 9.30 นาฬิกา ถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 17.41 นาฬิกา สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ มีการประชุมเพื่อพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยเป็นการประชุมต่อเนื่องกัน ตามระเบียบสภาผู้แทนราษฎรวาด้วยการลงชื่อมาประชุมและการลาประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ขอ 4 จึงมีการลงชื่อของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เขารวมประชุมในวันแรก คือ วันที่ 8 มกราคม 2563 แต่ไม่มีการลงชื่อเขารวมประชุมในวันที่ 9 ถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 ซึ่งจําเลยทั้งสามได้เขารวมประชุม และลงชื่อเขารวมประชุมโดยมิได้ลาประชุม ในระหวางการประชุมสภาผู้แทนราษฎรดังกลาว จําเลยทั้งสามได้ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในตําแหนงหรือหน้าที่หรือใชอํานาจในตําแหนง หรือหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแกผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต กลาวคือ ในระหวางการประชุมสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 10 มกราคม 2563 เวลา 19.30 นาฬิกา ถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 17.38 นาฬิกา ต่อเนื่องกัน ขณะที่จําเลยที่ 1 ไม่อยู่ในที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎร จําเลยที่ 1 ได้รวมกับบุคคลใดไม่ปรากฏชัด โดยให้ผู้อื่นหรือยินยอมให้ผู้อื่น หรือกระทําการหรือไม่กระทําการอื่นใด เป็นผลให้ผู้อื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 แสดงตน และลงมติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียงตามรายมาตรา โดยปรากฏขอมูลในระบบคอมพิวเตอรในการประชุมดังกลาวยืนยันวา จําเลยที่ 1 ได้เขารวมประชุมสภาผู้แทนราษฎร และได้แสดงตนและลงมติรางพระราชบัญญัติดังกลาวตั้งแต่มาตรา 30 ถึงมาตรา 34 มาตรา 37 ถึงมาตรา 43 และมาตรา 45 ถึงมาตรา 53 กับวาระที่สาม และขอสังเกต อันเป็นความเท็จ ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

ในระหวางการประชุมสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 10 มกราคม 2563 เวลา 19.30 นาฬิกา ถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 11.10 นาฬิกา ต่อเนื่องกัน ขณะที่จําเลยที่ 2 ไม่อยู่ในที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎร จําเลยที่ 2 ได้รวมกับบุคคลใดไม่ปรากฏชัด โดยให้ผู้อื่นหรือยินยอมให้ผู้อื่น หรือกระทําการหรือไม่กระทําการอื่นใด เป็นผลให้ผู้อื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 แสดงตน และลงมติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียงตามรายมาตรา โดยปรากฏขอมูลในระบบคอมพิวเตอรในการประชุมดังกลาวยืนยันวา จําเลยที่ 2 ได้เขารวมประชุมสภาผู้แทนราษฎร และได้แสดงตนและลงมติรางพระราชบัญญัติดังกลาวตั้งแต่มาตรา 30 ถึงมาตรา 34 และมาตรา 37 ถึงมาตรา 40 อันเป็นความเท็จ ในระหวางการประชุมสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 14.28 ถึง 15.46 นาฬิกา ต่อเนื่องกัน ขณะที่จําเลยที่ 3 ไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร จําเลยที่ 3 ได้รวมกับบุคคลใดไม่ปรากฏชัด โดยให้ผู้อื่นหรือยินยอมให้ผู้อื่น หรือกระทําการหรือไม่กระทําการอื่นใด เป็นผลให้ผู้อื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 แสดงตนและลงมติในการพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียงตามรายมาตรา โดยปรากฏขอมูลในระบบคอมพิวเตอรในการประชุมดังกลาวยืนยันวาจําเลยที่ 3 ได้เขารวมประชุม สภาผู้แทนราษฎร และได้แสดงตนและลงมติรางพระราชบัญญัติดังกลาวตั้งแต่มาตรา 43 และมาตรา 45 ถึงมาตรา 49 อันเป็นความเท็จ และต่อมาศาลรัฐธรรมนูญได้มีคําวินิจฉัยที่ 2 - 3/2563 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ 2563 วินิจฉัยวา การออกเสียงลงมติแทนผู้ที่ไม่อยู่รวมประชุมเป็นการกระทําโดยไม่สุจริต อันเป็นการละเมิด หลักการพื้นฐานของการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ต้องปฏิบัติหน้าที่โดยไม่อยู่ในอาณัติมอบหมาย ของผู้ใดและต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตยสุจริตเพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติ เมื่อการออกเสียงลงคะแนนดังกลาวเป็นการออกเสียงที่ไม่สุจริต ทําให้ผลการลงมติรางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 วาระที่สอง และวาระที่สาม ไม่สอดคลองกับ หลักนิติธรรมและไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เป็นเหตุให้รางพระราชบัญญัติดังกลาว วาระที่สอง และวาระที่สาม ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ การปฏิบัติหน้าที่ ของจําเลยทั้งสามดังกลาวจึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่หรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในตําแหนง หรือหน้าที่ ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเป็นผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแกราชการ กระบวนการใชอํานาจนิติบัญญัติ ในการตราพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และประชาชนผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต เหตุเกิดที่ อาคารรัฐสภา (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 4 , 172 จําเลยทั้งสามให้การปฏิเสธ พิเคราะหพยานหลักฐานตามทางไตสวนของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง ประกอบสํานวนการไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และคําแถลงปดคดีของจําเลยทั้งสามแล้ว ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงได้วา ขณะเกิดเหตุตามฟ้อง จําเลยที่ 1 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดพัทลุง พรรคภูมิใจไทย จําเลยที่ 2 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดพัทลุง พรรคภูมิใจไทย และจําเลยที่ 3 ดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎรมีคําสั่งนัดประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ ในวันพุธที่ 8 มกราคม 2563 และครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ ในวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม 2563 เวลา 9.30 นาฬิกา ณ หองประชุมใหญวุฒิสภา อาคารรัฐสภา เพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามหนังสือสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ดวนที่สุด ที่ สผ 0014/ ผ 31 ลงวันที่ 27 ธันวาคม2562 เอกสารหมาย จ.15 ในการใชสิทธิออกเสียง ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกทุกคนจะมีบัตรอิเล็กทรอนิกสประจําตัวเพื่อใชในการแสดงตน และลงมติ โดยจําเลยทั้งสามลงชื่อเขารวมประชุมในวันที่ 8 มกราคม 2563 แต่การประชุมไม่แล้วเสร็จ และมีการประชุมต่อเนื่องถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 จึงปดการประชุมและเลิกประชุมเวลา 17.41 นาฬิกา ในระหวางการประชุม วันที่ 10 มกราคม 2563 จําเลยที่ 1 ออกจากที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎร ไปยังทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อโดยสารเครื่องบินเดินทางในเสนทาง ดอนเมือง - หาดใหญ เที่ยวบิน DD 7116 รอบเวลา 20.50 - 22.15 นาฬิกา ตามหนังสือแจงผลการตรวจสอบขอมูลการเดินทาง ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เอกสารหมาย จ. 28 (แฟม 6) วันที่ 11 มกราคม 2563 ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

จําเลยที่ 1 ได้เป็นประธานเปดงานวันเด็กแห่งชาติประจําป 2563 ที่เทศบาลตําบลอางทอง อําเภอศรีนครินทร จังหวัดพัทลุง และเป็นประธานในโครงการวันเด็กตําบลชะมวง ประจําป 2563 ที่องคการบริหารสวนตําบลชะมวง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ตามภาพถายหมาย จ.29 (แฟม 6) ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในวันที่ 10 มกราคม 2563 เวลา 19.30 ถึง 23.54 นาฬิกา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส ของจําเลยที่ 1 เพื่อแสดงตนและลงมติในการพิจารณามาตรา 30 ถึงมาตรา 34 และมาตรา 37 วันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 01.01 ถึง 17.38 นาฬิกา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส ของจําเลยที่ 1 เพื่อแสดงตนและลงมติในการพิจารณามาตรา 38 ถึงมาตรา 43 และมาตรา 45 ถึงมาตรา 53 กับวาระที่สาม และขอสังเกต ตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 เอกสารหมาย จ.24 แฟม 4 (หน้า 2173 ถึง 2522) และรายงาน การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 เอกสารหมาย จ. 25 แฟม 5 (หน้า 2557 ถึง 3133) วันที่ 10 มกราคม 2563 จําเลยที่ 2 ออกจากที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎร ไปยังทาอากาศยานดอนเมืองเพื่อโดยสารเครื่องบินเดินทางในเสนทาง ดอนเมือง - หาดใหญ เที่ยวบิน DD 7116 รอบเวลา 20.50 - 22.15 นาฬิกา ตามหนังสือแจงผลการตรวจสอบขอมูล การเดินทาง ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เอกสารหมาย จ. 28 (แฟม 6) และจําเลยที่ 2 มีการสํารองที่นั่งและโดยสารเครื่องบินของสายการบินไทยแอรเอเชีย ในวันที่ 11 มกราคม 2563 เสนทาง หาดใหญ - ดอนเมือง เที่ยวบิน FD 3117 รอบเวลา 09.25 - 11.00 นาฬิกา ตามหนังสือของบริษัทไทยแอรเอเชีย จํากัด ลงวันที่ 2 เมษายน 2563 เอกสารหมาย จ.31 (แฟม 6) และเดินทางกลับมาเขารวมประชุมต่อในวันที่ 11 มกราคม 2563 เวลาประมาณ 12 นาฬิกา ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในวันที่ 10 มกราคม 2563 เวลา 19.30 ถึง 23.54 นาฬิกา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 เพื่อแสดงตนและลงมติในการพิจารณามาตรา 30 ถึงมาตรา 34 และมาตรา 37 วันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 01.01 ถึง 11.10 นาฬิกา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 เพื่อแสดงตนและลงมติในการพิจารณามาตรา 38 ถึงมาตรา 40 ตามรายงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 เอกสารหมาย จ.24 แฟม 4 (หน้า 2173 ถึง 2522) ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

และรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 เอกสารหมาย จ.25 แฟม 5 (หน้า 2546 ถึง 2580) วันที่ 11 มกราคม 2563 จําเลยที่ 3 ออกจากที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎร ไปทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อเดินทางไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ในโครงการ พัฒนาความสัมพันธดานการศึกษา การทองเที่ยวการคา และการลงทุนระหวางจังหวัดระนอง กับเมืองซานเหมินเซียะ มณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ระหวางวันที่ 11 ถึง 15 มกราคม 2563 ซึ่งจําเลยที่ 3 ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ อํานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ และได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปกับคณะดังกลาว ตามเอกสารหมาย จ.32 ถึง จ.34 (แฟม 6) ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในวันที่ 11 มกราคม 2563 เวลา 14.28 ถึง 15.46 นาฬิกา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 เพื่อแสดงตนและลงมติในการพิจารณามาตรา 43 และมาตรา 45 ถึงมาตรา 49 ตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 เอกสารหมาย จ.25 แฟม 5 (หน้า 2717 ถึง 2927) ต่อมาประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้ยื่นคํารองต่อศาลรัฐธรรมนูญ สงความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) รวม 2 คํารอง วา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในกรณีที่ปรากฏเหตุการณมีผู้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 ไปลงมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติดังกลาวในขณะที่จําเลยที่ 1 ไม่ได้อยู่ในที่ประชุม โดยศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยวา การที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมิได้อยู่ในหองประชุมสภาผู้แทนราษฎร แต่ปรากฏวา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติแทน ยอมมีผลเป็นการออกเสียงลงคะแนนที่ไม่สุจริต ทําให้ผลการลงมติรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในวันและเวลาดังกลาวไม่สอดคลองกับหลักนิติธรรมและไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เป็นเหตุให้รางพระราชบัญญัติดังกลาวตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ตามคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 2 - 3/2563 เอกสารหมาย จ.52 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2565 โจทก์ยื่นฟ้องจําเลยทั้งสามเป็นคดีนี้ ต่อมาวันที่ 11 เมษายน 2565 ศาลมีคําสั่งประทับฟ้อง โดยมิได้มีคําสั่งเป็นอยางอื่น จึงมีผลให้จําเลยที่ 1 และที่ 2 ต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่จนกวาจะมีคําพิพากษา ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

สวนจําเลยที่ 3 พนจากตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจําคุก แต่ให้รอการลงโทษไวมีกําหนด 1 ป ตามคําพิพากษาศาลฎีกาคดีหมายเลขแดงที่ อม.อธ. 5/2563 ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2563 คดีมีปญหาต้องวินิจฉัยวา จําเลยทั้งสามกระทําความผิดตามฟ้องหรือไม่ พยานหลักฐาน จากการไตสวนได้ความวา ขณะเกิดเหตุที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีการพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระหวางการประชุมในวันที่ 10 มกราคม 2563 และวันที่ 11 มกราคม 2563 จําเลยทั้งสามตางไม่อยู่ในที่ประชุมในบางชวงเวลา แต่ปรากฏวา มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามแสดงตนและลงมติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติดังกลาว ปรากฏตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 และครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เอกสารหมาย จ. 24 และ จ.25 โดยในสวนของเวลา ที่จําเลยทั้งสามไม่อยู่ในที่ประชุมนั้น ขอเท็จจริงตามทางไตสวนได้ความวา จําเลยทั้งสามตางเดินทาง ออกจากที่ประชุมในเวลาที่แตกตางกัน โดยจําเลยที่ 1 เบิกความรับวาเดินทางออกจากที่ประชุม เวลา 19.30 นาฬิกา ของวันที่ 10 มกราคม 2563 ซึ่งตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เอกสารหมาย จ. 25 ระบุวา ชวงเวลาดังกลาวเป็นเวลา ขณะที่ที่ประชุมมีการเปดระบบให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนเพื่อตรวจสอบองคประชุมในการพิจารณามาตรา 30 และลงมติในเวลา 19.31 นาฬิกา จึงเชื่อวาจําเลยที่ 1 ไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่เวลาที่ให้ใช บัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติในมาตรา 30 เป็นตนไปจนเสร็จสิ้นการประชุม สวนจําเลยที่ 2 เบิกความวา จําเลยที่ 2 ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติด้วยตนเองถึงมาตรา 28 เวลา 17.53 นาฬิกา ในวันเดียวกัน แล้วออกมาดานนอกหองประชุม ระหวางที่อยู่นอกหองประชุม ได้รับแจงจาก นายวิโรจน รอดดํา วาจําเลยที่ 1 เดินทางไปทาอากาศยานแล้ว จึงตัดสินใจ เดินทางออกจากอาคารรัฐสภาเพื่อไปทาอากาศยานเชนกัน ซึ่งตามหนังสือแจงผลการตรวจสอบขอมูล การเดินทางของจําเลยที่ 2 ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เอกสารหมาย จ. 28 (แฟม 6) ระบุวาจําเลยที่ 2 แสดงตัวขึ้นเครื่อง (เช็คอิน) ที่ทาอากาศยานดอนเมือง เวลา 19.34 นาฬิกา จึงชี้ชัดวาจําเลยที่ 2 ต้องเดินทางออกจากที่ประชุมตั้งแต่กอนเวลา 19.30 นาฬิกา ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

เมื่อรับฟงประกอบกับที่จําเลยที่ 2 ทําหนังสือชี้แจงแกขอกลาวหาในชั้นไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รับวา จําเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นผู้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติตั้งแต่มาตรา 30 ถึงมาตรา 40 จึงเชื่อได้วาจําเลยที่ 2 ไม่อยู่ในที่ประชุมในชวงการให้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตน และลงมติในมาตรา 30 ถึงมาตรา 40 ตามฟ้องโจทก์ สําหรับจําเลยที่ 3 นั้นได้ให้การยอมรับวา จําเลยที่ 3 ไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 11 มกราคม 2563 ชวงเวลา 14.28 ถึง 15.46 นาฬิกา ตามฟ้องโจทก์ แมจําเลยที่ 3 จะอางต่อมาวาจําเลยที่3 ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตน และลงมติด้วยตนเองถึงมาตรา 43 แต่ปรากฏขอเท็จจริงตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เอกสารหมาย จ. 25 วา ที่ประชุมมีการเปดระบบให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนเพื่อตรวจสอบ องคประชุมและลงมติในการพิจารณามาตรา 43 ในเวลา 14.28 นาฬิกา และ 14.29 นาฬิกา ซึ่งเป็นชวงเวลาเดียวกันกับที่จําเลยที่ 3 ให้การยอมรับในตอนแรกวาจําเลยที่ 3 ไม่อยู่ในที่ประชุม สภาผู้แทนราษฎรแล้ว ทั้งจําเลยที่ 3 เคยทําหนังสือชี้แจงแกขอกลาวหาต่อคณะกรรมการไตสวน ตามเอกสารหมาย จ.89 ยืนยันวา จําเลยที่ 3 ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติด้วยตนเอง ถึงมาตรา 42 เทานั้น จึงเชื่อได้วา จําเลยที่ 3 ไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่เวลา ที่ให้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติในมาตรา 43 เป็นตนไปจนเสร็จสิ้นการประชุม ขอเท็จจริงจึงรับฟงได้วา ในชวงระยะเวลาที่จําเลยทั้งสามไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรดังกลาวนั้น มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามแสดงตนและลงมติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลาวคือ ในการประชุมวันที่ 10 มกราคม 2563 ได้มีบุคคลอื่นนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 มาใชแสดงตนและลงมติมาตรา 30 ถึงมาตรา 34 มาตรา 37 ถึงมาตรา 39 ตั้งแต่เวลา 19.30 ถึง 01.07 นาฬิกา ของวันที่ 11 มกราคม 2563 รวมการแสดงตนและการลงมติต่อเนื่องกัน 16 ครั้ง หลังจากนั้น มีการพักการประชุมและเริ่มประชุมอีกครั้งในวันที่ 11 มกราคม 2563 ได้มีบุคคลอื่น ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 แสดงตนและลงมติมาตรา 40 ถึงมาตรา 43 มาตรา 45 ถึงมาตรา 53 กับวาระที่สาม และขอสังเกต ต่อเนื่องอีก 30 ครั้ง ตั้งแต่เวลา 11.08 ถึง 17.38 นาฬิกา จนเสร็จสิ้นการประชุม กับมีบุคคลอื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 แสดงตนและลงมติมาตรา 40 ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

อีก 2 ครั้ง เวลา 11.08 นาฬิกา และ 11.10 นาฬิกา อันเป็นเวลาก อนที่จําเลยที่ 2 จะเดินทางกลับมารวมประชุม และมีบุคคลอื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 ในการแสดงตน และลงมติมาตรา 43 มาตรา 45 ถึงมาตรา 49 ตั้งแต่เวลา 14.28 ถึง 15.46 นาฬิกา ต่อเนื่องกัน 12 ครั้ง ปรากฏตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎ ร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 และครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เอกสารหมาย จ. 24 และ จ. 25 เห็นวา บัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามเป็นเสมือนสิ่งแทนตนที่จําเลยทั้งสาม ต้องใชในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อแสดงตัวตนและลงมติในเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับการทําหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ ในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร บัตรอิเล็กทรอนิกสจึงเป็นสิ่งสําคัญที่จําเลยทั้งสามต้องเก็บรักษาไว ด้วยตนเอง แต่กลับปรากฏวามีบุคคลอื่นนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามไปใชเพื่อแสดงตน และลงมติแทนในระหวางที่จําเลยทั้งสามไม่อยู่ในหองประชุม ซึ่งเมื่อพิจารณาลักษณะของบัตรอิเล็กทรอนิกส ตามที่ปรากฏในภาพถายเอกสารหมาย จ.38 ที่มีการระบุชื่อและนามสกุลของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เจ้าของบัตรไวอยางชัดเจน ผู้ที่พบเห็นสามารถทราบได้ทันทีวาบัตรนั้นเป็นของผู้ใด จึงเป็นการยาก ที่จะมีบุคคลอื่นนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามไปใชโดยผิดหลง นอกจากนี้ ในการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส แสดงตนและลงมติแต่ละครั้งจะกระทําได้ต่อเมื่อประธานในที่ประชุมสั่งให้แสดงตนและเจ้าหน้าที่ควบคุม ระบบเปดระบบให้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนเสร็จแล้วจึงปดระบบแสดงตน หลังจากนั้น ประธานในที่ประชุม สั่งให้ลงมติและเจ้าหน้าที่เปดระบบให้ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสลงมติ เมื่อมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใชเครื่องเสียบบัตรเดียวกัน จะต้องมีการดึงบัตรอิเล็กทรอนิกสออกจากเครื่องหลังจากแสดงตนแล้ว จากนั้น จึงเสียบบัตรอิเล็กทรอนิกสใหมอีกครั้งเพื่อลงมติ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องกระทําหลายขั้นตอน แต่กลับมีบุคคลอื่นนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามมาใชแสดงตนและลงมติในระหวางที่จําเลยทั้งสาม ไม่อยู่ในหองประชุมหลายครั้งอยางต่อเนื่อง โดยเฉพาะจําเลยที่ 1 มีการแสดงตนและลงมติแทนทั้งสิ้น มากถึง 46 ครั้ง จําเลยที่ 2 ก็มีการแสดงตนและลงมติแทนทั้งสิ้นมากถึง 18 ครั้ง และจําเลยที่ 3 มีการแสดงตนและลงมติแทนทั้งสิ้นรวม 12 ครั้ง ซึ่งไม่มีเหตุที่บุคคลอื่นที่มิได้รูเห็นเป็นใจกับจําเลยทั้งสาม จะต้องเสี่ยงลงมติแทนจําเลยทั้งสามโดยพลการเป็นจํานวนหลายครั้งเชนนี้ อีกทั้งชวงเวลาที่จําเลยทั้งสาม ไม่อยู่ในหองประชุมเป็นเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดแตกตางกัน การที่บุคคลอื่นจะแสดงตนและลงมติแทนจําเลยทั้งสามได้ โดยต่อเนื่องกันตลอดจํานวนหลายครั้งเชนนี้ บุคคลนั้นจําเป็นต้องรูกอนวาจําเลยทั้งสามจะออกจากหองประชุมเมื่อใด ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

และจะกลับมาเขาประชุมอีกหรือไม่ รวมทั้งต้องสามารถมีหรือได้บัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสาม มาอยางรวดเร็วพอที่จะลงมติแทนได้ทันเวลาอีกด้วย การที่บุคคลอื่นสามารถลงมติแทนจําเลยที่ 1 และที่ 2 ได้ครบถวนทุกครั้งและจําเลยที่ 3 จํานวนต่อเนื่องหลายครั้งดังกลาว ยอมเป็นขอบงชี้วา ได้มีการวางแผนและเตรียมการคบคิดกันมากอน เพื่อให้ทราบขอมูลวาจําเลยทั้งสามจะไม่อยู่ในที่ประชุมชวงเวลาใด และบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามอยู่ที่ใด ซึ่งหากจําเลยทั้งสามไม่แจงขอมูลหรือไม่ยินยอม มอบบัตรอิเล็กทรอนิกสให้ไป การกระทําดังกลาวก็ไม่อาจสําเร็จลุลวงได้ และขอเท็จจริงตามทางไตสวน ไม่นาเชื่อวาบุคคลอื่นที่แสดงตนและลงมติแทนนั้นจะตัดสินใจกระทําไปเพียงลําพังฝ่ายเดียว เพราะเสี่ยงที่จะถูกตรวจสอบภายหลังหากจําเลยทั้งสามปฏิเสธวาไม่ได้เป็นผู้แสดงตนและลงมติด้วยตนเอง โดยเฉพาะการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของบุคคลอื่นมาแสดงตนและลงมติดังกลาวเป็นการฝาฝนขอบังคับ การประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ขอ 80 วรรคสาม ทั้งยังเป็นการกระทําความผิดที่มีโทษ ในทางอาญาและอาจถูกกลาวหาวาเป็นการฝาฝนมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรายแรงถึงขั้นถูกเพิกถอน สิทธิทางการเมืองอีกด้วย และประการสําคัญหลังจากทราบเรื่องที่เกิดขึ้นจําเลยทั้งสามก็มิได้สนใจขวนขวาย ตรวจสอบความจริงโดยเร็ว กลับปลอยปละละเลยโดยมิได้ไปแจงความรองทุกขและพยายามสืบหาตัวบุคคล ที่นําบัตรอิเล็กทรอนิกสของตนไปใชแสดงตนและลงมติแทนเพื่อให้มีการดําเนินคดีให้ถึงที่สุด เพื่อแสดงให้เห็นวา จําเลยทั้งสามมิได้มีสวนเกี่ยวของหรือรูเห็นในสวนที่บุคคลอื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติแทน อันเป็นการแสดงถึงความบริสุทธิ์ของตนเอง เมื่อพิจารณาประกอบกับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรในครั้งนี้ เป็นการประชุมเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 อันเป็นกฎหมายสําคัญที่เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่จะทําให้การบริหารราชการแผนดินสามารถบรรลุผลสําเร็จ ตามเปาหมายได้ หากรางพระราชบัญญัติดังกลาวไม่ผานความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรก็จะมีผลถึงความมั่นคง และเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาล จึงจําเป็นต้องมีมาตรการเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่สังกัดพรรครวมรัฐบาลต้องเขารวมประชุมและลงมติ เพื่อให้การพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผานความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรไปได้ ยิ่งไปกวานี้ เมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 120 และขอบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ขอ 25 กําหนดให้ที่ประชุมต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงชื่อมาประชุมไม่นอยกวากึ่งหนึ่ง ของจํานวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองคประชุม องคประชุมจึงยอมมีความสําคัญเป็นอยางยิ่ง ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

ดังเห็นได้จากรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 1 ครั้งที่ 17 และครั้งที่ 18 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เอกสารหมาย จ. 22 ถึง จ.25 จะต้องมีการตรวจสอบ องคประชุม โดยให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนกอนที่จะลงมติทุกครั้ง ซึ่งหากองคประชุมไม่ครบ ที่ประชุมก็จะไม่สามารถประชุมต่อไปได้อันสงผลกระทบสําคัญต่อการพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้เป็นไปด้วยความลาชา และสะทอนถึงเสถียรภาพและความไม่มั่นคงของรัฐบาลเชนเดียวกัน ซึ่งก็ปรากฏจากบันทึกถอยคําพยานปาก นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ และ นายทวิรัฐ รัตนเศรษฐ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในชั้นไตสวน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. วา ชวงที่มีการประชุมนี้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรครวมรัฐบาล มี 253 เสียง และองคประชุมจะต้องมีสมาชิกมาแสดงตนเกินกึ่งหนึ่ง (250 คน) ของสมาชิกทั้งหมด ซึ่งรัฐบาลชุดนี้อยู่ในสถานการณที่มีจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรครวมรัฐบาลเกินกึ่งหนึ่งเพียงเล็กนอย (คะแนนเสียงปริ่มน้ํา) ด้วยเหตุดังกลาว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรครวมรัฐบาลจําเป็นอยางยิ่งต้องรักษาสถานะ ของคะแนนเสียงขางมากไวให้ได้ จําเลยทั้งสามซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรครวมรัฐบาล จึงต้องฝากบัตรอิเล็กทรอนิกสของตนให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอื่นใชแสดงตนและลงมติแทน ในขณะที่ไม่ได้อยู่ในที่ประชุม ที่จําเลยทั้งสามให้การต่อสูวา จําเลยทั้งสามหลงลืมบัตรอิเล็กทรอนิกสของตน ไวที่บริเวณที่นั่งประชุมหรือเสียบบัตรคาไวในชองเสียบบัตร เนื่องจากจําเลยทั้งสามแต่ละคนตางก็เรงรีบ ออกจากที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อเดินทางไปยังทาอากาศยาน และจําเลยที่ 2 มีอาการหลงลืมเป็นประจํา เนื่องจากอาการปวยด้วยนั้น นอกจากจะเป็นการงายแกการกลาวอางแล้ว ขออางดังกลาวยังไม่สมเหตุสมผล เพราะหากเป็นกรณีหลงลืมซึ่งเป็นเหตุบังเอิญแล้ว ยอมเป็นไปได้ยากที่บุคคลที่ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตน และลงมติแทนจําเลยทั้งสามจะทราบเรื่องได้เองจนสามารถหาบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสาม และใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติแทนในครั้งถัดไปได้ทันเวลาต่อเนื่องกันพอดีกับที่จําเลยแต่ละคน ออกจากที่ประชุม นอกจากนี้ ในสวนจําเลยที่ 1 และที่ 2 ขอเท็จจริงยังได้ความจาก นางสาวสายฝน ไกรสมเลิศ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานบริหารทั่วไป สํานักการประชุม สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เบิกความยืนยันวา หลังเลิกประชุมหากมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลืมบัตรอิเล็กทรอนิกสเสียบคาไวในชองเสียบบัตร หรือวางลืมไวบนโตะในหองประชุม ฝ่ายโสตทัศนูปกรณจะขึ้นผังที่นั่งบนหน้าจอใหญในหองประชุมวา แถวที่นั่งใดบางได้เสียบบัตรคาไว นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่จะเดินสํารวจทุกแถวที่นั่งวามีบัตรวางไวหรือไม่ ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

และจะเก็บบัตรมาจัดเรียงตามลําดับเพื่องายต่อการคนหาเวลาที่สมาชิกมาขอรับบัตรคืน โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เป็นเจ้าของบัตรเทานั้นที่จะมาขอรับบัตรคืนได้ เจ้าหน้าที่ได้จัดทําหลักฐานการเก็บบัตรอิเล็กทรอนิกส หลังเลิกประชุมในวันที่ 8 ถึงวันที่ 11 มกราคม 2563 และวันที่ 15 มกราคม 2563 ตามเอกสารหมาย จ.39 แต่ไม่พบบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 หลังเลิกประชุมวันที่ 10 มกราคม 2563 นางสาวสายฝน พยานโจทก์เป็นเจ้าพนักงานที่รูเห็นขอเท็จจริงจากการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และมีการทําหลักฐานการเก็บบัตรอิเล็กทรอนิกสไวตั้งแต่กอนเกิดเหตุมาประกอบด้วย คําเบิกความของ นางสาวสายฝน จึงมีน้ําหนักให้รับฟงได้ ดังนี้ หากจําเลยที่ 1 และที่ 2 หลงลืมบัตรอิเล็กทรอนิกส ไวที่บริเวณที่นั่งประชุมหรือเสียบบัตรคาไวในชองเสียบบัตรในวันที่ 10 มกราคม 2563 ดังที่อาง เจ้าหน้าที่สํานักการประชุมยอมจะต้องพบและเก็บบัตรของจําเลยที่ 1 และที่ 2 เอาไว จึงไม่อยู่ในวิสัย ที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่นจะสามารถนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 มาใชแสดงตน และลงมติแทนจําเลยที่ 1 และที่ 2 ในวันรุงขึ้นอีกได้ตามที่เกิดขึ้นในคดีนี้ นอกจากนั้น พฤติการณที่ มีบุคคลอื่น ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 ในวันที่ 11 มกราคม 2563 ซึ่งเป็นวันรุงขึ้นด้วย แสดงให้เห็นวาบุคคลที่แสดงตนและลงมติแทนนั้นเป็นผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 เอาไว อันเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ไม่พบบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 หลังเลิกประชุมวันที่ 10 มกราคม 2563 ซึ่งการที่บุคคลที่ถือบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 เพื่อใชแสดงตน และลงมติแทนในวันรุงขึ้น บุคคลนั้นจะต้องทราบตั้งแต่คืนวันที่ 10 มกราคม 2563 แล้ววา จําเลยที่ 1 และที่ 2 จะไม่เขาประชุมในวันที่ 11 มกราคม 2563 หากเป็นบุคคลภายนอกยอมไม่อาจลวงรู ถึงความจริงขอนี้ได้ ตามพฤติการณนาเชื่อวา จําเลยที่ 1 และที่ 2 กับบุคคลที่ถือบัตรอิเล็กทรอนิกสแทน ในวันที่ 10 มกราคม 2563 ต้องมีการติดต่อและรูเห็นกันวา จําเลยที่ 1 และที่ 2 จะไม่เขาประชุม ในวันดังกลาว ดังนั้น ขออางวาหลงลืมบัตรอิเล็กทรอนิกสไวในที่ประชุม จึงไม่อาจรับฟงได้ สวนที่จําเลยที่ 1 และที่ 2 อางทํานองเดียวกันวา การนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 ไปใชแสดงตน และลงมติในระหวางที่จําเลยที่ 1 และที่ 2 ไม่เขาประชุม เป็นการกระทําของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่ไม่หวังดีกับตนเองเป็นการสวนตัวหรือมีขอขัดแยงทางการเมืองกับตนหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดอยู่นั้น ก็ไม่ปรากฏวาจําเลยที่ 1 และที่ 2 ได้เคยอางเหตุดังกลาวไวในหนังสือชี้แจงแกขอกลาวหาต่อคณะกรรมการไตสวน แต่อยางใด ประกอบกับหากถูกบุคคลอื่นกลั่นแกลงจําเลยที่ 1 และที่ 2 ก็ไม่มีความจําเป็นจะต้องใช ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

บัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตนและลงมติแทนจําเลยที่ 1 และที่ 2 โดยต้องใชเวลาตั้งแต่ค่ําวันที่ 10 มกราคม 2563 ถึงเย็นวันที่ 11 มกราคม 2563 ในระหวางที่จําเลยที่ 1 และที่ 2 ไม่อยู่ในหองประชุม จนครบจํานวนการลงมติทุกครั้ง นอกจากนี้ จําเลยที่ 1 และที่ 2 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเดียวกัน ยอมต้องนั่งอยู่ในบริเวณเดียวกัน จึงเป็นการยากที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคอื่น จะนําบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 1 และที่ 2 ไปใชแสดงตนและลงมติแทนได้ ซึ่งหากเป็นเชนนั้น ก็นาจะต้องถูกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอื่นที่สังกัดพรรคเดียวกันกับจําเลยที่ 1 และที่ 2 พบเห็น และทักทวงเอาได้ ยิ่งกวานั้น ผลการลงมติแทนจําเลยที่ 1 และที่ 2 ทุกครั้งยังปรากฏผล “ เห็นด้วย ” สอดคลองกับสถานะของจําเลยที่ 1 และที่ 2 ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรครวมรัฐบาล อันเป็นการสมประโยชนของจําเลยที่ 1 และที่ 2 มากกวาจะเป็นการกลั่นแกลงอีกด้วย ที่จําเลยที่ 1 อางวา จําเลยที่ 1 เดินทางอยางเปดเผยและไปเป็นประธานงานวันเด็ก มีการประกาศให้ประชาชนในทองที่ทราบ ยอมไม่กลาฝากบัตรอิเล็กทรอนิกสให้บุคคลอื่นแสดงตนและลงมติแทน ก็เป็นเพียงขออางหลังเกิดเหตุ และไม่อาจคาดหมายได้วาจะเกิดการรองเรียนหรือดําเนินคดีแกจําเลยที่ 1 กรณีที่ไม่อยู่รวมประชุมในครั้งนี้ ขออางสวนนี้ ไม่อาจนํามาหักลางหรือยืนยันได้วาจําเลยที่ 1 มิได้ฝากบัตรให้บุคคลอื่นแสดงตน และลงมติแทนได้ สวนที่จําเลยที่ 2 อางวา เมื่อจําเลยที่ 2 เดินทางกลับไปถึงจังหวัดพัทลุง ได้ทราบวาประธานสภาผู้แทนราษฎรสั่งพักการประชุมโดยไม่มีการเลื่อนประชุม จําเลยที่ 2 จึงรีบจองตั๋วเครื่องบิน เพื่อเดินทางกลับมาประชุมให้ทันในวันที่ 11 มกราคม 2563 แสดงวาจําเลยที่ 2 ไม่ได้มอบหมาย หรือยินยอมให้บุคคลใดใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 แสดงตนและลงมติแทนนั้น เห็นได้วา แมจําเลยที่ 2 จะเดินทางกลับมาประชุมวันที่ 11 มกราคม 2563 ในเวลา 12 นาฬิกา แต่ก็เป็นขอพิสูจนเพียงวา จําเลยที่ 2 ไม่ประสงคจะให้บุคคลอื่นลงมติแทนในวันที่ 11 มกราคม 2563 ไม่ใชขอพิสูจนยอนหลังไปถึงการกระทําของจําเลยที่ 2 ในวันที่ 10 มกราคม 2563 ได้ แต่อยางใด เพราะจําเลยที่ 2 ได้ยินยอมให้มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของตนลงมติแทนเฉพาะชวงคืนวันที่ 10 มกราคม 2563 โดยคิดวาการประชุมจะเสร็จสิ้นในวันดังกลาว ครั้นเมื่อจําเลยที่ 2 ทราบวา การประชุมยังไม่เสร็จสิ้น จําเลยที่ 2 ก็รีบเดินทางกลับมาประชุมในวันที่ 11 มกราคม 2563 แต่ปรากฏวาในวันนั้นกอนที่จําเลยที่ 2 จะเขาประชุมได้มีบุคคลอื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 แสดงตนและลงมติแทนในการพิจารณามาตรา 40 ไปกอนแล้ว ขออางของจําเลยที่ 2 ดังกลาวจึงฟงไม่ขึ้น ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

ที่จําเลยที่ 2 อางวา เมื่อกลับเขามาหองประชุมได้สอบถามเพื่อนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ถึงบัตรอิเล็กทรอนิกสของตน และมีเสียงตะโกนมาจากดานหลังวา “ บัตรของพี่เสียบคาอยู่ชองนี้ ” เมื่อเดินไปดูจึงพบบัตรอิเล็กทรอนิกสของตน โดยไม่ทราบวาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนดังกลาวเป็นผู้ใดนั้น นับวาเป็นเรื่องบังเอิญที่ไม่นาเชื่อถือ ทั้งที่คําชี้แจงแกขอกลาวหาของจําเลยที่ 2 ตามเอกสารหมาย จ.88 ระบุวาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนดังกลาวเป็นรุนนองในพรรคภูมิใจไทยซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเดียวกัน แต่จําเลยที่ 2 ไม่ได้ระบุชื่อบุคคลดังกลาว จึงสอพิรุธวาเป็นการปกปดตัวบุคคล ที่เกี่ยวของกับการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 2 สําหรับจําเลยที่ 3 แมจะมีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส แสดงตนและลงมติแทนจําเลยที่ 3 เฉพาะในวันที่ 11 มกราคม 2563 เพี ยงวันเดียวเทานั้น แต่ขอเท็จจริงได้ความวา หลังจากจําเลยที่ 3 เรงรีบออกจากที่ประชุมตั้งแต่เวลา 14.28 นาฬิกา แล้ว ก็มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 แสดงตนและลงมติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติ ดังกลาวตั้งแต่มาตรา 43 จนถึงมาตรา 48 ในเวลา 15.20 นาฬิกา อยางต่อเนื่องในทันทีโดยไม่ขาดตอน ซึ่งเห็นได้ชัดวาเป็นการแสดงตนและลงมติแทนผู้ไม่เขาประชุมอันมีลักษณะเชนเดียวกันกับกรณีของจําเลยที่ 1 และที่ 2 จนกระทั่งถึงเวลา 15.28 นาฬิกา จําเลยที่ 3 ได้ผานพิธีการตรวจคนเขาเมือง เพื่อเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ตามผลการสืบคนขอมูลการเดินทาง สํานักงานตรวจคนเขาเมือง เอกสารหมาย จ.34 ทําให้ปรากฏหลักฐานทางราชการเป็นภาพถายและระบุเวลาชัดเจนวาจําเลยที่ 3 อยู่ที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิและกําลังจะเดินทางออกนอกราชอาณาจักร หลังจากนั้น ไม่นานมีการใช บัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 แสดงตนและลงมติอีกครั้งในการพิจารณามาตรา 49 ในเวลา 15.45 นาฬิกา และ 15.46 นาฬิกา จึงหยุดใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 แสดงตนและลงมติต่อไป ทั้งที่กอนหน้านั้นเพิ่งมีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 แสดงตนและลงมติแทนต่อเนื่องเรื่อยมา มากถึง 12 ครั้ง แสดงให้เห็นวาบุคคลที่ใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 นั้น ได้ทราบวาจําเลยที่ 3 กําลังจะเดินทางออกนอกราชอาณาจักรแล้ว เชื่อวามีการติดต่อแจงขอมูลและรูเห็นกันกับจําเลยที่ 3 ตั้งแต่จําเลยที่ 3 ออกจากที่ประชุม จนถึงเวลาที่จําเลยที่ 3 จะเดินทางออกนอกราชอาณาจักร จึงไม่ได้มีการใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 เพื่อแสดงตนและลงมติแทนจําเลยที่ 3 จนเสร็จสิ้นการประชุม และไม่มีความจําเป็นที่จะต้องเก็บบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยที่ 3 ไวกับตัวเองอันจะทําให้อาจถูกตรวจพบได้ จึงทิ้งบัตรของจําเลยที่ 3 ไวในที่ประชุมเพื่อให้เจ้าหน้าที่มาเก็บไปหลังจากเลิกประชุม พฤติการณแห่งคดีมีเหตุผล ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

และน้ําหนักให้รับฟงได้โดยปราศจากสงสัยวา จําเลยทั้งสามยินยอมให้บุคคลอื่นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสแสดงตน และลงมติแทนจําเลยทั้งสาม เมื่อการออกเสียงลงคะแนนเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้ที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ที่จะมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได้คือผู้ที่เขาประชุมและอยู่ในที่ประชุมในขณะที่มีการออกเสียงลงคะแนนเทานั้น การกระทําใดเพื่อให้มีการออกเสียงลงคะแนนแทนกันจึงเป็นการขัดต่อหลักการออกเสียงลงคะแนน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 120 วรรคสาม ที่ให้สมาชิกคนหนึ่งมีเสียงหนึ่ง ในการออกเสียงลงคะแนน และไม่ชอบด้วยขอบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ขอ 80 วรรคสาม ที่การออกเสียงลงคะแนนจะกระทําแทนกันมิได้ อันถือเป็นการออกเสียงลงคะแนนที่ไม่สุจริต มีผลทําให้การออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการประชุมนั้นไม่เป็นไปตามเจตนารมณที่แทจริง ของผู้แทนปวงชนชาวไทย และเป็นการละเมิดหลักการพื้นฐานของการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตยสุจริตเพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติโดยปราศจากการขัดกัน แห่งผลประโยชน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 114 ทั้งขัดต่อหลักความซื่อสัตยสุจริต ที่ได้ปฏิญาณตนในที่ประชุมกอนเขารับหน้าที่ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 115 ซึ่งต่อมาภายหลังศาลรัฐธรรมนูญได้มีคําวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติดังกลาวตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เฉพาะการพิจารณาลงมติในวาระที่สอง วาระที่สาม และขอสังเกต ของคณะกรรมาธิการ โดยกําหนดคําบังคับให้สภาผู้แทนราษฎรดําเนินการให้ถูกต้องตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญเฉพาะในวาระที่สอง วาระที่สาม และขอสังเกตของคณะกรรมาธิการ จึงถือได้วา การกระทําของจําเลยทั้งสามกอให้เกิดความเสียหายแกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเป็นองคกรที่ทําหน้าที่นิติบัญญัติ และสวนราชการ ทั้งการที่จําเลยทั้งสามซึ่งมีหน้าที่พิจารณารางพระราชบัญญัติตาง ๆ แต่กลับฝาก บัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่นหรือบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสาม ไปอยู่ในความครอบครองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่น โดยจําเลยทั้งสามตางยินยอม ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายนั้นใชบัตรอิเล็กทรอนิกสของจําเลยทั้งสามแสดงตนและลงมติในการพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 แทนจําเลยทั้งสาม เพื่อให้รางกฎหมายดังกลาวผานการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร อันถือได้วาเป็นการแสวงหาประโยชนที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผู้อื่น หรือมีพฤติการณที่รูเห็นหรือยินยอมให้ผู้อื่น ใชตําแหนงหน้าที่ของตนแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ และเป็นการปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่ ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

โดยทุจริตแล้ว จําเลยทั้งสามจึงมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานของรัฐปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใด ในตําแหนงหรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแกผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตตามฟ้อง อนึ่ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 81 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “…ในกรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง มีคําพิพากษาวาผู้ถูกกลาวหากระทําความผิดตามที่ถูกกลาวหา ให้ผู้ต้องคําพิพากษานั้นพนจากตําแหนง นับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผู้นั้น และจะเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง มีกําหนดเวลาไม่เกินสิบปด้วยหรือไม่ก็ได้ ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ ผู้ใดถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ไม่วาในกรณีใด ผู้นั้นไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งหรือสมัครรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผู้บริหารทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ ” ซึ่งเป็นผลของกฎหมายที่ผู้ถูกกลาวหาต้องพนจากตําแหนงทางการเมือง และถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งทันที หากศาลมีคําพิพากษาวาผู้ถูกกลาวหากระทําความผิดตามที่ถูกกลาวหา โดยโจทก์ไม่จําต้องมีคําขอ ตามมาตรา 81 คดีนี้โจทก์บรรยายฟ้องขอให้ลงโทษจําเลยทั้งสามตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว เมื่อศาลวินิจฉัยวา จําเลยทั้งสามกระทําความผิดตามที่ถูกกลาวหา จําเลยทั้งสามยอมต้องพนจากตําแหนงนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่และต้องถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งด้วย และเมื่อปรากฏวาศาลมีคําสั่งในคดีนี้ให้จําเลยที่ 1 และที่ 2 หยุดปฏิบัติหน้าที่เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2565 สวนจําเลยที่ 3 พนจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกอนโจทก์ฟ้องคดีนี้แล้ว จําเลยที่ 1 และที่ 2 จึงต้องพนจากตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนับแต่วันที่ 11 เมษายน 2565 เป็นตนไป และจําเลยทั้งสามต้องถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดไป โดยไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผู้บริหารทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ อีก โดยองคคณะผู้พิพากษามีมติเสียงขางมากเห็นควร ไม่เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของจําเลยทั้งสาม พิพากษาวา จําเลยทั้งสามมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 172 ลงโทษจําคุกคนละ 1 ป องคคณะผู้พิพากษา มีมติเสียงขางมาก เห็นวา ทางไตสวนของจําเลยทั้งสามเป็นประโยชนแกการพิจารณาอยู่บาง มีเหตุบรรเทาโทษ ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566

ลดโทษให้คนละหนึ่งในสี่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุกคนละ 9 เดือน พฤติการณแห่งคดีเป็นการกระทําโดยทุจริตถือเป็นเรื่องรายแรง จึงไม่มีเหตุรอการลงโทษ ให้จําเลยที่ 1 และที่ 2 พนจากตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนับแต่วันที่ 11 เมษายน 2565 ซึ่งเป็นวันหยุดปฏิบัติหน้าที่ และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของจําเลยทั้งสามตลอดไป โดยไม่มีสิทธิสมัครรับ เลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผู้บริหารทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 81 วรรคหนึ่งและวรรคสอง. นายสิทธิศักดิ์ วนะชกิจ นายประทีป อาววิจิตรกุล นายอุดม วัตตธรรม นายสมเกียรติ ตั้งสกุล นางสุวิชา นาควัชระ นายอําพันธ สมบัติสถาพรกุล นายสาคร ตั้งวรรณวิบูลย นางกาญจนา ชัยคงดี นายสุทิน นาคพงศ ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนที่ 43 ก ราชกิจจานุเบกษา 27 กรกฎาคม 2566